93
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2559 คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

หลักสูตรปรับปรุง พุทธศกัราช 2559

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

Page 2: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

รายละเอียดของหลักสูตร

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

คณะ/ โปรแกรมวิชา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร

หมวดที ่1 ขอมูลทัว่ไป

1. รหัสและชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Public Administration

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

ชื่อยอ (ภาษาไทย) : รป.บ.

ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Bachelor of Public Administration

ชื่อยอ (ภาษาอังกฤษ) : B.P.A.

3. วิชาเอก (ถามี)

-

4. จํานวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร

ไมนอยกวา 131 หนวยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร

5.1 รูปแบบ

หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ป ตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา

5.2 ภาษาที่ใช

ภาษาไทย

Page 3: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

2 มคอ.2

5.3 การรับเขาศึกษา

รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางชาติที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดี

5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น

เปนหลักสูตรเฉพาะของสถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง

5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา

ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

เปดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2560

ไดพิจารณากลั่นกรองโดยสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ในการประชุม

ครั้งที่ 2/2559 เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2559

ไดรับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ในการ

ประชุมครั้งที ่3/2559 เมื่อวันที ่7 - 8 พฤษภาคม 2559

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน

หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาต ิ

ในปการศึกษา 2563

8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสําเร็จการศึกษา

8.1 เจาหนาที่วิเคราะหนโยบายและแผน

8.2 เจาหนาที่บริหารทรัพยากรมนุษย

8.3 เจาหนาที่ฝายปกครอง อาท ิปลัดอําเภอ ปลัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น พนักงานสวนทองถิ่น เปนตน

8.4 นักสงเสริมการปกครองทองถิ่นปฏิบัติการ

8.5 เจาพนักงานตํารวจ (ฝายปราบปราม, ฝายสืบสวน และฝายอํานวยการ)

8.6 เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป

8.7 เจาหนาที่สังคมสงเคราะห

8.8 พนักงานราชทัณฑ

Page 4: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

3 มคอ.2

9. ชื่อ นามสกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบ

หลักสูตร

ลําดับ ชื่อ-สกุล ตําแหนงทางวิชาการ

คุณวุฒิ วิชาเอก/สาขาวิชา การสําเร็จการศึกษา

สถาบัน ป

พ.ศ. 1 นายไชยา เกษารัตน

x xxxx xxxxx xx x รป.ม.

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร นโยบายสาธารณะ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2550 2546

2 นายรัชชพงษ ชัชวาลย x xxxx xxxxx xx x

รป.ม. รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร การบริหารและ การปกครองทองถิ่น

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

2551 2547

3 นายศดานนท วัตตธรรม x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

รป.บ.

นศ.บ.

การบริหารการเงินและการคลัง การบริหารและ การปกครองทองถิ่น การประชาสัมพันธ

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2549

2547

2547 4 นางสาวศิริลักษณ กานตพิชาน

x xxxx xxxxx xx x รป.ม.

บธ.บ.

รัฐประศาสนศาสตร การบัญชี

สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

2543

2525 5 นายบูฆอรี ยีหมะ

x xxxx xxxxx xx x ผูชวย

ศาสตราจารย ร.ด. ร.ม. ร.บ.

รัฐศาสตร การปกครอง การเมืองการปกครอง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2547 2540 2533

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

Page 5: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

4 มคอ.2

11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

ภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ซึ่งไดกําหนดยุทธศาสตร

การสรางความเชื่อมโยงเศรษฐกิจไทยกับประเทศภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมโดยความ

รวมมือระหวางกันภายใตกรอบประชาคมอาเซียน การเตรียมความพรอมและเสริมสรางความเขมแข็งใหกับ

สถาบันการอุดมศึกษาเพื่อมีสวนรวมในการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันทางดานเศรษฐกิจของ

ประเทศจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญ ซึ่งตามกรอบอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565)

ไดตระหนักถึงความสําคัญดังกลาว จึงไดกําหนดใหสถาบันการอุดมศึกษาทั้งในระดับรัฐและทองถิ่นผลิตบัณฑิต

ที่มีความรูและความสามารถที่มีศักยภาพใหแกภาครัฐและภาคการผลิตตาง ๆ ดวยเหตุนี้ โปรแกรมวิชา

รัฐประศาสนศาสตรจึงตระหนักถึงความจําเปนตอการพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์

ทางการจัดการศึกษาใหมีคุณภาพและประสิทธิผลสูความยั่งยืนในอนาคต โดยการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร

รัฐประศาสนศาสตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ทั้งในประเด็นของวิชาเอกที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับ

นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ นโยบายสาธารณะและการวางแผน การบริหารจัดการทองถิ่นและการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย ใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับบริบทกรอบแนวคิดของประเทศในยุคปจจุบัน ทั้งนี้เพื่อให

บัณฑิตสามารถนําความรูจากการศึกษาในหลักสูตรมาผนวกกับการประยุกตใชเทคโนโลยีทันสมัย เพื่อสราง

นวัตกรรมทางดานการบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม

ในยุคแหงกระแสโลกาภิวัตน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดกลายมาเปนสวนหนึ่งของการดําเนิน

ชีวิตของสังคมมนุษยในฐานะเปนชองทางหรือพื้นที่ของการสื่อสารระหวางกัน จนสรางเปนความสัมพันธ

เชื่อมโยงทางสังคมและวัฒนธรรมอยางรวดเร็ว อาทิ การเคลื่อนยายแรงงาน การถายทอดศิลปะและวัฒนธรรม

ตลอดจนการแลกเปลี่ยนการเรียนรูซึ่งกันและกัน บัณทิตทางรัฐประศาสนศาสตรจึงจําเปนตองมีความรูเทาทัน

การเปลี่ยนแปลงภายใตกระแสโลกาภิวัฒน รวมถึงมีความรูและความสามารถในการนําเครื่องมือดานการ

บริหารจัดการมาประยุกตใชในการพัฒนาทองถิ่นและประเทศอยางเหมาะสมและสอดคลองกับวัฒนธรรมและ

สังคมไทย ควบคูไปกับการมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะความเปนผูนํา และตระหนักถึงอุดมการณ

ประชาธิปไตย

12. ผลกระทบจากขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน

12.1 การพัฒนาหลักสูตร

การพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไดยึดสถานการณ

จากผลกระทบของปจจัยกระแสโลกาภิวัตน ที่ไดมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

เปนแกนสําคัญในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อตอบโจทยในการพรอมรับตอความเคลื่อนไหวการเปลี่ยนแปลง

Page 6: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

5 มคอ.2

ที่เชื่อมโยงกันทั้งระดับประเทศและระหวางประเทศเปนสําคัญ โดยมุงเนนการพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมใหทุก ๆ

ภาคสวนจําเปนตองสงเสริมการมีสวนรวมและความรับผิดชอบรวมกัน ทั้งนี้เพื่อสังคมประเทศที่มีศักยภาพและ

สัมฤทธิ์ผลที่ยั่งยืน

12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน

หลักสูตรนี้มีผลตอการขับเคลื่อนพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา โดยการพัฒนาปรับปรุง

หลักสูตรผานประเด็นแนวคิดการจัดการภาครัฐและเอกชน นโยบายสาธารณะและการวางแผน การบริหาร

จัดการทองถิ่นและการจัดการทรัพยากรมนุษย เพื่อใหเกิดความเปนเลิศที่สอดคลองกับพันธกิจของ

มหาวิทยาลัยในดานการสรางองคความรูทั้งศาสตรและศิลป รวมถึงนวัตกรรมบนพื้นฐานของการมีคุณธรรม

เปนสําคัญ อีกทั้งเปนการกระจายการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในทองถิ่นใหมีโอกาสและความเสมอภาค

ทางการศึกษาในทองถิ่นสูสังคม ดวยเหตุนี้หลักสูตรนี้จึงสามารถผลักดันใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับ

ทองถิ่นอันจะนําไปสูการพัฒนาในระดับประเทศที่มีศักยภาพ สอดคลองกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

สงขลาที่ไดมุงเนนในบริบทที่เกี่ยวของดังกลาว

13. ความสัมพันธ (ถามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปดสอนในคณะ/ โปรแกรมวิชาอื่นของสถาบัน (เชน รายวิชา

ที่เปดสอนเพื่อใหบริการคณะ/ โปรแกรมวิชาอื่น หรือตองเรียนจากคณะ/ โปรแกรมวิชาอื่น)

13.1 กลุมวิชา/ รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปดสอนโดยคณะ/ โปรแกรมวิชา/ หลักสูตรอื่น

รายวิชา 2561102 ความรู เบื้องตนเกี่ ยวกับกฎหมายและรายวิชา 2551106 การเมือง

การปกครองของไทย สําหรับหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสงขลา

13.2 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปดสอนใหโปรแกรมวิชา/ หลักสูตรอื่นตองมาเรียน

กลุมวิชาทางรัฐศาสตรที่บังคับเรียนและเลือกเรียนของคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

คณะครุศาสตร คณะวิทยาการจัดการ และคณะอื่น ๆ อาทิ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร การเมือง

การปกครองของไทย การปกครองทองถิ่นไทย เปนตน

13.3 การบริหารจัดการ

ประสานงานกับอาจารยผูแทนจากหลักสูตรวิชาตาง ๆ ในคณะที่เกี่ยวของกับการเปดสอน และ

การจัดกลุมเรียนในมหาวิทยาลัย

Page 7: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

หมวดที ่2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร

1.1 ปรัชญาของหลักสูตร

รอบรู คูคุณธรรม นําสหวิทยาการ บริหารจัดการองคกร

1.2 ความสําคัญของหลักสูตร

การศึกษาในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรมีความจําเปนอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศ ทั้งในระดับ

สวนกลางและสวนทองถิ่น โดยเฉพาะอยางยิ่งการใหความสําคัญในเรื่องการกระจายอํานาจการปกครองไปสู

ทองถิ่น การใหทองถิ่นมีอิสระในการกําหนดนโยบาย มีอิสระการใชหรือควบคุมทรัพยากรตาง ๆ ของทองถิ่น

เอง ดังนั้น การใหทองถิ่นมีความพรอมทั้งในดานบุคลากร ดานการบริหารจัดการ ดานคุณธรรม จริยธรรม

ตามหลักธรรมาภิบาล มีสํานึกในสวนรวมหรือมีจิตสาธารณะ ซึ่งเปนคุณลักษณะพื้นฐานของบุคลากรภาครัฐ

หรือแมกระทั่งบุคลากรที่ไมไดอยูในองคการภาครัฐแตตองคํานึงถึงประโยชนขององคการหรือประโยชนของ

สังคมจึงเปนสิ่งสําคัญ นอกจากนี้ ตลอดระยะเวลาในการเปดหลักสูตรตั้งแตปการศึกษา 2544 จนกระทั่งถึง

ปจจุบันที่สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาไดพิจารณาใหการรับรองหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) โปรแกรมวิชารัฐประศาสนศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ไดมีการติดตามประเมินผล และปรับปรุงหลักสูตรใหมีความทันสมัย พรอมรับกับ

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรมที่มีความเปนพลวัตอยูตลอดเวลา

ดังนั้น เพื่อใหสอดคลองกับบริบทของสังคมและเปนการพัฒนาบุคลากรของประเทศในการเขาไป

รวมพัฒนาประเทศทั้งในระดับสวนกลางหรือสวนทองถิ่นใหเจริญกาวหนาและทัดเทียมกับอารยประเทศ

โปรแกรมวิชาฯ จึงเห็นควรปรับปรุงหลักสูตร โดยเนนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อใหหลักสูตรครอบคลุม

มาตรฐานความรู และแสดงสาระความรูตามมาตรฐานดังกลาวอยางชัดเจน โดยมุงพัฒนาผูเรียนใหมี

คุณลักษณะเปนผูรักถิ่นฐาน รับใชทองถิ่น สามารถเขาใจในระบบบริหารงานภาครัฐ มีความรู ความสามารถ

ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถนําไปประยุกตใชไดอยางเหมาะสม เพื่อพัฒนาใหเปนบัณฑิตที่มี

คุณธรรมจริยธรรมและยึดมั่นการอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข

1.3 วัตถุประสงคของหลักสูตร

1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตดานรัฐประศาสนศาสตรที่มีความรู มีคุณธรรม เปนพลเมืองที่มีคุณคาของ

สังคม และมีทักษะในการประกอบอาชีพ อันนําไปสูการปฏิบัติงานในหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน

สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศ

1.3.2 เพื่อใหบัณฑิตดานรัฐประศาสนศาสตรมีความตระหนักและสนใจปรากฏการณทางสังคม

เศรษฐกิจ และการเมือง

Page 8: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

7 มคอ.2

1.3.3 เพื่อใหบัณฑิตดานรัฐประศาสนศาสตร เกิดทักษะในการศึกษาคนควาหาความรูไดดวยตนเอง

สามารถวิเคราะหและสังเคราะหปญหาไดอยางเปนระบบ อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาทองถิ่นและ

ประเทศชาติ

2. แผนพัฒนา/ ปรับปรุง

คาดวาจะดําเนินการแลวเสร็จภายใน 4 ป

แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงช้ี

1. ปรับปรุงหลักสูตรรัฐประศาสน

ศาสตรใหมีมาตรฐานไมต่ํากวา

ที่ สกอ. กําหนด

- พัฒนาหลักสูตรโดยมีพ้ืนฐาน

จากกรอบคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติและ

เกณฑมาตรฐานดาน

รัฐประศาสนศาสตร

- ติดตามประเมินหลักสูตร

อยางสม่ําเสมอ

- หลักสูตร

- รายงานการพัฒนาหลักสูตร

- รายงานผลการประเมินผล

หลักสตูร

- รายงานผลการประเมินความ

พึงพอใจในการใชบัณฑิตของ

หนวยงานตาง ๆ

2. การพัฒนาคุณลักษณะของ

บัณฑิตทางดานรัฐประศาสน

ศาสตรใหเปนที่ยอมรับของ

สังคม

- ทําการสํารวจความตองการ

คุณลักษณะของบัณฑิตดาน

รัฐประศาสนศาสตร

- การจัดกิจกรรมศึกษาดูงานดาน

รัฐประศาสนศาสตร

- รายงานผลการสํารวจความ

ตองการคุณลักษณะของบัณฑิต

ดานรัฐประศาสนศาสตร

- เอกสารสรุปผลการทํากิจกรรม

3. ยกระดับทรัพยากรสายผูสอน

เพื่อสนับสนุนการเรียนรูของ

นักศึกษา

- อาจารยใหมตองผานการอบรม

หลักสูตรเบื้องตนเกี่ยวกับเทคนิค

การสอน การวัดและการ

ประเมินผล

- สงเสริมสนับสนุนใหอาจารย

ทุกคนไดมีโอกาสอบรมความรู

เกี่ยวกับองคความรูดาน

รัฐประศาสนศาสตรอยางสม่ําเสมอ

- สนับสนุนใหอาจารยทําโครงการ

บริการวิชาการ

- ศึกษาดูงานและเขารวมสัมมนา

ทางวิชาการของอาจารย

- ปริมาณโครงการศึกษาดูงาน

- ปริมาณการเขารวมสัมมนา

ทางวิชาการ

Page 9: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

หมวดที ่3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา

1.1 ระบบ

ระบบทวิภาค โดยหนึ่งปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกต ิ

มีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห

1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน

การจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอนสามารถจัดได โดยใหอยูในดุลยพินิจของกรรมการประจํา

หลักสูตร

1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค

ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วาดวยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี

พ.ศ. 2558 (ภาคผนวก)

2. การดําเนินการหลักสูตร

2.1 วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

2.1.1 นักศึกษาภาคปกติ เรียนวันจันทร – วันศุกร

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน

ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม – เมษายน

2.1.2 นักศึกษาภาคพิเศษ เรียนวันเสาร – วันอาทิตย

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน

ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม – เมษายน

ภาคฤดูรอน เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม

2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา

2.2.1 ผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา

2.2.2 มีคุณสมบัติอื่นครบถวนตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วาดวยการจัดการศึกษา

ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 หมวด 1 การรับเขาศึกษา

2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา

2.3.1 ปญหาเกี่ยวกับระดับพื้นฐานความรูที่แตกตางกันของนักศึกษา

2.3.2 ปญหาเกี่ยวกับวิธีการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยซึ่งมีความแตกตางจากการเรียนในระดับ

มัธยมศึกษาเปนอยางมาก

Page 10: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

9 มคอ.2

2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา/ ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3

2.4.1 จัดการเรียนการสอนเพื่อปรับพ้ืนฐานความรูของนักศึกษาแรกเขา

2.4.2 สงเสริมการสรางความรูความเขาใจในการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 4 ป

2.5.1 นักศึกษาภาคปกติ

ระดับชั้นป จํานวนนักศึกษาแตละปการศึกษา

2560 2561 2562 2563

ชั้นปที่ 1 150 150 150 150

ชั้นปที่ 2 150 150 150

ชั้นปที่ 3 150 150

ชั้นปที่ 4 150

รวม 150 300 450 600

จํานวนนักศึกษา

คาดวาสําเร็จการศึกษา

150

2.5.2 นักศึกษาภาคพิเศษ

ระดับชั้นป จํานวนนักศึกษาแตละปการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564

ชั้นปที่ 1 150 150 150 150 150

ชั้นปที่ 2 150 150 150 150

ชั้นปที่ 3 150 150 150

ชั้นปที่ 4 150 150

ชั้นปที่ 5 150

รวม 150 300 450 600 750

จํานวนนักศึกษา

คาดวาสําเร็จการศึกษา

150

Page 11: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

10 มคอ.2

2.6 งบประมาณตามแผน

2.6.1 นักศึกษาภาคปกติ

ใชงบประมาณเงินรายไดและรายจายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ตามรายละเอียดดังนี้

รายการ งบประมาณ (บาท)

ป 2560 ป 2561 ป 2562 ป 2563

1. งบประมาณเงินรายได

- คา FTES ตอป 75.00 183.33 345.83 416.67

- คาหัวจริงตอป 1,350.00 1,427.00 1,543.00 1,503.00

- จํานวนนักศึกษา ป.ตรี 150 300 450 600

รวม 202,500.00 428,100.00 694,350.00 901,800.00

2. งบประมาณรายจาย

- คาหัวจริงตอป 800.00 800.00 800.00 800.00

- จํานวนนักศึกษา ป.ตรี 150 300 450 600

รวม 120,000.00 240,000.00 360,000.00 480,000.00

รวมงบประมาณทั้งหมด 322,500.00 668,100.00 1,054,350.00 1,381,800.00

2.6.2 นักศึกษาภาคพิเศษ

ใชงบประมาณเงินรายไดและรายจายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ตามรายละเอียดดังนี้

รายการ งบประมาณ (บาท)

ป 2560 ป 2561 ป 2562 ป 2563 ป 2564

1. งบประมาณเงินรายได

- คา FTES ตอป 62.50 125.00 250 370.83 420.83

- คาหัวจริงตอป 1,291.00 1,291 1,388.00 1,439.00 1,306.00

- จํานวนนักศึกษา ป.ตรี 150 300 450 600 750

รวม 193,650.00 387,300.00 624,600.00 863,400.00 979,500.00

2. งบประมาณรายจาย

- คาหัวจริงตอป 800.00 800.00 800.00 800.00 800.00

- จํานวนนักศึกษา ป.ตรี 150 300 450 600 750

รวม 120,000.00 240,000.00 360,000.00 480,000.00 600,000.00

313,650.00 627,300.00 984,600.00 1,343,400.00 1,579,500.00

Page 12: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

11 มคอ.2

2.7 ระบบการศึกษา

แบบชั้นเรียน

แบบทางไกลผานสื่อสิ่งพิมพเปนหลัก

แบบทางไกลผานสื่อแพรภาพและเสียงเปนสื่อหลัก

แบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกสเปนสื่อหลัก (E-learning)

แบบทางไกลทางอินเทอรเน็ต

อื่น ๆ (ระบุ)

2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย

เปนไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วาดวยการโอนผลการเรียนและการเทียบโอน

ผลการเรียน พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก)

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน

3.1 หลักสูตร

3.1.1 จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 131 หนวยกิต

3.1.2 โครงสรางหลักสูตร

โครงสรางหลักสูตร แบงเปนหมวดวิชาที่สอดคลองกับที่กําหนดไวในเกณฑมาตรฐานหลักสูตร

ของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

1.1 กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต

บังคับเรียน 9 หนวยกิต

เลือกเรียน ไมนอยกวา 3 หนวยกิต

1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ไมนอยกวา 9 หนวยกิต

บังคับเรียน 3 หนวยกิต

เลือกเรียน ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

1.3 กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไมนอยกวา 9 หนวยกิต

บังคับเรียน 3 หนวยกิต

เลือกเรียน ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

Page 13: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

12 มคอ.2

2) หมวดวิชาเฉพาะ 95 หนวยกิต

2.1 กลุมวิชาแกน 60 หนวยกิต

2.2 กลุมวิชาเนื้อหา ไมนอยกวา 27 หนวยกิต

- บังคับเรียน 15 หนวยกิต

- เลือกเรียน ไมนอยกวา 12 หนวยกิต

2.3 กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 8 หนวยกิต

3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

3.1.3 รายวิชา

1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต

1.1 กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร เรียนไมนอยกวา 12 หนวยกิต

บังคับเรียน 9 หนวยกิต

GEL0101 ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6)

Thai for Communication

GEL0201 ภาษาอังกฤษในโลกปจจุบัน 3(3-0-6)

English for Today’s World

GEL0202 ภาษาอังกฤษเพื่อการทํางาน 3(3-0-6)

English at Work

เลือกเรียนไมนอยกวา 3 หนวยกิต จากวิชาตอไปนี ้

GEL0301 ภาษามาเลยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)

Malay for Communication

GEL0302 ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)

Indonesian for Communication

GEL0303 ภาษาพมาเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)

Burmese for Communication

GEL0304 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)

Chinese for Communication

GEL0305 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)

Japanese for Communication

GEL0306 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)

Korean for Communication

Page 14: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

13 มคอ.2

1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เรียนไมนอยกวา 9 หนวยกิต

บังคับเรียน 3 หนวยกิต

GEH0401 วิถีลุมน้ําทะเลสาบสงขลา 3(3-0-6)

Songkhla Lake Basin Living

เลือกเรียนไมนอยกวา 6 หนวยกิต จากวิชาตอไปนี ้

GEH0402 ปรัชญาและศาสนา 3(3-0-6)

Philosophy and Religions

GEH0403 มนุษยกับความงาม 3(3-0-6)

Human and Aesthetics

GEH0404 พฤติกรรมมนุษยและการพัฒนาตน 3(3-0-6)

Human Behavior and Self-Development

GEH0405 มนุษยกับความเปลี่ยนแปลง 3(3-0-6)

Man and Changing World

GEH0406 สารสนเทศเพ่ือการเรียนรู 3(3-0-6)

Information for Learning

GEH0407 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0-6)

Fundamental Law for Quality of Life

GEH0408 เรียนรูคุณธรรมนําชีวิตพอเพียง 3(3-0-6)

Moral Principles Leading to Self Sufficiency

GEH0409 วิถีอาเซียน 3(3-0-6)

ASEAN Ways

1.3 กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เรียนไมนอยกวา 9 หนวยกิต

บังคับเรียน 3 หนวยกิต

GES0501 วิเคราะหการคิด 3(2-2-5)

Thinking Analysis

เลือกเรียนไมนอยกวา 6 หนวยกิต จากวิชาตอไปนี ้

GES0502 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)

Life and Environment

GES0503 ชีวิตกับเทคโนโลยี 3(2-2-5)

Life and Technology

Page 15: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

14 มคอ.2

GES0601 เกษตรเพื่อชีวิต 3(3-0-6)

Agriculture for Life

GES0701 อาหารและโภชนาการเบื้องตน 3(3-0-6)

Introduction to Food and Nutrition

GES0702 การดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ 3(2-2-5)

Integrated Health Care

GES0801 งานชางในชีวิตประจําวัน 3(2-2-5)

Jobs on a Daily Basis

2) หมวดวิชาเฉพาะ 95 หนวยกิต

2.1 กลุมวิชาแกน 60 หนวยกิต

2581103 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0-6)

Introduction to Public Administration

2581104 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร 3(3-0-6)

Introduction to Political Science

2581105 การบริหารราชการไทย 3(3-0-6)

Thai Public Administration

2581201 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย 3(3-0-6)

Introduction to Law

2581301 องคการและการจัดการ 3(3-0-6)

Organization and Management

2581302 การบริหารทรัพยากรมนุษย 3(3-0-6)

Human Resource Management

2582103 การปกครองทองถิ่นไทย 3(3-0-6)

Thai Local Government

2582204 กฎหมายปกครอง 3(3-0-6)

Administrative Law

2582301 นโยบายสาธารณะ 3(3-0-6)

Public Policy

2582305 การบริหารงานคลังและงบประมาณ 3(3-0-6)

Fiscal and Budgeting Administration

Page 16: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

15 มคอ.2

2582306 วิทยาการทางการบริหาร 3(3-0-6)

Administrative Technology

2583101 รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง 3(3-0-6)

Constitution and Political Institutions

2583309 การวิเคราะหโครงการและการบริหารโครงการ 3(3-0-6)

Project Analysis and Project Management

2583310 ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร 3(3-0-6)

Management Information System

2583903 สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร 3(2-2-5)

Statistics for Social Science Research

2583904 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร 3(2-2-5)

Research Methodology in Public Administration

2584302 จริยธรรมทางการบริหาร 3(3-0-6)

Administrative Ethics

2584905 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0-6)

Seminar in Public Administration

2584907 หัวขอพิเศษทางรัฐประศาสนศาสตร 3(2-2-5)

Special Topics in Public Administration

3631001 เศรษฐศาสตรทั่วไป 3(3-0-6)

General Economics

2.2 กลุมวิชาเนื้อหา ไมนอยกวา 27 หนวยกิต

- บังคับเรียน 15 หนวยกิต

ใหเรียนจากกลุมใดกลุมหนึ่งตอไปนี้

(ก) กลุมนวัตกรรมการจัดการภาครัฐ

2582403 องคการแหงนวัตกรรม 3(3-0-6)

Organization of innovation

2582404 การตลาดสําหรับการจัดการภาครัฐ 3(3-0-6)

Marketing for Public Management

2583405 การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6)

Innovation Management

Page 17: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

16 มคอ.2

2583406 นวัตกรรมสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ 3(3-0-6)

Informative Innovation for Public Management

2583407 ความคิดสรางสรรคสําหรับนวัตกรรมภาครัฐ 3(3-0-6)

Creative Thinking for Public Innovation

(ข) กลุมนโยบายสาธารณะและการวางแผน

2582501 การวางแผนเชิงกลยุทธ 3(3-0-6)

Strategic Planning

2582503 นโยบายพัฒนาการบริหารงานภาครัฐ 3(3-0-6)

Public Administration Development Policy

2583503 การวิเคราะหนโยบาย 3(3-0-6)

Policy Analysis

2583505 การประเมินผลโครงการ 3(3-0-6)

Program Evaluation

2583506 นโยบาย แผน และโครงการสําหรับชุมชน 3(3-0-6)

Policy, Plan and Project for Community

(ค) กลุมการบริหารจัดการทองถิ่น

2582603 แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการทองถิ่น 3(3-0-6)

Concepts and Theories of Local Governance

2582604 กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองทองถิ่น 3(3-0-6)

Law of Local Government

2583604 การวางแผนกลยุทธเพื่อพัฒนาทองถิ่น 3(3-0-6)

Strategic Planning for local Development

2583605 การบริหารการคลังทองถิ่น 3(3-0-6)

Local Fiscal Administration

2583606 การจัดการความรูเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3(3-0-6)

Knowledge Management for Sustainable Development

Page 18: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

17 มคอ.2

(ง) กลุมการบริหารทรัพยากรมนุษย

2582703 การวางแผนทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธ 3(3-0-6)

Strategic Human Resource Planning

2582704 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย 3(3-0-6)

Human Resource Development

2583702 พฤติกรรมองคการ 3(3-0-6)

Organizational Behavior

2583703 การจัดการชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน 3(3-0-6)

Occupational Health and Safety in Workplace Management

2583704 การจัดการผลการปฏิบัติงานและการบริหารคาตอบแทน 3(3-0-6)

Performance Management and Compensation Management

- เลือกเรียน ไมนอยกวา 12 หนวยกิต

เลือกเรียนจากวิชาตอไปนี้

2582101 การเมืองการปกครองของไทย 3(3-0-6)

Thai Politics and Government

2582104 สันติวิธีกับการจัดการความขัดแยง 3(3-0-6)

Non - violence and Conflict Management

2582202 กฎหมายอาญา 1: ภาคทั่วไป 3(3-0-6)

Criminal Law : General Principles

2582205 สิทธิมนุษยชน 3(3-0-6)

Human Rights

2583102 การเมืองการปกครองของกลุมประเทศอาเซียน 3(3-0-6)

Politics and Government of ASEAN Countries

2583201 กฎหมายแรงงานและการประกันสังคม 3(3-0-6)

Labor and Social Security Law

2583202 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด 3(3-0-6)

Criminal Law : Offense

2583203 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(3-0-6)

Law of Criminal Procedure

2583306 ภาวะผูนําทางการบริหาร 3(3-0-6)

Leadership in Administration

Page 19: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

18 มคอ.2

2583311 การจัดการภัยพิบัติ 3(3-0-6)

Disaster Management

2583404 การจัดการวิสาหกิจชุมชน 3(3-0-6)

Community Enterprise Management

2584101 สถานการณโลกปจจุบัน 3(3-0-6)

Current World Situation

2584201 กฎหมายลักษณะพยาน 3(3-0-6)

Law of Evidence

2584202 ระบบความยุติธรรมทางอาญา 3(3-0-6)

Criminal Justice System

2.3 กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ 8 หนวยกิต

เลือกเรียนจากกลุมใดกลุมหนึ่งตอไปนี้

กลุมที่ 1 ฝกประสบการณวิชาชีพ

2584802 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 2(1-2-3)

Preparation for Field Experience in Public Administration

2584803 การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 6(540)

Field Experience in Public Administration

กลุมที่ 2 สหกิจศึกษา

7000390 การเตรียมความพรอมสหกิจศึกษา 2(90)

Cooperative Education Preparation

7000490 สหกิจศึกษา 6(640)

Cooperative Education

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต

ใหเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยโดยไมซ้ํากับรายวิชาที่เคยเรียน

มาแลว และตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิตรวมในเกณฑการสําเร็จของหลักสูตร

Page 20: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

19 มคอ.2

ความหมายของเลขรหัสประจํารายวิชาและหนวยกิตที่ใชในหลักสูตร

เลขรหัสประจํารายวิชา ประกอบดวยเลข 7 หลัก มีความหมายดังนี้

เลขรหัส 3 ตัวแรก หมายถึง หมวดวิชาและหมูวิชา

เลขรหัส ตัวที่ 4 หมายถึง ชั้นป หรือระดับความยากงาย

เลขรหัส ตัวที่ 5 หมายถึง ลักษณะเนื้อหาวิชา

เลขรหัส ตัวที่ 6,7 หมายถึง ลําดับกอนหลัง

เลขรหัสตัวที่ 5 ไดจัดลักษณะเนื้อหาวิชาไว ดังนี้

1 กลุมการเมืองการปกครอง 258-1--

2 กลุมกฎหมาย 258-2--

3 กลุมการบริหารรัฐกิจ 258-3--

4 กลุมนวัตกรรมการจัดการภาครัฐ 258-4--

5 กลุมนโยบายสาธารณะและการวางแผน 258-5--

6 กลุมการบริหารการจัดการทองถิ่น 258-6--

7 กลุมการจัดการทรัพยากรมนุษย 258-7--

8 กลุมการฝกประสบการณวิชาชีพ 258-8--

9 โครงการพิเศษ/ปญหาพิเศษ วิทยานิพนธ 258-9--

โครงการศึกษาเอกเทศ การสัมมนา และการวิจัย

ความหมายของจํานวนหนวยกิต

ตัวอยางเชน 3(3-0-6)

เลขตัวที่ 1 หมายถึง จํานวนหนวยกิตรวม

เลขตัวที่ 2 หมายถึง จํานวนชั่วโมงทฤษฎีตอสัปดาห

เลขตัวที่ 3 หมายถึง จํานวนชั่วโมงปฏิบัติตอสัปดาห

เลขตัวที่ 4 หมายถึง จํานวนชั่วโมงศึกษาดวยตนเองตอสัปดาห

1 2 3 4 5 6 7

ลําดับกอนหลัง

ลักษณะเนื้อหาวิชา

ชั้นปหรือระดับความยากงาย

หมวดวิชาและหมูวิชา

Page 21: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

20 มคอ.2

3.1.4 แผนการศึกษา

3.1.4.1 นักศึกษาภาคปกติ

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

GE9 เลือกเรียน 9 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2581103

2581104

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 15

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

GE6 เลือกเรียน 6 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2581105

2581201

2581301

2581302

การบริหารราชการไทย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

องคการและการจัดการ

การบริหารทรัพยากรมนุษย

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 18

Page 22: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

21 มคอ.2

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

GE9 เลือกเรียน 9 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2582103

2582204

2582301

3631001

การปกครองทองถิ่นไทย

กฎหมายปกครอง

นโยบายสาธารณะ

เศรษฐศาสตรทั่วไป

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 21

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

GE6 เลือกเรียน 6 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2582305

2582306

การบริหารงานคลังและงบประมาณ

วิทยาการทางการบริหาร

3(3-0-6)

3(3-0-6)

กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน (เลือกเรียนตามกลุมวิชาเพียงกลุมเดียว)

(ก) กลุมวิชานวัตกรรม

การจัดการภาครัฐ

2582403

2582404

องคการแหงนวัตกรรม

การตลาดสําหรับการจัดการภาครัฐ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ข) กลุมวิชานโยบาย

สาธารณะและการวางแผน

2582501

2582503

การวางแผนเชิงกลยุทธ

นโยบายพัฒนาการบริหารงานภาครัฐ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ค) กลุมวิชาวิชาการ

บริหารจัดการทองถิ่น

2582603

2582604

แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการทองถิ่น

กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองทองถิ่น

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ง) กลุมวิชาการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย

2582703

2582704

การวางแผนทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธ

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

3(3-0-6)

3(3-0-6)

- เลือกเรียน xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 21

Page 23: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

22 มคอ.2

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2583309

2583310

2583903

การวิเคราะหโครงการและการบริหารโครงการ

ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร

สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน (เลือกเรียนตามกลุมวิชาเพียงกลุมเดียว)

(ก) กลุมวิชานวัตกรรม

การจัดการภาครัฐ

2583403 การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6)

(ข) กลุมวิชานโยบาย

สาธารณะและการวางแผน

2583505

การประเมินผลโครงการ 3(3-0-6)

(ค) กลุมวิชาวิชาการ

บริหารจัดการทองถิ่น

2583604 การวางแผนกลยุทธเพื่อพัฒนาทองถิ่น 3(3-0-6)

(ง) กลุมวิชาการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย

2583702 พฤติกรรมองคการ 3(3-0-6)

- เลือกเรียน xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

หมวดวิชาเลือกเสรี xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 18

Page 24: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

23 มคอ.2

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2583101

2583904

2584302

รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง

ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร

จริยธรรมทางการบริหาร

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน (เลือกเรียนตามกลุมวิชาเพียงกลุมเดียว)

(ก) กลุมวิชานวัตกรรม

การจัดการภาครัฐ

2583406

2583407

นวัตกรรมสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ

ความคิดสรางสรรคสําหรับนวัตกรรม

ภาครัฐ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ข) กลุมวิชานโยบาย

สาธารณะและการวางแผน

2583503

2583506

การวิเคราะหนโยบาย

นโยบาย แผน และโครงการสําหรับชุมชน

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ค) กลุมวิชาวิชาการ

บริหารจัดการทองถิ่น

2583605

2583606

การบริหารการคลังทองถิ่น

การจัดการความรูเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ง) กลุมวิชาการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย

2583703

2583704

การจัดการชีวอนามัยและความปลอดภัย

ในการทํางาน

การจัดการผลการปฏิบัติงานและ

การบริหารคาตอบแทน

3(3-0-6)

3(3-0-6)

- เลือกเรียน xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

หมวดวิชาเลือกเสรี xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 21

Page 25: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

24 มคอ.2

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2584905

2584907

สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร

หัวขอพิเศษทางรัฐประศาสนศาสตร

3(3-0-6)

3(2-2-5)

กลุมวิชาเนื้อหา

- เลือกเรียน

xxxxxxx

เลือกเรียน

3(3-0-6)

กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ (เลือกเรียนจากกลุมใดกลุมหนึ่งตอไปนี้)

กลุมที่ 1

กลุมที่ 2

2584802

7000390

การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ

รัฐประศาสนศาสตร

การเตรียมความพรอมสหกิจศึกษา

2(1-2-3)

2(90)

รวมหนวยกิต 11

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ (เลือกเรียนจากกลุมใดกลุมหนึ่งตอไปนี้)

กลุมที่ 1

กลุมที่ 2

2584803

7000490

การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร

สหกิจศึกษา

6(540)

6(640)

รวมหนวยกิต 6

Page 26: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

25 มคอ.2

3.1.4.2 นักศึกษาภาคพิเศษ

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวชิา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป GE6 เลือกเรียน 6 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2581103

2581104

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป GE6 เลือกเรียน 6 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2581105

2581201

การบริหารราชการไทย

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 3

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป GE3 เลือกเรียน 3 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

3631001

เศรษฐศาสตรทั่วไป

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 6

Page 27: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

26 มคอ.2

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวชิา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป GE6 เลือกเรียน 6 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2581301

2582301

องคการและการจัดการ

นโยบายสาธารณะ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชือ่วิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป GE3 เลือกเรียน 3 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2581302

2582305

การบริหารทรัพยากรมนุษย

การบริหารงานคลังและงบประมาณ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

กลุมวิชาเนื้อหา

- เลือกเรียน

xxxxxxx

เลือกเรยีน

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 3

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป GE6 เลือกเรียน 6 หนวยกิต

รวมหนวยกิต 6

Page 28: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

27 มคอ.2

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2582103

2582204

2582306

การปกครองทองถิ่นไทย

กฎหมายปกครอง

วิทยาการทางการบริหาร

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

กลุมวิชาเนื้อหา

- เลือกเรียน

xxxxxxx

เลือกเรียน

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

2583101

รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง

3(3-0-6)

กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน (เลือกเรียนตามกลุมวิชาเพียงกลุมเดียว)

(ก) กลุมนวัตกรรมการ

จัดการภาครัฐ

2582403

2582404

องคการแหงนวัตกรรม

การตลาดสําหรับการจัดการภาครัฐ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ข) กลุมนโยบาย

สาธารณะและการวางแผน

2582501

2582503

การวางแผนเชิงกลยุทธ

นโยบายพัฒนาการบริหารงานภาครัฐ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ค) กลุมวิชาการบริหาร

จัดการทองถิ่น

2582603

2582604

แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการทองถิ่น

กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองทองถิ่น

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ง) กลุมการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย

2582703

2582704

การวางแผนทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธ

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

3(3-0-6)

3(3-0-6)

- เลือกเรียน xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

Page 29: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

28 มคอ.2

ปที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 3

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

2583309

การวิเคราะหโครงการและการบริหารโครงการ

3(3-0-6)

หมวดวิชาเลือกเสรี xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 6

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที ่1

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2583310

2583903

ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร

สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร

3(3-0-6)

3(2-2-5)

กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน (เลือกเรียนตามกลุมวิชาเพียงกลุมเดียว)

(ก) กลุมนวัตกรรมการ

จัดการภาครัฐ

2583403 การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6)

(ข) กลุมนโยบาย

สาธารณะและการวางแผน

2583505

การประเมินผลโครงการ 3(3-0-6)

(ค) กลุมการบริหาร

จัดการทองถิ่น

2583604 การวางแผนกลยุทธเพื่อพัฒนาทองถิ่น 3(3-0-6)

(ง) กลุมการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย

2583702 พฤติกรรมองคการ 3(3-0-6)

- เลือกเรียน xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

Page 30: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

29 มคอ.2

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2583904

2584302

ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร

จริยธรรมทางการบริหาร

3(2-2-5)

3(3-0-6)

กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน (เลือกเรียนตามกลุมวิชาเพียงกลุมเดียว)

(ก) กลุมนวัตกรรมการ

จัดการภาครัฐ

2583406

2583407

นวัตกรรมสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ

ความคิดสรางสรรคสําหรบันวัตกรรมภาครัฐ

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ข) กลุมนโยบาย

สาธารณะและการวางแผน

2583503

2583506

การวิเคราะหนโยบาย

นโยบาย แผน และโครงการสําหรับชุมชน

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ค) กลุมการบริหาร

จัดการทองถิ่น

2583605

2583606

การบริหารการคลังทองถิ่น

การจัดการความรูเพื่อการพฒันาที่ยั่งยืน

3(3-0-6)

3(3-0-6)

(ง) กลุมการบริหาร

ทรัพยากรมนุษย

2583703

2583704

การจัดการชีวอนามัยและความปลอดภัย

ในการทํางาน

การจัดการผลการปฏิบัติงานและการ

บริหารคาตอบแทน

3(3-0-6)

3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 12

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 3

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ (เลือกเรียนจากกลุมใดกลุมหนึ่งตอไปนี้)

กลุมที่ 1

กลุมที่ 2

2584802

7000390

การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ

รัฐประศาสนศาสตร

การเตรียมความพรอมสหกิจศึกษา

2(1-2-3)

2(90)

หมวดวิชาเลือกเสรี xxxxxxx เลือกเรียน 3(3-0-6)

รวมหนวยกิต 5

Page 31: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

30 มคอ.2

ปที่ 5 ภาคการศึกษาที่ 1

กลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (ท-ป-อ)

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุมวิชาแกน

กลุมวิชาแกน

2584905

2584907

สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร

หัวขอพิเศษทางรัฐประศาสนศาสตร

3(3-0-6)

3(2-2-5)

กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ (เลือกเรียนจากกลุมใดกลุมหนึ่งตอไปนี้)

กลุมที่ 1

กลุมที่ 2

2584803

7000490

การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร

สหกิจศึกษา

6(540)

6(640)

รวมหนวยกิต 12

3.1.5 คําอธิบายรายวิชา

3.1.5.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

3.1.5.1.1 กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร

GEL0101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Thai for Communication

พัฒนาทักษะการใชภาษาไทยในดานการฟง การพูด การอาน และการ

เขียน ใหมีความรอบรูและสามารถใชภาษาสื่อสารในชีวิตประจําวันไดอยางมี

ประสิทธิภาพ เหมาะสมตามบริบททางสังคม และวัฒนธรรมไทย

Study and practice skills in listening, speaking, reading and

writing in Thai for the daily life communication appropriately in

various Thai contexts.

3(3-0-6)

GEL0201 ภาษาอังกฤษในโลกปจจุบัน

English for Today’s World

พัฒนาผูเรียนใหใชภาษาอังกฤษเพ่ือเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรู

จากแหลงขอมูลสารสนเทศเพื่อประยุกตใชในการศึกษาและการดํารงชีวิต

ในโลกปจจุบัน

Develop learners in using English as a medium to access

and retrieve information for education and daily life applications.

3(3-0-6)

Page 32: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

31 มคอ.2

GEL0202 ภาษาอังกฤษเพื่อการทํางาน

English at Work

ฝกทักษะการใชภาษาอังกฤษในบริบทของการทํางาน และสามารถใช

ภาษาอังกฤษเพื่อการหางาน สมัครงาน สัมภาษณงาน และบริบทอื่น ๆ ของ

การทํางาน

Practice English skills in work-related contexts. Make use

of English for job seeking, job applying, job interviewing, and other

work-related contexts.

3(3-0-6)

GEL0301 ภาษามาเลยเพื่อการสื่อสาร

Malay for Communication

การฝกทักษะดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน โดยเนน

ทักษะการฟงและการพูดสําหรับการสื่อสาร สอดแทรกบริบททางดาน

วัฒนธรรมเพื่อการนําไปใชในชีวิตประจําวัน

Study and practice skills in listening, speaking, reading and

writing in Malay, focusing on listening and speaking for daily

communication and promoting the understanding of Thai and

Malay cultures.

3(3-0-6)

GEL0302 ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสาร

Indonesian for Communication

การฝกทักษะดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน โดยเนน

ทักษะการฟงและการพูดสําหรับการสื่อสาร สอดแทรกบริบททางดาน

วัฒนธรรมอินโดนีเซีย เพื่อการนําไปใชในชีวิตประจําวัน

Study and practice skills in listening, speaking, reading and

writing in Indonesian, focusing on listening and speaking for daily

communication and promoting the understanding of Thai and

Indonesian cultures.

3(3-0-6)

Page 33: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

32 มคอ.2

GEL0303 ภาษาพมาเพื่อการสื่อสาร

Burmese for Communication

การฝกทักษะดานการฟง การพูด การอาน และการเขียนภาษาพมา

โดยเนนทักษะการฟงและการพูดสําหรับการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

Study and practice skills in listening, speaking, reading and

writing in Burmese, focusing on listening and speaking for daily

life.

3(3-0-6)

GEL0304 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร

Chinese for Communication

เรียนรูระบบสัทอักษรจีน วิธีการเขียนอักษรจีน ฝกทักษะฟง พูด

อาน เขียนภาษาจีนในชีวิตประจําวัน เรียนรูการศึกษาคนควาภาษาจีน

ดวยตนเองผานเทคโนโลยีสมัยใหม พรอมทั้งเรียนรูและเขาใจความแตกตาง

ระหวางวัฒนธรรมไทยจีน

Study and practice basic structure of Mandarin Chinese with

an emphasis on developing listening, speaking, reading and writing

skills with application to a number of familiar everyday topics.

Enhance learner autonomy through technology. Learn about

culture and develop inter cultural awareness.

3(3-0-6)

GEL0305 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร

Japanese for Communication

ฝกทักษะการใชภาษาญี่ปุน โดยเนนทักษะการฟงและการพูด เพื่อการ

สื่อสารในชีวิตประจําวัน และเสริมสรางความเขาใจดานสังคมและวัฒนธรรม

ระหวางไทยและญี่ปุน

Study and practice skills in Japanese, focusing on listening

and speaking for daily communication and promoting the

understanding of Thai and Japanese cultures.

3(3-0-6)

Page 34: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

33 มคอ.2

GEL0306 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร

Korean for Communication

การฝกทักษะดานการฟง การพูด การอาน และการเขียนภาษาเกาหลี

โดยเนนทักษะการฟงและการพูดสําหรับการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

Study and practice skills in listening, speaking, reading and

writing in Korean, focusing on listening and speaking for daily life.

3(3-0-6)

3.1.5.1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

GEH0401 วิถีลุมน้ําทะเลสาบสงขลา

Songkhla Lake Basin Living

ประวัติความเปนมา ลักษณะทางกายภาพ ระบบนิ เวศ สั งคม

เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิถีชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง และโครงการพระราชดําริ

รวมทั้งสรางจิตสาธารณะ สงเสริมคุณธรรมจริยธรรมและหนาที่พลเมือง

History, physical characteristics, ecology, society, economy,

cultures, and ways of life of Songkhla lake. Sufficiency economy

and Royal Project. Educate students to have public mind, virtues,

ethics, and civic duties.

3(3-0-6)

GEH0402 ปรัชญาและศาสนา

Philosophy and Religions

ความหมาย องคประกอบ การวิเคราะหปญหาของปรัชญาและศาสนา

สาขาของปรัชญา ความสัมพันธและความแตกตางระหวางปรัชญาและศาสนา

คุณคาที่แทจริงของปรัชญาและศาสนา หลักคําสอนของศาสนาตาง ๆ

นําหลักธรรมมาพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม เพื่อให

เกิดสันติภาพและสันติสุข

Analytical elements of philosophy and religions, the

relations between philosophy and religions, the real value of

philosophy and religions, teachings and philosophical concepts of

different school of philosophy and religions for peace of life and

peaceful societies.

3(3-0-6)

Page 35: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

34 มคอ.2

GEH0403 มนุษยกับความงาม

Human and Aesthetics

แนวคิดทฤษฎีความงามเบื้องตน องคประกอบทางศิลปะ ดนตรี และ

ศิลปะการแสดง การประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

Concept and theory of beauty, aesthetic elements in

painting, music and performing arts, beauty in daily life.

3(3-0-6)

GEH0404 พฤติกรรมมนุษยและการพัฒนาตน

Human Behavior and Self-Development

การศึกษาพฤติกรรมมนุษยการเขาใจตนเองและผูอื่น การพัฒนาตนดานรางกาย

จิตใจ อารมณและสังคม มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบตอสังคม มีทักษะชีวิต

สํานึกในความเปนพลเมืองไทย สรางสัมพันธที่ดีกับบุคคลในพหุวัฒนธรรม เพื่อ

การอยูรวมกัน การทํางานอยางมีประสิทธิภาพและมีความสุข

The study of human behaviors, self-realization and self-

development, physical, mental, emotional and social Self-

discipline, self and social responsibility with public mind, life-

skills, awareness of Thainess, good relation in multicultural

societies in order to work together efficiently and happily.

3(3-0-6)

GEH0405 มนุษยกับการเปลี่ยนแปลง

Man and Changing World

ความรู ทั่ ว ไป เกี่ ยวกับ โลกและมนุษย โลกทัศน ในการติดตาม

การเปลี่ยนแปลงของโลก เนนความเปนไทยและการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย

แนวคิดและกิจกรรม จิตสาธารณะ การดําเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

General knowledge about human and the world he lives in,

visions for the changing world emphasizing Thainess, ways of

thinking and public minded activities based on the sufficiency

economy philosophy.

3(3-0-6)

Page 36: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

35 มคอ.2

GEH0406 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู

Information for Learning

ความหมาย ความสําคัญ และความตองการสารสนเทศ ทรัพยากร

สารสนเทศ แหลงสารสนเทศ กลยุทธการสืบคนสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส

การประเมินสารสนเทศ การอางอิงและบรรณานุกรม การนําเสนอสารสนเทศ

ในรูปแบบตาง ๆ โดยตระหนักถึงจริยธรรมสารสนเทศ

Meaning and significance of information, information

sources, information resources, electronic information searching

strategy, information evaluation, information ethics, citation and

bibliography, information presentation in various forms.

3(3-0-6)

GEH0407 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต

Fundamental Law for Quality of Life

วิวัฒนาการของกฎหมาย สิทธิมนุษยชน รัฐธรรมนูญและสิทธิ

ขั้นพ้ืนฐานของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ รวมทั้งศึกษากฎหมายที่เกี่ยวของกับ

คุณภาพชีวิตของนักศึกษา และเสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมดานการปองกัน

การทุจริต

Evolution of the Law, human rights, constitutional Law and

fundamental rights, emphasizing, on Laws related to student Life,

and educate students to have virtue, morality, and corruption

prevention.

3(3-0-6)

GEH0408 เรียนรูคุณธรรมนําชีวิตพอเพียง

Moral Principles Leading to Self Sufficiency

ความหมายและคุณคาของชีวิต หลักธรรมในการดํารงชีวิต การฝกสติ

สมาธิ การสรางศรัทธาและปญญา การนําหลักธรรมมาใชในการปองกัน

แกปญหา และการพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม หลักปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

Meaning of life, religious teachings for the wellness of life,

mindedness and concentration, application of Self-Sufficiency

principles in life.

3(3-0-6)

Page 37: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

36 มคอ.2

GEH0409 วิถีอาเซียน

ASEAN Ways

พัฒนาการความรวมมือของประชาคมอาเซียน สถานภาพและบทบาท

ของประชาคมอาเซียนในกระแสโลกในมิติการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ

วัฒนธรรม ทิศทางการปรับตัวของไทยในบริบทอาเซียนทามกลางกระแสโลก

จากฐานแนวคิดการพัฒนาอยางยั่งยืน

Development of ASEAN Community, its status and role in

the current world in politic, economic, social and cultural

dimensions, self-adjustment of Thailand in ASEAN context and

sustainable development.

3(3-0-6)

3.1.5.1.3 กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

GES0501 วิเคราะหการคิด

Thinking Analysis

กระบวนการคิด วิธีคิด คณิตศาสตรเพื่อการตัดสินใจ เทคโนโลยี

สารสนเทศเพ่ือการวิเคราะหและนําเสนอขอมูล

Thinking process, ways of thinking, Mathematics decision

making, information technology for data analysis and

presentation.

3(2-2-5)

GES0502 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

Life and Environment

ความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและมลพิษสิ่งแวดลอมในชีวิตประจําวัน

รวมถึงการอนุรักษ และเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมเพื่อการปองกันและควบคุม

มลพิษ ความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต หลักการอนุรักษพลังงาน

การศึกษาวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบในสภาพธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลง

สภาพแวดลอมตามธรรมชาติ และภัยพิบัติทางธรรมชาติ เพื่อนําไปสูแนว

ทางการวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงไปใชประโยชนไดในชีวิตจริง

Knowledge of environment in daily life, environmental

preservation and technologies for the prevention and control of

pollution, relations between energy and life, principle of energy

conservation, Earth and Nature System, environmental changes

and natural disasters, environmental solutions in real life.

3(3-0-6)

Page 38: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

37 มคอ.2

GES0503 ชีวิตกับเทคโนโลย ี

Life and Technology

เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน ผลกระทบจากเทคโนโลยี ความมั่นคง

จริยธรรม และกฎหมายคอมพิวเตอร

Technology in daily life, technology effects, security, ethics

and computer laws.

3(2-2-5)

GES0601 เกษตรเพื่อชวีิต

Agriculture for Life

การเกษตรในชีวิตประจําวัน เกษตรเพื่อนันทนาการ เกษตรปลอดภัย

และความกาวหนาทางเทคโนโลยีการเกษตร

Agriculture in daily life, agriculture for recreation, safe

agriculture, revolution in agricultural technology.

3(3-0-6)

GES0701 อาหารและโภชนาการเบื้องตน

Introduction to Food and Nutrition

อาหารและโภชนาการ ความตองการพลังงานและสารอาหารของ

รางกาย ภาวะโภชนาการ การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพท่ีดี สภาวะอาหารและ

โภชนาการในปจจุบัน

Food and nutrition, nutrient requirements, nutritional status,

food consumption for wellness, situation of food and nutrition.

3(3-0-6)

GES0702 การดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ

Integrated Health Care

ความหมายและองคประกอบของสุ ขภาพ การดูแลสุ ขภาพ

แบบบูรณาการ ดานอาหาร การออกกําลังกาย และการจัดการความเครียด

เพื่อการมีคุณภาพชีวิตที่ด ีตลอดจนการแกไขความเชื่อท่ีผิดทางดานสุขภาพ

Definition and composition of wellness, integrated health

care nutrition, exercises and stress management, improvement of

the quality of life and right views of wellness.

3(2-2-5)

Page 39: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

38 มคอ.2

GES0801 งานชางในชีวิตประจําวัน

Jobs on a Daily Basis

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใชเครื่องมือชางพื้นฐาน การบํารุงรักษา

อุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในบานและสํานักงาน ระบบสุขภัณฑ ระบบ

แสงสวาง การตอวัสดุ และการเพิ่มมูลคาวัสดุเหลือใช

Study and practice on the use of basic hand tools, the

maintenance of electrical equipments in the home and office,

the sanitary system, the lighting system, the materials linkage, and

the value-added materials.

3(2-2-5)

3.1.5.2 หมวดวิชาเฉพาะ

3.1.5.2.1 กลุมวิชาแกน

2581103 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0-6)

Introduction to Public Administration

ศึกษาความหมาย พัฒนาการ แนวความคิด ทฤษฎีและความสัมพันธของ

วิชารัฐประศาสนศาสตร ครอบคลุมถึงนโยบายสาธารณะ การบริหารงานบุคคล

การบริหารงานคลังและงบประมาณ องคการและกระบวนการบริหารงาน

2581104 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร 3(3-0-6)

Introduction to Political Science

ศึกษาขอบขายและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร ความสัมพันธระหวาง

รัฐศาสตรกับศาสตรทางสังคมอื่น ๆ ความสัมพันธระหวางรัฐกับประชาชน

สถาบันการเมือง กระบวนการทางการเมือง ลัทธิและอุดมการณทางการเมืองที่

สําคัญ ตลอดจนความสัมพันธระหวางประเทศโดยสังเขป

2581105 การบริหารราชการไทย 3(3-0-6)

Thai Public Administration

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารราชการ โดยมุงเนนกระบวนการ

คานิยม ระบบและวิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย ปจจัยแวดลอมทางดาน

สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่มีอิทธิพลตอการบริหารราชการไทย ความรูเบื้องตน

เกี่ยวกับการเปนผูประกอบการกับการจัดบริการสาธารณะ การจัดทําและสงมอบ

บริการบริการสาธารณะ รวมทั้งการปฏิรูประบบราชการและแนวโนมของการบริหาร

ราชการไทยในอนาคต

Page 40: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

39 มคอ.2

2581201 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย 3(3-0-6)

Introduction to Law

ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย อันไดแก ความหมาย ลักษณะ

ประเภทของกฎหมาย ที่มาของกฎหมาย การตีความ การบังคับใชกฎหมาย

ขอความคิดพ้ืนฐานสําคัญในกฎหมายแพง กฎหมายอาญา และกฎหมายมหาชน

และความรูทั่วไปในกระบวนการยุติธรรมทางแพง กระบวนการยุติธรรม

ทางอาญา และกระบวนการยุติธรรมทางปกครอง

2581301 องคการและการจัดการ 3(3-0-6)

Organization and Management

ศึกษาลักษณะโครงสรางขององคการ การวางแผน การจัดสายงาน

หลักเกณฑและแนวความคิดในการจัดตั้งองคการ หลักการบริหารและหนาที่

สําคัญของฝายบริหารทุก ๆ ดาน ในแงการวางแผน การจัดคนเขาทํางาน

การสั่งการ การจูงใจคนทํางาน การควบคุมปฏิบัติงานตาง ๆ ใหบรรลุเปาหมาย

และนโยบายที่ตั้งไว

2581302 การบริหารทรัพยากรมนุษย 3(3-0-6)

Human Resource Management

ศึกษาความเปนมา ทฤษฎีและหลักการในการบริหารทรัพยากรมนุษย

ขอบขายและหนาที่ความรับผิดชอบ และขั้นตอนในการบริหารทรัพยากรมนุษย

การวิเคราะหงาน การวางแผนกําลังคน การสรรหา การคัดเลือก การฝกอบรม

การพัฒนา การประเมินผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งปจจัยที่เกี่ยวของ

2582103 การปกครองทองถิ่นไทย 3(3-0-6)

Thai Local Government

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการปกครองทองถิ่นจากแนวคิดตะวันตกและ

การปกครองทองถิ่นไทย การบริหารจัดการในองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ความสัมพันธระหวางการปกครองทองถิ่นกับการปกครองสวนกลางในแงรูปแบบ

ปญหา และผลการกระทบตอการพัฒนาสังคม และประชาธิปไตยไทย

Page 41: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

40 มคอ.2

2582204 กฎหมายปกครอง 3(3-0-6)

Administrative Law

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการพื้นฐานของกฎหมายปกครอง ลักษณะ

ทั่วไปและบอเกิดของกฎหมายปกครอง ขอความคิดวาดวยฝายปกครอง การกระทํา

ทางปกครอง และการควบคุมฝายปกครอง รวมถึงวิธีพิจารณาคด ีในศาลปกครอง

2582301 นโยบายสาธารณะ 3(3-0-6)

Public Policy

ศึกษาแนวความคิดและวิธีการในการกําหนดนโยบายสาธารณะและ

ทฤษฎีตาง ๆ ที่ เกี่ยวกับการตัดสินใจ กําหนดนโยบายสาธารณะ ปจจัย

ที่เกี่ยวของในการนํานโยบายไปปฏิบัติ ปญหาและอุปสรรคในการกําหนด

นโยบายและการนํานโยบายไปปฏิบัต ิ

2582305 การบริหารงานคลังและงบประมาณ 3(3-0-6)

Fiscal and Budgeting Administration

ศึกษาความหมาย ทฤษฎี แนวคิด นโยบายเกี่ยวกับการคลัง นโยบายทาง

เศรษฐกิจ นโยบายการเงิน ระบบการคลัง ระบบภาษีอากร รายรับ รายจายของ

รัฐ หนี้สาธารณะ กระบวนการงบประมาณ การควบคุมและการตรวจสอบ

ภายใน ปญหาการงบประมาณของประเทศไทย

2582306 วิทยาการทางการบริหาร 3(3-0-6)

Administrative Technology

ศึกษาวิทยาการทางการบริหารตาง ๆ อาทิ นวัตกรรมกระบวนการ การใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการความรู การจัดการคุณภาพ การบริหารงาน

พัสดุ รวมทั้งวิทยาการทางการบริหารใหม ๆ เพื่อนํามาใชปรับปรุงหนวยงาน

2583101 รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง 3(3-0-6)

Constitution and Political Institutions

ศึกษาทฤษฎีทั่วไปของรัฐธรรมนูญ อาทิ ทฤษฎีเกี่ยวกับรัฐ อํานาจรัฐ

กําเนิดและวิวัฒนาการของลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม รูปแบบของรัฐธรรมนูญ

การแบงแยกอํานาจอธิปไตยและความสัมพันธระหวางอํานาจนั้น และสถาบัน

การเมืองของประเทศที่ใชระบบการปกครองประชาธิปไตย โดยเนนปจจัยตาง ๆ

ที่มีอิทธิพลตอระบบการเมืองของประเทศและศึกษารัฐธรรมนูญไทยฉบับปจจบุัน

Page 42: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

41 มคอ.2

2583309 การวิเคราะหโครงการและการบริหารโครงการ 3(3-0-6)

Project Analysis and Project Management

ศึกษาความสัมพันธระหวางนโยบาย แผนและโครงการ วงจรโครงการ

การวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการ แนวคิดในการบริหารโครงการ

กระบวนการบริหารโครงการ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการบริหารโครงการ

การประเมินผลกระทบโครงการสาธารณะ

2583310 ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร 3(3-0-6)

Management Information System

ศึกษาแนวคิดและความเปนมาเกี่ยวกับการจัดการระบบสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ การบูรณาการใชระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการ

องคการภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ การปกครองสวนทองถิ่น และภาคเอกชน นวัตกรรม

กับการจัดการ และความปลอดภัยในการใชระบบสารสนเทศ

2583903 สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร 3(2-2-5)

Statistics for Social Science Research

ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด วิธีการทางสถิติ สถิติเชิงพรรณนา สถิติวิเคราะห

เบื้องตน กระบวนการและเทคนิคการใชสถิติในงานวิจัยทางสังคมศาสตร โดย

การใชโปรแกรมสําเร็จรูปและฝกปฏิบัติ ตลอดจนการเขียนรายงานผลการ

วิเคราะหทางสถิต ิ

2583904 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร 3(2-2-5)

Research Methodology in Public Administration

รายวิชาที่ตองเรียนกอน: 2583903 สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร

ศึกษาแนวคิด หลักการ วิธีการและกระบวนการในการทําวิจัยทาง

รัฐประศาสนศาสตร ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยฝกเขียนเคาโครงวิจัย

และนําไปใชฝกปฏิบัติการทําวิจัย ตลอดจนการเขียนรายงานผลการวิจัย

2584302 จริยธรรมทางการบริหาร 3(3-0-6)

Administrative Ethics

ศึกษาความหมายของจริยธรรมและตระหนักถึงคุณคาทางจริยธรรม

การตัดสินทางจริยธรรม ตลอดจนจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยอาศัยศาสนธรรมเปน

หลักในการบริหาร อันนําไปสูการบมเพาะความเปนทั้งหมดของชีวิต เพื่อการบริหาร

จัดการบานเมืองที่ดี และการประยุกตใชจริยธรรมกับบริบทตาง ๆ ที่เกี่ยวของ อัน

นําไปสูการเปนพลเมืองที่มีคุณคาของสังคม

Page 43: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

42 มคอ.2

2584905 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร 3(3-0-6)

Seminar in Public Administration

ศึกษารายกรณีทางดานรัฐประศาสนศาสตร โดยเนนสภาพปญหาและการ

พัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น นําขอคนพบมาปฏิบัติการสัมมนา ทั้ งนี้อยู ใน

ความควบคุมดูแลของอาจารยผูสอน

2584907 หัวขอพิเศษทางรัฐประศาสนศาสตร 3(2-2-5)

Special Topics in Public Administration

เงื่อนไข : สําหรับนักศึกษาชั้นปที่ 4

รายวิชาที่ตองเรียนกอน : 2582904 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร

ศึกษาประเด็นที่นาสนใจหรือปญหาเฉพาะดานทางรัฐประศาสนศาสตร

ในพื้นท่ีภาคใตหรือพ้ืนที่อ่ืน ๆ ทั้งนี้อยูภายใตการควบคุมดูแลของอาจารยผูสอน

3631001 เศรษฐศาสตรทั่วไป 3(3-0-6)

General Economics

ศึกษาสภาพเศรษฐกิจโดยทั่วไป, ระบบเศรษฐกิจ, การบริโภค, การผลิต,

ตนทุนการผลิต, ตลาด, สถาบันการเงิน, นโยบายการเงิน, นโยบายการคลัง และ

การคาระหวางประเทศ

3.1.5.2.2 กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน

(ก) กลุมนวัตกรรมการจัดการภาครัฐ

2582403 องคการแหงนวัตกรรม 3(3-0-6)

Organizational of Innovation

ศึกษาความหมายและความสําคัญของนวัตกรรมและองคการแหงนวัตกรรม

องคประกอบขององคการแหงนวัตกรรมที่สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดนวัตกรรมใน

องคการภาครัฐ อาทิ ลักษณะโครงสรางองคการ ลักษณะของภาวะผูนําในรูปแบบ

ตาง ๆ บรรยากาศภายในองคการ ลักษณะของความเปนองคการแหงการเรียนรู

เปนตน ศึกษากรณีองคการแหงนวัตกรรมทั้งภาครัฐและเอกชน

Page 44: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

43 มคอ.2

2582404 การตลาดสําหรับการจัดการภาครัฐ 3(3-0-6)

Marketing for Public Management

ศึกษาความหมายและความสําคัญของการตลาดสําหรับการจัดการภาครัฐ

กับเอกชน การตลาดเพื่อสังคม แนวคิดการตลาดกับการบริหารภาครัฐ

นวัตกรรมการบริการของรัฐ การใหบริการและผูรับบริการ การเสนอคุณคาใหกับ

ผูรับบริการ ความพึงพอใจของผูรับบริการ สัมพันธภาพระหวางองคการกับ

ผูรับบริการ ผานการสรางสรรคนวัตกรรมภาครัฐเพื่อตอบสนองความตองการ

ของประชาชน

2583405 การจัดการนวัตกรรม 3(3-0-6)

Innovation Management

ศึกษาความหมายและความสําคัญของการจัดการนวัตกรรม จากแนวคิดสู

การปฏิบัติที่เปนเลิศ นวัตกรรมแนวทางสูการแกปญหาและการพัฒนางานภาครัฐ

กลยุทธการบริหารทรัพยากรมนุษยเพื่อสรางความสามารถในการสรางสรรค

นวัตกรรม การประเมินคุณภาพนวัตกรรม เครื่องมือทางการบริหารสําหรับการ

จัดการนวัตกรรม ศึกษากรณีการจัดการนวัตกรรมหนวยงานภาครัฐและเอกชน

2583406 นวัตกรรมสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ 3(3-0-6)

Informative Innovation for Public Management

ศึกษาแนวคิด ประเภท และองคประกอบของนวัตกรรมและนวัตกรรม

สารสนเทศ ความสัมพันธระหวางหนวยงานภาครัฐและนวัตกรรมสารสนเทศ

การประยุกตใชนวัตกรรมสารสนเทศในการบริหารงานภาครัฐ การพัฒนา

นวัตกรรมสารสนเทศเพื่อการบริหารงานภาครัฐ ผลกระทบของนวัตกรรม

สารสนเทศท้ังในระดับหนวยงาน และระดับประเทศ

2583407 ความคิดสรางสรรคสําหรับนวัตกรรมภาครัฐ 3(3-0-6)

Creative Thinking for Public Innovation

ศึกษาความหมาย องคประกอบ พัฒนาการ และทฤษฎีเกี่ยวกับความคิด

สรางสรรค ปจจัยที่มีอิทธิพลตอความคิดสรางสรรค พัฒนาการความคิด

สรางสรรค กิจกรรมและเทคนิควิธีการพัฒนาความคิดสรางสรรคสําหรับ

นวัตกรรมภาครัฐ ศึกษากรณีการจัดการนวัตกรรมหนวยงานภาครัฐและเอกชน

Page 45: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

44 มคอ.2

(ข) กลุมนโยบายสาธารณะและการวางแผน

2582501 การวางแผนเชิงกลยุทธ 3(3-0-6)

Strategic Planning

ศึกษาแนวคิดและพัฒนาการของแผนกลยุทธ กระบวนการวางแผน

กลยุทธ เทคนิคการกําหนดกลยุทธที่เหมาะสม ศึกษากรณีการกําหนดนโยบาย

และแผนกลยุทธของหนวยงานภาครัฐและเอกชน

2582503 นโยบายพัฒนาการบริหารงานภาครัฐ 3(3-0-6)

Public Administration Development Policy

ศึกษากรอบแนวคิดในการพัฒนา กระบวนการกําหนดนโยบายสาธารณะ

การพัฒนาการบริหารงานภาครัฐ การพัฒนาองคการ การพัฒนาระบบงาน การ

บริหารความเสี่ยง และวัฒนธรรมองคการ การพัฒนานโยบายการบริหาร และ

พัฒนาทรัพยากรบุคคลภาครัฐและการพัฒนาการจัดการทรัพยากรภาครัฐ

2583503 การวิเคราะหนโยบาย 3(3-0-6)

Policy Analysis

ศึกษาหลักการและกระบวนการในการกําหนดนโยบายสาธารณะ เทคนิค

การวิเคราะหแบบตาง ๆ อาท ิการใชทฤษฎีระบบ เทคนิคการวิเคราะหผลกระทบ

ทางสังคม การประยุกตเทคนิคการวิเคราะหปญหาและผลกระทบนโยบาย

สาธารณะที่สําคัญ ๆ โดยเนนการวิเคราะหนโยบายที่สําคัญของประเทศไทย

2583505 การประเมินผลโครงการ 3(3-0-6)

Program Evaluation

ศึกษาแนวคิดและรูปแบบของการประเมินผลโครงการในฐานะที่เปน

เครื่องมือนักบริหาร กระบวนการประเมินผลโครงการ และจรรยาบรรณของ

นักประเมิน

2583506 นโยบาย แผน และโครงการสําหรับชุมชน 3(3-0-6)

Policy, Plan and Project for Community

ศึกษาแนวคิด หลักการ และความสัมพันธระหวางนโยบาย แผน และ

โครงการ ประชาคมกับการมีสวนรวมในการจัดทําโครงการ การลงพื้นที่เพื่อ

ศึกษากระบวนการจัดทําโครงการสําหรับชุมชนที่เชื่อมโยงกับแผน และนโยบาย

ทั้งในระดับทองถิ่น ภูมิภาค และประเทศ และนําไปสูการปฏิบัติไดจริง

Page 46: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

45 มคอ.2

(ค) กลุมการบริหารจัดการทองถิ่น

2582603 แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการทองถิ่น 3(3-0-6)

Concepts and Theories of Local Governance

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการทองถิ่น การนําแนวคิด ทฤษฎี

การบริหารจัดการทองถิ่นมาใชกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นในประเทศ

ตะวันตก เอเชียและประเทศไทย

2582604 กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองทองถิ่น 3(3-0-6)

Law of Local Government

ศึกษาแนวคิดพื้นฐานของการจัดระเบียบบริหารราชการแผนดินและการ

กระจายอํานาจ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตามกฎหมายปจจุบัน อํานาจหนาที่

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในฐานะที่เปนนิติบุคคล โดยเฉพาะอยางยิ่ง

อํานาจหนาที่ในการออกกฎหมายลําดับรอง รวมทั้งระเบียบและวิธีการคลังของ

องคกรปกครองสวนทองถิ่นและการควบคุมจากสวนกลาง

2583604 การวางแผนกลยุทธเพื่อพัฒนาทองถิ่น 3(3-0-6)

Strategic Planning for Local Development

ศึกษาแนวคิดของการพัฒนาพื้นที่ทองถิ่น ชุมชนทองถิ่นในอุดมคติ การวางผัง

เมืองและชุมชนนาอยู การวางแผนกลยุทธ การวิเคราะหสภาพแวดลอม กระบวนการ

วางแผนกลยุทธ และเทคนิคการกําหนดกลยุทธสําหรับการพัฒนาทองถิ่น

2583605 การบริหารการคลังทองถิ่น 3(3-0-6)

Local Fiscal Administration

ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการคลังทองถิ่น การกระจายอํานาจทางการคลัง

ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น การบริหารรายรับและรายจายของหนวย

ปกครองระดับทองถิ่น กระบวนการบริหารงบประมาณที่เนนการบริการ

สาธารณะและการพัฒนาทองถิ่น ขอจํากัดและแนวทางการพัฒนาการคลัง

ทองถิ่น

Page 47: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

46 มคอ.2

2583606 การจัดการความรูเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3(3-0-6)

Knowledge Management for Sustainable Development

ศึกษาความหมาย แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการความรู กระบวนการ

จัดการความรูของทองถิ่น ใหเปนสังคมแหงการเรียนรู การสรางองคความรูโดย

บูรณาการทุนทางสังคม เศรษฐกิจชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่นโดยเฉพาะทองถิ่นใน

ลุมน้ําทะเลสาบสงขลา พรอมทั้งศึกษา ทฤษฎี แนวคิด และลงพื้นที่ฝกปฏิบัติ

เกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ โดยใชฐานการจัดการความรูเปนฐานในการ

ดําเนินงานเพื่อพัฒนาทองถิ่นอยางยั่งยืน

(ง) กลุมการบริหารทรัพยากรมนุษย

2582703 การวางแผนทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธ 3(3-0-6)

Strategic Human Resource Planning

ศึกษาและวิเคราะหสภาพแวดลอมขององคการที่มีผลกระทบตอการ

วางแผนทรัพยากรมนุษยในองคการ แนวคิดและขั้นตอนในการวางแผน

ทรัพยากรมนุษย การวางแผนงบประมาณสําหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย

ดานตาง ๆ ตลอดจนแนวทางดานทรัพยากรมนุษยบนพื้นฐานแนวคิดสมรรถนะ

(Competency) อาทิ การสรรหา การคัดเลือก การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

การจางงาน การเลื่อนตําแหนง และการเลื่อนเงินเดือน เปนตน การติดตามและ

ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนงานดานทรัพยากรมนุษย

2582704 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย 3(3-0-6)

Human Resource Development

ศึกษาแนวคิด หลักการและความสําคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย

บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบในดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคการ

การกําหนดวัตถุประสงคและความจําเปนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย การสงเสริม

พัฒนาศักยภาพของบุคลากรและฝกอบรม การวางแผนพัฒนาอาชีพ นันทนาการ

และพนักงานสัมพันธ การวิเคราะหปญหาอุปสรรคที่มีผลกระทบตอประสิทธิภาพใน

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

Page 48: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

47 มคอ.2

2583702 พฤติกรรมองคการ 3(3-0-6)

Organizational Behavior

ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของพฤติกรรมองคการ พฤติกรรมมนุษย

ในองคการ ธรรมชาติของมนุษย รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมภายใน

องคการ การจูงใจ การสื่อสาร การตัดสินใจ อํานาจและอิทธิพลในองคการ

การเมืองในองคการ การบริหารความขัดแยง รวมทั้งการสรางมนุษยสัมพันธ เพื่อ

ประสิทธิภาพในการทํางาน

2583703 การจัดการชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน 3(3-0-6)

Occupational Health and Safety in Workplace Management

ศึกษาถึงแนวคิด หลักการและวิเคราะหเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของ

กับความปลอดภัยสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดลอมในการทํางาน หลักการจัดการ

ความปลอดภัย การสงเสริมความปลอดภัยในการทํางาน การเสริมสรางสุขภาพ

กายและสุขภาพจิต การจัดการกับความเครียด

2583704 การจัดการผลการปฏิบัติงานและการจัดการคาตอบแทน 3(3-0-6)

Performance Management and Compensation Management

ศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการในการจัดการผลการปฏิบัติงาน ลักษณะ

การจัดการผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล กระบวนการจัดการผลการปฏิบัติงาน

เทคนิควิธีการ และเครื่องมือในการจัดการผลการปฏิบัติงานที่มีความแมนตรงเชื่อถือ

ได ปญหาในการจัดการผลการปฏิบัติงานพรอมแนวทางแกไข ตลอดจนแนวคิด

นโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการคาตอบแทน การวิเคราะหและประเมินคางาน

ปจจัยที่มีอิทธิพลในการกําหนดคาจางเงินเดือน สวัสดิการและผลประโยชนเกื้อกูล

- เลือกเรียน

2582101 การเมืองการปกครองของไทย 3(3-0-6)

Thai Politics and Government

ศึกษาพัฒนาการทางการเมืองและการปกครองของไทย ปญหาและ

อุปสรรคของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความสัมพันธระหวางรัฐ

กับสังคม บทบาททางการเมืองของกลุมตาง ๆ อาทิ ระบบราชการ กองทัพ

กลุมผลประโยชน องคกรเอกชนและองคกรภาคประชาชน เปนตน

Page 49: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

48 มคอ.2

2582104 สันติวิธีกับการจัดการความขัดแยง 3(3-0-6)

Non-violence and Conflict Management

ศึกษาพัฒนาการ แนวคิดเกี่ยวกับสันติวิธีและแนวคิดความขัดแยง

กระบวนการจัดการความขัดแยง การเจรจาไกลเกลี่ย ลักษณะ ประเภท และ

มูลเหตุความขัดแยงที่นําไปสูความรุนแรงทางการเมือง บทบาทของสันติวิธี

เพื่อแสวงหาแนวทางการจัดการความขัดแยงเชิงสันติวิธ ี

2582202 กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป 3(3-0-6)

Criminal Law : General Principles

ศึกษาหลักทั่วไปในกฎหมายอาญา การใชกฎหมายอาญา โทษและวิธีการ

เพื่อความปลอดภัย ความรับผิดในทางอาญา การพยายามกระทําความผิด

ตัวการและผูสนับสนุน การกระทําความผิดหลายบทหรือหลายกระทง

การกระทําความผิดอีก อายุความ และหลักกฎหมายที่ใชแกความผิดลหุโทษ

2582205 สิทธิมนุษยชน 3(3-0-6)

Human Rights

ศึกษาความหมาย แนวคิด หลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน พัฒนาการ

และบทบาทของสิทธิมนุษยชนในสังคมโลกและสังคมไทย กลไกทางกฎหมายที่

ควบคุมใหเปนไปตามสิทธิมนุษยชน ตลอดจนแนวโนมของสิทธิมนุษยชนใน

สังคมไทย

2583102 การเมืองการปกครองของกลุมประเทศอาเซียน 3(3-0-6)

Politics and Government of ASEAN Countries

ศึกษาวิวัฒนาการของแนวความคิดทางการเมืองการปกครอง

โครงสรางทางการเมืองการปกครอง สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและพฤติกรรม

ทางการเมืองกลุมประเทศเอเชียอาเซียน

2583201 กฎหมายแรงงานและการประกันสังคม 3(3-0-6)

Labor and Social Security Law

ศึกษาที่มา ลักษณะของกฎหมายแรงงาน และระบบกฎหมายแรงงาน

ของไทย ไดแก สัญญาจางแรงงาน กฎหมายคุมครองแรงงาน กฎหมายแรงงาน

สัมพันธ กฎหมายเงินทดแทน กฎหมายประกันสังคม และการระงับขอพิพาท

แรงงานโดยศาลแรงงานตามกฎหมายจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดี

แรงงาน

Page 50: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

49 มคอ.2

2583202 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด 3(3-0-6)

Criminal Law : Offense

รายวิชาที่ตองเรียนมากอน : 2582202 กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป

ศึกษาหลักกฎหมายเกี่ยวกับความผิดในลักษณะตาง ๆ ตามที่บัญญัติไว

ในภาค 2 และภาค 3 ตั้งแตมาตรา 107-366 ของประมวลกฎหมายอาญา

2583203 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(3-0-6)

Law of Criminal Procedure

ศึกษาหลักทั่วไปในการดําเนินคดีอาญา อํานาจของพนักงานสอบสวน

และอํานาจศาล การฟองคดีอาญาและคดีแพง เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

การสอบสวน วิธีพิจารณาคดีในศาลชั้นตน การอุทธรณ และฎีกา

2583306 ภาวะผูนําทางการบริหาร 3(3-0-6)

Leadership in Administration

ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีภาวะผูนํา ประเภทของผูนํา คุณลักษณะของผูนํา

ที่ดี บทบาทของผูนําในการสรางแรงจูงใจในการทํางาน เพื่อนําไปสูการ

บริหารงานอยางมีประสิทธิภาพ

2583311 การจัดการภัยพิบัติ 3(3-0-6)

Disaster Management

ศึกษาความหมาย พัฒนาการของการจัดการภัยพิบัติ การจัดเตรียม

สิ่งจําเปนขั้นพื้นฐาน อาหาร น้ํ า สิ่ งสาธารณูปโภค การดูรักษาสุขภาพ

สุขอนามัยและที่อยูอาศัย การประสานงาน การประเมินผลขอมูล ศึกษา

กระบวนการเตรียมความพรอมสําหรับการจัดการภัยพิบัติ การบริการจัดการใน

สถานการณฉุกเฉิน เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือรับมือและจัดการภัยพิบัติ รูปแบบ

กระบวนการสั่งการเพื่อจัดการภัยพิบัติ การเยียวยาความเสียหายจากภัยพิบัติ

การดําเนินการใหเปนไปตามแผนจัดการภัยพิบัติ ตลอดจนการฟนฟูและการ

พัฒนาอยางยั่งยืน

Page 51: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

50 มคอ.2

2583404 การจัดการวิสาหกิจชุมชน 3(3-0-6)

Community Enterprise Management

ศึกษาความหมายและความสําคัญของเศรษฐกิจชุมชน ครัวเรือนในระบบ

เศรษฐกิจชุมชนทองถิ่น ความหมาย แนวคิด ลักษณะ ประเภท วิธีการ กระบวนการ

รูปแบบและพัฒนาการของวิสาหกิจชุมชน การจัดการการตลาด การจัดการการ

ผลิต การสงเสริมการตลาด กลยุทธการพัฒนาความเขมแข็งของวิสาหกิจชุมชน

ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จของวิสาหกิจชุมชน ปญหาและขอเสนอแนะ

2584101 สถานการณโลกปจจุบัน 3(3-0-6)

Current World Situation

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ตลอดจนศึกษาการเคลื่อนไหวและ

เหตุการณสําคัญที่ เกิดขึ้นในปจจุบัน ทั้ งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม

วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม และภัยคุกคามตาง ๆ ที่กอใหเกิดวิกฤตและสราง

ผลกระทบตอสังคมโลก สรางความรูความเขาใจและความสามารถในการคิด

วิเคราะห แกไข ปรับตัวใหอยูไดในสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในปจจุบัน

และอนาคต

2584201 กฎหมายลักษณะพยาน 3(3-0-6)

Law of Evidence

ศึกษาลักษณะและกฎเกณฑการสืบพยานหลักฐานของศาล ทั้งคดีแพง

และคดีอาญา หลักในการรับฟงและไมรับฟงพยานหลักฐาน หลักเกี่ยวกับพยาน

ความเห็นขอที่ศาลรู เอง ขอสันนิษฐานหนาที่นําสืบตามประมวลกฎหมาย

วิธีพิจารณาความแพง ภาค 1 ลักษณะ 5 และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

ความอาญา ภาค 5

2584202 ระบบความยุติธรรมทางอาญา 3(3-0-6)

Criminal Justice System

รายวิชาที่ตองเรียนมากอน : 2583203 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

ศึกษาระบบกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ทฤษฎีการลงโทษและแกไข

ผูกระทําผิดในดานนิติศาสตร และการปฏิรูประบบการลงโทษ

Page 52: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

51 มคอ.2

2.3 กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ

2584802 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 2(1-2-3)

Preparation for Field Experience in Public Administration

จัดใหมีกิ จกรรมเพื่ อ เตรียมความพรอมของผู เ รี ยนกอนออกฝก

ประสบการณวิชาชีพในดานการรับรูลักษณะและโอกาสของการประกอบอาชีพ

การพัฒนาตัวผู เรียนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ แรงจูงใจและคุณลักษณะ

ที่เหมาะสมกับวิชาชีพ ตลอดจนเทคนิคการนําเสนอการเขียนรายงาน

2584803 การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร 6(540)

Field Experience in Public Administration

รายวิชาที่ตองเรียนมากอน : 2584802 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ

รัฐประศาสนศาสตร

ฝกปฏิบัติงานดานรัฐประศาสนศาสตรในองคการภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และ

เอกชน ในลักษณะเปนพนักงานชั่วคราวของหนวยงาน โดยปฏิบัติงานตามที่

ไดรับมอบหมาย ตลอดจนการจัดทํารายงาน และนําเสนอรายงานการฝก

ประสบการณวิชาชีพ

7000390 การเตรียมความพรอมสหกิจศึกษา 2(90)

Cooperative Education Preparation

หลักการ แนวคิดและกระบวนการของสหกิจศึกษา ระเบียบขอบังคับ

ที่เกี่ยวของ ความรูพื้นฐานและเทคนิคในการสมัครงานอาชีพ ความรูพื้นฐาน

ในการปฏิบัติงาน การสื่อสารและมนุษยสัมพันธ การพัฒนาบุคลิกภาพ ระบบ

การบริหาร คุณภาพในสถานประกอบการ เทคนิคการนําเสนอการเขียนรายงาน

7000490 สหกิจศึกษา 6(640)

Cooperative Education

รายวิชาที่ตองเรียนมากอน : 7000390 การเตรียมความพรอมสหกิจศึกษา

การปฏิบัติงานในลักษณะพนักงานชั่วคราวตามโครงการที่ไดรับมอบหมาย

ตลอดจนการจัดทํารายงานและการนําเสนอ

Page 53: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

3.2 ชื่อ สกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิของอาจารย

3.2.1 อาจารยประจําหลักสูตร

ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

วิชาการ คุณวุฒิ วิชาเอก/สาขา

สถาบัน

ที่สําเร็จการศึกษา

ปที่สําเร็จ

การศึกษา

ภาระการสอน ชม./

ปการศึกษา

2560 2561 2562 2563

1 นายไชยา เกษารตัน

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

นโยบายสาธารณะ

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

2550

2546

30 30 30 30

2 นายรัชชพงษ ชัชวาลย

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

การบริหารและการปกครองทองถิ่น

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

2551

2547

30 30 30 30

3 นายศดานนท วัตตธรรม

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

รป.บ.

นศ.บ.

การบริหารการเงินและการคลัง

การบริหารและการปกครองทองถิ่น

การประชาสัมพันธ

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2549

2547

2547

30 30 30 30

4 นางสาวศิรลิักษณ กานตพิชาน

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

บธ.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

การบัญช ี

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

2543

2525

24 24 24 24

5 นายบูฆอรี ยีหมะ

x xxxx xxxxx xx x

ผูชวย

ศาสตราจารย

ร.ด.

ร.ม.

ร.บ.

รัฐศาสตร

การปกครอง

การเมืองการปกครอง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

2547

2540

2533

24 24 24 24

52 มคอ.2

Page 54: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

53 มคอ.2

3.2.2 อาจารยประจํา

ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

วิชาการ คุณวุฒิ วิชาเอก/สาขา

สถาบัน

ที่สําเร็จการศึกษา

ปที่สําเร็จ

การศึกษา

ภาระการสอน ชม./

ปการศึกษา

2560 2561 2562 2563

1 นายไชยา เกษารตัน

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

นโยบายสาธารณะ

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

2550

2546

30 30 30 30

2 นายรัชชพงษ ชัชวาลย

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

รป.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

การบริหารและการปกครองทองถิ่น

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

2551

2547

30 30 30 30

3 นายศดานนท วัตตธรรม

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

รป.บ.

นศ.บ.

การบริหารการเงินและการคลัง

การบริหารและการปกครองทองถิ่น

การประชาสัมพันธ

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2549

2547

2547

30 30 30 30

4 นางสาวศิรลิักษณ กานตพิชาน

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

บธ.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

การบัญช ี

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

2543

2525

24 24 24 24

5 นายบูฆอรี ยีหมะ

x xxxx xxxxx xx x

ผูชวย

ศาสตราจารย

ร.ด.

ร.ม.

ร.บ.

รัฐศาสตร

การปกครอง

การเมืองการปกครอง

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

2547

2540

2533

24 24 24 24

6 นางสาวเพ็ญนภา จันทรแดง

x xxxx xxxxx xx x

รป.ม.

ศศ.ม.

ศศ.บ.

การปกครองทองถิ่น

รัฐศาสตร

ภาษาอังกฤษ

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

2550

2550

2546

30 30 30 30

7 นางสาววิศรุตา ทองแกมแกว

x xxxx xxxxx xx x

ศศ.ม.

ศศ.บ.

ศศ.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

รัฐศาสตร (บริหารรัฐกิจ)

ประวัติศาสตร

มหาวิทยาลยัมหิดล

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

2552

2556

2550

30 30 30 30

53 มคอ.2

Page 55: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

54 มคอ.2

ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนง

วิชาการ คุณวุฒิ วิชาเอก/สาขา

สถาบัน

ที่สําเร็จการศึกษา

ปที่สําเร็จ

การศึกษา

ภาระการสอน ชม./

ปการศึกษา

2560 2561 2562 2563

8 นางสาวบุณิกา จันทรเกต ุ

x xxxx xxxxx xx x

รอ.ม.

รป.บ.

การจัดการภาครัฐและเอกชน

การจัดการทรัพยากรมนุษย

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

2551

2547

30 30 30 30

9 นางสาวกรณิภา ศรีวรเดชไพศาล

x xxxx xxxxx xx x

ร.ม.

ร.บ.

การปกครอง

การเมืองการปกครอง

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

2547

2540

30 30 30 30

10 นางสาวชนกนาถ พูลสวัสดิ ์

x xxxx xxxxx xx x

ร.ม.

ศศ.บ.

การปกครอง

รัฐศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร

2555

2545

30 30 30 30

11 นายวิรัตน บุญเลิศ

x xxxx xxxxx xx x

ผูชวย

ศาสตราจารย

น.ม.

น.บ.

บธ.บ.

นิติศาสตร

นิติศาสตร

การตลาด

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

มหาวิทยาลยัพายัพ

2547

2541

2531

30 30 30 30

12 นายชาญวิทย จันทรอินทร

x xxxx xxxxx xx x

น.ม.

น.บ.

นิติศาสตร (กฎหมายเพื่อการพัฒนา)

นิติศาสตร

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

มหาวิทยาลยัรามคําแหง

2546

2536

30 30 30 30

13 นางสาวอารยา สุขสม

x xxxx xxxxx xx x

น.ม.

น.บ.

กฎหมายมหาชน

นิติศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

มหาวิทยาลยัธรรมศาสตร

2551

2546

30 30 30 30

54 มคอ.2

Page 56: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

55 มคอ.2

3.2.3 อาจารยพิเศษ

ลําดับ ชื่อ-นามสกุล ตําแหนงวิชาการ คุณวุฒิ วิชาเอก/สาขา

1 นายกมล สงวัฒนา

ผูชวยศาสตราจารย Ph.D

พบ.ม.

ศศ.บ.

Environmental Planning

รัฐประศาสนศาสตร

รัฐศาสตร

2 วาที่ ร.ต.นิพนธ จุฬามณี

- พบ.ม.

กศ.บ.

น.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

สังคมศึกษา

นิติศาสตร

3 นายพีรศักดิ์ ภัทรปติกุล

- น.ม.

น.บ.

นิติศาสตร

นิติศาสตร

4 นายประทักษพงศ ลิ้มสกุล

- น.ม.

น.บ.

น.บ.ท.

นิติศาสตร

นิติศาสตร

เนติบัณฑิตไทย

5 นายสมนึก กุลมณี

- ศศ.ม.

รศ.บ.

รัฐศาสตร

รัฐศาสตร

6 นายรชต เขมะจารียกุล

- น.ม.

น.บ.

นิติศาสตร

กฎหมายอาญาและกระบวน

การยุติธรรมทางอาญา

7 นางอรอนงค แสงทอง

- ศศ.ม.

รป.บ.

พัฒนามนุษยและสังคม

การจัดการทรัพยากรมนุษย

8 นายอุดม ทักขระ

- รป.ม.

ศศ.บ.

รัฐประศาสนศาสตร

รัฐประศาสนศาสตร

4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา)

4.1 มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม

1) มีทักษะในการปฏิบัติงานจากหนวยงานอันเปนที่ยอมรับทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อใหสามารถ

นําความรูในทางภาคทฤษฎีไปปรับใชในการทํางานในสถานการณจริงโดยเจาหนาที่ในหนวยงานเปนครูพี่เลี้ยง

2) มีมนุษยสัมพันธและสามารถปรับตัวในการทํางานรวมกับผูอื่นไดด ี

3) มีระเบียบวินัย การตรงตอเวลาใหกับตนเอง เกิดการเรียนรูและเขาใจในวัฒนธรรมขององคการ

และสังคมรอบขาง

4) มีความกลาในการแสดงออกและนําความคิดสรางสรรคไปใชประโยชนในงานที่ทําได

Page 57: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

56 มคอ.2

4.2 ชวงเวลา

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน

เต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา (ไมนอยกวา 540 ชั่วโมง ในการฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสน-

ศาสตร หรือไมนอยกวา 640 ชั่วโมง ในการฝกสหกิจศึกษา)

5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย (ถามี)

5.1 คําอธิบายโดยยอ

หลักสูตรกําหนดใหนักศึกษาเรียนวิชาหัวขอพิเศษในแตละกลุมวิชาเอก ไดแก หัวขอพิเศษทาง

นวัตกรรมการจัดการภาครัฐ หัวขอพิเศษทางนโยบายสาธารณะและการวางแผน หัวขอพิเศษทางการบริหาร

จัดการทองถิ่น และหัวขอพิเศษทางการบริหารทรัพยากรมนุษย ซึ่งเปนรายวิชาที่ใหนักศึกษาไดศึกษาประเด็น

ปญหาที่นาสนใจ โดยอยูภายใตการแนะนําของอาจารยผูสอน

5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู

นักศึกษาสามารถนําความรูที่ไดจากการเรียนมาปรับใชกับประเด็นที่นาสนใจหรือปญหาเฉพาะดาน

ในทองถิ่น

5.3 ชวงเวลา

ปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1

5.4 จํานวนหนวยกิต

จํานวน 3 หนวยกิต

5.5 การเตรียมการ

1) แนะนําขอบเขตเนื้อหาและวัตถุประสงคของการทําหัวขอพิเศษ

2) กําหนดหัวขอพิเศษ กําหนดอาจารยที่ปรึกษาหัวขอพิเศษ

3) เรียบเรียงเคาโครงหัวขอพิเศษ

4) นําเสนอโครงรางหัวขอพิเศษตอท่ีประชุมของหลักสูตร

5) ดําเนินการตามขั้นตอนของการทําหัวขอพิเศษ

6) นําเสนอหัวขอพิเศษตอท่ีประชุมของหลักสูตรเพื่อรับขอเสนอแนะและประเมินผล

Page 58: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

57 มคอ.2

5.6 กระบวนการประเมินผล

ประเมินพฤติกรรมการทําหัวขอพิเศษของนักศึกษาตอการเตรียมตัว การเขาพบอาจารย ความ

รับผิดชอบเอาใจใสในงาน ความคิดริเริ่มสรางสรรค การประยุกตองคความรูกับหัวขอพิเศษ การดําเนินการ

ตามแผนงานที่กําหนด การนําเสนอผลงานและการเขียนหัวขอพิเศษตามเกณฑการประเมินผลการทําหัวขอ

พิเศษของหลักสูตร ตลอดจนการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่มอบหมายใหทําตามเกณฑที่กําหนด

Page 59: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

หมวดที ่4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา

ดานบุคลิกภาพ - มีการสอดแทรกเรื่องการแตงกาย การเขาสังคม เทคนิคการ

เจรจาสื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธที่ดีและสุภาพออนนอมถอมตน

ตอผูอื่น

ดานภาวะผูนําและความรับผิดชอบ

ตลอดจนมีวินัยในตนเอง - กําหนดใหมีรายวิชาซึ่งนักศึกษาตองทํางานเปนกลุม และมีการ

กําหนดหัวหนากลุมเปนผูรับผิดชอบ เพื่อเปนการฝกใหนักศึกษา

ไดสรางภาวะผูนําและการเปนสมาชิกกลุมที่ดี

- มีกิจกรรมนักศึกษาที่มอบหมายใหนักศึกษาหมุนเวียนกันเปน

หัวหนาในการดําเนินกิจกรรม เพื่อฝกใหนักศึกษามีความเปนผูนํา

และมีความรับผิดชอบ

- มีกฎกติกาเพ่ือเสริมสรางความมีวินัยใหแกตนเอง อาทิ การเขา

เรียนตรงเวลาและสม่ําเสมอ เสริมสรางใหมีสวนรวมในชั้นเรียน

ดานจริยธรรมและจรรยาบรรณ - การสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในเนื้อหาวิชาที่เรียน

- ฝกจิตสํานึกใหเคารพตอตนเองและผูอ่ืน ยึดประโยชนของ

สวนรวมเปนที่ตั้ง

- ใหยึดมั่นในจรรยาบรรณของนักบริหารงานภาครัฐที่ดี

ดานทักษะการเรียนรูดวยตนเอง - การจัดการเรียนการสอนที่มีการเรียนรูดวยตนเอง อาท ิการ

ทบทวนบทเรียน การฝกทักษะนอกเวลาเรียน รวมถึงการจัดใหมี

รายวิชาสัมมนาทางรฐัประศาสนศาสตร การวิจัยทางสังคมศาสตร

ตลอดจนปญหาพิเศษตามกลุมวิชาของนักศึกษาแตละคน ซึ่งจะ

ทําใหนักศึกษาเกิดการเรียนรูดวยตนเอง

ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ

- การฝกทักษะในการใชเทคโนโลยีในการคนควาหาความรูและ

นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่หลากหลายไดอยางเหมาะสม

- การฝกทักษะใชเครื่องมือสถิติขั้นพ้ืนฐานการวิจัยทาง

สังคมศาสตรไดอยางถูกตอง

- มีกิจกรรมที่ฝกใหนักศึกษาใชทักษะการสื่อสารในการนําเสนอ

ประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 60: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

59 มคอ.2

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน

2.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

2.1.1 ดานคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2.1.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

(1) มีวินัยและความรับผิดชอบตอหนาที่ มุงมั่นในการทํางานใหสําเร็จ เปน

แบบอยางท่ีดีของสังคม

(2) มีความซื่อสัตย เสียสละ อดทน กตัญู และมีความพอเพียงเปนฐานในการ

ดําเนินชีวิต

(3) สุภาพ ออนนอมถอมตน รูจักกาลเทศะ ใจกวาง รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

(4) มีจิตสํานึกและตระหนักถึงการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ เคารพกฎ

ระเบียบ และขอบังคับตาง ๆ ขององคกรและสังคม

2.1.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิต

บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(1) ทําโครงการเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตอยางมีคุณธรรมจริยธรรม

(2) ศึกษาผูประสบความสําเร็จในการใชชีวิตบนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(3) บรรยาย อภิปรายและสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในเนื้อหาที่สอน

(4) ยกตัวอยางกรณีศึกษาและจัดกิจกรรมกลุม เชน การแสดงบทบาทสมมุติ

2.1.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิต

บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(1) รายงานโครงการ/ ผลการปฏิบัติเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตอยางมีคุณธรรม

จริยธรรม

(2) รายงานโครงการ/ ผลการปฏิบัติเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

(3) สังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน

(4) ประเมินผลการจัดกิจกรรมกลุม

Page 61: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

60 มคอ.2

2.1.2 ดานการตระหนักและสํานึกในความเปนไทย

2.1.2.1 ผลการเรียนรูดานการตระหนักและสํานึกในความเปนไทย

(1) มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย วัฒนธรรมไทย และเขาใจในความ

หลากหลายทางวัฒนธรรม

2.1.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานการตระหนักและสํานึกในความ

เปนไทย

(1) บทบาทสมมุต ิ

(2) จัดกิจกรรม/ โครงการที่อนุรักษความเปนไทย

(3) ศึกษาชุมชน

(4) บรรยาย อภิปรายและสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในเนื้อหาที่สอน

(5) มอบหมายงานใหนักศึกษาคนควาเปนรายกลุม/ รายบุคคล

2.1.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานการตระหนักและสํานึกในความเปนไทย

(1) เพื่อนประเมินเพ่ือน

(2) ประเมินจากการนําเสนอกิจกรรม/ โครงการ

(3) ประเมินจากการรายงาน

(4) สังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน

(5) ประเมินผลการจัดกิจกรรมกลุม

2.1.3 ดานความรอบรูอยางกวางขวาง มีโลกทัศนกวางไกล เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง

ผูอื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ

2.1.3.1 ผลการเรียนรูดานความรอบรูอยางกวางขวาง มีโลกทัศนกวางไกล เขาใจและ

เห็นคุณคาของตนเอง ผูอื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ

(1) มีความรอบรูอยางกวางขวางในศาสตรที่เปนพื้นฐานของชีวิต และสามารถ

นําไปใชในการดําเนินชีวิตได

(2) บูรณาการความรูในรายวิชาที่เรียนกับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

2.1.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานความรอบรูอยางกวางขวาง

มีโลกทัศนกวางไกล เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ผูอื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ

(1) มอบหมายหัวของานใหนักศึกษาคนควาเรื่องที่สอดคลองกับศาสตรที่เปน

พื้นฐานของชีวิต

Page 62: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

61 มคอ.2

(2) แสดงบทบาทสมมติในสถานการณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน

ผานกิจกรรมกลุม

(3) นําเสนองานโดยบูรณาการความรูในรายวิชาที่เรียนกับความรูในศาสตรอื่น ๆ

ที่เก่ียวของ

(4) มอบหมายใหคนควาขอมูล คําศัพท ประโยคอื่น ๆ นอกเหนือจากบทเรียน

(5) จัดกิจกรรมใหนักศึกษาไดสัมผัสกับหนวยงานจริง สถานที่ทางประวัติศาสตร

ชุมชน ซึ่งเปรียบเสมือนหองแลปที่มีชีวิต

2.1.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรอบรูอยางกวางขวาง มีโลกทัศน

กวางไกล เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ผูอื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ

(1) ประเมินจากการใชภาษาในการสื่อสาร

(2) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา

(3) ประเมินผลจากการบาน ชิ้นงานที่ไดรับมอบหมาย

2.1.4 ดานทักษะการแสวงหาความรูตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

2.1.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการแสวงหาความรูตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาตนเอง

อยางตอเนื่อง

(1) มีความรู ความเขาใจ สาระสําคัญของหลักการและทฤษฎีที่เปนพื้นฐาน

การดํารงชีวิต

(2) มีความเขาใจ ความแตกตางระหวางบุคคล และวางตัวไดอยางเหมาะสม

กับบทบาทหนาที่ และความรับผิดชอบ

(3) สามารถเรียนรู เพื่อพัฒนาตนเองทั้งรางกาย จิตใจ ดวยความเฉลียวฉลาด

(4) สามารถแสวงหาขอมูล ความรู จากแหลงและวิธีการที่หลากหลาย

(5) ตระหนักรูศักยภาพของตนเอง เพื่อพัฒนาตนเองใหดํารงชีวิตอยางมีความสุข

และยั่งยืน

2.1.4.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการแสวงหาความรู

ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

(1) มอบหมายงานใหนักศึกษาคนควาขอมูลจากสื่อสารสนเทศที่หลากหลาย

(2) มอบหมายงานที่สามารถใชแหลงขอมูลที่หลากหลายในการศึกษาคนควา

(3) กําหนดใหนักศึกษาอางอิงแหลงที่มาของขอมูลที่คนควา

Page 63: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

62 มคอ.2

2.1.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการแสวงหาความรูตลอดชีวิต

เพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

(1) สังเกตพฤติกรรมของผูเรียน

(2) ประเมินจากผลงานของนักศึกษาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู

(3) ตรวจสอบขอมูลอางอิงของนักศึกษา

2.1.5 ดานทักษะการคิดแบบองครวม

2.1.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการคิดแบบองครวม

(1) สามารถคิดในเชิงเหตุผล รวมทั้งเชื่อมโยงกระบวนการคิดแบบตาง ๆ

เพื่อแกไขปญหาไดอยางรอบดานและมีประสิทธิภาพ

(2) สามารถเลือกวิธีคิดพิจารณาที่เหมาะสมตอประเด็นปญหาหนึ่ง ๆ ไมวาจะ

ดวยการคิดวิเคราะห สังเคราะห แสดงการประเมินขอมูลเพื่อชี้ใหเห็นความนาเชื่อถือ และใหขอสรุป อันจะ

นําไปสูการตัดสินใจที่ถูกตองเหมาะสม

(3) สามารถใหความรูพื้นฐานทางคณิตศาสตรที่จําเปนในการแกปญหา

ในสถานการณตาง ๆ

(4) สามารถศึกษาปญหาที่หลากหลายรูปแบบ และมีทักษะแกไขปญหาอยาง

บูรณาการและสรางสรรคได

(5) สามารถใชทักษะการคิดพัฒนาใหเกิดปญหาแนวคิดเกี่ยวกับภาพอนาคต

และแนวทางความเปนไปไดที่จะบรรลุเปาหมายที่กําหนด และไดผลของการคิดเพื่อการเปลี่ยนแปลงตนเอง

2.1.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการคิดแบบองครวม

(1) จัดกระบวนการสอนที่หลากหลายโดยเนนใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดแบบ

ตาง ๆ เพื่อแกไขปญหาไดอยางรอบดานและมีประสิทธิภาพ

(2) ฝกใหผูเรียนไดศึกษาคนควาปญหาที่หลากหลายรูปแบบ และใชทักษะการคิด

แกปญหาอยางบูรณาการและสรางสรรค

2.1.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการคิดแบบองครวม

(1) พิจารณากรณีศึกษา โดยเนนการประเมินทักษะกระบวนการคิดแกปญหา

อยางสรางสรรคและมีประสิทธิภาพ

(2) ประเมินผลขอมูลจากการคนควา ดวยการประเมินตามสภาพจริง อาท ิ

ประเมินการนําเสนอชิ้นงาน การตอบคําถาม

(3) ประเมินโดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Page 64: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

63 มคอ.2

2.1.6 ดานจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ เปนพลเมืองท่ีมีคุณคาของสังคมไทยและสังคมโลก

2.1.6.1 ผลการเรียนรูดานจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ เปนพลเมืองที่มีคุณคาของ

สังคมไทยและสังคมโลก

(1) มีทักษะการทํางานเปนทีม มีมนุษยสัมพันธที่ดี ปรับตัวใหเขากับวัฒนธรรม

องคกรได

(2) ตระหนักถึงสิทธิและหนาที่ของตนเองและผูอื่น และยอมรับในความแตกตาง

หลากหลายของมนุษย

(3) มีน้ําใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบตอประโยชนสวนรวม

และมีจิตสํานึกรักทองถิ่น

(4) สามารถชวยเหลือและแกปญหาของกลุมไดอยางสรางสรรคทั้งในฐานะผูนํา

และผูตาม

(5) ตระหนักในคุณคาของศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี วรรณกรรม ทั้งของไทยและ

ประชาคมนานาชาติ

2.1.6.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ

เปนพลเมืองท่ีมีคุณคาของสังคมไทยและสังคมโลก

(1) ทําโครงการ

(2) บทบาทสมมุต ิ

(3) การนําเสนอ

2.1.6.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ

เปนพลเมืองท่ีมีคุณคาของสังคมไทยและสังคมโลก

(1) ตรวจโครงการ

(2) ใหเพื่อนประเมิน

(3) ผูสอนรวมประเมิน

2.1.7 ดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางรูเทาทัน

2.1.7.1 ผลการเรียนรูดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางรูเทาทัน

(1) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาความรูดานตาง ๆ ไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

(2) สามารถใชเทคโนโลยีในการสืบคน คัดกรอง รวบรวมและวิเคราะหได

Page 65: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

64 มคอ.2

(3) สามารถเลือกใชเทคโนโลยีในการติดตอสื่อสารและนําเสนอขอมูลขาวสารได

อยางมีประสิทธิภาพ

(4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ

โลกในปจจุบัน

(5) ตระหนักรูผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีตอชีวิตและสังคม และสามารถ

เลือกใชเทคโนโลยีใหเหมาะสมกับตนเองได

2.1.7.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง

รูเทาทัน

(1) กําหนดหัวขอใหนักศึกษาคนควาเพื่อนําเสนอผลงานโดยใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ

(2) จัดกิจกรรมกลุมในการรวบรวมขอมูลที่กําหนดและรวมอภิปรายความ

นาเชื่อถือ

(3) นําเสนอขอมูลโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ

2.1.7.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางรูเทาทัน

(1) ประเมินผลงานของนักศึกษาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคการเรียนรู

(2) สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา

(3) ประเมินผลจากการใชภาษาในการสื่อสาร

2.1.8 ดานการใชภาษาในการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ

2.1.8.1 ผลการเรียนรูดานการใชภาษาในการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ

(1) สามารถใชภาษาเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม

(2) สามารถเลือกใชภาษาในบริบทที่แตกตางไดอยางเหมาะสม

2.1.8.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานการใชภาษาในการสื่อสารอยางมี

ประสิทธิภาพ

(1) บรรยาย อภิปราย และยกตัวอยางการใชภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

(2) เปดโอกาสใหนักศึกษานําเสนอผลงานการใชภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิต

ประจํา เปนรายกลุม/บุคคล

(3) มอบหมายใหนักศึกษาคนควา แสดงบทบาทสมมติ และทํากิจกรรม

เปนรายบุคคล/กลุม

Page 66: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

65 มคอ.2

2.1.8.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานการใชภาษาในการสื่อสารอยางมี

ประสิทธิภาพ

(1) ประเมินผลการใชภาษาเพ่ือการสื่อสาร การแสดงบทบาทสมมต ิ

(2) ประเมินผลงานกลุม และประเมินซึ่งกันและกัน

(3) สังเกตพฤติกรรมระหวางเรียน

(4) แบบฝกหัดและแบบทดสอบ

(5) สอบกลางภาคและสอบปลายภาค

(6) นําเสนอผลงานการใชภาษาเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจําวัน

2.2 หมวดวิชาเฉพาะ

2.2.1 ดานคุณธรรม จริยธรรม

2.2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

(1) พัฒนานิสัยและประพฤติตนอยางมีคุณธรรม จริยธรรม และดวยความรับผิดชอบ

ทั้งในสวนตนและสวนรวม

(2) สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแยงทางคานิยม และจัดการปญหาทางคุณธรรม

จริยธรรม โดยใชดุลยพินิจทางคานิยมพื้นฐานและความรูสึกของผูอื่น

(3) มีความรับผิดชอบและจรรยาบรรณตอการเปนนักบริหารงานภาครัฐ

2.2.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

(1) จัดการเรียนการสอนโดยสอดแทรกเนื้อหาของคุณธรรมและจริยธรรม

(2) จัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อใหนักศึกษาเกิดจิตสาธารณะ

และมีความภาคภูมิใจที่ไดทําประโยชนตอสวนรวม

(3) เสริมสรางคุณธรรมและจริยธรรมขั้นพื้นฐาน อาทิ ระเบียบวินัย การตรงตอเวลา

การมีสัมมาคารวะตอครูอาจารย การมีน้ําใจเอื้อเฟอเผื่อแผ การสรางความซื่อสัตยสุจริตตอตนเองและผูอื่น

เปนตน

(4) อาจารยผูสอนตองประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีในการเสริมสรางคุณธรรมและ

จริยธรรมใหแกนักศึกษา

2.2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม

(1) การประเมินพฤติกรรมและทัศนคติดานคุณธรรม จริยธรรมของนักศึกษา ทั้งกอนเรียน

และหลังเรียน

Page 67: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

66 มคอ.2

(2) การประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาในการจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมคุณธรรมและ

จริยธรรมทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน

(3) ใหนักศึกษาแตละคนประเมินพฤติกรรมของเพื่อนรวมชั้นเรียน

2.2.2 ดานความรู

2.2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู

(1) มเีขาใจความรูและหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร

(2) รูและเขาใจถึงความกาวหนาของความรูตลอดจนธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ

และขอบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

(3) ตระหนักรูถึงงานวิจัยในปจจุบันที่เกี่ยวของกับการแกปญหาและการตอยอด

องคความรูในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

2.2.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู

(1) เนนกระบวนการเรียนรูอยางบูรณาการและใหนักศึกษามีสวนรวมในการเรียน

เปนหลัก

(2) มีการจัดกิจกรรมการอบรมทางวิชาการเพ่ือเพิ่มพูนความรูใหแกนักศึกษา

(3) มีการใชเทคนิคการสอนที่หลากหลาย และสามารถปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม

ของเนื้อหาสาระได

(4) ใหความสําคัญกับแหลงการเรียนรูที่หลากหลายจากชุมชนและทองถิ่น

2.2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู

(1) ประเมินนักศึกษาจากผลการทดสอบ และพฤติกรรมในชั้นเรียน อาทิ ความ

ตั้งใจ ความเอาใจใส และการมีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอน เปนตน

(2) ใหนักศึกษามีการประเมินตนเองและใหเพื่อนในชั้นเรียนรวมกันประเมิน

2.2.3 ดานทักษะทางปญญา

2.2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) สามารถคนหาขอเท็จจริงและทําความเขาใจปรากฏการณที่เกี่ยวของกับ

รัฐประศาสนศาสตรจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย

(2) สามารถศึกษาและวิเคราะหสถานการณหรือสภาพปญหาที่ซับซอน โดยใช

ความรู แนวคิด และทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตรเพื่อเสนอแนะแนวทางในการแกไขไดอยางสรางสรรค

(3) มีวิจารณญาณ คิดวิเคราะหอยางเปนระบบและสรางสรรค

Page 68: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

67 มคอ.2

2.2.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) ใหนักศึกษาฝกการสังเกต การตั้งคําถาม และการคิดในรูปแบบที่หลากหลาย

(2) มีการจัดการเรียนการสอนใหมีการประยุกตใชความคิดในรูปแบบที่หลากหลาย

(3) มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหนักศึกษามีสวนรวมในการใชความคิด

รวมกัน

2.2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา

(1) สังเกตพัฒนาการการมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรู ความสนใจ ความตั้งใจ

ในการแสวงหาความรู

(2) สังเกตวิธีคิดในการตั้งคําถาม หาคําตอบและแนวทางแกไขเพื่อพัฒนา

2.2.4 ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

2.2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความรับผิดชอบ

(1) มคีวามรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผูนําและสมาชิก

ที่ดีของกลุม

(2) สามารถปรับตัวไดในสังคมที่มีความหลากหลาย รับฟงความเห็นที่แตกตางและ

แสดงความเห็นที่เกี่ยวของกับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตรไดอยางสรางสรรค

(3) มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะหและแกไขปญหาไดอยางเหมาะสมกับพื้นฐาน

ของตนเองและบริบทของกลุม

2.2.4.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวาง

บุคคลและความรับผิดชอบ

(1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนใหมีการทํางานรวมกันของนักศึกษา

(2) จัดกิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อใหนักศึกษาแตละชั้นปไดรวมกันทํากิจกรรมและแสดง

บทบาททั้งในฐานะผูนําและผูตาม

(3) สงเสริมการฝกประสบการณวิชาชีพเพื่อใหนักศึกษาไดแสดงออกซึ่งความรับผิดชอบ

ตอตนเองและผูอ่ืน

2.2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ

ความรับผิดชอบ

(1) ประเมินการมีสวนรวมของนักศึกษาในกระบวนการเรียนการสอนทั้งในและนอก

หองเรียน

Page 69: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

68 มคอ.2

(2) ประเมินการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมของนักศึกษา

(3) ประเมินความสามารถในการแสดงบทบาทความเปนผูนําและผูตามในสถานการณ

ตาง ๆ

2.2.5 ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช

เทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) มทีักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเปนเครื่องมือในการคนควาหาความรู

และการนําเสนอขอมูลทางรัฐประศาสนศาสตรในรูปแบบที่หลากหลายไดอยางเหมาะสมกับกลุมบุคคลตาง ๆ

(2) สามารถใชเครื่องมือทางสถิติขั้นพ้ืนฐานไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับประเด็น

ปญหาทางการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร

(3) สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ

2.2.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข

การ สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เสริมสรางทักษะทางดานภาษา

(2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนไดมีทักษะในการคิดและวิเคราะห

แกไขปญหาอยางเปนระบบ ตลอดจนสามารถถายทอดกระบวนการคิดไดอยางมีประสิทธิภาพ

(3) สงเสริมใหเกิดการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยอยางเหมาะสมและตอเนื่อง

2.2.5.3 กลยุทธการประเมินผลลัพธการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การ

สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) ประเมินทักษะการใชภาษาในการสื่อสารกับผูอื่นไดเปนอยางด ี

(2) ประเมินการมีสวนรวมในการวิเคราะหแกไขปญหาระหวางการดําเนินกิจกรรม

การเรียนการสอนทั้งในและนอกหองเรียน

(3) ประเมินการนําเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยมาประยุกตใชใหเกิดประสิทธิภาพ

และประสิทธิผล

Page 70: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

69 มคอ.2

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum

Mapping)

3.1 ผลการเรียนรูหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ในตารางมีความหมาย ดังนี้

3.1.1 ผลการเรียนรูดานคณุธรรมจริยธรรมในการดาํเนนิชวีิตบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยีง

(1) มีวินัยและความรับผิดชอบตอหนาที่ มุงมั่นในการทํางานใหสําเร็จ เปนแบบอยางที่ดี

ของสังคม

(2) มีความซื่อสัตย เสียสละ อดทน กตัญู และมีความพอเพียงเปนฐานในการดําเนินชีวิต

(3) สุภาพ ออนนอมถอมตน รูจักกาลเทศะ ใจกวาง รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น

(4) มีจิตสํานึกและตระหนักถึงการปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ เคารพกฎ ระเบียบ

และขอบังคับตาง ๆ ขององคกรและสังคม

3.1.2 ผลการเรียนรูดานการตระหนักและสํานึกในความเปนไทย

(1) มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย วัฒนธรรมไทย และเขาใจในความหลากหลาย

ทางวัฒนธรรม

3.1.3 ผลการเรียนรูดานความรอบรูอยางกวางขวาง มีโลกทัศนกวางไกล เขาใจและเห็นคุณคา

ของตนเอง ผูอื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ

(1) มีความรอบรูอยางกวางขวางในศาสตรที่เปนพื้นฐานของชีวิต และสามารถนําไปใช

ในการดําเนินชีวิตได

(2) บูรณาการความรูในรายวิชาที่เรียนกับความรูในศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

3.1.4 ผลการเรียนรูดานทักษะการแสวงหาความรูตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง

(1) มีความรู ความเขาใจ สาระสําคัญของหลักการและทฤษฎีที่เปนพื้นฐานการดํารงชีวิต

(2) มีความเขาใจ ความแตกตางระหวางบุคคล และวางตัวไดอยางเหมาะสมกับบทบาท

หนาที่ และความรับผิดชอบ

(3) สามารถเรียนรู เพื่อพัฒนาตนเองทั้งรางกาย จิตใจ ดวยความเฉลียวฉลาด

(4) สามารถแสวงหาขอมูล ความรู จากแหลงและวิธีการที่หลากหลาย

(5) ตระหนักรูศักยภาพของตนเอง เพื่อพัฒนาตนเองใหดํารงชีวิตอยางมีความสุขและยั่งยืน

3.1.5 ผลการเรียนรูดานทักษะการคิดแบบองครวม

(1) สามารถคิดในเชิงเหตุผล รวมทั้งเชื่อมโยงกระบวนการคิดแบบตาง ๆ เพื่อแกไขปญหา

ไดอยางรอบดานและมีประสิทธิภาพ

Page 71: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

70 มคอ.2

(2) สามารถเลือกวิธีคิดพิจารณาที่เหมาะสมตอประเด็นปญหาหนึ่ง ๆ ไมวาจะดวยการคิด

วิเคราะห สังเคราะห แสดงการประเมินขอมูลเพื่อชี้ใหเห็นความนาเชื่อถือ และใหขอสรุปอันจะนําไปสูการ

ตัดสินใจที่ถูกตองเหมาะสม

(3) สามารถใหความรูพื้นฐานทางคณิตศาสตรที่จําเปนในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ

(4) สามารถศึกษาปญหาที่หลากหลายรูปแบบ และมีทักษะแกไขปญหาอยางบูรณาการ

และสรางสรรคได

(5) สามารถใชทักษะการคิดพัฒนาใหเกิดปญหาแนวคิดเกี่ยวกับภาพอนาคต และแนวทาง

ความเปนไปไดที่จะบรรลุเปาหมายที่กําหนด และไดผลของการคิดเพื่อการเปลี่ยนแปลงตนเอง

3.1.6 ผลการเรียนรูดานจิตอาสาและสํานึกสาธารณะ เปนพลเมืองที่มีคุณคาของสังคมไทยและ

สังคมโลก

(1) มีทักษะการทํางานเปนทีม มีมนุษยสัมพันธที่ดี ปรับตัวใหเขากับวัฒนธรรมองคกรได

(2) ตระหนักถึงสิทธิและหนาที่ของตนเองและผูอื่น และยอมรับในความแตกตางหลากหลาย

ของมนุษย

(3) มีน้ําใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบตอประโยชนสวนรวม และ

มีจิตสํานึกรักทองถิ่น

(4) สามารถชวยเหลือและแกปญหาของกลุมไดอยางสรางสรรคทั้งในฐานะผูนําและผูตาม

(5) ตระหนักในคุณคาของศิลปะ วัฒนธรรม ดนตรี วรรณกรรม ทั้งของไทยและประชาคม

นานาชาต ิ

3.1.7 ผลการเรียนรูดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางรูเทาทัน

(1) สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาความรูดานตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

(2) สามารถใชเทคโนโลยีในการสืบคน คัดกรอง รวบรวมและวิเคราะหได

(3) สามารถเลือกใชเทคโนโลยีในการติดตอสื่อสารและนําเสนอขอมูลขาวสารไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

(4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณโลกในปจจุบัน

(5) ตระหนักรูผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีตอชีวิตและสังคม และสามารถเลือกใช

เทคโนโลยีใหเหมาะสมกับตนเองได

3.1.8 ผลการเรียนรูดานการใชภาษาในการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ

(1) สามารถใชภาษาเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม

(2) สามารถเลือกใชภาษาในบริบทที่แตกตางไดอยางเหมาะสม

Page 72: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

ผลการเรียนรู 1.คุณธรรม จริยธรรมใน

ก า ร ดํ า เ นิ น ชี วิ ต บ น

พื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

2.

ตระหนัก

แ ล ะ

สํานึกใน

ค ว า ม

เปนไทย

3.มีความรอบ

รู อ ย า ง

กวางขวาง

มี โ ล ก ทั ศ น

ก ว า ง ไ ก ล

เ ข า ใ จ แ ล ะ

เ ห็ น คุ ณ ค า

ข อ ง ต น เ อ ง

ผูอื่น สังคม

ศิ ล ป วั ฒ น -

ธ ร ร ม แ ล ะ

ธรรมชาต ิ

4. มีทักษะการ

แสวงหาความรูตลอด

ชี วิ ต เ พื่ อ พั ฒ น า

ตนเองอยางตอเนื่อง

5. มีทักษะความคิดแบบองค

รวม

6. มีจิตอาสาและสํานึก

สาธารณะ เปนพลเมืองที่มี

คุณคาของสังคมโลก

7. ใช เทคโนโลยี

สารสนเทศอยางรูเทาทัน

8. ใชภาษา

ในการสื่อสาร

อยางมี

ประสิทธิภาพ

รายวิชา 1.1

1.2

1.3

1.4

2.1

3.1

3.2

4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

5.1

5.2

5.3

5.4

5.5

6.1

6.2

6.3

6.4

6.5

7.1

7.2

7.3

7.4

7.5

8.1

8.2

กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร

GEL0101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

GEL0201 ภาษาอังกฤษในโลกปจจุบัน

GEL0202 ภาษาอังกฤษเพื่อการทํางาน

GEL0301 ภาษามาเลยเพื่อการสื่อสาร

GEL0302 ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสาร

GEL0303 ภาษาพมาเพื่อการสื่อสาร

71 มคอ.2

Page 73: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

72 มคอ.2

ผลการเรียนรู 1.คุณธรรม จริยธรรมใน

ก า ร ดํ า เ นิ น ชี วิ ต บ น

พื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

2.

ตระหนัก

แ ล ะ

สํานึกใน

ค ว า ม

เปนไทย

3.มีความรอบ

รู อ ย า ง

กวางขวาง

มี โ ล ก ทั ศ น

ก ว า ง ไ ก ล

เ ข า ใ จ แ ล ะ

เ ห็ น คุ ณ ค า

ข อ ง ต น เ อ ง

ผูอื่น สังคม

ศิ ล ป วั ฒ น -

ธ ร ร ม แ ล ะ

ธรรมชาต ิ

4. มีทักษะการ

แสวงหาความรูตลอด

ชี วิ ต เ พื่ อ พั ฒ น า

ตนเองอยางตอเนื่อง

5. มีทักษะความคิดแบบองค

รวม

6. มีจิตอาสาและสํานึก

สาธารณะ เปนพลเมืองที่มี

คุณคาของสังคมโลก

7. ใช เทคโนโลยี

สารสนเทศอยางรูเทาทัน

8. ใชภาษา

ในการสื่อสาร

อยางมี

ประสิทธิภาพ

รายวิชา 1.1

1.2

1.3

1.4

2.1

3.1

3.2

4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

5.1

5.2

5.3

5.4

5.5

6.1

6.2

6.3

6.4

6.5

7.1

7.2

7.3

7.4

7.5

8.1

8.2

GEL0304 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร

GEL0305 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร

GEL0306 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร

กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

GEH0401 วิถีลุมน้ําทะเลสาบสงขลา

GEH0402 ปรัชญาและศาสนา

GEH0403 มนุษยกับความงาม

GEH0404 พฤติกรรมมนุษยและการพัฒนาตน

GEH0405 มนุษยกับการเปลี่ยนแปลง

GEH0406 สารสนเทศเพื่อการเรียนรู

GEH0407 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต

72 มคอ.2

Page 74: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

73 มคอ.2

ผลการเรียนรู 1.คุณธรรม จริยธรรมใน

ก า ร ดํ า เ นิ น ชี วิ ต บ น

พื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง

2.

ตระหนัก

แ ล ะ

สํานึกใน

ค ว า ม

เปนไทย

3.มีความรอบ

รู อ ย า ง

กวางขวาง

มี โ ล ก ทั ศ น

ก ว า ง ไ ก ล

เ ข า ใ จ แ ล ะ

เ ห็ น คุ ณ ค า

ข อ ง ต น เ อ ง

ผูอื่น สังคม

ศิ ล ป วั ฒ น -

ธ ร ร ม แ ล ะ

ธรรมชาต ิ

4. มีทักษะการ

แสวงหาความรูตลอด

ชี วิ ต เ พื่ อ พั ฒ น า

ตนเองอยางตอเนื่อง

5. มีทักษะความคิดแบบองค

รวม

6. มีจิตอาสาและสํานึก

สาธารณะ เปนพลเมืองที่มี

คุณคาของสังคมโลก

7. ใช เทคโนโลยี

สารสนเทศอยางรูเทาทัน

8. ใชภาษา

ในการสื่อสาร

อยางมี

ประสิทธิภาพ

รายวิชา 1.1

1.2

1.3

1.4

2.1

3.1

3.2

4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

5.1

5.2

5.3

5.4

5.5

6.1

6.2

6.3

6.4

6.5

7.1

7.2

7.3

7.4

7.5

8.1

8.2

GEH0408 เรียนรูคุณธรรมนําชีวิตพอเพียง

GEH0409 วิถีอาเซียน

กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี

GES0501 วิเคราะหการคิด

GES0502 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม

GES0503 ชีวิตกับเทคโนโลย ี

GES0601 เกษตรเพื่อชีวิต

GES0701 อาหารและโภชนาการเบื้องตน

GES0702 การดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ

GES0801 งานชางในชีวิตประจําวัน

73 มคอ.2

Page 75: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

74 มคอ.2

3.2 ผลการเรียนรูหมวดวิชาเฉพาะ ในตารางมีความหมาย ดังนี้

3.2.1. ดานคุณธรรม จริยธรรม

(1) พัฒนานิสัยและประพฤติตนอยางมีคุณธรรม จริยธรรม และดวยความรับผิดชอบทั้งใน

สวนตนและสวนรวม

(2) สามารถปรับวิถีชีวิตในความขัดแยงทางคานิยม และจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรม

โดยใชดุลยพนิิจทางคานิยมพ้ืนฐานและความรูสึกของผูอื่น

(3) มีความรับผิดชอบและจรรยาบรรณตอการเปนนักบริหารงานภาครัฐ

3.2.2. ดานความรู

(1) มีเขาใจความรูและหลักการของแนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร

(2) รูและเขาใจถึงความกาวหนาของความรูตลอดจนธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ และ

ขอบังคับที่เปลี่ยนไปตามสถานการณในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

(3) ตระหนักรูถึงงานวิจัยในปจจุบันที่เก่ียวของกับการแกปญหาและการตอยอดองคความรู

ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

3.2.3. ดานทักษะทางปญญา

(1) สามารถคนหาขอเท็จจริงและทําความเขาใจปรากฏการณที่เกี่ยวของกับรัฐประศาสน-

ศาสตรจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย

(2) สามารถศึกษาและวิเคราะหสถานการณหรือสภาพปญหาที่ซับซอน โดยใชความรู แนวคิด

และทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตรเพื่อเสนอแนะแนวทางในการแกไขไดอยางสรางสรรค

(3) มีวิจารณญาณ คิดวิเคราะหอยางเปนระบบและสรางสรรค

3.2.4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ

(1) มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเองและแสดงออกซึ่งภาวะผูนําและสมาชิกที่ดีของ

กลุม

(2) สามารถปรับตัวไดในสังคมที่มีความหลากหลาย รับฟงความเห็นที่แตกตางและแสดงความเห็น

ที่เก่ียวของกับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตรไดอยางสรางสรรค

(3) มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะหและแกไขปญหาไดอยางเหมาะสมกับพื้นฐานของตนเอง

และบริบทของกลุม

Page 76: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

75 มคอ.2

3.2.5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) มีทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเปนเครื่องมือในการคนควาหาความรูและ

การนําเสนอขอมูลทางรัฐประศาสนศาสตรในรูปแบบที่หลากหลายไดอยางเหมาะสมกับกลุมบุคคลตาง ๆ

(2) สามารถใชเครื่องมือทางสถิติข้ันพื้นฐานไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับประเด็นปญหาทางการ

วิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร

(3) สามารถสื่อสารประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 77: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

76 มคอ.2

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา

1. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

2. ดานความรู 3. ดานทักษะทาง

ปญญา

4. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคล

และความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะ

การวิเคราะห

และการสื่อสาร

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3

หมวดวิชาเฉพาะดาน

กลุมวิชาแกน

2581103 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร

2581104 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับรัฐศาสตร

2581105 การบริหารราชการไทย

2581201 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย

2581301 องคการและการจัดการ

2581302 การบริหารทรัพยากรมนุษย

2582103 การปกครองทองถิ่นไทย

2582204 กฎหมายปกครอง

2582301 นโยบายสาธารณะ

2582305 การบริหารงานคลังและงบประมาณ

76 มคอ.2

Page 78: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

77 มคอ.2

รายวิชา

1. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

2. ดานความรู 3. ดานทักษะทาง

ปญญา

4. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคล

และความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะ

การวิเคราะห

และการสื่อสาร

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3

2582306 วิทยาการทางการบริหาร

2583101 รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง

2583309 การวิเคราะหโครงการและการบริหารโครงการ

2583310 ระบบสารสนเทศสําหรับการบริหาร

2583903 สถิติสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร

2583904 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร

2584302 จริยธรรมทางการบริหาร

2584905 สัมมนาทางรัฐประศาสนศาสตร

2584907 หัวขอพิเศษทางรัฐประศาสนศาสตร

3631001 เศรษฐศาสตรทั่วไป

กลุมวิชาเนื้อหา

- บังคับเรียน

(ก) กลุมนวัตกรรมการการจัดการภาครัฐ

2582403 องคการแหงนวัตกรรม

77 มคอ.2

Page 79: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

78 มคอ.2

รายวิชา

1. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

2. ดานความรู 3. ดานทักษะทาง

ปญญา

4. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคล

และความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะ

การวิเคราะห

และการสื่อสาร

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3

2582404 การตลาดสําหรับการจัดการภาครัฐ

2583405 การจัดการนวัตกรรม

2583406 นวัตกรรมสารสนเทศเพ่ือการจัดการภาครัฐ

2583407 ความคิดสรางสรรคสําหรับนวัตกรรมภาครัฐ

(ข) กลุมนโยบายสาธารณะและการวางแผน

2582501 การวางแผนเชิงกลยุทธ

2582503 นโยบายพัฒนาการบริหารงานภาครัฐ

2583503 การวิเคราะหนโยบาย

2583505 การประเมินผลโครงการ

2583506 นโยบาย แผน และโครงการสําหรับชุมชน

(ค) กลุมการบริหารจัดการทองถิ่น

2582603 แนวคิด ทฤษฎีการบริหารจัดการทองถิ่น

2582604 กฎหมายเกี่ยวกับการปกครองทองถิ่น

2583604 การวางแผนกลยุทธเพื่อพัฒนาทองถิ่น

78 มคอ.2

Page 80: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

79 มคอ.2

รายวิชา

1. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

2. ดานความรู 3. ดานทักษะทาง

ปญญา

4. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคล

และความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะ

การวิเคราะห

และการสื่อสาร

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3

2583605 การบริหารการคลังทองถิ่น

2583606 การจัดการความรูเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

(ง) กลุมการบริหารทรัพยากรมนุษย

2582703 การวางแผนทรัพยากรมนุษยเชิงกลยุทธ

2582704 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย

2583702 พฤติกรรมองคการ

2583703 การจัดการชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทํางาน

2583704 การจัดการผลการปฏิบัติงานและการบริหารคาตอบแทน

- บังคับเรียน

2582101 การเมืองการปกครองของไทย

2582104 สันติวิธีและการจัดการความขัดแยง

2582202 กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป

2582205 สิทธิมนุษยชน

2583102 การเมืองการปกครองของกลุมประเทศอาเซียน

79 มคอ.2

Page 81: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

80 มคอ.2

รายวิชา

1. ดานคุณธรรม

จริยธรรม

2. ดานความรู 3. ดานทักษะทาง

ปญญา

4. ดานทักษะ

ความสัมพันธ

ระหวางบุคคล

และความ

รับผิดชอบ

5. ดานทักษะ

การวิเคราะห

และการสื่อสาร

1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3

2583201 กฎหมายแรงงานและการประกันสังคม

2583202 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด

2583203 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

2583306 ภาวะผูนําทางการบริหาร

2583311 การจัดการภัยพิบัติ

2583404 การจัดการวิสาหกิจชุมชน

2584101 สถานการณโลกปจจุบัน

2584201 กฎหมายลักษณะพยาน

2584202 ระบบความยุติธรรมทางอาญา

กลุมวิชาปฏิบัติการและฝกประสบการณวิชาชีพ

2584802 การเตรียมฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร

2584803 การฝกประสบการณวิชาชีพรัฐประศาสนศาสตร

7000390 การเตรียมความพรอมสหกิจศึกษา

7000490 สหกิจศึกษา

80 มคอ.2

Page 82: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

81 มคอ.2

Page 83: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

หมวดที ่5 หลกัเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด)

ใหมีการประเมินผลการศึกษาในรายวิชาตาง ๆ ตามหลักสูตรเปน 2 ระบบ ไดแก ระบบมีคาระดับคะแนน

และระบบไมมีคาระดับคะแนน

1.1 ระบบมีคาระดับคะแนน แบงเปน 8 ระดบั

ระดับคะแนน ความหมาย คาระดับคะแนน

A ดีเยี่ยม (Excellent) 4.0

B+ ดีมาก (Very Good) 3.5

B ดี (Good) 3.0

C+ คอนขางด ี(Fairly Good) 2.5

C พอใช (Fair) 2.0

D+ ออน (Poor) 1.5

D ออนมาก (Very Poor) 1.0

E ตก (Fail) 0.0

ระบบนี้ใชสําหรับการประเมินผลรายวิชาที่เรียนตามหลักสูตร ระดับคะแนนที่ถือวาสอบไดตองไมต่ํา

กวา “D” ถานักศึกษาไดระดับคะแนนในรายวิชาใดต่ํากวา “D” ตองลงทะเบียนเรียนใหมจนกวาจะสอบได

กรณีวิชาเลือกถาไดคะแนนต่ํากวา “D” สามารถเปลี่ยนไปเลือกเรียนรายวิชาอื่นไดสวนการประเมินผลรายวิชา

เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพ และรายวิชาฝกประสบการณวิชาชีพ ถาไดระดับคะแนนต่ํากวา “C” ถือวา

สอบตก นักศึกษาจะตองลงทะเบียนเรียนใหม ถาไดรับการประเมินผลต่ํากวา “C” เปนครั้งที่สอง ถือวา

พนสภาพการเปนนักศึกษา

1.2 ระบบไมมีคาระดับคะแนน กําหนดสัญลักษณการประเมินผล ดังนี้

ระดับการประเมิน ผลการศึกษา

P (Pass) ผาน

F (Fail) ไมผาน

ระบบคะแนนนี้ใชสําหรับการประเมินผลรายวิชาที่หลักสูตรบังคับใหเรียนเพิ่มตามขอกําหนดเฉพาะ

และรายวิชาที่สภามหาวิทยาลัยกําหนดใหเรียนเพิ่ม

รายวิชาที่ไดผลประเมิน “F” นักศึกษาตองลงทะเบียนเรียนใหม จนกวาจะสอบได

Page 84: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

82 มคอ.2

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาได

กําหนดใหมีระบบและกลไกในการทวนสอบเพ่ือยืนยันวา นักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาทุกคนมีผลการเรียนรู

ทั้ง 5 ดาน ตามที่กําหนดไวในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร โดยมี

แนวทางดังนี้

2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะทีน่ักศึกษายังไมสําเร็จการศึกษา

2.1.1 ใหมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรรับผิดชอบเรื่องกระบวนการทวนสอบมาตรฐานการวัด

ผลสัมฤทธิ์ ทั้งในระดับรายวิชา โดยใหนักศึกษาประเมินผลการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติโดยการ

ตอบแบบสอบถาม และระดับหลักสูตร โดยมีระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

2.1.2 ตรวจสอบรายงานรายวิชา ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาแตละรายวิชา

2.1.3 มีคณะกรรมการพิจารณาคะแนนใหไดมาตรฐาน

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสําเร็จการศึกษา

2.2.1 กําหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษา หลงัสําเร็จการศึกษา ควรเนน

การทําวิจัยเชิงสัมฤทธิ์การประกอบอาชีพของบัณฑิตอยางตอเนื่อง และนําผลวิจัยมาปรับปรุงกระบวนการ

การเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหนวยงาน

2.2.2 ประเมินจากแบบสํารวจความคิดเห็นของผูใชบัณฑิต

2.2.3 ประเมินจากแบบสํารวจความคิดเห็นที่มีตอหลักสูตรและสภาวะการมีงานทําของบัณฑิต

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

ใชเกณฑการสําเร็จการศึกษา เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วาดวยการจัดการศึกษา

ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558

Page 85: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

หมวดที ่6 การพัฒนาคณาจารย

1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม

1.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามีอาจารยบรรจุใหมใน 2 สถานภาพ คืออาจารยพนักงานมหาวิทยาลัยและ

อาจารยประจําตามสัญญา โดยฝายสงเสริมกิจการมหาวิทยาลัยไดจัดใหมีโครงการปฐมนิเทศอาจารยใหม

เพื่อใหรับทราบถึงนโยบาย ปรัชญา ปณิธานของสถาบันอุดมศึกษา หลักสูตรและวัตถุประสงคของการจัด

การศึกษา ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการพัฒนาศักยภาพทางดานวิชาการ และวิชาชีพ รวมทั้งการเขาสูตําแหนง

วิชาการ นอกจากนี้ยังจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพอาจารยในเรื่องการพัฒนาการเรียน

การสอน การสรางความสัมพันธในองคการและสิทธิประโยชน เปนประจําทุกป

1.2 อาจารยทุกคนจะไดรับการพัฒนาอยางทั่วถึงในดานจัดการเรียนการสอน ดานวิจัยและสงเสริมให

เขารวมอบรม ประชุม สัมมนาทางวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

1.3 มีการประชุมอาจารยผูสอนในแตละภาคเรียน เพื่อชี้แจงแนวปฏิบัติในการเรียนการสอนและ

ประเมินผลการเรียนการสอนในตอนปลายภาค

2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย

2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล

2.1.1 จัดใหมีการอบรมเกี่ยวกับกลยุทธและวิธีการสอน การวัดและการประเมินผลการเรียนรู การวิจัย

เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยองคความรู และการวิจัยสถาบัน

2.1.2 สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริมการสอนและการวิจัย

อยางตอเนื่อง โดยการทําวิจัยสายตรงที่เกี่ยวของกับสาขาวิชา

2.1.3 สนับสนุนดานการฝกอบรม การศึกษาดูงานในทางวิชาการในองคการตาง ๆ การประชุม

ทางวิชาการทั้งในประเทศและตางประเทศ

2.1.4 สนับสนุนดานการศึกษาตอทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อเพิ่มพูนความรูและเปนการรองรับ

การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของศาสตรทางการบริหาร อาทิ รัฐประศาสนศาสตร การบริหาร การจัดการ

นโยบายสาธารณะและการวางแผน การจัดการทรัพยากรมนุษย การจัดการทองถิ่น รัฐศาสตร การเมืองการปกครอง

นิติศาสตร เศรษฐศาสตร การคลัง เปนตน

2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอื่น ๆ

2.2.1 สนับสนุนใหอาจารยมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการแกชุมชนโดยการเปนวิทยากร

ใหความรูดานการบริหารจัดการงานภาครัฐรวมถึงงานภาคเอกชน

2.2.2 สนับสนุนใหอาจารยจัดทําผลงานทางวิชาการเพ่ือใหมีตําแหนงทางวิชาการที่สูงขึ้น

2.2.3 สงเสริมใหอาจารยทําวิจัยทั้งการวิจัยเพื่อพัฒนาทองถิ่นและการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

Page 86: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

หมวดที ่7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การบริหารหลักสูตร

1.1 การบริหารหลักสูตร

มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรซึ่งไดรับการแตงตั้งจากมหาวิทยาลัย มีหนาที่กําหนดทิศทาง

วัตถุประสงค บริหารจัดการ วางแผนดําเนินงานและติดตามผลการดําเนินงานหลักสูตร มีการวิเคราะหผล

การดําเนินงานตามปจจัยคุณภาพตาง ๆ เทียบกับแผนงานเพื่อทบทวนทิศทางและวัตถุประสงคเปนประจํา

ทุกปการศึกษา ตามรายละเอียดดังนี้

1.1.1 พัฒนาหลักสูตรที่ทันสมัยเพ่ือใหเปนที่ยอมรับของสังคม

1.1.2 พัฒนาศักยภาพของอาจารยผูสอนใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาการ

1.1.3 ตรวจสอบและปรับปรุงหลักสูตรใหมีคุณภาพมาตรฐาน

1.1.4 มีการประเมินมาตรฐานของหลักสูตรอยางสม่ําเสมอ

1.2 ระบบและกลไกการบริหารหลักสูตร

1.2.1 พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับมาตรฐานตามแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ

1.2.2 ปรับปรุงหลักสูตรใหทันสมัยโดยมีการพิจารณาปรับปรุงหลักสูตรทุก ๆ 4 ป

1.2.3 สนับสนุนใหอาจารยผูสอนเปนผูนําในทางวิชาการและ/ หรือเปนผูเชี่ยวชาญทางวิชาการดาน

รัฐประศาสนศาสตร

1.2.4 สงเสริมอาจารยประจําหลักสูตรใหไปศึกษาดูงานในหลักสูตรหรือวิชาการที่เกี่ยวของทั้งใน

หรือตางประเทศ

1.2.5 จัดใหผูทรงคุณวุฒิในองคการตาง ๆ เปนวิทยากรหรือรวมเปนผูบรรยายในบางรายวิชา

1.2.6 มีการประเมินหลักสูตรโดยคณะกรรมการผูทรงคุณวุฒิภายในทุกป และภายนอกอยางนอยทุก ๆ

4 ป

1.2.7 มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา

1.3 การประเมินผลการบริหารหลักสูตร

1.3.1 หลักสูตรไดรับการรับรองจาก สกอ.

1.3.2 มีการแตงตั้งคณะกรรมการระดับคณะฯ เพื่อประเมินหลักสูตรในทุก ๆ ดาน

1.3.3 มีการประเมินคุณลักษณะ ประสบการณ และการพัฒนาการฝกอบรมของอาจารย

Page 87: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

85 มคอ.2

1.3.4 มีการประเมินผลการเรียนการสอนของอาจารยผูสอนโดยนักศึกษาทุกภาคเรียนมีการรายงาน

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในทุกปการศึกษา มีการประเมินความพึงพอใจของหลักสูตรและการ

เรียนการสอนโดยบัณฑิต มีการประเมินผลความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตจากหนวยงานตาง ๆ

2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน

2.1 การบริหารงบประมาณ

มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณประจําป ทั้งงบประมาณแผนดินและเงินรายไดเพื่อจัดซื้อหนังสือ

ตํารา สื่อการเรียนการสอน โสตทัศนูปกรณ ตลอดถึงคาตอบแทนผูทรงคุณวุฒิจากองคการทั้งภาครัฐและ

ภาคเอกชนมาเปนอาจารยพิเศษอยางเพียงพอเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนใหเกิดประสิทธิภาพ

2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยูเดิม

มหาวิทยาลัยมีความพรอมดานหนังสือตําราและการสืบคนผานฐานขอมูลหอสมุดกลางมหาวิทยาลัย

โดยความดูแลของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมีหนังสือ ตํารา เฉพาะทางดานรัฐประศาสน-

ศาสตร รวมถึงอุปกรณการเรียนการสอน ดังนี้

2.2.1 หนังสือภาษาไทย จํานวน 590 รายการ ภาษาอังกฤษ จํานวน 100 รายการ

2.2.2 วารสารภาษาไทย จํานวน 10 รายการ

2.2.3 สื่ออิเล็กทรอนิกส

(1) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส (full text)

(2) ฐานขอมูลวิทยานิพนธ ของมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงทั่วโลก (full text)

(3) ฐานขอมูลวิทยานิพนธ ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย (full text)

(4) ฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส Net Library (full text)

(5) ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย

2.2.4 อุปกรณการสอน

(1) โทรทัศน จํานวน 20 เครื่อง

(2) เครื่องฉายวีดิทัศน จํานวน 5 เครื่อง

(3) เครื่องคอมพิวเตอรสําหรับคนควาขอมูล จํานวน 100 เครื่อง

(4) เครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา จํานวน 9 เครื่อง

(5) แผนวีดิทัศนเกี่ยวกับวิชาในหลักสูตร จํานวน 20 แผน

(6) แผนใส ประกอบการสอน

(7) เครื่องสแกนเนอร จํานวน 2 เครื่อง

(8) เครื่องฉายทึบแสง จํานวน 3 เครื่อง

(9) เครื่องฉายแผนใส จํานวน 8 เครื่อง

(10) เครื่องโปรเจ็คเตอร จํานวน 20 เครื่อง

Page 88: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

86 มคอ.2

2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม

ประสานงานกับสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดซื้อหนังสือและตําราทาง

รัฐประศาสนศาสตรเพิ่มเติมโดยใหมีความทันสมัยอยูตลอดเวลา เพื่อบริการใหอาจารยและนักศึกษาไดคนควา

และใชประกอบการเรียนการสอน ในการประสานการจัดซื้อหนังสือนั้น อาจารยผูสอนแตละรายวิชาจะม ี

สวนรวมในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ ตลอดจนสื่ออ่ืน ๆ ที่จําเปน

2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร

อาจารยประจําหลักสูตรและอาจารยผูสอนจะทําการสํารวจถึงความตองการและความจําเปนในการ

จัดหาทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอนและการวิจัยเพิ่มเติม โดยทางหลักสูตรจะประสานงานกับคณะ

มนุษยศาสตรและสังคมศาสตรและมหาวิทยาลัย เพื่อขอใหจัดสรรงบประมาณประจําป ตลอดถึงประสานงาน

ไปยังสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดซื้อจัดหาหนังสือ ตํารา หนังสืออางอิง เอกสาร รวมทั้ง

สื่ออิเล็กทรอนกิสตาง ๆ

3. การบริหารคณาจารย

3.1 การรับอาจารยใหม

3.1.1 จํานวนและคุณสมบัติของอาจารยประจําหลักสูตรจะตองมีมาตรฐานคุณวุฒิ คุณสมบัติ

เหมาะสมและเพียงพอ สัดสวนจํานวนอาจารยตอนักศึกษาตองไมต่ํากวาหลักเกณฑที่กําหนดในประกาศ

กระทรวงศึกษาธิการ

3.1.2 การรับอาจารยใหมตองผานกระบวนการทดสอบความรูความสามารถในดานตาง ๆ และมี

คุณสมบัติที่เหมาะสมเปนไปตามระเบียบและหลักเกณฑของมหาวิทยาลัย

3.1.3 มีการปฐมนิเทศแนะแนวการเปนครูแกอาจารยใหมีความรูและเขาใจนโยบายของคณะฯ และ

มหาวิทยาลัยตลอดจนหลักสูตรที่สอน

3.2 การมีสวนรวมของคณาจารยในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารยผูสอนจะตองมีสวนรวมในการวางแผนจัดการเรียนการสอน

การประเมินผล ตลอดถึงการติดตามและพัฒนาหลักสูตรอยางตอเนื่อง และกําหนดใหมีสวนรวมในการประกัน

คุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอก

3.3 การแตงตั้งคณาจารยพิเศษ

อาจารยพิเศษถือวามีความสําคัญยิ่งเพราะจะเปนผูถายทอดประสบการณตรงทั้งทางทฤษฎีและ

ปฏิบัติใหกับนักศึกษา ดังนั้น หลักสูตรจึงตองใหอาจารยพิเศษที่มีความรูความสามารถเขามาถายทอด

องคความรูในดานการบริหารใหแกนักศึกษา เชน ผูบริหารองคการที่มีชื่อเสียงและเปนที่ยอมรับ ผูบริหาร

Page 89: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

87 มคอ.2

ทองถิ่น (นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล เปนตน)

ทางโปรแกรมวิชาฯ จึงมีนโยบายในการแตงตั้งอาจารยพิเศษมาบรรยายในบางรายวิชาหรือบรรยายรวมกับ

อาจารยประจําในบางรายวิชา

4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน

4.1 การกําหนดคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนง

บุคลากรสายสนับสนุนควรมีวุฒิปริญญาตรีหรือสูงกวา และมีความรูตรงตามตําแหนงงาน

4.2 การเพิ่มทักษะความรูเพื่อการปฏิบัติงาน (อาทิ การฝกอบรม ทัศนศึกษา หรือการฝกการทําวิจัย

รวมกับอาจารย เปนตน)

มีจัดการอบรมและศึกษาดูงานเพื่อเพิม่ประสิทธิภาพในการทํางานตามตําแหนงงาน

5. การสนับสนุนและการใหคําแนะนํานักศึกษา

5.1 การใหคําปรึกษาดานวิชาการ และอ่ืน ๆ แกนักศึกษา

5.1.1 ในภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา จัดใหมีการปฐมนิเทศนักศึกษาใหมเพื่อจัดใหอาจารย

ที่ปรึกษาไดพบกับนักศึกษาใหมเพื่อใหคําปรึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรและการวางแผนการเรียนในหลักสูตรใหกับ

นักศึกษา

5.1.2 การลงทะเบียนเรียนในแตละภาคการศึกษา กําหนดใหนักศึกษาพบอาจารยที่ปรึกษาเพื่อ

ขอคําปรึกษาเกี่ยวกับรายวิชาที่จะลงทะเบียนเรียน

5.1.3 มหาวิทยาลัยกําหนดใหมีตารางเวลาพบอาจารยที่ปรึกษาเปนกรณีเฉพาะในทุก ๆ สัปดาห

5.2 การอุทธรณของนักศึกษา

กรณีที่นักศึกษามีความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใด สามารถที่จะยื่นคํารองขอดู

กระดาษคําตอบในการสอบ ตลอดจนดูคะแนนและวิธีการประเมินของอาจารยในแตละรายวิชาได

6. ความตองการของตลาดแรงงาน สังคม และ/ หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต

จากการศึกษาความเปนไปไดในการปรับปรุงหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง

พุทธศักราช 2559 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พบวา ปจจุบันตลาดแรงงานยังมีความตองการบัณฑิต

ทางดานการบริหารทั้งภาครัฐ (สวนกลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น) และภาคเอกชน การพัฒนาหลักสูตร

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรจึงสนองตอบความตองการ ทุกภาคสวน ตลอดมุงเนนสรางบุคคลากรทางการ

บริหารที่มีความรูความสามารถใหกับองคการระดับทองถิ่นเปนสําคัญ

Page 90: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

88 มคอ.2

การปรับปรุงหลักสูตรภายหลงัไดเปดสอนแลวจะตองกระทําอยางตอเนื่อง โดยมีการสํารวจความตองการ

ตลาดแรงงาน สังคมและความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ทั้งดานเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยความรวมมือ

กับทางมหาวิทยาลัยทําการสํารวจเพื่อสรางเปนฐานขอมูล ในอันที่จะนํามาปรับปรุงหลักสูตรและวางแผน

การรบันักศึกษาตอไป

7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)

เกณฑการประเมิน ดังนี้

ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564

1. อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวม

ในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการ

ดําเนินงานหลักสูตร

-

2. มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคลองกับ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชารัฐประศาสน-

ศาสตร

-

3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ

ภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยางนอย

กอนการเปดสอนในแตละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา

-

4. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผล

การดําเนินการของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ

มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุด ภาค

การศึกษาที่เปดสอนใหครบทุกรายวิชา

-

5. จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.

7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา

-

6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการ

เรียนรู ที่กําหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถามี) อยางนอย

รอยละ 25 ของรายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา

-

7. มีการพัฒนา/ ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการ

สอน หรือการประเมินผลการเรียนรูจากผลการประเมินการ

ดําเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปที่แลว

-

8. อาจารยใหม (ถามี) ทุกคนไดรับการปฐมนิเทศหรือ

คําแนะนําดานการจัดการเรียนการสอน

-

Page 91: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

89 มคอ.2

ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน ปการศึกษา

2560 2561 2562 2563 2564

9. อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/

หรือวิชาชีพอยางนอยปละหนึ่งครั้ง

-

10. จํานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับ

การพัฒนาวิชาการ และ/หรือ วิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ

50 ตอป

-

11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/ บัณฑิตใหมที่มี

ตอคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ยไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม

5.0

12. ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหม เฉลี่ย

ไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

รวมตัวบงชี้ในแตละป 9 10 10 11 3

เกณฑประเมิน

หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ตองผานเกณฑประเมิน ดังนี้ ตัวบงชี้

บังคับ (ตัวบงชี้ที่ 1-5) มีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงชี้ที่มีผลดําเนินการบรรลุ

เปาหมาย ไมนอยกวา 80% ของตัวบงชี้รวม โดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงชี้บังคับและตัวบงชี้รวมในแตละป

Page 92: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

มคอ.2

หมวดที ่8 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน

1.1 การประเมินกลยุทธการสอน

กําหนดใหอาจารยจัดทําประมวลการสอนของรายวิชาที่รับผิดชอบ (มีรายละเอียดของแผนกลยุทธ

และการระบุรายละเอียดของการปรับปรุงประมวลการสอนในแตละป) และปรับปรุงประมวลการสอนทุกภาค

การศึกษา

1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน

ทําการสํารวจเพื่อประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย โดยกําหนดใหนักศึกษาตองประเมิน

อาจารยในแตละรายวิชากอนสิ้นภาคการศึกษาผานทางระบบอินเทอรเน็ตของมหาวิทยาลัย โดยขอมูลจะถูก

ประมวลผลและสงใหอาจารยผูสอนแตละคนในภาคการศึกษาถัดไป เพื่อใชเปนผลปอนกลับในการปรับปรุง

การสอนตอไป

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม

2.1 โดยนักศึกษาปจจุบันและบัณฑิตที่จบการศึกษาในหลักสูตร

2.1.1 ตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินงานประเมินหลักสูตรอยางเปนระบบ

2.1.2 ดําเนินการสํารวจขอมูลเพื่อทําการประเมินหลักสูตร (อาจารย รายวิชา ทรัพยากร การเรียน

การสอน เปนตน) จากนักศึกษาปจจุบันและบัณฑิตที่จบการศึกษาโดยมีประธานหลักสูตรเปนผูรับผิดชอบและ

ทําการติดตามการแกไขปรับปรุง

2.2 โดยผูใชบัณฑิต หรือนายจาง

2.2.1 ตั้งคณะกรรมการเพ่ือดําเนินงานประเมินหลักสูตรอยางเปนระบบ

2.2.2 สํารวจผูใชบัณฑิตและทําการประเมินความพึงพอใจที่มีตอบัณฑิตของผูใชบัณฑิตหรือนายจาง

โดยใชแบบประเมินความพึงพอใจของผูใชบัณฑิต ตามรูปแบบและหลักเกณฑของมหาวิทยาลัย

2.3 โดยผูทรงคุณวุฒิหรือที่ปรึกษาหลักสูตร

การประเมินผลคุณภาพการศึกษาโดยผูทรงคุณวุฒิหรือที่ปรึกษาหลักสูตร จากหนวยงานภายใน

มหาวิทยาลัยและภายนอกที่เก่ียวของ

Page 93: หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร ...human.skru.ac.th/data1/curriculums_file/r60.pdfหล กส ตรร ฐประศาสนศาสตรบ

91 มคอ.2

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร

ตองผานการประกันคุณภาพหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีและ

ตัวบงชี้เพิ่มเติมขางตน รวมทั้งการผานการประเมินการประกันคุณภาพภายใน

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง

กําหนดเปนแผนกลยุทธในการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อใหหลักสูตรที่ปรับปรุงใหมมีรูปแบบและรายละเอียด

เปนไปตามผลที่ไดจากการประเมินสวนหนึ่งและจากการศึกษาในเชิงวิชาการในเรื่องของการศึกษาอีกสวนหนึ่ง

ซึ่งจะนํามาใชในการปรับปรุงหลักสูตร โดยคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรเปนผูรับผิดชอบดําเนินการ ทั้งนี้

อยูภายใตกรอบของการประกันคุณภาพการศึกษาดวย