77
ผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมการจัดการ ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา DELVELOPMENT OF GUIDELINES FOR DECREASE OF PESTICIDES USING OF THE FARMER นายปญจะ หัตตะโสภา วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร พ.ศ. 2558 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร สํานักวิทยบริการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

DELVELOPMENT OF GUIDELINES FOR DECREASE OF PESTICIDES USING OF

THE FARMER

นายปญจะ หัตตะโสภา

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการจัดการสุขภาพ

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

พ.ศ. 2558

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 2: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

THE RESULTS OF PARTICIPATED IN THE 5 R PROGRAM ON KNOWLEDGE

AND BEHAVIOR ON HOUSEHOLD WASTE MANAGEMENT OF PEOPLE

IN PHANOMSARAKHAM SUB-DISTRICT, PHANOMSARAKHAM

DISTRICT, CHACHOENGSAO PROVINCE

เกษตรกร

Mr.Panja Huttasopa

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for

the Degree of Master of Public Health Program in Health Management

Rajabhat Rajanagarindra University

2015

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 3: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

 

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 4: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ช่ือเรื่อง ผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

ผูวิจัย นายปญจะ หัตตะโสภา

ปริญญา สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสุขภาพ

พ.ศ. 2558

อาจารยท่ีปรึกษาหลัก รองศาสตราจารย ดร.กุลวดี โรจนไพศาลกิจ

อาจารยท่ีปรึกษารวม ดร.วรพล แวงนอก

บทคัดยอ

การวิจัยนี้เปนการวิจัยก่ึงทดลอง (quasi-experimental research) มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนา

โปรแกรม 5 R ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัด

ฉะเชิงเทรา และเปรียบเทียบคะแนนความรูในการจัดการขยะ และพฤติกรรมการจัดการขยะของ

ประชาชน กลุมตัวอยาง ไดแก ประชาชนที่เปนผูแทนครัวเรือน มีอายุตั้งแต 15 ป-60 ป โดยใช

การสุมตัวอยางแบบเจาะจง จํานวน 60 คน ซึ่งแบงออกเปนสองกลุม ไดแก กลุมทดลองและ

กลุมเปรียบเทียบ กลุมละ 30 คน เครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล ประกอบดวย แบบทดสอบความรู

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน และแบบสอบถามพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ ความถ่ี รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ paired t-test

ผลการวิจัยพบวา

1) ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนน

ความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนสูงกวากลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ท่ีระดับ 0.05 (t = -9.546, p<.05)

2) ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนน

ความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนสูงกวากอนเขารวมโปรแกรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ท่ีระดับ 0.05 (t = -11.363, p<.05)

3) ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนน

พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนสูงกวากลุมที่ไมไดเขารวมโปรแกรม อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 (t = 8.000, p<.05)

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 5: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

4) ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมที่เขารวมโปรแกรมมีคะแนน

พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนสูงกวากอนเขารวมโปรแกรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ท่ีระดับ 0.05 (t = -8.318, p<.05)

คําสําคัญ: โปรแกรม 5 R ความรู พฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 6: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

Title: THE RESULTS OF PARTICIPATED IN THE 5R PROGRAM

ON KNOWLEDGE AND BEHAVIOR ON HOUSEHOLD WASTE

MANAGEMENT OF PEOPLE IN PHANOMSARAKHAM SUB-

DISTRICT, PHANOMSARAKHAM DISTRICT, CHACHOENGSAO

PROVINCE

Researcher: Mr.Panja Huttasopa

Degree: Master of Public Health (Health management)

Year: 2015

Advisor: Assoc. Prof. Dr.Kunwadee Rojpaisarnkit

Co-advisor: Dr.Worraphol Waengnork,

ABSTRACT

This research was quasi-experimental research, aimed to develop a 5R

program to manage household waste in Phanomsarakham district Phanomsarakham

Chachoengsao, and compared the knowledge in waste management and behavior of

people. The sample was 60 representatives of the household with aged 15 - 60 years,

divided 30 persons per group into an experimental group and a control group.

Research instruments were a test of knowledge of household waste management

and questionnaire of household waste management behaviors. Data were analyzed

by using frequency, percentage, average, standard deviation, t - test and Paired t -

test.

The results showed that:

1. After participating in the program, the experimental group had higher knowledge of

household waste management than the control group at 0.05 level of statistical

significant. (t = -9.546,p<.05).

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 7: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

2. After participating in the program, the experimental group had higher knowledge of

household waste management than before participating in the program at 0.05 level

of statistical significant. (t = -11.363,p<.05).

3. After participating in the program, the experimental group had higher household

waste management behaviors than the control group at 0.05 level of statistical

significant. (t = 8.000,p<.05).

4. After participating in the program, the experimental group had higher household

waste management behaviors than before participating in the program at 0.05 level

of statistical significant.(t = -8.318, p <.05).

Keywords: 5R program, Knowledge, Behavior, household waste

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 8: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้สําเร็จลงไดจากความกรุณาของ รองศาสตราจารย ดร.กุลวดี โรจนไพศาลกิจ

อาจารยท่ีปรึกษา และ ดร.วรพล แวงนอก อาจารยที่ปรึกษารวม และคณาจารย ประกอบดวย

ดร.สุรียพันธุ วรพงศธร ดร.วรากร เกรียงไกรศักดา ดร.ฉัตรชัย ประภัศร และวาท่ีรอยตรี ดร.เกียรติชัย

สายตาคํา ท่ีคอยใหคําปรึกษา ตรวจสอบ และแกไขความบกพรอง ดวยความเอาใจใสจนทําให

การศึกษาวิจัยครั้งนี้สําเร็จ จึงขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสนี้

ผูวิจัยขอขอบคุณอาจารยผูสอนทุกๆ ทาน ที่ไดใหความรูและคําแนะนําที่ดีตลอดการเรียน

ในระดับปริญญาโท หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการสุขภาพ เพ่ือนๆ

ปริญญาโท รุน 1 ทุกทาน ท่ีคอยใหกําลังใจ และเจาหนาท่ีจากบัณฑิตวิทยาลัยทุกทานท่ีคอยชวยเหลือ

ติดตามตรวจสอบเอกสารจนสําเร็จการศึกษา

นายปญจะ หัตตะโสภา

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 9: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

(5)

สารบัญ

บทท่ี หนา

หนาอนุมัติ ....................................................................................................................................... (1)

บทคัดยอภาษาไทย .......................................................................................................................... (2)

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ..................................................................................................................... (3)

กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................... (4)

สารบัญ ............................................................................................................................................ (5)

สารบัญตาราง .................................................................................................................................. (7)

สารบัญภาพ .................................................................................................................................... (8)

1 บทนํา ....................................................................................................................................... 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ............................................................................ 1

1.2 คําถามการวิจัย .................................................................................................................. 2

1.3 วัตถุประสงคการวิจัย ......................................................................................................... 2

1.4 สมมติฐานการวิจัย ............................................................................................................. 3

1.5 ขอบเขตการวิจัย ................................................................................................................ 3

1.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย .................................................................................................... 3

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ .............................................................................................................. 4

1.8 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ................................................................................................ 5

2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ................................................................................................ 6

2.1 สถานการณดานขยะมูลฝอยในตําบลพนมสารคาม ............................................................ 6

2.2 แนวคิดและทฤษฎีการคัดแยกขยะมูลฝอยโดยใชหลัก 5 R................................................. 6

2.3 ความรูและพฤติกรรมในการคัดแยกขยะมูลฝอยโดยใชหลัก 5 R ..................................... 12

2.4 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ......................................................................................................... 14

3 วิธีดําเนินการวิจัย .................................................................................................................. 16

3.1 รูปแบบการวิจัย .............................................................................................................. 16

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง ............................................................................................. 17

3.3 เครื่องมือและการสรางเครื่องมือท่ีใชเก็บขอมูล ............................................................... 17

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 10: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

(6)

3.4 วิธีดําเนินการวิจัย ........................................................................................................... 19

3.5 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ....................................................................................... 20

4 ผลการวิเคราะหขอมูล ........................................................................................................... 21

4.1 การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................. 21

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูล .................................................................................................... 22

บทท่ี หนา

5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ....................................................................................... 30

5.1 สรุปผลการวิจัย .............................................................................................................. 30

5.2 อภิปรายผล .................................................................................................................... 31

5.3 ขอเสนอแนะ .................................................................................................................. 32

รายการอางอิง ................................................................................................................................. 33

ภาคผนวก........................................................................................................................................ 36

ภาคผนวก ก แบบสอบถาม ....................................................................................................... 37

ภาคผนวก ข แบบแสดงความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ................................................................ 46

ประวัติผูวิจัย .................................................................................................................................... 55

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 11: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

(7)

สารบัญตาราง

ตาราง หนา

1 จํานวนและรอยละของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชน

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R จําแนกตามขอมูลท่ัวไป…………………………………………………..22

2 จํานวนและรอยละระดับความรู กอนและหลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R ………………………………………….25

3 จํานวนและรอยละของระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนกอนและ

หลังการทดลองของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R …………………………………………………………………………..……………………………….26

4 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนกอนและ

หลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R…………………………………………………………………………………………………………….27

5 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชน

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R ……………………………………………………………………………………28

6 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม กอนและ

หลังการทดลอง ในประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R ……………………………………………………………………………………………………….…..28

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 12: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

(8)

7 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชน

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R……………………………………………………………………..………………29

สารบัญภาพ

ภาพ หนา

1 กรอบแนวคิดการวิจัย.................................................................................................................3

2 รูปแบบการวิจัย........................................................................................................................16

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 13: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

1

บทท่ี 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

จากสถานการณขยะมูลฝอย ป 2556 กรมควบคุมมลพิษไดทําการสํารวจขอมูลปริมาณ

ขยะมูลฝอยท่ัวประเทศโดยมีกลุมเปาหมาย ไดแก องคกรปกครองสวนทองถ่ินท่ัวประเทศ จํานวน

2,271 แหง และองคการบริหารสวนตําบล จาํนวน 5,510 แหง พบวา ปริมาณขยะมูลฝอยท่ีเกิดท่ัวประเทศ

มีจํานวน 26.77 ลานตันตอวัน ซ่ึงปริมาณขยะมูลฝอยไดเพิ่มขึ้นจากปที่ผานมาถึง 2 ลานตัน ขณะท่ี

ท้ังประเทศมีสถานท่ีกําจัดขยะมูลฝอยอยูท้ังหมด 2,490 แหง และมีสถานท่ีท่ีมีการกําจัดขยะมูลฝอย

แบบถูกหลักสุขาภิบาล จํานวน 466 แหง คิดเปนรอยละ 19 และยังคงมีสถานท่ีกําจัดขยะมูลฝอย

แบบไมถูกหลักสุขาภิบาล เชน การเทกองกลางแจง การเผาในท่ีโลง จํานวน 2024 แหง คิดเปนรอยละ 81

(กรมควบคุมมลพิษ, ออนไลน, 2556)

ขอมูลปริมาณขยะมูลฝอยของจังหวัดฉะเชิงเทรา ป พ.ศ. 2555 มีปริมาณขยะมูลฝอย จํานวน

404 ตันตอวัน และในป พ.ศ. 2556 มีปริมาณขยะมูลฝอย จํานวน 788 ตันตอวัน จากขอมูลดังกลาว

พบวา ปริมาณขยะมูลฝอยเพ่ิมข้ึนจากปกอนถึง 384 ตันตอวัน (กรมควบคุมมลพิษ, ออนไลน, 2556)

ดังนั้นการลดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดที่เกิดจากชุมชนจึงมีความสําคัญ เนื่องจากครัวเรือน

เปนแหลงผลิตขยะมูลฝอยออกสูชุมชน แมวาขยะมูลฝอยท่ีออกจากชุมชนหรือครัวเรือนจะไมใชของเสีย

ท่ีเปนอันตรายเม่ือเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือเกษตรกรรม แตถามีปริมาณมาก

ก็กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนได

ผูวิจัยไดศึกษานํารองเก่ียวกับปริมาณขยะมูลฝอยของตําบลพนมสารคาม มีพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

จํานวน 10.98 ตารางกิโลเมตร แบงเปนพ้ืนท่ีรับผิดชอบของเทศบาลตําบลพนมสารคาม จํานวน

2.16 ตารางกิโลเมตร และพ้ืนท่ีรับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบลพนมสารคาม จํานวน

8.82 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่พักอาศัยอยู จํานวน 10,017 คน และมีจํานวนหลังคาเรือน

5,494 ครัวเรือน สวนใหญประกอบอาชีพ คาขาย รับจาง และเกษตรกรรม มีปริมาณขยะท่ีจัดเก็บได

จํานวน 15 ตันตอวัน ขยะท่ีจัดเก็บไดสวนใหญ ไดแก เศษอาหาร ขวดแกว ขวดพลาสติก ถุงพลาสติก

และเศษกระดาษ จัดเก็บโดยรถบรรทุกขยะแบบอัดทายจํานวน 4 คัน และนําไปกําจัด ณ ศูนยกําจัด

ขยะมูลฝอยรวมแบบครบวงจร องคการบริหารสวนจังหวัดฉะเชิงเทรา มีท่ีตั้งอยูท่ี หมู 1 ตําบลเขาหินซอน

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา กําจัดดวยวิธีการฝงกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 14: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

2

จากการศึกษาขอมูลขยะมูลฝอยของตําบลพนมสารคาม พบวา ปริมาณขยะมูลฝอยมีแนวโนม

ท่ีจะเพ่ิมมากข้ึนในทุกๆ ป ซ่ึงอาจทําใหการจัดเก็บขยะมูลฝอยในอนาคตขององคการปกครองสวนทองถ่ิน

จัดเก็บไดไมครอบคลุมสงผลใหเกิดขยะมูลฝอยตกคางในชุมน ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมพรอมรับ

สถานการณปริมาณขยะมูลฝอยท่ีจะเพ่ิมมากข้ึน องคกรปกครองสวนทองถ่ินควรจะสงเสริมใหประชาชน

มีการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนของตน เพ่ือเปนการลดขยะมูลฝอยท่ีตนทาง (ธเรศ ศรีสถิตย,

2553, หนา 23) เพราะการลดปริมาณขยะมูลฝอยในระดับครวัเรือนเปนวิธีการท่ีดีท่ีจะชวยจัดการปญหา

ขยะมูลฝอยในชุมชนได (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 71) ลักษณะของขยะมูลฝอยครัวเรือน

ท่ีพบสวนใหญ ไดแก ขวดแกว ขวดพลาสติก กระดาษ ถุงพลาสติก และเศษอาหาร ซึ่งขยะมูลฝอย

ถาไดรับการคัดแยกท่ีถูกวิธีก็จะชวยลดภาระขององคการปกครองสวนทองถิ่น ในการจัดเก็บ และ

ประหยัดคาใชจายในการจัดการขยะ สําหรับขยะท่ีไดรับการคัดแยกจากครัวเรือนก็สามารถนําไปขาย

เพ่ือสรางรายไดใหแกครัวเรือน (สมไทย วงษเจริญ, 2551, หนา 44)

จากการศึกษาขอมูลผูวิจัยพบวา โปรแกรม 5R เปนโปรแกรมสงเสริมความรูซ่ึงจะมีสวนชวยให

เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน โปรแกรม 5 R ประกอบดวย

Reduce คือ การลดขยะมูลฝอยท่ีเกิดข้ึนโดยเฉพาะการลดขยะมูลฝอยจากแหลงกําเนิด Reuse คือ

การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชซํ้าเพ่ือใหเกิดความคุมคา recycle คือ การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชซํ้า

โดยผานกระบวนการแปรรูป repair คือ การนําขยะมูลฝอยบางประเภทมาซอมแซมเพื่อสามารถ

นํากลับมาใชไดใหม reject คือ การหลีกเลี่ยงขยะมูลฝอย หรือผลิตภัณฑท่ีเปนอันตรายตอมนุษยและ

สิ่งแวดลอม ดังนั้นผูวิจัยจึงไดนําโปรแกรม 5 R มาออกแบบงานวิจัยเปนแบบกึ่งทดลอง (quasi-

experimental design) เพื่อศึกษาผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรม

การจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัด

ฉะเชิงเทรา

1.2 คําถามการวิจัย

1.2.1 การเขารวมโปรแกรม 5 R จะทําใหประชาชนมีความรูในการจัดการขยะมูลฝอย

ในครัวเรือนเพ่ิมข้ึนหรือไม

1.2.2 การเขารวมโปรแกรม 5 R จะทําใหประชาชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย

ในครัวเรือนดีข้ึนหรือไม

1.3 วัตถุประสงคการวิจัย

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 15: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

3

1.3.1 เพ่ือพัฒนาโปรแกรม 5 R ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน

1.3.2 เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนความรูการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R กับกลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม

1.3.3 เพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชน

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R กับกลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม

1.3.4 เพ่ือเปรียบเทียบความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนในครัวเรือนของประชาชน

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R กอนและหลังการเขารวมโปรแกรม

1.3.5 เพ่ือเปรียบเทียบพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R กอนและหลังการเขารวมโปรแกรม

1.4 สมมติฐานการวิจัย

1.4.1 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนนความรู

ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม

1.4.2 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนนพฤติกรรม

การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม

1.4.3 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนนความรู

ในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากอนเขารวมโปรแกรม

1.4.4 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนนพฤติกรรม

การจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากอนเขารวมโปรแกรม

1.5 ขอบเขตการวิจัย

1.5.1 ขอบเขตดานประชากรคือ ประชากรท่ีมีอายุตั้งแต 15 ป-60 ป ในเขตพื้นที่ตําบล

พนมสารคาม ใชการสุมตัวอยางแบบเจาะจง จํานวน 60 คน โดยแบงออกเปนสองกลุม ไดแก

กลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบ กลุมละ 30 คน ซ่ึงไดมาจากความสมัครใจเขารวมโปรแกรม 5 R

1.5.2 ขอบเขตพ้ืนท่ีศึกษา คือ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา

1.5.3 ตัวแปรตน ไดแก โปรแกรม 5 R

1.5.4 ตัวแปรตาม ไดแก ความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน และพฤติกรรมการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 16: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

4

1.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย

การศึกษาวิจัยเรื่องผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมการจัดการ

ขยะมูลฝอยในครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

ผูวิจัยกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยดังนี้

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

ภาพ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย

1.7 นิยามศัพทเฉพาะ

1.7.1 โปรแกรม 5 R หมายถึง กระบวนการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยใชหลักการ 5 R

ซ่ึงประกอบดวย (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 75)

1) reduce คือ การลดการใช การบริโภคทรัพยากรท่ีไมจําเปนลงลองมาสํารวจกันวา

เราจะลดการบริโภคท่ีไมจํา เปนตรงไหนไดบางโดยเฉพาะการลดการบริโภคทรัพยากรท่ีใชแลวหมดไป

เชน น้ํามันกาดธรรมชาติ ถานหิน และแรธาตุตางๆ การลดการใชนี้ทําไดงายๆ โดยการเลือกใชเทาท่ี

จําเปน เชน ปดไฟทุกครั้งท่ีไมใชงานหรือเปดเฉพาะจุดท่ีใชงานปดคอมพิวเตอรและ เครื่องปรับอากาศ

เม่ือไมใชเปนเวลานานๆ ถอดปลั๊กของเครื่องใชไฟฟาเชน กระติกน้ํารอนออกเม่ือไมไดใช เม่ือตองการ

เดินทางใกลๆ ก็ควรใชวิธีเดิน ข่ีจักรยานหรือนั่งรถโดยสารแทนการขับรถไปเอง เปนตน เพียง-เทานี้

เราก็สามารถเก็บทรัพยากรดานพลังงานไวใชไดนานข้ึน ประหยัดพลังงานและอนุรักษสิ่งแวดลอมอีกดวย

2) reuse คือ การใชทรัพยากรใหคุมคาท่ีสุด โดยการนําสิ่งของเครื่องใช มาใชซํ้า

ซ่ึงบางอยางอาจใชซํ้าไดหลายๆ ครั้ง เชน การนําชุดทํางานเกาท่ียังอยูในสภาพดีมาใสเลนหรือใสนอน

อยูบานหรือนําไปบริจาค แทนท่ีจะท้ิงไปโดยเปลาประโยชน การนํากระดาษรายงานท่ีเขียนแลว 1 หนา

มาใชในหนาท่ีเหลือหรืออาจนํามาทําเปนกระดาษโนต ชวยลดปริมาณการตัดตนไมไดเปนจํานวนมาก

การนําขวดแกวมาใสน้ํารับประทานหรือนํามาประดิษฐเปนเครื่องใชตางๆ เชน แจกันดอกไมหรือ

โปรแกรม 5 R

1. reduce คือ การลดการใช

2. reuse คือ การใชใหคุมคาท่ีสุด

3. recycle คือ การใชซํ้าโดยผานการแปรรูป

4. repair คือ การซอมแซม

ื ี ี่ ิ ั ั

ความรูในการจัดการขยะ

มูลฝอยครัวเรือน

พฤติกรรมการจัดการขยะ

มลฝอยครัวเรือน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 17: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

5

ท่ีใสดินสอ เปนตน นอกจากจะชวยลดคาใชจายลดการใชพลังงานพลังงานแลว ยังชวยรักษาสิ่งแวดลอม

และยังไดของนารักๆ จากการประดิษฐไวใชงานอีกดวย

3) recycle คือ การนําหรือเลือกใชทรัพยากรที่สามารถนํากลับมารีไซเคิล หรือ

นํากลับมาใชใหมเปนการลดการใชทรัพยากรในธรรมชาติจําพวกตนไม แรธาตุตางๆ เชน ทราย

เหล็ก อลูมิเนียมซ่ึงทรัพยากรเหลานี้ สามารถนํามารีไซเคิลไดยกตัวอยางเชน เศษกระดาษสามารถ

นําไปรีไซเคิลกลับมาใชเปนกลองหรือถุงกระดาษ การนําแกวหรือพลาสติกมาหลอมใชใหม

เปนขวด ภาชนะใสของหรือเครื่องใชอ่ืนๆ ฝากระปองน้ําอัดลมก็สามารถนํามาหลอมใชใหมหรือ

4) repair คือ การรูจักซอมแซมฟนฟูสิ่งของเครื่องใชท่ีสึกหรอ ใหสามารถใชประโยชนได

5) reject คือ รูจักปฏิเสธ หรืองดการใชสิ่งของท่ีเห็นวา เปนการทําลาย ทรัพยากร

และสรางมลพิษ ใหเกิดข้ึนแกสิ่งแวดลอม

1.7.2 ความรูในการจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง ความรูในการคัดแยกขยะมูลฝอย

ในแตละประเภทไดถูกตองตามหลักสุขาภิบาล กอนนําไปท้ิงหรือนําไปกําจัด

1.7.3 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง พฤติกรรมในการคัดแยกขยะมูลฝอย

กอนนําไปท้ิงหรือนําไปกําจัด

1.7.4 ขยะมูลฝอยครัวเรือน หมายถึง เศษกระดาษ เศษผา เศษอาหาร เศษสินคา ถุงพลาสติก

ภาชนะท่ีใสอาหาร เถามูลสัตวหรือซากสัตวรวมตลอดถึงสิ่งอ่ืนใดท่ีเกิดจากครัวเรือนนั้น

1.7.5 ประชาชน หมายถึง ประชาชนในตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัด

ฉะเชิงเทรา

1) กลุมทดลอง หมายถึง ประชากรท่ีมีอายุตั้งแต 15 ป-60 ป ท่ีมีสําเนาทะเบียนบาน

อยูในเขตพ้ืนท่ีอําเภอพนมสารคามเปนกลุมที่ไดเขารวมการอบรมโปรแกรม 5 R จํานวน 30 คน

จากความสมัครใจเขารวมการอบรม

2) กลุมเปรียบเทียบ หมายถึง ประชากรท่ีมีอายุตั้งแต 15 ป-60 ป ท่ีมีสําเนาทะเบียน

บานอยูในเขตพ้ืนท่ีอําเภอพนมสารคามเปนกลุมท่ีไมไดเขารวมการอบรมโปรแกรม 5 R จํานวน 30 คน

ท่ีมีลักษณะใกลเคียงกับกลุมทดลอง

1.8 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.8.1 ไดโปรแกรม 5 R ท่ีสามารถนํามาใชในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

1.8.2 ประชาชนท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R มีความรูในการจัดการขยะมูลฝอยและพฤติกรรม

การจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนดีข้ึน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 18: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

6

1.8.3 ปริมาณขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนกลุมที่เขารวมโปรแกรมลดลงทําให

ชวยลดคาใชจายขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในการจัดการขยะ

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 19: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

6

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนารูปแบบการลดขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยใชหลัก 5 R

และเพ่ือเปรียบเทียบความรูและพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอยกอนท้ิงในครัวเรือนของกลุมทดลอง

และกลุมเปรียบเทียบ ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนงานวิจัย

แบบก่ึงทดลอง ซ่ึงผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดและทฤษฏีรวมท้ังงานวิจัยท่ีเก่ียวของกับการพัฒนารูปแบบ

การลดขยะมูลฝอยในครัวเรือนโดยใชหลัก 5 R โดยมีการแบงเปนหัวขอตางๆ ดังนี้

2.1 สถานการณดานขยะมูลฝอยครัวเรือนตําบลพนมสารคาม

2.2 แนวคิดและทฤษฎีการคัดแยกขยะมูลฝอยโดยใชหลัก 5 R

2.3 ความรูและพฤติกรรมในการคัดแยกขยะมูลฝอยโดยใชหลัก 5 R

2.4 เอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

2.1 สถานการณดานขยะมูลฝอยในตําบลพนมสารคาม

ขอมูลปริมาณขยะมูลฝอย ตําบลพนมสารคาม

ผูวิจัยไดศึกษานํารองเก่ียวกับตําบลพนมสารคาม พบวา มีการแบงเขตพื้นที่การปกครอง

สวนทองถิ่นออกเปน 2 แหง ไดแก เทศบาลตําบลพนมสารคาม และองคการบริหารสวนตําบล

พนมสารคาม ในเขตพื้นที่เทศบาลตําบลพนมสารคามมีพื้นที่รับผิดชอบ 2.16 ตารางกิโลเมตร

มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดข้ึน จํานวน 12 ตัน/วัน และในเขตพ้ืนท่ีองคการบริหารสวนตําบลพนมสารคาม

มีพ้ืนท่ีรับผิดชอบ 8.82 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดข้ึน จํานวน 4 ตัน/วัน ซ่ึงขยะมูลฝอย

ท้ังหมดจะถูกจัดเก็บโดยรถจัดเก็บขยะแบบอัดทาย จํานวน 4 คัน/วัน และนําไปกําจัดท่ีศูนยจัดการ

ขยะมูลฝอยองคการบริหารสวนจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีท่ีตั้งอยูท่ี หมู 1 ตําบลเขาหินซอน อําเภอ

พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ปริมาณขยะมูลฝอยในเขตตําบลพนมสารคาม มีจํานวน 16 ตัน/วัน

คิดเปนปริมาณขยะมูลฝอย/เดือน ไดจํานวน 480 ตัน/เดือน

2.2 แนวคิดและทฤษฎีการคัดแยกขยะมูลฝอยโดยใชหลัก 5 R

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 20: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

7

2.2.1 ขยะมูลฝอย

ขยะมูลฝอย หมายถึง ขยะท่ีเกิดจากกิจกรรมของมนุษยในดานตางๆ โดยเฉพาะจาก

การดําเนินชีวิตประจําวัน จําเปนจะตองมีการจัดการอยางเปนระบบเริ่มตั้งแตการเกิดขยะท่ีแหลงกําเนิด

(อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 69) ไปจนถึงการนําไปกําจัดหรือทําลายยังสถานท่ีฝงกลบ ซ่ึงขบวนการ

ดังกลาวนี้จะประกอบไปดวยหลายข้ันตอนดวยกันคือ การลดปริมาณการเกิดขยะและการคัดแยกขยะ

ณ แหลงกําเนิด การเก็บรวบรวม การเก็บกัก การขนสง การแปรสภาพ และการกําจัดหรือทําลาย

ตามลําดับ ซ่ึงโดยหลักการแลวข้ันตอนในการดําเนินงานท้ังหมดควรจะตองใชระยะเวลาใหนอยท่ีสุด

ท้ังนี้เพ่ือมิใหขยะอินทรียถูกทิ้งไวนานเกินไปจนเกิดการเนาเหม็นและสงกลิ่นรบกวนตอชุมชนได

การลดและการคัดแยก ณ แหลงกําเนิด หมายถึง การดําเนินการกับขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นจาก

แหลงกําเนิดตางๆ อันไดแก บานเรือน อาคารสํานักงาน สถานศึกษา หางราน ตลอดจนสถานท่ี

สาธารณะท่ัวไปเพ่ือรอการเก็บขน การรวบรวม และการนําไปกําจัดทําลายจากหนวยงานท่ีรับผิดชอบ

ตอไป ซ่ึงในการดําเนินการกับขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนินเปนหนาท่ีความรับผิดชอบของผูท่ีเปน

เจาของบานเรือนหรืออาคารสถานท่ีตางๆ โดยมีหลักในการจัดการแบงออกเปน 2 สวนดวยกัน คือ

การลดขยะ ณ แหลงกําเนิด (source reduction) เพ่ือใหมีปริมาณขยะท่ีจะตองนําไปกําจัดหรือทําลาย

ใหนอยท่ีสุดเทาท่ีจะทําได และการคัดแยกขยะ (waste separation) ซึ่งถือเปนมาตรการสําคัญ

ประการหนึ่งท่ีจะชวยใหการจัดการขยะในขั้นตอนตอๆ ไปเปนไปอยางมีระบบและมีประสิทธิภาพ

มากยิ่งข้ึน

2.2.2 การลดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด

การลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดนับเปนวิธีการที่ดีที่สุดของการจัดการ

ปญหาดังกลาวท้ังนี้ เพราะเม่ือมีขยะนอยลงก็จะชวยใหภาระในการเก็บรวบรวม การขนสง รวมท้ัง

การนําไปกําจัดทําลายลดลงตามไปดวย (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 71) นอกจากนี้คาใชจาย

ในการดําเนินงานแตละข้ันตอนก็จะลดลงดวยเชนกัน การลดปริมาณขยะสามารถกระทําได

ในหลายแนวทาง โดยอาจเริ่มตั้งแตการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมการบริโภคใหถูกตอง กลาวคือ

การเลือกซ้ือสินคาเฉพาะท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิต ไมเลือกซื้อสินคาที่ฟุมเฟอยและในปริมาณมาก

เกินความจําเปน ซ่ึงหากใชไมหมดแลวก็จะกลายสภาพไปเปนขยะในท่ีสุด นอกจากนี้ผูผลิตสินคาออก

มาจําหนายก็มีสวนชวยลดปริมาณขยะไดดวยการออกแบบสินคาท่ีใชบรรจุภัณฑนอยลงหรือผลิตสินคา

ใหมีอายุการใชงานท่ีนานข้ึน เปนตน ในสวนของผูบริโภคหรือประชาชนท่ัวไปนั้นถือวามีบทบาทสําคัญยิ่ง

ในการลดขยะ ณ แหลงกําเนินซ่ึงกรมควบคุมมลพิษไดสรุปแนวทางดังกลาวเอาไว 3 แนวทางดวยกัน

ดังตอไปนี้คือ

1) การปฏิเสธหรือหลีกเลี่ยงสินคาหรือบรรจุภัณฑที่จะสรางปญหาขยะ (refuse)

แนวทางนี้สามารถดําเนินการไดหลายรูปแบบ ไดแก (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 72)

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 21: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

8

(1) หลีกเลี่ยงการซ้ือสินคาหรือผลิตภัณฑท่ีใชบรรจุภัณฑหอหลายชั้น

(2) หลีกเลี่ยงการซ้ือสินคาชนิดใชครั้งเดียวหรือผลิตภัณฑท่ีมีอายุการใชงานต่ํา

(3) ในการเลือกซ้ือสินคาตางๆ ท่ีใชในชีวิตประจําวัน เชน สบู ยาสีฟน น้ํายา

ทําความสะอาด ผงซักฟอก ฯลฯ ใหเลือกซื้อเฉพาะผลิตภัณฑที่มีขนาดบรรจุใหญกวา เนื่องจาก

ใชบรรจุภัณฑนอยกวาเม่ือเปรียบเทียบกับหนวยน้ําหนักของผลิตภัณฑ

(4) หลีกเลี่ยงการซ้ือสินคาหรือผลิตภัณฑ ซ่ึงมีสวนประกอบของขยะท่ีเปนมลพิษ

ตอสิ่งแวดลอม เชน กลองโฟม ถุงพลาสติก เปนตน

2) การเลือกใชสินคาท่ีสามารถสงคืนบรรจุภัณฑแกผูผลิตได (return) แนวทางนี้

สามารถดําเนินการไดดังนี้

(1) เลือกซ้ือสินคาหรือผลิตภัณฑท่ีผูผลิตมีการเรียกคืนซากบรรจุภัณฑหลังจาก

การบริโภคของประชาชน

(2) เลือกซ้ือสินคาหรือผลิตภัณฑท่ีมีระบบมัดจําและคืนเงิน (deposit refund

system) เชน สินคาประเภทขวดน้ําอัดลมหรือน้ําดื่มบรรจุขวด เปนตน

3) การใชซํ้า (reuse) หมายถึง การนําสินคาหรือผลิตภัณฑท่ีมีการใชงานแลวมาใชอีก

โดยไมตองผานกระบวนการเปลี่ยนแปลงหรือแปรรูปใดๆ เชน

(1) เลือกซ้ือหรือใชผลิตภัณฑท่ีมีการออกแบบมาใหใชไดมากกวาหนึ่งครั้ง เชน

แบตเตอรี่ชนิดเติมประจุไฟฟาใหมได (rechargeable battery) เปนตน

(2) เลือกใชสินคาชนิดเติมใหม (refill) เชน ผงซักฟอก น้ํายาลางจาน น้ํายา

ทําความสะอาด เปนตน

(3) ซอมแซมเครื่องใชและอุปกรณตางๆ (repair) ใหสามารถใชงานตอไปไดอีก หรือ

บํารุงรักษาใหมีอายุการใชงานนานข้ึน

(4) นําบรรจุภัณฑหรือวัสดุเหลือใชอ่ืนๆ กลับมาใชประโยชนอีก เชน การใชซํ้าถุงผา

ถุงกระดาษ ถุงพลาสติก กลองกระดาษและขวดแกวตางๆ ฯลฯ

(5) ยืมหรือเชาหรือใชสิ่งของหรือผลิตภัณฑท่ีใชบอยครั้งรวมกัน เชน เครื่องดูดฝุน

อุปกรณทําความสะอาดบานตางๆ เปนตน

2.2.3 การคัดแยกขยะ ณ แหลงกําเนิด

การคัดแยกขยะ ณ แหลงกําเนิดเปนข้ันตอนการดําเนินงานภายหลังจากท่ีมีขยะมูลฝอย

เกิดข้ึนแลวซ่ึงถือไดวาเปนกิจกรรมเริ่มตนท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งตอการนําขยะกลับมาใชประโยชนใหม

เนื่องจากเปนการชวยทําใหขยะหรือวัสดุเหลือใชท่ีมีศักยภาพในการนํามาใชใหมไมถูกปนเปอนดวยขยะอ่ืนๆ

ท่ีมีความสกปรกหรือขยะเปยกตางๆ จนทําใหคุณภาพของขยะท่ีจะนํากลับมาใชประโยชนดอยลงไป

หรืออาจทําใหเสียคาใชจายในการลางทําความสะอาดหรือทําการคัดแยกเพ่ิมเติมกอนท่ีจะสงเขาสู

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 22: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

9

โรงงานแปรรูปตอไป (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 73) ขอดีอีกประการหนึ่งของการคัดแยกขยะมูลฝอย

ณ แหลงกําเนิด คือ เปนการชวยลดปริมาณขยะมูลฝอยท่ีจะตองนําไปกําจัดข้ันสุดทายยังสถานท่ี

ฝงกลบขยะใหเหลือนอยลง อันเปนการสงผลทางออมตออายุการใชงานของสถานท่ีฝงกลบใหสามารถ

ใชงานไดนานข้ึนกวาเดิม และยังเปนการประหยัดงบประมาณจํานวนมหาศาลของรัฐท่ีจะตองลงทุน

เพ่ือกําจัดขยะอีกดวย

การคัดแยกขยะสามารถดําเนินการได ณ จุดท่ีมีขยะเกิดข้ึนในแหลงตางๆ เชน ขยะจําพวก

เศษอาหาร เศษหญา เศษใบไม แกว กระดาษ โลหะ และพลาสติก ฯลฯ ที่เกิดขึ้นภายในบานเรือน

อาคารสํานักงาน สถาบันการศึกษา โรงแรม อาคารพาณิชย ตลาดสด หางสรรพสินคา และสถานท่ีอ่ืนๆ

จะถูกคัดแยกและเก็บรวบรวมไวเพ่ือนําไปจําหนายใหกับรานรับซ้ือของเกา หรือรอใหหนวยงานท่ีเก่ียวของ

มาทําการเก็บขนและนําไปใชประโยชนตอไป สําหรับภาชนะที่จะรองรับขยะที่ทําการคัดแยกนั้น

เปนหนาท่ีความรับผิดชอบของเจาของอาคารสถานท่ีท้ังหลายท่ีจะตองจัดหามาวางไวตามจุดท่ีเหมาะสม

สวนในบริเวณพ้ืนท่ีสาธารณะทั่วไปก็เปนหนาที่ของหนวยงานรับผิดชอบอัน ไดแก เทศบาลและ

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) ท่ีจะตองจัดเตรียม พรอมท้ังหามาตรการตางๆ เพ่ือสงเสริมและ

สนับสนุนใหการคัดแยกขยะภายในชุมชนเกิดเปนรูปธรรมโดยภาชนะดังกลาวจะถูกจัดวางไวในบริเวณ

ท่ีมีประชาชนอาศัยอยูอยางหนาแนนหรือสัญจรไปมาเปนประจํา เชน ท่ีพักอาศัย ตลาดสด ปายรถ

โดยสารประจําทาง และสวนสาธารณะ เปนตน (Tchobanoglous, 1993, p. 54) ใหความหมาย

การจัดการท่ีเก่ียวของการการเก็บรวบรวมและการขนสงขยะ รวมถึงการรับผิดชอบตอสาธารณชน

ในการจัดการขยะมูลฝอยตองอาศัยหลักการบริหารดานการเงิน กฎหมาย การวางแผน และโครงสราง

ดานวิศวกรรม ซ่ึงมี 6 องคประกอบ คือ การเกิดขยะมูลฝอย (waste generation) การเก็บกักมูลฝอย

และแยกมูลฝอยท่ีแหลงกําเนิด (storage) การรวบรวมมูลฝอย (collecting) การนําสวนของขยะมูลฝอย

ท่ีใชไดกลับมาใชใหม (reuse) การขนถายและขนสงมูลฝอย และการกําจัดมูลฝอย (disposal)

ขยะมูลฝอยประเภทขยะมลพิษใหแก สิ่งแวดลอม เชน หลอดไฟ แบตตเตอรี่ หรือภาชนะท่ีบรรจุ

สารพิษตางๆ ควรมีการคัดแยกออกจากขยะท่ัวไป (MD Lagrega, PL Buckingham, JC Evans.,

2010, p. 29)

2.2.4 การเก็บรวบรวม

การเก็บรวบรวมขยะ หมายถึง การเก็บขนขยะมูลฝอยท่ีถูกท้ิงไวในภาชนะรองรับขยะซ่ึงวางไว

ตามสถานท่ีตางๆ อันไดแก บริเวณท่ีพักอาศัย สถาบันการศึกษา ตลาดสด ปายรถโดยสารประจําทาง

และสวนสาธารณะ เพ่ือนํามารวบรวมไวยังจุดพักขยะกอน แลวจึงทําการขนถายใสรถเก็บขยะ

เพ่ือท่ีจะขนสงตอไปยังสถานท่ีฝงกลบ สําหรับขยะท่ีไมสามารถนํากลับมาใชประโยชนไดอีก (อาณัติ

ตะปนตา, 2553, หนา 78) แตหากเปนขยะท่ีรีไซเคิลท่ีไดมีการคัดแยกไวในภาชนะรองรับขยะตามท่ี

กลาวมาแลว ขยะเหลานี้ก็จะถูกรวบรวมและสงไปแปรรูปเพ่ือนํากลับมาใชประโยชนใหมตอไป

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 23: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

10

การเก็บรวบรวมขยะเปนหนาท่ีตามบทบัญญัติของกฎหมายซ่ึงกําหนดใหองคกรรปกครอง

สวนทองถ่ินคือเทศบาลและองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) เปนผูรับผิดชอบ ดังนั้น หนวยงานดังกลาว

จะตองมีการวางระบบและแบบแผนในการเก็บรวบรวมขยะท่ีเกิดข้ึนในแตละวันอยางเหมาะสม ท้ังนี้

เพ่ือมิใหมีขยะตกคางอยูตามสถานท่ีตางๆ ในปริมาณมากและนานเกินไป

2.2.5 ระบบการเก็บขนขยะ

เม่ือไดมีการจัดวางภาชนะรองรับขยะเอาไวตามจุดตางๆ ภายในชุมชนอยางเพียงพอแลวลําดับ

ตอไปก็คือ การจัดระบบในการเก็บขนขยะตามจุดเหลานั้นใหประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งปรีดา

แยมเจริญวงศ (2531, หนา 76-77) ไดอธิบายถึงรูปแบบในการเก็บขนขยะชุมชน ดังนี้

1) การเก็บขนขยะโดยใชรถเก็บขนขยะวิ่งเก็บขยะจากภาชนะรองรับซ่ึงตั้งอยูบริเวณ

หนาบานพักอาศัยหรือตามริมถนน รูปแบบนี้จะเหมาะสําหรับชุมชนท่ีตั้งอยูริมถนนและรถเก็บขนขยะ

ขนาดใหญสามารถเขาออกไดอยางสะดวก ทําใหเก็บขยะตามจุดตางๆ ไดอยางท่ัวถึงและรวดเร็วกวา

รูปแบบอ่ืนๆ เนื่องจากไมตองเสียเวลารอใหพนักงานเดินเก็บรวบรวมขยะตามตรอกซอยแลวนํามาขน

ถายใสรถขยะอีกตอหนึ่ง

2) การเก็บขนขยะโดยใชรถเก็บขยะวิ่งไปจอดตามสถานท่ีท่ีอยูใกลเคียงกับแหลงชุมชน

แลวใหพนักงานเดินออกไปเก็บรวบรวมขยะจากภาชนะรองรับท่ีตั้งอยูบริเวณหนาบานหรือแหลงชุมชน

ท่ีมีซอยคับแคบไมสะดวกตอการเขาออกของรถเก็บขนขยะ รูปแบบนี้จะเหมาะสําหรับชุมชนท่ีมี

ตรอกซอยระหวางตึกแถวหรือตามชุมชนแออัดตางๆ ทําใหตองใชเวลาในการเก็บขนขยะมากกวา

รูปแบบแรก

3) การเก็บขนขยะโดยใชถังรวมขยะขนาดใหญวางไวตามจุดซ่ึงมีปริมาณขยะเกิดข้ึน

เปนจํานวนมากในแตละวัน เชน ตลาดสด ตลาดนัก ศูนยการคา โรงแรม และคอนโดมิเนียม เปนตน

รูปแบบนี้จะเหมาะสําหรับจุดท่ีเปนแหลงกําเนิดขยะขนาดใหญภายในชุมชน

สําหรับระบบการเก็บขนขยะท้ัง 3 รูปแบบนี้ อาจพบไดในชุมชนเมืองขนาดใหญท่ีมีลักษณะ

ท่ีตั้งของแหลงกําเนิดขยะหลายๆ แบบ ดังนี้ หนวยงานท่ีรับผิดชอบในการเก็บขนขยะจะตองจัดเตรียม

พนักงานและรถเก็บขนขยะใหเพียงพอ เพ่ือรองรับปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึนในแตละวันใหไดมากท่ีสุด

โดยใหมีขยะเหลือตกคางนอยท่ีสุด ซ่ึงจะเปนการชวยปองกันปญหาเรื่องกลิ่นเหม็นรบกวนรวมท้ัง

ทัศนียภาพท่ีไมสวยงาม นอกจากนี้ควรมีการออกเทศบัญญัติกําหนดหลักเกณฑในการเก็บรวบรวมขยะ

เชน กําหนดใหประชาชนคัดแยกขยะตามประเภทของภาชนะรองรับขยะ กําหนดวันและเวลา

ในการเก็บรวบรวมขยะในแตละประเภท กําหนดวันและเวลาในการเก็บรวบรวมขยะประเภท

ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย อยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง ซ่ึงแยกตางหากจากการเก็บขนขยะตามปกติ

รวมท้ังตองมีการแนะนําใหเจาหนาท่ีท่ีปฏิบัติงานเก็บขนขยะ มีการสวมชุดและอุปกรณเพ่ือปองกัน

อันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือ รองเทา และผาปดจมูก ใหครบถวนทุกครั้งกอนออกปฏิบัติงาน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 24: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

11

เพ่ือเปนการดูแลรักษาสุขภาพของผูท่ีปฏิบัติงานมิใหไดรับเชื้อโรคหรือสารอันตรายอ่ืนๆ ท่ีปะปนมากับ

ขยะ

2.2.6 การแปรสภาพ

การแปรสภาพ หมายถึง วิธีการท่ีจะทําใหขยะมูลฝอยท่ีเก็บรวบรวมจากชุมชนอยูในสภาพ

ท่ีเกิดความสะดวกตอการเก็บขนไปกําจัดทําลายหรือนํากลับมาใชประโยชนใหมไดซ่ึงวัตถุประสงคของ

การแปรสภาพขยะ มีอยูดวยกัน 3 ประการ ดังนี้ (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 99)

1) เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบการจัดการขยะโดยการอัดขยะใหเปนฟอนหรือ

เปนกอนๆ ซ่ึงจะชวยลดพ้ืนท่ีในการเก็บขนขยะและลดคาใชจายในการขนสงไปยังสถานท่ีฝงกลบ

ใหนอยลง นอกจากนี้การอัดขยะกอนทําการฝงกลบจะชวยทําใหสถานที่กลบมีอายุใชงานไดนานข้ึน

กลาวคือ ขยะท่ีถูกอัดแนนโดยการมัดเปนฟอนหรือเปนกอนจะมีปริมาตรลดลง เม่ือเปรียบเทียบกับ

ขยะท่ีเก็บขนธรรมดา ดวยเหตุนี้ เม่ือนําไปฝงกลบจึงใชพ้ืนท่ีนอยลงกวาที่ควรจะเปน และสงผลให

สถานท่ีฝงกลบสามารถรองรับปริมาณขยะไดมากข้ึนและนานข้ึนนั่นเอง

2) เพ่ือนําวัสดุท่ีใชแลวกลับมาใชประโยชนใหมอีก กลาวคือ ในขบวนการแปรสภาพ

จะมีการแยกสวนประกอบหรือคัดแยกขยะออกเปนประเภทตางๆ ไดแก แกว กระดาษ พลาสติก โลหะ

เหล็ก ฯลฯ ซ่ึงขยะเหลานี้ สามารถนําสงไปยังโรงงานแปรรูปเพื่อใชวัตถุดิบสําหรับสินคาใหมได

สวนขยะท่ีใชประโยชนไมไดเม่ือถูกคัดแยกออกมาแลวก็จะทําการขนสงไปกําจัดหรือทําลายยังสถานท่ี

ฝงกลบตอไป

3) เพ่ือนําผลผลิตท่ีเกิดจากขบวนการแปรสภาพมาใชประโยชนในดานตางๆ เชน

เม่ือทําการแปรสภาพขยะดวยการยอยสลายทางชีวภาพแลว ก็จะไดปุยหมักหรือปุยอินทรียมาใช

ในการเพาะปลูก หรือทําการยอยสลายขยะทางชีวภาพ เพื่อใหไดกาซมีเทนมาใชเปนเชื้อเพลิง

ในดานตางๆ เชน การหุงตม การปนกระแสไฟฟา เปนตน การแปรสภาพขยะมูลฝอยสามารถกระทํา

ไดหลายวิธีดวยกัน เชน การแปรสภาพดวยการบด (grinding) การอัดใหแนน (compaction)

การแยกสวนประกอบ (separation) และการยอยสลายทางชีวภาพ (biodegradation)

2.2.7 การกําจัดหรือทําลาย

การกําจัดหรือทําลาย (disposal) เปนข้ันตอนสุดทายของการจัดการขยะ ซ่ึงเม่ือมีการดําเนินงาน

ในข้ันตอนตางๆ ตามท่ีไดกลาวมาเปนลําดับแลว ในท่ีสุดขยะท่ีไมสามารถนํากลับมาใชประโยชน

ไดอีกก็จะถูกขนสงไปยังสถานท่ีฝงกลบเพ่ือกําจัดตอไป (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 107) อยางไรก็ตาม

การกําจัดขยะมูลฝอยท่ีเปนอยูในปจจุบันนี้มิไดมีการฝงกลบเพียงวิธีเดียว แตยังมีวิธีการอ่ืนๆ ท่ีสามารถ

กระทําไดโดยข้ึนอยูกับปจจัยหลายประการท้ังในเรื่องคุณสมบัติของตัวขยะเองวาเปนขยะท่ีเปนอันตราย

หรือไมเปนอันตราย รวมไปจนถึงขอจํากัดในเรื่องของการจัดหาพื้นที่กอสรางสถานที่ฝงกลบและ

งบประมาณท่ีจะใชในการบริหารจัดการดวย ซ่ึงในท่ีนี้จะขอกลาวถึงวิธีกําจัดขยะมูลฝอยท้ังหมดท่ีพบ

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 25: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

12

ในปจจุบันไมวาจะเปนวิธีท่ีถูกตองตามหลักสุขาภิบาลหรือไมก็ตาม วิธีการเหลานี้ประกอบไปดวย

การเทกองบนพ้ืน (open dumping) การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล (sanitary landfill)

การฝงกลบโดยวิธีพิเศษ (secure landfill) และการเผาในเตาเผา (incineration) ตามลําดับ (อาณัติ

ตะปนตา, 2553, หนา 108)

1) การเทกองบนพ้ืน เปนวิธีการกําจัดขยะมูลฝอยอยางงายท่ีสุดและเสียคาใชจาย

นอยท่ีสุด กลาวคือ ขยะที่เก็บรวบรวมจากชุมชนจะถูกขนสงไปยังสถานที่ทิ้งขยะซึ่งอาจมีสภาพ

เปนท่ีราบทั่วไปหรืออาจเปนพื้นที่ที่เปนหลุมบอก็ไดขยะที่ขนสงมานั้นจะถูกเทลงมากองบนพ้ืนดิน

โดยมิไดดําเนินการใดๆ ทั้งสิ้น ซึ่งเมื่อมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นก็จะกลายเปนภูเขาขยะที่สรางปญหา

ในหลายๆ ดาน ท้ังเปนแหลงเพาะพันธุของพาหะนําโรคตางๆ เชน หนู แมลงวัน ฯลฯ และทําใหเกิด

น้ําเสียจากกองขยะซ่ึงอาจปนเปอนลงแหลงน้ําใกลเคียงหรือน้ําใตดินได วิธีนี้จึงไมถือวาเปนการกําจัด

ขยะท่ีถูกสุขลักษณะและควรตองหลีกเลี่ยงท่ีจะดําเนินการ ท้ังนี้ เนื่องจากเปนการทําลายทัศนียภาพ

ของพ้ืนท่ี และท่ีสําคัญก็คือ ทําใหเกิดความเดือดรอนรําคาญตอประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณ

โดยรอบพื้นที่ทิ้งขยะดังกลาวได อยางไรก็ตาม พบวา ในปจจุบัน ทองถิ่นหลายแหงทั่วประเทศ

มีการกําจัดขยะดวยวิธีเทกองบนพ้ืนอยู เนื่องจากทองถ่ินเหลานั้นไมมีสถานท่ีทิ้งขยะเปนของตนเอง

รวมท้ังยังขาดแคลนงบประมาณท่ีจะใชกอสรางสถานท่ีฝงกลบขยะอยางถูกหลักสุขาภิบาล นอกจาก

การนําขยะมาเทกองบนพ้ืนโดยไมไดจัดการใดๆ ดังกลาวแลว ในบางครั้งพบวากองขยะท่ีใหญข้ึนเรื่อยๆ

จะถูกเผาท้ิง เรียกวา การเผาในท่ีโลง (open burning) ซ่ึงการกระทําดังกลาวนี้ยิ่งทําใหเกิดปญหา

มลพิษตอสิ่งแวดลอมมากข้ึน เพราะควันไฟและเศษข้ีเถาจากการเผาขยะจะสรางมลพิษทางอากาศ

ซ่ึงนับเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัยของผูคนท่ัวไปได

2) การฝงกลบอยางถูกหลักสุขาภิบาล การกําจัดขยะโดยวิธีนี้เรียกวา sanitary landfill

ซ่ึงเปนการฝงกลบโดยนําวิธีการทางวิศวกรรมมาใชในการกําจัดขยะอยางถูกตองตามหลักสุขาภิบาล

กลาวคือ ขยะท่ีนํามาเทท้ิงลงบนพ้ืนดินจะถูกเกลี่ยใหกระจายและบดทับใหแนน จากนั้นทําการกลบทับ

ดวยดินและบดทับใหแนนอีกรอบหนึ่ง เม่ือมีการนําขยะมาท้ิงเพ่ิมอีกก็จะเกลี่ยใหกระจายและบดทับ

ดวยดินเปนชั้นๆ ไปเรื่อยๆ จนกวาสถานที่ฝงกลบนั้นจะเต็มและไมสามารถใชกําจัดขยะตอไปได

ก็จะทําการปดหลุมฝงกลบแหงนั้นอยางถาวรดวยการถมดวยดิน บดอัดใหแนน และมีการปลูกพืชคลุมดิน

เพ่ือปองกันการถูกกัดเซาะหรือการไหลบา (runoff) ของน้ําฝน หลุมฝงกลบขยะดวยวิธีนี้ในบางครั้ง

จะมีการใชวัสดุปูรองกนหลุมเอาไวดวยอีกชั้นหนึ่งท้ังนี้ เพ่ือเปนการปองกันการไหลซึมของน้ําชะมูลฝอย

ท่ีเกิดข้ึนภายในหลุมลงไปปนเปอนกับน้ําใตดินดานลาง ซ่ึงเปนการชวยทําใหเกิดความปลอดภัยตอ

สภาพแวดลอมมากยิ่งข้ึน แตในกรณีดังกลาวนี้ก็จําเปนตองเสียคาใชจายในการดําเนินงานเพ่ิมข้ึนไปดวย

และจากการสํารวจสถานท่ีฝงกลบขยะดวยวิธีการนี้ในทองถิ่นทั่วประเทศยังพบวา ยังมีอยูไมมากนัก

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 26: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

13

ดังนั้น รัฐบาลจึงจําเปนจะตองจัดสรรงบประมาณใหสามารถดําเนินการไดครอบคลุมใหพื้นที่ตางๆ

ใหเพ่ิมมากข้ึน

3) การฝงกลบโดยวิธีพิเศษ การดําเนินงานกําจัดขยะโดยวิธีพิเศษนี้ อาจเรียก

อีกอยางหนึ่งวา การฝงกลบอยางปลอดภัย (secure landfill) ซึ่งจะแตกตางจากการฝงกลบ

อยางถูกหลักสุขาภิบาล คือ เปนการฝงกลบเฉพาะขยะที่เปนอันตราย (hazardous waste) เทานั้น

โดยขยะอันตรายดังกลาวอาจมีแหลงกําเนิดมาจากชุมชนสวนหนึ่งและจากของเสียที่เกิดใน

ภาคอุตสาหกรรมอีกสวนหนึ่งการดําเนินงานโดยวิธีนี้จึงตองมีความเขมงวดและรัดกุมมากยิ่งข้ึน

เนื่องจากขยะอันตรายท่ีนํามาฝงกลบนั้น หากมีการรั่วไหลออกสูภายนอกยอมกอใหเกิดความเสียหาย

ท่ีรุนแรงตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพอนามัยของประชาชนได โดยท่ัวไปการฝงกลบประเภทนี้มักจะตอง

ทําการปูรองกนหลุมดวยวัสดุพิเศษท่ีมีอายุทนทานและไมฉีกขาดไดงายเมื่อใชงานเปนเวลานานๆ

ท้ังนี้เพ่ือสามารถปองกันการรั่วไหลของสารอันตรายนั่นเอง นอกจากนี้ขยะอันตรายที่นํามาฝงกลบ

ก็จะตองบรรจุไวในภาชนะท่ีหนาแนนและปดสนิท และมีการจัดวางในหลุมอยางเปนระบบ ปองกัน

มิใหมีการกระแทกในระหวางการฝงกลบซ่ึงอาจเปนสาเหตุใหเกิดการรั่วไหลได สําหรับสถานท่ีฝงกลบ

โดยวิธีพิเศษยังมีจํานวนไมเพียงพอที่จะรองรับขยะอันตรายที่เกิดขึ้นในปจจุบันไดเนื่องจากตองใช

เงินลงทุนสูงและตองอาศัยผูเชี่ยวชาญมาดําเนินการ

4) การเผาในเตาเผา เปนการนําขยะมูลฝอยมาเผาในเตาเผาท่ีมีอุณหภูมิสูงเพ่ือใหเกิด

ขบวนการเผาไหมอยางสมบูรณ ซ่ึงลักษณะของเตาเผาอาจจะแตกตางกันไปตามองคประกอบของขยะ

ท่ีเกิดข้ึนในแตละชุมชน กลาวคือ ถาชุมชนใดมีขยะชนิดท่ีเผาไหมไดงายและมีความชื้นต่ํา เตาเผาท่ีใช

ก็ไมจําเปนตองมีอุณหภูมิสูงมากนักก็เพียงพอตอการเผาไหมขยะดังกลาว แตถาชุมชนใดมีองคประกอบ

ของขยะท่ีเผาไหมไดยาก รวมท้ังมีเปอรเซ็นตความชื้นสูงเตาเผาที่ใชตองออกแบบใหมีเชื้อเพลิงชนิด

ท่ีใหความรอนสูงมากๆ นอกจากนี้เตาเผาขยะไมวาจะเปนรูปแบบใดก็ตามจําเปนตองใชเทคโนโลยี

ท่ีสามารถควบคุมการเผาไหม อุณหภูมิ ควัน ไอเสีย ตลอดจนเศษผงหรือฝุนละอองท่ีปนออกไปกับควัน

เสียดวย ท้ังนี้ เพ่ือเปนการปองกันมลพิษทางอากาศท่ีจะเกิดตามมา และในสวนของข้ีเถาซ่ึงเกิดจาก

ขบวนการเผาไหมขยะท่ีอยูดานลางของเตาเผาก็จะตองมีการนําเอาไปกําจัดหรือทําลายยังสถานท่ีฝงกลบ

อีกดวย (อาณัติ ตะปนตา, 2553, หนา 109-110)

2.3 ความรูและพฤติกรรมในการคัดแยกขยะมูลฝอยโดยใชหลัก 5 R

2.3.1 ความสําคัญของการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะ

กระบวนการท่ีจะทําใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอย ต้ังแตการวิเคราะห

วางแผน และทํากิจกรรม ซ่ึงจะชวยใหเกิดการพัฒนา (ปาริชาติ วลัยเสถียร, 2546, หนา 192)

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 27: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

14

ความสาํคัญของการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะ การมีสวนรวมเปนกระบวนการ

ทางสังคมท่ีเปดโอกาสใหผูท่ีมีสวนเก่ียวของในฐานะท่ีเปนผูท่ีมีสวนไดสวนเสีย ไดเขามามีสวนในการรับรู

ขอมูลขาวสาร การวิเคราะหปญหา การแสดงความคิดเห็น การดําเนินการ การประสานความรวมมือ

การติดตามตรวจสอบผลกระทบของการมีดําเนินการ ตลอดจนมีสวนรวมในการดําเนินการในเรื่องหนึ่ง

เรื่องใด อันเปนการแกไขปญหามูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของชุมชนหรือทองถ่ินของตน เพ่ือใหบรรลุตาม

ความตองการท่ีแทจริงของประชาชน และสอดคลองกับนโยบายของรัฐ เพ่ือใหเกิดการปองกัน แกไข

และจัดการไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ อันเปนการคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมและคุณภาพ

ชีวิตของประชาชน (เจิมศักดิ์ ปนทอง, 2527, หนา 272-273) การมีสวนรวมเปนกระบวนการท่ีมี

ปฏิสัมพันธระหวางกลุมคนตางๆ ในชุมชนหรือสังคมที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองสนับสนุน

ใหเกิดกระบวนการอยางสรางสรรค โดยมีองคประกอบการดําเนินงานดังนี้

1) การกําหนดวัตถุประสงคของการมีสวนรวมในเรื่องนั้นๆ ท่ีชัดเจน

2) การกําหนดเปาหมายท่ีตองการ

3) การกําหนดกลุมเปาหมายท่ีเขามามีสวนรวม

4) การสรางขอตกลงรวมกันในกระบวนการมีสวนรวม

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนองคกรหลักในระดับทองถ่ินท่ีตองเขามามีบทบาท

ในการดําเนินการเพ่ือการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ดังนั้นหลีกเลี่ยงไมไดท่ีตองเขาใจมิติทางสังคม

และวัฒนธรรมของชุมชน เพ่ือใหประชาชนในชุมชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการตางๆ ท่ีองคกร

ปกครองสวนทองถ่ินไดริเริ่มรวมกับชุมชนในการแกไขปญหา ปจจุบันการดําเนินการเพ่ือจัดหาสถานท่ี

กําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ท่ีเกิดข้ึนในชุมชนมักประสบปญหาการคัดคานจากประชาชนในชุมชน

ท้ังนี้เนื่องจากไมสามารถสื่อสารใหทุกฝายมีความเขาใจกันและกันในการวางแผนและตัดสินใจในโครงการ

ดังนั้นหากองคกรปกครองสวนทองถ่ินตระหนัก และเห็นคุณคาของการมีสวนรวม จะชวยลดขอขัดแยง

ในโครงการพัฒนาตางๆ ไดเปนอยางดีซ่ึงความสําคัญของการมีสวนรวมในมิติตางๆ ดังนี้ (ไพรัตน

เตชะรินทร, 2527, หนา 6-7)

1) ชวยเพ่ิมคุณคาในการตัดสินใจเพ่ือแกไขปญหาของชุมชน การตัดสินใจเพ่ือแกไข

ปญหาของชุมชน หากเปนการตัดสินใจฝายเดียว โดยเฉพาะการตัดสินใจแกไขปญหาของผูนําชุมชน

หรือหนวยงานราชการท่ีเก่ียวของ อาจไมเปนท่ียอมรับของสมาชิกในชุมชน ดังนั้นการมีสวนรวม

จึงชวยในการเพ่ิมคุณคาในการตัดสินใจรวมกัน

2) ชวยลดคาใชจายและเวลาของหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการแกไข

ปญหา โดยปกติการทํากระบวนการมีสวนรวมในการแกไขปญหา จะมีคาใชจายและเสียเวลา

ในการดําเนินการ แตในทางปฏิบัติแลวการมีสวนรวมของประชาชน สามารถชวยลดความลาชา

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 28: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

15

ท่ีเกิดจากความขัดแยงไดมาก ในกรณีท่ีไมมีการแกไขดวยการมีสวนรวม ปญหาอาจลุกลาม

ขยายความรุนแรงเพ่ิมข้ึนได

3) ชวยสรางฉันทามติรวมกันของสมาชิกในชุมชนตอการแกไขปญหาการมีสวนรวม

เปนกระบวนการท่ีตองอาศัยความรวมมือของทุกฝาย โดยเฉพาะสมาชิกในชุมชน องคกรปกครอง

สวนทองถ่ิน และสวนราชการท่ีเก่ียวของ การสรางขอตกลงดวยกระบวนการมีสวนรวมจึงเปนการยอมรับ

ของทุกฝายโดยฉันทามติรวม (consensus building) และเกิดความชอบธรรมในการแกไขปญหา

มลพิษสิ่งแวดลอม

4) ชวยเพ่ิมความงายตอการปฏิบัติตามแนวทางการแกไขปญหาการแสวงหาทางออก

ทางเลือกในการแกไขปญหาของชุมชน ดวยกระบวนการมีสวนรวม เปนการเพ่ิมความงายในการนําไป

ปฏิบัติ เพราะมีการระดมความคิดเห็นตอแนวทางปฏิบัติ ขั้นตอน วิธีการ หนวยงานรับผิดชอบ

การติดตามประเมินผล ดังนั้นจึงเปนผลดีตอการนําไปปฏิบัติตามแนวทางท่ีชัดเจน และทุกฝายเห็นพอง

ตองกัน

5) หลีกเลี่ยงการเผชิญหนาระหวางกันของคูกรณีพิพาทหากมีความขัดแยงของสมาชิก

ในชุมชนตอปญหามลพิษสิ่งแวดลอมท่ีเกิดข้ึนในชุมชน ยอมเปนความเสี่ยงตอการเกิดการเผชิญหนา

ระหวางคูกรณีพิพาทระหวางกันได ดังนั้นกระบวนการมีสวนรวมจึงเปนการใหทั้งสองฝาย รวมทั้ง

ฝายท่ีไดรับผลกระทบจากปญหามลพิษ ไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและหาขอสรุป

ในการแกไขปญหา ชวยลดการเผชิญหนาของคูกรณีไดเปนอยางดี

6) ดํารงไวซ่ึงความนาเชื่อถือของผูนําชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน การตัดสินใจ

ของผูนําชุมชน มักเปนการประนีประนอมมากกวาการใชแนวทางแบบฝายหนึ่งชนะอีกฝายหนึ่งแพ

(win-lose approach) ซ่ึงจะทําใหผูนําชุมชนมีแรงกดดันจากสมาชิกในชุมชนมาก อยางไรก็ตาม

การประนีประนอมกันมักไมนํามาซ่ึงการหาขอตกลงรวมกันได อันทําใหการแกไขปญหาไมเกิดผลเปน

รูปธรรม การมีสวนรวม จึงเปนการแสวงหาขอตกลงรวมกันของผูมีสวนไดสวนเสีย ไมเฉพาะผูนํา

ชุมชนฝายเดียวเทานั้น ดวยเหตุนี้จึงมีขอสรุปท่ีเกิดจากทุกฝาย ผูนําชุมชนเพียงแตอํานวยความสะดวก

ในการเตรียมการใหเกิดการมีสวนรวม และนําผลและขอตกลงไปปฏิบัติ

7) พัฒนาความคิดสรางสรรคของสมาชิกในชุมชนในการแกไขปญหา การมีสวนรวม

เปนกระบวนการท่ีตองอาศัยการระดมความคิดเห็นของสมาชิกในชุมชนและผูมีสวนเก่ียวของ ตั้งแต

การวิเคราะหปญหา ผลกระทบ โอกาสในการแกไขปญหา และความตองการในการแกไขปญหา ดังนั้น

ผูท่ีเขามารวมกระบวนการดวยความสมัครใจจะเกิดการพัฒนาความคิดและทักษะในกระบวนการ

ใหไดมาซ่ึงทางออกของการแกไขปญหา เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู ซ่ึงกันและกันและชวยสราง

ความสมานฉันทใหเกิดข้ึนกับชุมชน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 29: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

16

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

นิตยา วิบูลยเสข (2546, หนา 79) ทําการศึกษาเรื่องการกําจัดขยะมูลฝอยของผูท่ีอยูอาศัย

ในชุมชนสถาบันราชประชาสมาสัย มีความเห็นท่ีสอดคลองกันวาปญหาขยะมูลฝอยท่ีสงผลตอคน

ในชุมชน มีสาเหตุมาจากประชาชนยังขาดความรูความเขาใจในเรื่องเก่ียวกับการจัดการขยะ กําจัดขยะ

ไมถูกวิธี และยังสัมพันธกับการศึกษาของ สมสมาน อาษารัฐ (2548, หนา 46) ศึกษาการมีสวนรวม

ของประชาชนตอการจัดการขยะมูลฝอย กรณีศึกษาองคการบริหารสวนตําบลธาตุทอง อําเภอบอทอง

จังหวัดชลบุรี

เสาวลักษณ ขันทอง (2544, หนา 60) ไดศึกษาเรื่อง การประยุกตแบบแผนความเชื่อ

ดานสุขภาพรวมกับการสรางกําลังในตน ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการการขยะมูลฝอยของ

ประชาชนเขตเทศบาลแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี พบวา ภายหลังการจัดโปรแกรมสุขศึกษา กลุมตัวอยาง

มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตองมากกวากอนเขาโปรแกรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ในเรื่องการรับรูโอกาสเสี่ยงของการเกิดผลเสียตอสุขภาพ การรับรู ความรุนแรงของการเกิดผลเสียตอ

สุขภาพ การรับรูผลดีและความต้ังใจในการมีพฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอยจากผลเสียตอสุขภาพ

การรับรูผลดีและความต้ังใจในการมีพฤติกรรม การจัดขยะมูลฝอย จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงใหเห็นวา

การจัดโปรแกรมสุขศึกษา โดยการประยุกตใชแบบแผน ดานความเชื่อดานสุขภาพรวมกับการสรางพลัง

ในตน ทําใหครัวเรือนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ท้ังทางดานการรับรูและความต้ังใจ ในการปฏิบัติ

ไดถูกตองมากข้ึน สามารถนําไปประยุกตใชในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ

อรวรรณ เย็นใจ (2535, หนา 185-186) ไดศึกษาความรูและการปฏิบัติของประชาชนท่ีอาศัย

บริเวณริมคลองกรุงเทพมหานครเก่ียวกับการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลในครัวเรือน ศึกษากรณี

คลองโองอาง พบวา กลุมตัวอยางท่ีเปนเพศชายมีความรูเก่ียวกับการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

ภายในครัวเรือนมากกวาเพศหญิงและกลุมตัวอยางเปนเพศหญิงมีการปฏิบัติเก่ียวกับการกําจัดขยะมูลฝอย

และสิ่งปฏิกูลในครัวเรือนอยางถูกตองดีกวาเพศชาย

อัฏฐพร ศรีสนอง (2551, หนา 25) ศึกษาปญหาการจัดการขยะมูลฝอย ขององคการบริหาร

สวนจังหวัดชลบุรี ท่ีวาสภาพปญหาขยะของชุมชนเกิดจากไมมีการคัดแยกขยะ ชุมชนขาดความรู

ในการขยะอยางถูกวิธี อีกท้ังสภาพปญหาขยะเพ่ิมข้ึน ตามจํานวนประชากรท่ีเพ่ิมข้ึนดวย

จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวของ ผูวิจัยไดประยุกตทฤษฎีและแนวคิดของนักวิชาการ

ท่ีเก่ียวของกับการศึกษาเรื่อง ผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูในการจัดการขยะมูลฝอย

ครัวเรือน และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน ของประชาชนในตําบลพนมสารคาม อําเภอ

พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ซ่ึงชี้ใหเห็นวาปญหาขยะมูลฝอยในครัวเรือน ของตําบลพนมสารคาม

มีแนวโนมวาจะเพ่ิมมากข้ึน ซ่ึงอาจสงผลกระทบในอนาคตได เพราะประชากรสวนใหญขาดความรู

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 30: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

17

ขาดความเอาใจใสรวมถึงการมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยไปในทางท่ีไมเหมาะสม และไมถูกตอง

ดังนั้น การท่ีจะสามารถใหประชากรมีความรูมีพฤติกรรมและมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีข้ึน จึงมีการพัฒนา

ผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

เพ่ือเปรียบเทียบผลของความรูในการจัดการขยะมูลฝอย ในกลุมท่ีไดเขารวมโปรแกรมและกลุมท่ีไมได

เขารวมโปรแกรม และเปรียบเทียบผลของพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ในกลุมท่ีไดเขารวมโปรแกรม

และกลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม เพ่ือพัฒนาโปรแกรมผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรู

และพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนในอนาคตตอไป

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 31: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

16

บทท่ี 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่องผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย

ครัวเรือนของประชาชนใน ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะชิงเทรา เปนการวิจัย

ก่ึงทดลอง (quasi-experimental research) โดยมีวิธีดําเนินการวิจัยดังนี้

3.1 รูปแบบการวิจัย

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.3 เครื่องมือและการสรางเครื่องมือท่ีใชเก็บขอมูล

3.4 วิธีดําเนินการวิจัย

3.5 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 รูปแบบการวิจัย

รูปแบบการวิจัยในการศึกษาครั้งนี้เปนแบบ 2 กลุม วัด 2 ครั้ง (2 groups pretest posttest

design) คือ วัดคะแนนความรูและคะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน กอนเขารวม

โปรแกรมของกลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบ จากนั้นดําเนินการทดลองวัดคะแนนความรู และ

คะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน หลังการเขารวมโปรแกรมของกลุมทดลอง และ

กลุมเปรียบเทียบ อีกครั้งเม่ือสิ้นสุดการทดลอง

กลุมทดลอง O1 X O2

กลุมเปรียบเทียบ O3 O4

ภาพ 2 รูปแบบการทดลอง

ท่ีมา: (ธวัชชัย วรพงศธร, 2543, หนา 403)

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 32: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

17

แบบการทดลองดังแสดงในภาพ

O1

กลุมทดลอง

O2

W

1

P1

W

2

R1

W

3

R2

W

4

R3

W

5

R4

W

6

R5

W

7

R6

W

8

P2

พฤศจิกายน 2556 ธันวาคม 2556

O3

กลุมเปรียบเทียบ

8 สัปดาห O4

โดยกําหนดให

O1 แทน กลุมทดลองกอนเขารวมโปรแกรม 5 R

O2 แทน กลุมทดลองหลังเขารวมโปรแกรม 5 R

O3 และ O4 แทน กลุมเปรียบเทียบ (กลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม 5 R)

P1 แทน คะแนนความรูและคะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะของกลุมทดลอง

เปรียบเทียบกับกลุมเปรียบเทียบกอนเขารวมโปรแกรม 5 R

P2 แทน คะแนนความรูและคะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะของกลุมเปรียบเทียบ

เปรียบเทียบกับกลุมทดลองหลังเขารวมโปรแกรม 5 R

R1-R6 แทน การใหโปรแกรม 5 R แกกลุมทดลอง

W แทน สัปดาห

3.2 ประชากรและกลุมตัวอยาง

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 33: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

18

กลุมตัวอยางไดมาจากการสุมโดยไมใชหลักความนาจะเปน (non-probability sampling)

โดยกลุมทดลอง และกลุมเปรียบเทียบ ใชวิธีการกลุมตัวอยางเปนแบบเฉพาะเจาะจง (purposive

sampling) กลุมละ 30 คน ท่ีมีอายุอายุ 15-60 ป อาศัยอยูในตําบลพนมสารคาม

3.3 เคร่ืองมือและการสรางเคร่ืองมือที่ใชเก็บขอมูล

3.3.1 เครื่องมือเก็บขอมูล

แบบสอบถามท่ีสรางข้ึนมาจากการศึกษาตํารา เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของครอบคลุม

ตามวัตถุประสงคเปนแบบสอบถามประเภทมีโครงสรางชัดเจน ประกอบดวยคําถามแบบเลือกคําตอบ

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป แบงเปน

ลักษณะทางประชากรและสังคม ไดแก

เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน

รายไดในครัวเรือน

จํานวนสมาชิกในครัวเรือน

ลักษณะท่ีอยูอาศัย

การไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย

แหลงท่ีไดรับขอมูลขาวสาร

สวนท่ี 2 แบบทดสอบความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชน จํานวน 20 ขอ

โดยมีหลักเกณฑการใหคะแนน คือ ตอบถูกให 1 คะแนน ตอบผิดให 0 คะแนนสําหรับการประเมิน

ความรูจะประเมินโดยอิงเกณฑเปนหลัก มีการแปรผลเปนระดับ (ประคอง กรรณสูตร, 2551,

หนา 65-85) ดังนี้

คะแนน ความหมาย

ระดับความรู 16-20 ความรูระดับสูง

ระดับความรู 10-15 ความรูระดับปานกลาง

ระดับความรู 0-9 ความรูระดับนอย

สวนท่ี 3 แบบสอบถามเก่ียวกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชน

จํานวน 20 ขอ โดยมีหลักเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2527, หนา 63-76)

ขอคําถามเชิงลบ

ปฏิบัติทุกครั้ง 1 คะแนน ระดับพฤติกรรมไมดี

ปฏิบัติบอยครั้ง 2 คะแนน ระดับพฤติกรรมปานกลาง

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 34: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

19

ปฏิบัติเปนบางครั้ง 3 คะแนน ระดับพฤติกรรมดี

ไมเคยปฏิบัติ 4 คะแนน ระดับพฤติกรรมดีมาก

ขอคําถามเชิงบวก

ปฏิบัติทุกครั้ง 4 คะแนน ระดับพฤติกรรมดีมาก

ปฏิบัติบอยครั้ง 3 คะแนน ระดับพฤติกรรมดี

ปฏิบัติเปนบางครั้ง 2 คะแนน ระดับพฤติกรรมปานกลาง

ไมเคยปฏิบัติ 1 คะแนน ระดับพฤติกรรมไมดี

คะแนน ความหมาย

ระดับพฤติกรรม 61-80 พฤติกรรมดีมาก

ระดับพฤติกรรม 41-60 พฤติกรรมดี

ระดับพฤติกรรม 21-40 พฤติกรรมปานกลาง

ระดับพฤติกรรม 0-20 พฤติกรรมไมดี

3.3.2 การสรางเครื่องมือท่ีใชเก็บขอมูลและการตรวจสอบความถูกตอง

ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยทําการสรางเครื่องมือและพัฒนาเครื่องมือโดยการดําเนินการ

ตามข้ันตอนตอไปนี้

1) ผูวิจัยศึกษาคนควาเอกสาร งานวิจัย ท่ีเก่ียวของกับความรู และพฤติกรรม

ของกลุมตัวอยางไดมาจากความสมัครใจเขารวมการอบรมโปรแกรมหลัก 5 R เพ่ือนํามาเปนแนวทาง

ในการสรางแบบสอบถาม

2) กําหนดกรอบแนวคิดเพ่ือสรางแบบสอบถามท่ีใชในการวิจัย

3) สรางแบบสอบถามใหเนื้อหาครอบคลุมตามวัตถุประสงคของการวิจัยและตรวจสอบ

ความเท่ียงตรงของเนื้อหาจากอาจารยท่ีปรึกษาและผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน

4) นําผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญ สรุปหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ไดคา IOC

ดานความรูโดยรวมเทากับ 0.60 และดานพฤติกรรมโดยรวมเทากับ 0.96

5) นําแบบสอบถามท่ีสรางข้ึนและไดรับการปรับปรุงแกไขแลวไปทดลองใช (try out)

กับกลุมตัวอยางตําบลหนองยาว จํานวน 30 คน ไดคาความเชื่อม่ันดานความรู 0.76 และดานพฤติกรรม

0.78 ตามลําดับ (คาความเชื่อม่ันท่ียอบรับไดคือ ≥ 0.75 แตไมเกิน 1)

6) นําแบบทดสอบและสอบถามท่ีไดไปใชกับกลุมตัวอยางท่ีกําหนดไว

3.4 วิธีดําเนินการวิจัย

การเก็บรวบรวมขอมูลดําเนินการตามข้ันตอน ดังนี้

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 35: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

20

3.4.1 ระยะเตรียมการ

1) ติดตอประสานงานเทศบาลตําบลพนมสารคาม และองคการบริหารสวนตําบล

พนมสารคาม เพ่ือขอความอนุเคราะหลงพ้ืนท่ีในการเก็บรวบรวมขอมูล

2) ดําเนินการประชุมชี้แจงรายละเอียดในการทําวจิัย และวิธีดาํเนินงานใหแกกลุมทดลอง

3) ทําหนังสือเชิญวิทยากร เพ่ือมาใหความรูโปรแกรม 5 R แกกลุมทดลอง พรอมท้ัง

จัดเตรียมสถานท่ี

3.4.2 ระยะดาํเนินการทดลอง

1) สัปดาหท่ี 1 ดําเนินการทดสอบความรูและการสอบถามพฤติกรรมในการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือน ของกลุมทดลอง และกลุมเปรียบเทียบ เพื่อเปรียบเทียบระดับคะแนน

ของท้ัง 2 กลุม

2) สัปดาหท่ี 2 กลุมทดลองเขารับโปรแกรม 5 R ข้ันท่ี 1-reduce วิทยากรบรรยายถึง

การลดระดับการใชในปจจุบัน มีการควบคุมปริมาณการใชในสัดสวนท่ีพอเหมาะ เปนการลดขยะ

ท่ีตนทางโดยใหความรูแกผูเขารวมโปรแกรม เชน การเลือกใชสินคาชนิดเติม เชน ผงซักฟอก น้ํายา

ลางจาน การใชภาชนะ เชน ปนโต จานและกลองใสอาหารแทนการใชถุงพลาสติก และลดการใชสินคา

ฟุมเฟอย เชน ใชผาเช็ดหนาแทนการใชกระดาษทิชชู

3) สัปดาหท่ี 3 กลุมทดลองเขารับโปรแกรม 5 R ข้ันท่ี 2-reuse วิทยากรบรรยายถึง

ประโยชนจากการใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางคุมคาท่ีสุด เชน การเลือกซ้ือผลิตภัณฑท่ีออกแบบมาใชได

มากกวา 1 ครั้ง หรือการซอมแซมเครื่องใชและอุปกรณตางๆ ใหกลับมาใชประโยชนไดอีก เชน

การนําขวดน้ําท่ีใชแลวนํากลับมาใชใหม หรือการนําถุงพลาสติกท่ีไดจากการซ้ือสินคานํากลับมาใชซํ้า

4) สัปดาหท่ี 4 กลุมทดลองเขารับโปรแกรม 5 R ข้ันท่ี 3-recycle วิทยากรบรรยายถึง

การลดปริมาณขยะโดยคัดแยกขยะประเภท แกว กระดาษ พลาสติก และโลหะ/อโลหะ เพ่ือสงโรงงาน

หรือรานรับซ้ือของเกาเพ่ือนําขยะท่ีไดไปผานขบวนการจนสามารถนํากลับมาใชไดอีก

5) สัปดาหท่ี 5 กลุมทดลองเขารับโปรแกรม 5 R ขั้นที่ 4-repair วิทยากรบรรยาย

ใหผูเขารวมโปรแกรม ใสใจและเห็นคุณคาในสิ่งของท่ีใช เชน มีการดูแลรักษาความสะอาดสิ่งของท่ีใช

อยูเปนประจําเพ่ือยืดอายุการใชงาน และหากสิ่งของเกิดความชํารุดเสียหายก็นําไปซอมในสิ่งท่ีซอมได

6) สัปดาหท่ี 6 กลุมทดลองเขารับโปรแกรม 5 R ข้ันท่ี 5-reject วิทยากรบรรยายถึง

การปฏิเสธวัสดุสิ่งของตางๆ ท่ีไมเปนมิตรกลับสิ่งแวดลอม เชน ปฏิเสธการซื้อสินคาที่มีบรรจุภัณฑ

ทําจากโฟม

7) สัปดาหท่ี 7 เปนการสรุปทบทวนโปรแกรม 5 R ท้ัง 5 ข้ันตอนโดยวิทยากร

8) สัปดาหท่ี 8 ดําเนินการทดสอบความรูและการสอบถามพฤติกรรมในการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือน เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนระหวางกลุมทดลอง และกลุมเปรียบเทียบภายหลัง

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 36: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

21

เขารวมโปรแกรม และเปรียบเทียบคะแนนความรูและคะแนนพฤติกรรมของกลุมทดลองกอนการเขารวม

โปรแกรม และหลังการเขารวมโปรแกรม

3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.5.1 การวิเคราะหขอมูลคุณลักษณะสวนบุคคลของกลุมตัวอยางใชสถิติเชิงพรรณนา ไดแก

จํานวนความถ่ี รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3.5.2 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนระหวาง

กลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบภายหลังการทดลองใชสถิติ t-test

3.5.3 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนระหวาง

กลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบ ภายหลังการทดลองใชสถิติ t-test

3.5.4 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของ

กลุมทดลองกอนและหลังการทดลองใชสถิติ paired t-test

3.5.5 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของ

กลุมทดลองกอนและหลังการทดลองใชสถิติ paired t-test

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 37: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

21

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการวิเคราะหขอมูลการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

โดยแบงออกเปน 2 สวนดังนี้

4.1 การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูล

4.1 การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล

ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามข้ันตอนของโปรแกรม 5 R และนําเสนอผล

การวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ซ่ึงแบงหัวขอท่ีจะนําเสนอออกเปน 7 สวน ดังนี้

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปดานคุณลักษณะประชากร

สวนท่ี 2 ผลการวิเคราะหระดับความรู กอนและหลังการทดลอง ของกลุมทดลองและ

กลุมเปรียบเทียบ

สวนท่ี 3 ผลการวิเคราะหระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ของประชาชนกลุมที่เขารวมโปรแกรมและประชาชนกลุมที่ไมเขารวม

โปรแกรม

สวนท่ี 4 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

สวนท่ี 5 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

สวนท่ี 6 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 38: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

22

สวนท่ี 7 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลองระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

4.2 ผลการวิเคราะหขอมูล

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปดานคุณลักษณะประชากร

ตาราง 1 จํานวนและรอยละของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R จําแนกตามขอมูลท่ัวไป

ขอมูลท่ัวไป

ประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

ประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

เพศ

ชาย 13 43.33 14 46.67

หญิง 17 56.67 16 53.33

อายุ

15-19 ป 2 6.67 2 6.67

20-24 ป 4 13.33 2 6.67

25-29 ป 0 0.00 2 6.67

30-34 ป 7 23.33 3 10.00

35-39 ป 4 13.33 7 23.33

40-44 ป 2 6.67 4 13.33

45-49 ป 7 23.33 5 16.67

50-54 ป 4 13.33 4 13.33

55-59 ป 0 0.00 1 3.33

60 ปข้ึนไป 0 0.00 0 0.00

X 37.50 38.93

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 39: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

23

S.D. 11.18 10.66

min 16 18

max 54 56

ระดับการศึกษา

ประถมศึกษา 18 60.00 17 56.67

มัธยมศึกษาหรือเทียบเทา 8 26.66 7 23.33

อนุปริญญาหรือเทียบเทา 2 6.67 3 10.00

ปริญญาตรีหรือสูงกวา 2 6.67 3 10.00

ตาราง 1 (ตอ)

ขอมูลท่ัวไป

ประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

ประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

อาชีพ

รับจาง 8 26.67 9 30.00

พอบาน/แมบาน 4 13.33 5 16.67

รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 2 6.67 1 3.33

พนักงานบริษัทเอกชน 9 30.00 8 26.67

ธุรกิจสวนตัว 3 10.00 4 13.33

อ่ืนๆ 4 13.33 3 10.00

ระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน

0-3 ป 5 16.67 6 20.00

3-5 ป 16 53.33 17 56.67

มากกวา 5 ป 9 30.00 7 23.33

รายไดตอเดือน

5,000 บาท หรือนอยกวา 2 6.67 0 00.00

5,001-10,000 บาท 3 10.00 5 16.67

10,001-15,000 บาท 8 26.67 8 26.67

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 40: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

24

15,001-20,000 บาท 12 40.00 14 46.66

มากกวา 20,000 บาท 5 16.67 3 10.00

รายไดตอเดือน

X 15,276.67 15,176.67

S.D. 5,460.55 5,460.56

min 4,800 6,000

max 27,100 26,100

จํานวนสมาชิกในครัวเรือน

1-3 คน 12 40.00 15 50.00

4-6 คน 17 56.67 13 43.33

มากกวา 6 คนข้ึนไป 1 3.33 2 6.67

ลักษณะท่ีอยูอาศัย

ชุมชนชนบท 5 16.67 6 20.00

ชุมชนก่ึงเมือง 24 80.00 22 73.33

ชุมชนเมือง 1 3.33 2 6.67

ตาราง 1 (ตอ)

ขอมูลท่ัวไป

ประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

ประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

ไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับ

การจัดการขยะมูลฝอย

ไดรับ 30 100.00 7 23.33

ไมไดรับ 0 0.00 23 76.67

แหลงขอมูลขาวสารจาก

หนังสือพิมพ 5 16.67 4 13.33

วิทย ุ 4 13.33 7 23.33

โทรทัศน 3 10.00 5 16.67

อบต. 15 50.00 12 40.00

เทศบาล 2 6.67 0 0.00

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 41: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

25

อ่ืนๆ 1 3.33 2 6.67

จากตาราง 1 พบวา ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R เปนเพศหญิง จํานวน 17 คน

คิดเปนรอยละ 56.67 และเพศชาย จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 43.33 สวนใหญมีอายุ 30-34 ป

จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33 และอายุ 45-49 ป จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33 มีอายุ

ต่ําสุดเทากับ 16 ป อายุสูงสุดเทากับ 54 ป และมีอายุเฉลี่ย 37.50 ป ไดรับการศึกษาในระดับ

ประถมศึกษา จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 60.00 รองลงมาไดรับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา

หรือเทียบเทา จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 26.66 สวนใหญประกอบพนักงานบริษัทเอกชน จํานวน

9 คน คิดเปนรอยละ 30.00 รองลงมาประกอบอาชีพรับจาง จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 26.67

สวนใหญมีระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน 3-5 ป จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 53.33 รองลงมาท่ีอาศัย

อยูในชุมชน มากกวา 5 ป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 30.00 มีรายไดตอเดือน 15,001-20,000 บาท

จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 40.00 รองลงมามีรายไดตอเดือน 10,001-15,000 บาท จํานวน 8 คน

คิดเปนรอยละ 26.67 มีรายไดตอเดือนต่ําสุด 4,800 บาท มีรายไดตอเดือนสูงสุด 27,100 บาท และ

มีรายไดตอเดือนเฉลี่ย 15,276.67 บาท สวนใหญมีสมาชิกในครัวเรือน 4-6 คน จํานวน 17 คน

คิดเปนรอยละ 56.67 รองลงมามีสมาชิกในครัวเรือน 4-6 คน จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 40.00

มีลักษณะท่ีอยูอาศัยแบบชุมชนก่ึงเมือง จํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 80.00 รองลงมามีลักษณะ

ท่ีอยูอาศัยแบบชุมชนชนบท จํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 16.67 ไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับ

การจัดการขยะมูลฝอย คิดเปนรอยละ 100.00 ไดรับขอมูลขาวสารจากองคการบริหารสวนตําบล

จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 50.00 รองลงมาไดรับขอมูลขาวสารจาก หนังสือพิมพ จํานวน 5 คน

คิดเปนรอยละ 16.67

สวนประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R เปนเพศชาย จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ

53.33 เปนเพศหญิง จํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ 46.67 มีอายุ 35-39 ป จํานวน 7 คน คิดเปน

รอยละ 23.33 มีอายุต่ําสุดเทากับ 18 ป อายุสูงสุดเทากับ 56 ป และมีอายุเฉลี่ย 38.93 ป สวนใหญ

ไดรับการศึกษาในระดับประถมศึกษา จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 56.67 รองลงมาไดรับการศึกษา

ในระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเทา จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33 สวนใหญประกอบอาชีพรับจาง

จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 30.00 รองลงมาประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จํานวน 8 คน

คิดเปนรอยละ 26.67 สวนใหญมีระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน 3-5 ป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ

56.67 รองลงมาอาศัยอยูในชุมชน มากกวา 5 ป จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33 มีรายได

ตอเดือน 15,001-20,000 บาท จํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ 46.66 รองลงมา มีรายไดตอเดือน

10,001-15,000 บาท จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 26.67 กลุมตัวอยางมีรายไดตอเดือนต่ําสุด

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 42: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

26

6,000 บาท และมีรายไดตอเดือนสูงสุด 26,100 บาท รายไดเฉลี่ย 15,176.67 บาท สวนใหญมีสมาชิก

ในครัวเรือน 1-3 คน จํานวน 15 คน คิดเปนรอยละ 50.00 รองลงมามีสมาชิกในครัวเรือน 4-6 คน

จํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 43.33 สวนใหญมีลักษณะท่ีอยูอาศัยแบบชุมชนก่ึงเมือง จํานวน 22 คน

คิดเปนรอยละ 73.33 รองลงมามีลักษณะที่อยูอาศัยแบบชุมชนชนบท จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ

20.00 ไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 76.67

ไดรับขอมูลขาวสารจากองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 40.00 รองลงมา

ไดรับขอมูลขาวสารจากวิทยุ จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33

สวนท่ี 2 ผลการวิเคราะหระดับความรู กอนและหลังการทดลอง ในประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R และในประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

ตาราง 2 จํานวนและรอยละระดับความรู กอนและหลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

ระดับความรู

ประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

ประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

กอนทดลอง หลังทดลอง กอนทดลอง หลังทดลอง

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

สูง 0 00.00 7 23.33 0 00.00 0 00.00

ปานกลาง 18 60.00 23 76.67 20 66.67 21 70.00

นอย 12 40.00 0 00.00 10 96.70 9 30.00

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

จากตาราง 2 พบวา ในกลุมทดลองมีคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

กอนเขารวมโปรแกรม อยูในระดับปานกลาง จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 60.00 และอยูในระดับนอย

จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 40.00 สวนหลังการเขารวมโปรแกรม พบวา มีคะแนนความรูอยูใน

ระดับสูง จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33 และอยูในระดับปานกลาง จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ

76.67 สําหรับกลุมเปรียบเทียบ กอนทดลองพบวา มีคะแนนความรูอยูในระดับปานกลาง 20 คน

คิดเปนรอยละ 66.67 และมีคะแนนความรูอยูในระดับนอย จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 96.70

สวนหลังการทดลองกลุมเปรียบเทียบมีคะแนนความรูอยูในระดับปานกลาง จํานวน 21 คน คิดเปน

รอยละ 70.00 และมีคะแนนความรูในระดับนอย จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 30.00 หลังการทดลอง

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 43: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

27

พบวา กลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนสูงกวากลุมเปรียบเทียบ

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และมีคะแนนแตกตางจากจากกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ .05 สวนในกลุมเปรียบเทียบพบวามีคะแนนความรูหลังการทดลองไมเปลี่ยนแปลง

ไปจากกอนการทดลอง

สวนท่ี 3 ผลการวิเคราะหระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวมกอนและ

หลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

ตาราง 3 จํานวนและรอยละของระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนกอนและหลัง

การทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

ระดับ

พฤติกรรม

ประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

ประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R (n=30)

กอนทดลอง หลังทดลอง กอนทดลอง หลังทดลอง

จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

ดีมาก 0 0.00 3 10.00 0 0.00 0 0.00

ด ี 7 23.33 26 86.67 3 10.00 4 13.33

ปานกลาง 23 76.67 1 3.33 27 90.00 26 86.67

ไมดี 0 0.00 0 0.00 0 73.30 0 0.00

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

จากตาราง 3 พบวา ในกลุมทดลองมีคะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

กอนเขารวมโปรแกรม อยูในระดับดี จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33 และอยูในระดับปานกลาง

จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 76.67 สวนหลังการเขารวมโปรแกรม พบวา มีคะแนนพฤติกรรมอยูใน

ระดับดีมาก จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 10.00 อยูในระดับดี จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 86.67

และอยูในระดับปานกลาง จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 3.33 สําหรับกลุมเปรียบเทียบ กอนทดลอง

พบวา มีคะแนนพฤติกรรมอยูในระดับดี 3 คน คิดเปนรอยละ 10.00 มีคะแนนพฤติกรรมอยูในระดับ

ปานกลาง จํานวน 27 คน คิดเปนรอยละ 90.00 สวนหลังการทดลองกลุมเปรียบเทียบมีคะแนน

พฤติกรรมอยูในระดับดี จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 13.33 และมีคะแนนพฤติกรรมในระดับปานกลาง

จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 86.67 หลังการทดลองพบวา กลุมที่เขารวมโปรแกรม มีคะแนน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 44: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

28

พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนสูงกวากลุมเปรียบเทียบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

และมีคะแนนแตกตางจากจากกอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนในกลุม

เปรียบเทียบพบวา มีคะแนนพฤติกรรมหลังการทดลองไมเปลี่ยนแปลงไปจากกอนการทดลอง

สวนท่ี 4 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ในประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

ตาราง 4 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวมกอนและ

หลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

ความรู X S.D. t p-value

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R

กอนการทดลอง 10.53 1.716 -11.363 .000

หลังการทดลอง 14.96 1.272

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

กอนการทดลอง 10.50 1.717 -.619 .538

หลังการทดลอง 10.80 2.023

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

จากตาราง 4 พบวา ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R มีคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม หลังการทดลอง สูงกวากอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ท่ีระดับ .05 (t = -11.363, p<.05) สวนประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R มีคะแนนเฉลี่ยความรู

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม กอนและหลังการทดลอง ไมแตกตางกัน

สวนท่ี 5 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 45: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

29

ตาราง 5 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม กอนและ

หลังการทดลอง ระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ี

ไมเขารวมโปรแกรม 5 R

ความรู X S.D. t p-value

กอนการทดลอง

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R 10.53 1.716 -.075 .940

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R 10.50 1.717

หลังการทดลอง

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R 14.96 1.272 -9.546 .000

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R 10.80 2.023

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

จากตาราง 5 พบวา ภายหลังการทดลอง ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R มีคะแนนเฉลี่ย

ความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม สูงกวาประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

สวนท่ี 6 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ของประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

ตาราง 6 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ในประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชน

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

(n = 30)

พฤติกรรม X S.D. t p-value

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 46: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

30

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R

กอนการทดลอง 37.23 5.16 -8.318 .000

หลังการทดลอง 52.03 8.26

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

กอนการทดลอง 37.36 5.22 -.596 .553

หลังการทดลอง 38.13 4.71

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

จากตาราง 6 พบวา ประชาชนกลุมที่เขารวมโปรแกรม 5 R มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม ภายหลังการทดลอง สูงกวากอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติท่ีระดับ .05 (t = -8.318, p<.05) สวนประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R มีคะแนนเฉลี่ย

พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม กอนและหลังการทดลอง ไมแตกตางกัน

สวนท่ี 7 ผลการวิเคราะหคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชนกลุมท่ีไมเขารวม

โปรแกรม 5 R

ตาราง 7 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

กอนและหลังการทดลอง ระหวางประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R และประชาชน

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

พฤติกรรม X S.D. t p-value

กอนการทดลอง

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R 37.2333 5.16409 .099 .921

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R 37.3667 5.22912

หลังการทดลอง

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R 52.0333 8.26494 8.000 .000

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R 38.1333 4.71778

* มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 47: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

31

จากตาราง 7 พบวา ภายหลังการทดลอง ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R มีคะแนนเฉลี่ย

พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม สูงกวาประชาชนกลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (t = 8.000, p<.05)

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 48: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

30

บทท่ี 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรมในการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตาํบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

เปนการวิจัยก่ึงทดลอง (quasi-experimental research) มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาโปรแกรม 5 R

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบระดับคะแนนความรูและคะแนนพฤติกรรม

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R กับกลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม

ประชากรกลุมตัวอยาง ไดแก ประชากรที่มีอายุตั้งแต 15 ป-60 ป ตําบลพนมสารคาม อําเภอ

พนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุมตัวอยางไดมาจากการสุมแบบเจาะจง จํานวน 60 คน

โดยแบงออกเปนสองกลุม ไดแก กลุมทดลอง และกลุมเปรียบเทียบ กลุมละ 30 คน วิเคราะหขอมูล

โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป คํานวณหา จํานวนความถ่ี รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน และเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนความรูและคะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย

ครัวเรือนระหวางกลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบ สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และมีขอเสนอแนะ

ดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย

5.2 อภิปรายผล

5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย

5.1.1 ตามสมมติฐานขอท่ี 1.4.1 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ของประชาชน

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากลุมท่ีไมไดเขารวม

โปรแกรม ผลการวิจัยพบวา ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R (กลุมทดลอง) มีคาเฉลี่ยคะแนน

ความรูสูงกวากลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม (กลุมเปรียบเทียบ) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาของ สุวัฒน ฤทธิ์สําเร็จ (2545) ท่ีพบวา ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ

การจัดการขยะมูลฝอยมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน

5.1.2 ตามสมมติฐานขอท่ี 1.4.2 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ของประชาชน

กลุมท่ีเขารวมโปรแกรมมีคะแนนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากลุมท่ีไมไดเขารวม

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 49: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

31

โปรแกรม ผลการวิจัยพบวา ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R (กลุมทดลอง) มีคาเฉลี่ยคะแนน

พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากลุมท่ีไมไดเขารวมโปรแกรม (กลุมเปรียบเทียบ)

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ ณัฐรดี คงดั่น ท่ีไดศึกษาปจจัย

ท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน เขตมีนบุรี ท่ีพบวา ระดับการศึกษา และ

ความรูมีผลตอพฤติกรรมของประชาชนในการคัดแยกขยะมูลฝอยครัวเรือน

5.1.3 ตามสมมติฐานขอท่ี 1.4.3 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรมมีคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากอนเขารวมโปรแกรม

ผลการวิจัยพบวา ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R (กลุมทดลอง) มีคาเฉลี่ยคะแนนความรูสูงกวา

กอนเขารวมโปรแกรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคลองกับการวิจัยของ ศักดิ์สิทธิ์

แยมศรี (2543) ท่ีศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการขยะในเขตองคการบริหารสวนตําบล

หนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ท่ีพบวา การศึกษาและความรูสงผลใหประชาชนมีพฤติกรรม

การคัดแยกขยะมากกวากลุมท่ีมีการศึกษาต่ําหรือกลุมท่ีไมไดรับความรูในการจัดการขยะ

5.1.4 ตามสมมติฐานขอท่ี 1.4.4 ภายหลังการเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวม

โปรแกรมมีคะแนนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนสูงกวากอนเขารวมโปรแกรม

ผลการวิจัยพบวา ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R (กลุมทดลอง) มีคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรม

สูงกวากอนเขารวมโปรแกรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาวิจัย

ของ สมสมาน อาษารัฐ (2548) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการขยะมูลฝอย กรณีศึกษา

องคการบริหารสวนตําบลธาตุทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี

5.2 อภิปรายผล

5.2.1 กอนเขารวมโปรแกรม 5 R ประชาชนกลุมท่ีเขารวมโปรแกรม 5 R (กลุมทดลอง)

มีคาเฉลี่ยคะแนนความรูอยูในระดับปานกลาง จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 60.00 ภายหลังเขารวม

โปรแกรม 5 R (กลุมทดลอง) มีคะแนนความรูอยูในระดับปานกลาง จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ

76.67 และมีคะแนนความรูอยูในระดับสูง จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 23.33 และประชาชน

กลุมท่ีไมเขารวมโปรแกรม 5 R (กลุมเปรียบเทียบ) มีคะแนนความรูอยูในระดับปานกลาง จํานวน 20 คน

คิดเปนรอยละ 66.67 ภายหลังเขารวมโปรแกรม สวนใหญมีระดับความรู อยูในระดับปานกลาง

จํานวน 21 คน คิดเปนรอยละ 70.00

กอนการทดลองประชาชนกลุมที่เขารวมโปรแกรม 5 R สวนใหญมีระดับพฤติกรรม

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรอืนโดยรวมอยูในระดับปานกลาง จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 76.67

ภายหลังการเขารวมโปรแกรมสวนใหญมีระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 50: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

32

อยูในระดับดี จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 86.67 รองลงมามีระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย

ครัวเรือนโดยรวมอยูในระดับดีมาก จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 10.00

กอนการทดลองประชาชนกลุมที่ไมเขารวมโปรแกรม 5 R สวนใหญมีระดับพฤติกรรม

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวม อยูในระดับปานกลาง จํานวน 27 คน คิดเปนรอยละ 90.00

ภายหลังการทดลอง สวนใหญมีระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนโดยรวมอยูในระดับ

ปานกลาง จํานวน 26 คน คิดเปนรอยละ 86.67 รองลงมามีระดับพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย

ครัวเรือนโดยรวม อยูในระดับดี จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 13.33

ดานคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของกลุมทดลองเปรียบเทียบ

กลุมเปรียบเทียบกอนเขารวมโปรแกรม 5 R พบวา กลุมเปรียบเทียบมีคาเฉลี่ยคะแนนความรู

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน 10.53 กลุมเปรียบเทียบมีคาเฉลี่ยคะแนนความรูในการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือน 10.50 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05

หลังการเขารวมโปรแกรม 5 R พบวา กลุมทดลองมีคาเฉลี่ยคะแนนความรูในการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือน 14.96 และกลุมเปรียบเทียบมีคาเฉลี่ยคะแนนความรูในการจัดการขยะมูลฝอย

ครัวเรือน 10.80 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ บวร มูลสระคู

(2549) ศึกษายุทธศาสตรการแกไขปญหาขยะมูลฝอยของชุมชนแบบมีสวนรวมขององคการบริหาร

สวนตําบลโปง อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ดานคะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

ของกลุมทดลองและกลุมเปรียบเทียบกอนเขารวมโปรแกรม 5 R พบวา กลุมทดลองมีคาเฉลี่ยคะแนน

พฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน 37.23 กลุมเปรียบเทียบมีคาเฉลี่ยคะแนนความรู

ในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน 37.36 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับ

สุนีย มัลลิกะมาลย และนันทพล กาญจนวัฒน (2543) ศึกษาการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการ

ขยะชุมชน ไดผลสอดคลองกับ จงรักษ วงษสิงห (2549) ศึกษาการพัฒนาการมีสวนรวมในการจัดการ

ขยะของบานปากคลองบางคู อําเภอทาวุง จังหวัดลพบุรี วาวิธีการแกไขปญหาขยะตองอาศัยกลไก

ทางชุมชนอาศัยทฤษฎีการมีสวนรวม อีกทั้งหนวยงานที่อยูในชุมชน เชน โรงเรียนและองคกร

การปกครองสวนทองถ่ิน จะตองเขามามีบทบาทโดยอาจเขามามีสวนรวมดําเนินการหรือใหการสนับสนุน

หลังการเขารวมโปรแกรม 5 R พบวา กลุมทดลองมีคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมในการจัดการ

ขยะมูลฝอยครัวเรือน 52.03 กลุมเปรียบเทียบมีคาเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย

ครัวเรือน 38.13 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของ กัญญา จาอาย

(2549) ศึกษาเรื่อง การมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนสันกลาง อําเภอสันกําแพง

จังหวัดเชียงใหม การท่ีชุมชนหรือประชาชนเขามามีสวนรวมจัดการปญหาขยะในทุกขั้นตอน

จะชวยลดปญหาขยะได

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 51: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

33

5.3 ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในการวิจัย

5.3.1 ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช

1) โปรแกรม 5 R เปนโปรแกรมความรูเพ่ือสรางเสริมพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย

ในครัวเรือนซ่ึงจะตองอาศัยการทําความเขาใจกับประชาชน และผูนําชุมชน ดังนั้นการเตรียมชุมชน

จึงมีความสําคัญมาก เนื่องจากบริบทแตละพ้ืนท่ีมีความแตกตางกัน

2) ควรนาํโปรแกรม 5 R ไปทดลองใชในพ้ืนท่ีอ่ืนๆ เพ่ือนําผลการวิจัยมาเปรียบเทียบ

5.3.2 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป

1) เราสามารถตอยอดจากโปรแกรม 5 R มาเปน 7 R ไดตามสภาพปญหาท่ีพบ

2) เราควรลองนําโปรแกรม 5 R ไปใชในหนวยงานภาครัฐและเอกชน เชน โรงเรียน

มหาวิทยาลัย หรือโรงงานตางๆ เปนตน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 52: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

33

รายการอางอิง

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 53: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

34

รายการอางอิง

กรมควบคุมมลพิษ. (2556). รายงานสถานการณมลพิษ [ออนไลน]. เขาถึงขอมูลวันท่ี 6 มกราคม 2557.

จาก http:// www.onep.go.th.

กัญญา จาอาย. (2549). การมีสวนรวมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนสันกลาง อําเภอสันกําแพง

จังหวัดเชียงใหม. การคนควาแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสงเสริม

สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

จงรักษ วงษสิงห. (2549). การพัฒนาการมีสวนรวมในการจัดการขยะของบานปากคลองบางคู

ตําบลบางคู อําเภอทาวุง จังหวัดลพบุรี. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

เจิมศักด ปนทอง. (2526). การระดมประชาชนเพ่ือพัฒนาชนบทในการบริหารพัฒนาชนบท.

กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ณัฐรดี คงดั่น. (2546). ปจจัยท่ีมีผลตอพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตมีนบุรี.

กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ธวัชชัย วรพงศธร. (2543). หลักการวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร (พิมพครั้งท่ี 4). กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ธเรศ ศรีสถิต. (2553). วิศวกรรมการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

นิตยา วิบูลยเสข. (2546). การกําจัดขยะมูลฝอยของผูท่ีอยูอาศัยในชุมชนสถาบันราชประชาสมาสัย

อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). สถิติวิเคราะหเพ่ือการวิจัย (พิมพครั้งท่ี 4). กรุงเทพฯ:

จามจุรีโปรดักท.

ปาริชาติ วลัยเสถียร และคนอ่ืนๆ. (2546). กระบวนการและเทคนิคการทํางานของนักพัฒนา

(พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ.

ปรีดา แยมเจริญวงศ. (2531). การจัดการขยะมูลฝอย. คณะสาธารณสุขศาสตร ภาควิชา

วิทยาศาสตรสุขาภิบาล มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ไพรัตน เตชะรินทร. (2527). นโยบายและกลวิธีการมีสวนรวมของชุมชนในยุทธศาสตรการพัฒนา

ปจจุบันของประเทศไทย ในการมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ:

ศักดิ์โสภาการพิมพ

ศักดิ์สิทธิ์ แยมศรี. (2543). การมีสวนรวมของประชาชนในการกําจัดขยะในเขตองคการบริหาร

สวนตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 54: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

35

สนองประคอง กรรณสูต. (2542). สถิติเพ่ือการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สมสมาน อาษารัฐ. (2548). การมีสวนรวมของประชาชนตอการจัดการขยะมูลฝอย: กรณีศึกษา

องคการบริหารสวนตําบลธุาตทอง อําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตรการพัฒนา สํานักงานบัณฑิตศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

สมไทย วงษเจริญ. (2551). คูมือคัดแยกขยะประจําบาน. กรุงเทพฯ: จําปาทองพริ้นติ้ง.

เสาวลักษณ ขันทอง. (2544). การประยุกตแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพรวมกับการสรางพลังในตน

ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน เขตเทศบาลแหลมฉบัง

จังหวัดชลบุรี. กรุงเทพฯ: ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย.

สุนีย มัลลิกะมาลย และนันทพล กาญจนวัฒน. (2543). การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการ

ขยะชุมชน. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ.

อัฏฐพร ศรีสนอง. (2551). ปญหาการจัดการขยะมูลฝอยขององคการบริหารสวนจังหวัดชลบุรี.

ชลบุร:ี มหาวิทยาลัยบูรพา.

อรวรรณ เย็นใจ. (2535). ความรูและการปฏิบัติของประชาชนท่ีอาศัยบริเวณริมคลองกรุงเทพฯ

เก่ียวกับการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลภายในครัวเรือน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

อาณัติ ตะปนตา. (2553). ความรูเบื้องตนเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย. กรุงเทพฯ:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุวัฒน ฤทธิ์สําเร็จ. (2545). การมีสวนรวมของประชาชนในการจัดขยะมูลฝอย: 0 ศึกษาเฉพาะกรณี

ของชุมชนในเขตเทศบาลตําบลบางเสาธง ก่ิงอําเภอบางเสาธง0 อําเภอบางพลี จังหวัด

สมุทรปราการ. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา

Tchobanoglous, G. & Kreith, F. (2002). Handbook of Solid Waste Management

(2nd ed). New York: McGraw-Hill.

Lagrega, M.D., Buckingham, P.L. & Evans, J.C. (2010). Hazardous Waste Management.

Waveland: Press.

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 55: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ภาคผนวก

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 56: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ภาคผนวก ก

แบบสอบถาม

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 57: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

กลุมทดลอง กอน หลัง

กลุมควบคุม กอน หลัง แบบสอบถาม

เรื่อง ผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรม

การจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม

อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

*******************************

คําช้ีแจงและการพิทักษสิทธิสําหรับผูตอบแบบสอบถาม

ขาพเจานายปญจะ หัตตะโสภา นักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา

การจัดการสุขภาพ ภาคพิเศษ รุนท่ี 1 เลขท่ี 5202513013 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร อําเภอเมือง

จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง ผลของการเขารวมโปรแกรม 5 R ตอความรูและพฤติกรรม

การจัดการขยะมูลฝอย เพื่อเปนแนวทางในสรางเสริมพฤติกรรมการทิ้งขยะมูลฝอยในครัวเรือน

ของประชาชน ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จึงใครขอความรวมมือ

จากทานไดเสียสละเวลาตอบแบบสอบถามครั้งนี้ดวย ซ่ึงจะใชเวลาประมาณ 10-15 นาที

การเขารวมโครงการศึกษาครั้งนี้ ทานเขารวมโดยสมัครใจ ทานมีสิทธิปฏิเสธหรือถอนตัว

ภายหลังได โดยไมตองแจงเหตุผล ไดตลอดเวลา โดยท่ีทานจะไมสูญเสียประโยชนใดๆ ท่ีควรไดรับ และ

สิทธิประโยชนอ่ืนๆ อันจะเกิดจากผลการศึกษา สําหรับการศึกษาครั้งนี้ ทานไมตองเสียคาใชจายใดๆ

ท้ังสิ้น

ในกรณีท่ีทานมีขอสงสัยเก่ียวกับโครงการหรือการเขารวมโครงการในครั้งนี้ ทานสามารถติดตอ

กับขาพเจาคือ นายปญจะ หัตตะโสภา ไดท่ีตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

24000 หรือโทรศัพท 080-5640755 ไดตลอดเวลา

แบบสอบถาม มีท้ังหมด 2 สวน ประกอบดวย

สวนท่ี 1 ขอมูลสวนบุคคล จํานวน 10 ขอ

สวนท่ี 2 ความรูในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน จํานวน 20 ขอ

สวนท่ี 3 ขอมูลพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน จํานวน 20 ขอ

กรุณาตอบแบบสอบถามตรงตามความเปนจริงทุกขอ ซึ่งขอมูลที่สอบถามเกี่ยวของเฉพาะ

เรื่องท่ีศึกษา และขอมูลของทานจะเก็บรักษาไวเปนความลับ การนําขอมูลเสนอหรือพิมพเผยแพร

จะทําในภาพรวมของผลการศึกษาเทานั้น

ขอขอบพระคุณทุกทานท่ีใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามครั้งนี้

นายปญจะ หัตตะโสภา ผูวจิัย

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 58: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

คําช้ีแจง กรุณาใสเครื่องหมาย ลงใน ใหตรงตามความเปนจริงมากท่ีสุด

สําหรับผูวิจัย

1. เพศ � 1. ชาย � 2. หญิง sex �

2. ปจจุบนัทานอาย…ุ…………..ป (อายุปเต็ม) age ���

3. ทานสําเร็จการศึกษาในระดบัใด edu �

� 1. ไมไดรับการศึกษา � 2. ประถมศึกษา

� 3. มัธยมศึกษาหรือเทียบเทา � 4. อนุปริญญาหรือเทียบเทา

� 5. ปริญญาตรี หรือ สูงกวา

4. อาชีพหลักของทานคือ occ �

� 1. รับจาง � 2. พอบาน/แมบาน

� 3. รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ � 4. พนักงานบริษัทเอกชน

� 5. ธุรกิจสวนตัว � 6. อ่ืนๆ ……………

5. ระยะเวลาที่อาศัยอยูในชุมชน live �

� 1. นอยกวา 3 ป � 2. 3-5 ป

� 3. มากกวา 5 ป ข้ึนไป

6. ทานมีรายไดเฉลี่ยของครอบครัว จํานวน..........................บาทตอเดือน Income

������ 7. จํานวนสมาชิกในครัวเรือน family �

� 1. 1-3 คน � 2. 4-6 คน

� 3. ตั้งแต 6 คน ข้ึนไป

8. ลักษณะที่อยูอาศัย residence �

� 1. ชุมชนชนบท � 2. ชุมชนก่ึงเมือง

� 3. ชุมชนเมือง

9. ทานไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอยหรือไม data �

� 1. ไดรับขอมูลขาวสาร � 2. ไมไดรับขอมูลขาวสาร

10. ทานไดรับขอมูลขาวสารจากแหลงใด resource �

� 1. หนังสือพิมพ � 2. วิทย ุ

� 3. โทรทัศน � 4. อบต.

� 5. เทศบาล � 6. อ่ืนๆ ……………

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 59: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

สวนท่ี 2 แบบทดสอบความรูในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน

คําช้ีแจง โดยขอใหทานทําเครื่องหมาย O ลงในชองคําตอบท่ีทานคิดวาถูกตองท่ีสุด

ขอคําถาม สําหรับผูวิจัย

1. สาเหตสุําคัญท่ีสุดท่ีทําใหเกิดปญหาขยะมูลฝอยลนเมืองในเขตพ้ืนท่ี ตําบลพนมสารคาม คือ

ก. พฤติกรรมการไมคัดแยกขยะมลูฝอยครัวเรือนกอนท้ิงของประชาชน

ข. งบประมาณในการจัดการขยะมูลฝอยจากภาครัฐไมเพียงพอ

ค. การเพ่ิมข้ึนของรานสะดวกซื้อในตําบลพนมสารคาม

ง. การขาดการวางแผนและจดัการท่ีดีจากหนวยงานภาครัฐ

K1 �

2. การเพ่ิมข้ึนของปริมาณขยะในปจจุบันเกิดมาจากปญหาใด

ก. การเพ่ิมข้ึนของประชากร

ข. การขยายตัวทางดานเศรษฐกิจ

ค. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค

ง. ถูกทุกขอ

K2 �

3. เพราะเหตุใดปจจุบันปญหาขยะมูลฝอยจึงมีความรุนแรงเพ่ิมมากข้ึน

ก. ประชาชนไมมีการคัดแยกขยะมูลฝอยกอนท้ิง

ข. ขาดการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือนท่ีด ี

ค. สถานท่ีกําจัดขยะโดยวิธีฝงกลบลดนอยลง

ง. ทุกขอคือคําตอบ

K3 �

4. การจัดเก็บขยะมูลฝอยในครัวเรือนเปนหนาท่ีของหนวยงานใด

ก. สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ

ข. สํานักงานท่ีดินอําเภอ

ค. องคการปกครองสวนทองถ่ิน เชน เทศบาล หรือ อบต.

ง. สํานักงานทองถ่ินอําเภอ

K4 �

5. ขอใดไมใชขยะมูลฝอยครัวเรือน

ก. กลองโฟมใสอาหาร

ข. ถุงพลาสติกใสแกง

ค. ขวดนํ้าพลาสติก

ง. ถังแกสท่ีเหลือจากการใชงาน

K5 �

6. ขอใดไมใชขยะมูลฝอยครัวเรือน (แบบแหง)

ก. กระดาษ

ข. ขวดพลาสติก

ค. แกวนํ้า

ง. เศษอาหารท่ีเหลือจากการรับประทาน

K6 �

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 60: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ขอคําถาม สําหรับผูวิจัย

7. ขยะประเภทไหนท่ีตองนําไปผาขบวนการรีไซเคิลกอนจึงสามารถนํามาใชใหมได

ก. กระดาษท่ีใชแลว

ข. ขวดพลาสติกท่ีใชแลว

ค. ขวดแกวท่ีชํารุด เชน ปากขวดแตก

ง. ถูกทุกขอ

K7 �

8. ขยะประเภทไหนเปนขยะอันตราย

ก. กระดาษท่ีใชแลว

ข. ขวดพลาสติกท่ีใชแลว

ค. ขวดแกวท่ีชํารุด เชน ปากขวดแตก

ง. แบตเตอรี่เกา

K8 �

9. มลพิษท่ีเกิดจากขยะ ไดสงผลกระทบสิ่งแวดลอมดานใดบาง

ก. ดานมลพิษตอแหลงน้ํา

ข. ดานมลพิษตออากาศ

ค. ดานมลพิษตอน้ําใตดิน

ง. ถูกทุกขอ

K9 �

10. ขยะอินทรีย ไดแก ขยะประเภทใด

ก. เศษอาหาร

ข. เศษพืชผักและผลไม

ค. ซากสัตวและมูลสัตว

ง. ถูกทุกขอ

K10 �

11. คําจํากัดความของ 5 R คือ

ก. ขบวนการทางชีวภาพในการแปรรูปขยะมูลฝอย

ข. กลยุทธหรือวิธีการลดขยะมูลฝอยครัวเรือน

ค. วิธีการลดโลกรอน

ง. ถูกทุกขอ

K11 �

12. Reduce หมายถึง

ก. การลดการสรางขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด

ข. การนําขยะมูลฝอยท่ีใชแลวนํากลับมาใชซํ้า

ค. การนําสิ่งของท่ียังพอแกไขไดมาซอมเพ่ือใหสามารถนํากลับมาใชใหมได

ง. หลีกเลี่ยงการใชผลิตภัณฑท่ีกอใหเกิดอันตราย เชน ยาฆาแมลง หรือสารเคมีอ่ืนๆ

K12 �

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 61: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

13. Reuse หมายถึง

ก. การลดการสรางขยะมลูฝอย ณ แหลงกําเนิด

ข. การนําขยะมูลฝอยท่ีใชแลวนํากลับมาใชซ้ํา

ค. การนําสิ่งของท่ียังพอแกไขไดมาซอมเพ่ือใหสามารถนํากลับมาใชใหมได

ง. หลีกเลี่ยงการใชผลติภณัฑท่ีกอใหเกิดอันตราย เชน ยาฆาแมลง หรือสารเคมีอ่ืนๆ

K13 �

ขอคําถาม สําหรับผูวิจัย

14. Repair หมายถึง

ก. การลดการสรางขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด

ข. การนําขยะมูลฝอยท่ีใชแลวนํากลับมาใชซ้ํา

ค. การนําสิ่งของท่ียังพอแกไขไดมาซอมเพ่ือใหสามารถนํากลับมาใชใหมได

ง. หลีกเลีย่งการใชผลติภณัฑท่ีกอใหเกิดอันตราย เชน ยาฆาแมลง หรือสารเคมีอ่ืนๆ

K14 �

15. อะไรคือประโยชนของการคัดแยกขยะมลูฝอยครัวเรือน

ก. ชวยลดปริมาณขยะมลูฝอยครัวเรือนท่ีเจาหนาท่ีจะตองจดัเก็บทุกวัน

ข. ขยะมูลฝอยครัวเรือนบางประเภทเมื่อไดรับการคัดแยกสามารถนํากลบัมาใชประโยชนได

ค. ชวยลดระยะเวลา และงบประมาณภาครัฐ ในการจัดเก็บขยะมูลฝอยและกําจดัขยะ

มูลฝอยครัวเรือน

ง. ถูกทุกขอ

K15 �

16. ขยะมลูฝอยประเภทไหนสามารถนําไปเปนวัตถุดิบในการผลิตนํ้าหมักชีวภาพได

ก. เศษผลไมท่ีเหลือจากการรับประทาน

ข. เศษพืชและผักจากตลาดสด

ค. เศษอาหารท่ีเหลือจากการรับประทาน

ง. ถูกทุกขอ

K16 �

17. ขยะมลูฝอยประเภทไหนจัดอยูในกลุมของเสียอันตรายจากชุมชน

ก. กระปองสารเคมีกําจัดยงุ

ข. หลอดฟลูออเรสเซนต

ค. แบตเตอรี่เกา

ง. ถูกทุกขอ

K17 �

18. ขยะมลูฝอยประเภทใดไมควรนํากลับมาใชซ้ํา

ก. เข็มฉีดยา

ข. กระบอกฉีดยา

ค. แกลลอนใสยาฆาหญา

ง. ถูกทุกขอ

K18 �

19. ถาขยะมลูฝอยครัวเรือนลดลง ทานคิดวาจะสงผลดีตอชุมชนท่ีอยูดีอยางไร

ก. บานเมืองดูสะอาดข้ึน

ข. ถนนและทางเทามีความสะอาด นาด ู

ค. แหลงเพาะพันธเช้ือโรคในชุมชนลดลง

ง. ถูกทุกขอ

K19 �

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 62: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

20. ทานสามารถชวยลดการเกิดขยะมูลฝอยในชุมชนโดยวิธีใดบาง

ก. นําตะกราติดตัวไปใสอาหารและกับขาว เวลาไปจายตลาด

ข. นําอาหารใสปนโตมาทาน แทนการใสถุงพลาสติก

ค. ทําการคัดแยกขยะมลูฝอยกอนท้ิงลงถังขยะ

ง. ถูกทุกขอ

K20 �

สวนท่ี 3 แบบสอบถามขอมูลพฤติกรรมการกําจัดขยะมูลฝอยครัวเรือน

คําช้ีแจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองระดับการปฏิบัติท่ีตรงกับความคิดเห็นของทาน

โดยระดับคะแนนในแตละชองมีความหมายดังนี้ โดยมีขอพิจารณาดังนี้

ปฏิบัติทุกครั้ง หมายถึง ปฏิบัติเปนประจําทุกวันตอสัปดาห

ปฏิบัติบอยครั้ง หมายถึง ปฏิบัติ 4-5 วันตอสัปดาห

ปฏิบัติบางครั้ง หมายถึง ปฏิบัติ 2-3 วันตอสัปดาห

ไมเคยปฏิบัติ หมายถึง ไมเคยปฏิบัติ 0 วันตอสัปดาห

ขอ ขอความ ปฏิบัต ิ

ทุกครั้ง

ปฏิบัต ิ

บอยครั้ง

ปฏิบัต ิ

เปน

บางครั้ง

ไมเคยปฏิบัต ิ

สําหรับ

ผูวิจัย

ดานการลดการเกิดขยะมูลฝอย (reduce)

1 ทานเลือกซ้ือสินคาท่ีไมกอใหเกิด

ขยะมากเกิดความจําเปน

Red1 �

2 ทานเลือกใชภาชนะใสอาหาร

ท่ีผลิตจากกระเบื้องแทน

พลาสติกหรือโฟม

Red2 �

3 ทานใชผาข้ีริ้วเช็คทํา

ความสะอาดโตะอาหาร

แทนกระดาษทิชช ู

Red3 �

4 ทานเลือกใชถุงผาใสสิ่งของ

ใบเดียวมากกวาถุงพลาสติก

ใบเล็กหลายๆ ใบ

Red4 �

ดานการนําขยะบางประเภทมาใชซํ้าโดยไมผานขบวนการ (reuse)

5 ทานมักจะนําวัสดุบางประเภท

เชน ขวดน้ําประเภทขวดแกว

หรือขวดพลาสติก นํากลับมา

Reu1 �

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 63: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ทําความสะอาดแลวนํากลับมา

ใชประโยชนอีกครั้ง

6 ทานมักจะใชกระดาษใหครบท้ัง

สองดานเพ่ือเปนการประหยัด

กระดาษ และประหยัด

ทรัพยากรธรรมชาติ

Reu2 �

ขอ ขอความ ปฏิบัต ิ

ทุกครั้ง

ปฏิบัต ิ

บอยครั้ง

ปฏิบัต ิ

เปน

บางครั้ง

ไมเคยปฏิบัต ิ

สําหรับ

ผูวิจัย

ดานการนําขยะบางประเภทมาใชซํ้าโดยไมผานกระบวนการ (reuse)

7 ทานมักจะนํากระดาษ เชน

กระดาษหนังสือพิมพกลับมา

ใชซํ้า เชน ใชหอของ หรือ

หอผลไม

Reu3 �

8 ทานเก็บถุงพลาสติกท่ีไดใชงาน

แลว นํากลับมาใชประโยชนใหม

(โดยการลางทําความสะอาด

ถุงพลาสติก)

Reu4 �

ดานการนําขยะไปผานกระบวนการ กอนนํามาใชซํ้า (recycle)

9 ทานมีนําขยะมูลฝอยบางประเภท

เชน กระปองเบียร ขวดแกว

หรือขวดพลาสติก นํามาแปรรูป

เปนอุปกรณใชสอยตางๆ เชน

หมวก หรือตะกรา

Rec1 �

10 ทานนําขยะมูลฝอยโดยเฉพาะ

ขยะเปยกไปแปรรูปเปนน้ํา

หมักชีวภาพ หรือปุยคอก

Rec2 �

11 ทานมีการคัดเลือกและ

รวบรวมวัสดุอุปกรณท่ีจะนําไป

แปรรูปเชน เศษเหล็กหรือขอ

Rec3 �

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 64: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ตออลูมิเนียม ตางๆ เพ่ือนําไป

ขายใหกับรานรับซ้ือของเกา

12 ทานแปรรูปวัสดุเหลือใช

หรือไมตองการแลว เชน

เศษผา นํามาดัดแปลง

เปนท่ีเช็ดเทา หรือผาถูพ้ืน

Rec4 �

ขอ ขอความ ปฏิบัต ิ

ทุกครั้ง

ปฏิบัต ิ

บอยครั้ง

ปฏิบัต ิ

เปน

บางครั้ง

ไมเคย

ปฏิบัต ิ

สําหรับผูวิจัย

ดานการนําขยะท่ีใชแลวมาซอมแซมเพ่ือนํากลับมาใชไดอีก (repair)

13 วัสดุสิ่งของภายในบานท่ีชํารุด

ทานนําไปซอมแซม

เพ่ือนํากลับมาใชใหม

Rep1 �

14 ทานมักจะปะชุนเสื้อผา

ท่ีขาดเพ่ือนํากลับมาใชใหม

Rep2 �

15 ทานมักจะซอมแซมรองเทา

ท่ีสึกหรอกอน ท่ีจะตัดสินใจ

ซ้ือรองเทาคูใหม

Rep3 �

16 สิ่งของประเภทเครื่องใชไฟฟา

ภายในบาน ท่ีชํารุดหรือใชงาน

ไมได ทานจะนําไปซอมกอน

ตัดสินใจซ้ือใหม

Rep4 �

ดานการหลีกเล่ียงขยะท่ีกอใหเกิดอันตรายตอประชาชนและส่ิงแวดลอม (reject)

17 ทานหลีกเลี่ยงการใชสเปรย

ฉีดยุง ภายในบานโดยใชวิธีการ

Rej1 �

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 65: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ทางกายภาพ เชนใชไมตบยุง

และการเปดพัดลมไลยุง

18

ทานมีการนําแบตเตอรี่

โทรศัพท ท่ีใชแลวนําไปท้ิงใน

ถังขยะ ประเภทขยะอันตราย

(ถังแดง) เพ่ือใหเทศบาล และ

อบต. นําไปจัดเก็บตอไป

Rej2 �

19 ทานเลือกภาชนะใสอาหาร

ท่ีทําดวยวัสดุธรรมชาติ เชน

ใบตอง แทนการใชวัสดุ

ประเภทโฟมใสอาหาร

Rej3 �

20 ทานหลีกเลี่ยงการนํา

ถุงพลาสติกใสท่ีใชแลวนํามา

ใชซํ้า โดยเฉพาะการนําไปใส

อาหารรอนๆ

Rej4 �

****ขอขอบพระคุณทุกทานท่ีใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถามครั้งนี้****

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 66: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

46

ภาคผนวก ข

แบบแสดงความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 67: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

47

แบบแสดงความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ

คําช้ีแจง สําหรับทานผูเชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็น โดยใสเครื่องหมาย ( ) ลงในชองความ

คิดเห็นพรอมเขียนขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนในการนําไปพิจารณาปรับปรุงตอไป

ใหคะแนนเทากับ +1 เม่ือแนใจวาขอคําถามวัดไดตรงตามจุดประสงค (สอดคลอง)

ใหคะแนนเทากับ 0 เม่ือไมแนใจวาขอคําถามวัดไดตรงตามจุดประสงค หรือไม

ใหคะแนนเทากับ -1 เม่ือแนใจวาขอคําถามวัดไดไมตรงตามจุดประสงค (ไมสอดคลอง)

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็น

สอดคลอง ไมแนใจ ไม

สอดคลอง

ขอ

เสนอ

แนะ

+1 0 -1

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

1. เพศ � 1. ชาย � 2. หญิง

2. ปจจุบันทานอายุ……………..ป (อายุปเต็ม)

3. การศึกษาสูงสุด

� 1. ไมไดเรียนหนังสือ � 2. ประถมศึกษา

� 3. มัธยมศึกษา หรือเทียบเทา

� 4. อนุปริญญา หรือเทียบเทา

� 5. ปริญญาตรี หรือสูงกวา

4. อาชีพหลักในปจจุบัน

� 1. รับจาง � 2. รับจาง

� 3. รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ

� 4. พนักงานบริษัทเอกชน

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 68: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

48

� 5. ธุรกิจสวนตัว � 6. อ่ืนๆ…

5. ระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน

� 1. นอยกวา 3 ป � 2. 3-5 ป

� 3. มากกวา 5 ปข้ึนไป

6. ทานมีรายไดเฉลี่ยของครอบครัวตอเดือน

จํานวน..........................บาท

7. จํานวนสมาชิกในครัวเรือน

� 1. 1-3 คน � 2. 4-6 คน

� 3. ตั้งแต 6 คนข้ึนไป

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็น

สอดคลอง ไม

แนใจ

ไม

สอดคลอง

ขอ

เสนอ

แนะ

+1 0 -1

8. ลักษณะท่ีอยูอาศัย

� 1. ชุมชนชนบท � 2. ชุมชนก่ึงเมือง

� 3. ชุมชนเมือง

9. ทานไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับการจัดการขยะมูลฝอย

หรือไม

� 1. ไดรับขอมูลขาวสาร

� 2. ไมไดรับขอมูลขาวสาร

10. ทานไดรับขอมูลขาวสารจากแหลงใด

� 1. หนังสือพิมพ � 2. 4-6 คน

� 3. โทรทัศน � 4. อบต

� 5. เทศบาล � 6. อ่ืนๆ ……

สวนท่ี 2 พฤติกรรมการกําจัดขยะมูลฝอย

ดานการลดการเกิดขยะมูลฝอย (reduce)

1. ทานเลือกซ้ือสินคาท่ีไมกอใหเกิดขยะมากเกิดความจําเปน

2. ทานเลือกใชภาชนะใสอาหารท่ีผลิตจากกระเบื้องแทน

พลาสติกหรือโฟม

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 69: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

49

3. ทานใชผาข้ีริ้วเช็คทําความสะอาดโตะอาหาร

แทนกระดาษทิชช ู

4. ทานเลือกใชถุงผาใสสิ่งของใบเดียวมากกวาถุงพลาสติก

ใบเล็กหลาย ๆ ใบ

ดานการนําขยะบางประเภทมาใชซํ้าโดยไมผาน

กระบวนการ (reuse)

5. ทานมักจะนําวัสดุบางประเภท เชน ขวดน้ําประเภท

ขวดแกว หรือขวดพลาสติก นํากลับมาทําความสะอาด

แลวนํากลับมาใชประโยชนอีกครั้ง

6. ทานมักจะใชกระดาษใหครบท้ังสองดานเพ่ือเปน

การประหยัดกระดาษ และประหยัดทรัพยากรธรรามชาติ

7. ทานมักจะนํากระดาษ เชน กระดาษหนังสือพิมพกลับมา

ใชซํ้า เชน ใชหอของหรือหอผลไม

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็น

สอดคลอง ไม

แนใจ

ไม

สอดคลอง

ขอ

เสนอ

แนะ

+1 0 -1

ดานการนําขยะบางประเภทมาใชซํ้าโดยไมผาน

กระบวนการ (reuse)

8. ทานเก็บถุงพลาสติกท่ีไดใชงานแลว นํากลับมาใช

ประโยชนใหม (โดยการลางทําความสะอาดถุงพลาสติก)

ดานการนําขยะไปผานกระบวนการ กอนนํามาใชซํ้า

(recycle)

9. ทานมีนําขยะมูลฝอยบางประเภท เชน กระปองเบียร

ขวดแกว หรือขวดพลาสติก นํามาแปรรูปเปนอุปกรณใชสอย

ตางๆ เชน หมวก หรือตะกรา

10. ทานนําขยะมูลฝอยโดยเฉพาะขยะเปยกไปแปรรูปเปน

น้ําหมักชีวภาพ หรือปุยคอก

11. ทานมีการคัดเลือกและรวบรวมวัสดุอุปกรณท่ีจะนําไป

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 70: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

50

แปรรูปเชน เศษเหล็กหรือขอตออลูมิเนียมตางๆ เพ่ือนําไป

ขายใหกับรานรับซ้ือของเกา

12. ทานแปรรูปวัสดุเหลือใชหรือไมตองการแลว เชน เศษผา

นํามาดัดแปลงเปนท่ีเช็ดเทา หรือผาถูพ้ืน

ดานการนําขยะท่ีใชแลวมาซอมแซมเพ่ือนํากลับมาใชไดอีก

(repair)

13. วัสดุสิ่งของภายในบานท่ีชํารุด ทานนําไปซอมแซม

เพ่ือนํากลับมาใชใหม

14. ทานมักจะปะชุนเสื้อผาท่ีขาดเพ่ือนํากลับมาใชใหม

15. ทานมักจะซอมแซมรองเทาท่ีสึกหรอกอน ท่ีจะตัดสินใจ

ซ้ือรองเทาคูใหม

16. สิ่งของประเภทเครื่องใชไฟฟาภายในบาน ท่ีชํารุดหรือ

ใชงานไมได ทานจะนําไปซอมกอนตัดสินใจซ้ือใหม

ดานการหลีกเล่ียงการใชขยะท่ีกอใหเกิดอันตรายตอ

ประชาชนและส่ิงแวดลอม (reject)

17. ทานหลีกเลี่ยงการใชสเปรยฉีดยุง ภายในบานโดยใช

วิธีการทางกายภาพ เชนใชไมตบยุง และการเปดพัดลมไลยุง

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็น

สอดคลอง ไม

แนใจ

ไม

สอดคลอง

ขอ

เสนอ

แนะ

+1 0 -1

18. ทานมีการนําแบตเตอรี่โทรศัพท ท่ีใชแลวนําไปท้ิงใน

ถังขยะ ประเภทขยะอันตราย (ถังแดง) เพ่ือใหเทศบาล และ

อบต. นําไปจัดเก็บตอไป

19. ทานเลือกภาชนะใสอาหารท่ีทําดวยวัสดุธรรมชาติ เชน

ใบตอง แทนการใชวัสดุประเภทโฟมใสอาหาร

20. ทานหลีกเลี่ยงการนําถุงพลาสติกใสท่ีใชแลวนํามาใชซํ้า

โดยเฉพาะการนําไปใสอาหารรอนๆ

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 71: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

51

สรุปผลคาดัชนีความสอดคลอง (IOC)

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ คนท่ี

คะแนน

คา

1 2 3 4 5 รวม IOC

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

1. เพศ � 1. ชาย � 2.หญิง +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

2. ปจจุบันทานอายุ……………..ป (อายุปเต็ม) +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 72: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

52

3. การศึกษาสูงสุด

� 1. ไมไดเรียนหนังสือ � 2. ประถมศึกษา

� 3. มัธยมศึกษา หรือ เทียบเทา

� 4. อนุปริญญา หรือ เทียบเทา

� 5. ปริญญาตรี หรือ สูงกวา

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

4. อาชีพหลักในปจจุบัน

� 1. รับจาง � 2. รับจาง

� 3. รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ

� 4. พนักงานบริษัทเอกชน

� 5. ธุรกิจสวนตัว � 6.อ่ืนๆ…

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

5. ระยะเวลาท่ีอาศัยอยูในชุมชน

� 1. นอยกวา 3 ป � 2. 3-5 ป

� 3. มากกวา 5 ปข้ึนไป

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

6. ทานมีรายไดเฉลี่ยของครอบครัวตอเดือน

จํานวน..........................บาท

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

7. จํานวนสมาชิกในครัวเรือน

� 1. 1-3 คน � 2. 4-6 คน

� 3. ตั้งแต 6 คนข้ึนไป

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

8. ลักษณะท่ีอยูอาศัย

� 1. ชุมชนชนบท � 2. ชุมชนก่ึงเมือง

� 3. ชุมชนเมือง

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

9. ทานไดรับขอมูลขาวสารเก่ียวกับการจัดการ

ขยะมูลฝอยหรือไม

� 1. ไดรับขอมูลขาวสาร

� 2. ไมไดรับขอมูลขาวสาร

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ คนท่ี

คะแนน

คา

1 2 3 4 5 รวม IOC

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 73: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

53

10. ทานไดรับขอมูลขาวสารจากแหลงใด

� 1. หนังสือพิมพ � 2. 4-6 คน

� 3. โทรทัศน � 4. อบต.

� 5. เทศบาล � 6. อ่ืนๆ ……

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

สวนท่ี 2 พฤติกรรมการกําจัดขยะมูลฝอย

ดานการลดการเกิดขยะมูลฝอย (reduce) +1 +1 +1 0 +1 5 0.80

1. ทานเลือกซ้ือสินคาท่ีไมกอใหเกิดขยะมากเกิน

ความจําเปน

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

2. ทานเลือกใชภาชนะใสอาหารท่ีผลิตจาก

กระเบื้องแทนพลาสติกหรือโฟม

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

3. ทานใชผาข้ีริ้วเช็คทําความสะอาดโตะอาหาร

แทนกระดาษทิชช ู

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

4. ทานเลือกใชถุงผาใสสิ่งของใบเดียวมากกวา

ถุงพลาสติกใบเล็กหลายๆ ใบ

+1 +1 0 +1 +1 5 0.80

5. ทานสวมรองเทาทุกครั้งท่ีออกนอกบาน +1 +1 +1 0 +1 5 0.80

ดานการนําขยะบางประเภทมาใชซํ้าโดยไมผาน

กระบวนการ (reuse)

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

5. ทานมักจะนําวัสดุบางประเภท เชน ขวดน้ํา

ประเภทขวดแกว หรือขวดพลาสติก นํากลับมาทํา

ความสะอาดแลวนํากลับมาใชประโยชนอีกครั้ง

+1 +1 0 +1 +1 5 0.80

6. ทานมักจะใชกระดาษใหครบท้ังสองดาน

เพ่ือเปนการประหยัดกระดาษ และประหยัด

ทรัพยากรธรรมชาติ

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

7. ทานมักจะนํากระดาษ เชน กระดาษ

หนังสือพิมพกลับมาใชซํ้า เชน ใชหอของหรือหอ

ผลไม

+1 +1 0 +1 +1 5 0.80

ดานการนําขยะบางประเภทมาใชซํ้าโดยไมผาน

กระบวนการ (reuse)

8. ทานเก็บถุงพลาสติกท่ีไดใชงานแลว นํากลับมา

ใชประโยชนใหม (โดยการลางทําความสะอาด

ถุงพลาสติก)

+1 +1 0 +1 +1 5 0.80

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 74: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

54

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ คนท่ี

คะแนน

คา

1 2 3 4 5 รวม IOC

ดานการนําขยะไปผานกระบวนการ กอนนํามา

ใชซํ้า (recycle)

9. ทานมีนําขยะมูลฝอยบางประเภท เชน กระปอง

เบียร ขวดแกว หรือขวดพลาสติก นํามาแปรรูป

เปนอุปกรณใชสอยตางๆ เชน หมวก หรือตะกรา

+1 +1 0 +1 +1 5 0.80

10. ทานนําขยะมูลฝอยโดยเฉพาะขยะเปยกไป

แปรรูปเปนน้ําหมักชีวภาพ หรือปุยคอก

+1 +1 +1 0 +1 5 0.80

11. ทานมีการคัดเลือกและรวบรวมวัสดุอุปกรณ

ท่ีจะนําไปแปรรูปเชน เศษเหล็กหรือขอตอ

อลูมิเนียม ตางๆ เพ่ือนําไปขายใหกับรานรับซ้ือ

ของเกา

+1 +1 0 +1 +1 5 0.80

12. ทานแปรรูปวัสดุเหลือใชหรือไมตองการแลว

เชน เศษผา นํามาดัดแปลงเปนท่ีเช็ดเทา หรือ

ผาถูพ้ืน

+1 +1 +1 0 +1 5 0.80

ดานการนําขยะท่ีใชแลวมาซอมแซมเพ่ือนํา

กลับมาใชไดอีก (repair)

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

13. วัสดุสิ่งของภายในบานท่ีชํารุด ทานนําไป

ซอมแซมเพ่ือนํากลับมาใชใหม

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

14. ทานมักจะปะชุนเสื้อผาท่ีขาดเพ่ือนํากลับมาใช

ใหม

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

15. ทานมักจะซอมแซมรองเทาท่ีสึกหรอกอน

ท่ีจะตัดสินใจซ้ือรองเทาคูใหม

+1 +1 +1 +1 +1 5 1.00

16. สิ่งของประเภทเครื่องใชไฟฟาภายในบาน

ท่ีชํารุดหรือใชงานไมได ทานจะนําไปซอมกอน

ตัดสินใจซ้ือใหม

+1 +1 0 +1 +1 5 0.80

ดานการหลีกเล่ียงการใชขยะท่ีกอใหเกิดอันตราย

ตอประชาชนและส่ิงแวดลอม (reject)

17. ทานหลีกเลี่ยงการใชสเปรยฉีดยุง ภายในบาน +1 +1 0 +1 +1 5 0.80

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 75: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

55

โดยใชวิธีการทางกายภาพ เชนใชไมตบยุง และ

การเปดพัดลมไลยุง

18. ทานมีการนําแบตเตอรี่โทรศัพท ท่ีใชแลวนําไป

ท้ิงในถังขยะ ประเภทขยะอันตราย (ถังแดง)

เพ่ือใหเทศบาล และ อบต. นําไปจัดเก็บตอไป

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

ขอคําถาม

คะแนนความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ คนท่ี

คะแนน

คา

1 2 3 4 5 รวม IOC

19. ทานเลือกภาชนะใสอาหารท่ีทําดวยวัสดุ

ธรรมชาติ เชน ใบตอง แทนการใชวัสดุประเภท

โฟมใสอาหาร

+1 +1 +1 0 +1 5 0.80

20. ทานหลีกเลี่ยงการนําถุงพลาสติกใสท่ีใชแลว

นํามาใชซํ้า โดยเฉพาะการนําไปใสอาหารรอนๆ

+1 +1 +1 +1 0 5 0.80

ใหคะแนนเทากับ +1 เม่ือแนใจวาขอคําถามวัดไดตรงตามจุดประสงค (สอดคลอง)

ใหคะแนนเทากับ 0 เม่ือไมแนใจวาขอคําถามวัดไดตรงตามจุดประสงค หรือไม

ใหคะแนนเทากับ -1 เม่ือแนใจวาขอคําถามวัดไดไมตรงตามจุดประสงค (ไมสอดคลอง)

สูตรสําหรับหาคา IOC รายขอ เทากับ ผลรวมของคะแนนการพิจารณาจากผูเชี่ยวชาญ

หารดวยจํานวนผูเชี่ยวชาญ

นําผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญมาหาคาความตรงเชิงเนื้อหา โดยวิธีการหาคาดัชนี

ความสอดคลอง (IOC) คัดเลือกเฉพาะขอคําถามท่ีมีคา IOC ตั้งแตระดับ 0.60 ข้ึนไป (เกษม สาหรายทิพย,

2542, หนา 194) ผลการวิเคราะหไดคาดัชนีความสอดคลองของแบบสอบถามแตละขอ อยูระหวาง

0.60-1.00 หลังจากนั้นผูวิจัยนําเครื่องมือมาปรับปรุงแกไขตามท่ีผูเชี่ยวชาญแนะนํากอนนําไปทดลองใช

จากแบบสอบถามจํานวน 30 ขอ ไดคา IOC ตั้งแตระดับ 0.60 ข้ึนไป จํานวน 30 ขอ คา IOC

รวมเทากับ 0.96

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 76: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

56

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์

Page 77: ø î ì ø d ขยะมูลฝอยครัวเรือนของประชาชนในตําบลพนมสารคาม ï ø ...thesis.rru.ac.th/files/pdf/554_2016_06_23_110115.pdf ·

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-ช่ือสกุล นายปญจะ หัตตะโสภา

วันเดือนปเกิด 3 พฤษภาคม 2514

สถานท่ีเกิด อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

ท่ีอยู 966/2 หมู 1 ตําบลพนมสารคาม อําเภอพนมสารคาม

จังหวัดฉะเชิงเทรา เบอรโทรศัพท 08-6823-7881

ตําแหนงหนาท่ีการงาน เจาพนักงานสุขาภิบาล 6 ว

สถานท่ีทํางาน องคการบริหารสวนตําบลพนมสารคาม

ประวัติการศึกษา ประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก

พ.ศ. 2536

ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกดนตรีศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิทร พ.ศ. 2549

สํานัก

วิทยบ

ริการฯ

มหาวิทย

าลัยราชภัฏ

ราชน

ครินท

ร์