8
794 การศึกษาการเลือกที่ตั้งคลังสินค้าโดยใช้เทคนิค กระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะห์ ธนวันต์ วงศ์พันธุ์เที่ยง อาจารย์ ดร.ณัฐพัชร์ อารีรัชกุลกานต์ บทคัดย่อ วิทยานิพนธแนี้มีวัตถุประสงคแเพื่อศึกษาการประยุกตแใชเทคนิคกระบวนการลําดับชั้นเชิง วิเคราะหแเพื่อเลือกที่ตั้งคลังสินคาของบริษัทผูใหบริการทางดานโลจิสติกสแหงหนึ่งซึ่งประสบปโญหา คลังสินคาที่มีอยูไมเพียงพอตอการสนองตอบความตองการของลูกคาที่มีจํานวนเพิ่มขึ้นและมีที่ตั้งกระจาย อยูหลายแหง ทําใหมีคาใชจายในการขนสงเพิ่มขึ้นตามระยะทางจากคลังสินคาไปยังลูกคาแตละราย ผล จากการประยุกตแใชเทคนิคกระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะหแ และโปรแกรมสําเร็จรูป Expert Choice สรุป ไดวาปโจจัยที่มีผลมากในการตัดสินใจเลือกที่ตั้งคลังสินคา อันดับแรกคือตนทุนคาขนสงที่มีคาเฉลี่ยของ น้ําหนักความสําคัญ 0.208 หรือ 20.8 % รองมาคือตนทุนการดําเนินการที่มีคาเฉลี่ยของน้ําหนัก ความสําคัญ 0.207 หรือ 20.7 % ความพรอมของระบบสาธารณูปโภคมีคาเฉลี่ยของน้ําหนักความสําคัญ 0.146 หรือ 14.6% และผลจากการวิเคราะหแทางเลือกในแตละปโจจัยสรุปหาที่ตั้งที่เหมาะสมที่สุดในการ เป็นที่ตั้งคลังสินคาแหงใหมคือ อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยาโดยมีคาเฉลี่ยน้ําหนักความสําคัญอยูที0.341 หรือ 34.1% รองมาคือ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ซึ่งมีคาเฉลี่ยน้ําหนักความสําคัญอยูที่ 0.241 หรือ 24.1% และถ.กิ่งแกว จ.สมุทรปราการมีคาเฉลี่ยน้ําหนักความสําคัญอยูที่ 0.202 หรือ 20.2 % ตามลําดับ 1. บทนํา คลังสินคาถือเป็นสวนสําคัญในการดําเนินธุรกิจในปโจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ ประกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมจําเป็นตองมีคลังสินคาไวรองรับการเก็บวัตถุดิบเพื่อสนับสนุนการ ผลิตหรือไวเพื่อจัดเก็บสินคาสําเร็จรูปจากกระบวนการผลิตเพื่อเตรียมไวสงมอบใหกับลูกคาตอไป คลังสินคายังเป็นสวนชวยใหองคแกรสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางใกลชิด ชวย สนับสนุนการประหยัดคาขนสง หรือเพื่อการดํารงไวซึ่งโอกาสทางธุรกิจขององคแกรนั้นๆ ไดปโจจุบันนี นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการโซ่อุปทานแบบบูรณาการ มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์ ที ่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก DPU

DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

794

การศึกษาการเลือกทีต่ั้งคลังสินค้าโดยใชเ้ทคนิค กระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะห์

ธนวันต์ วงศ์พันธุ์เที่ยง

อาจารย์ ดร.ณัฐพัชร์ อารีรัชกุลกานต์

บทคัดย่อ วิทยานิพนธแนี้มีวัตถุประสงคแเพื่อศึกษาการประยุกตแใชเทคนิคกระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะหแเพื่อเลือกที่ตั้งคลังสินคาของบริษัทผูใหบริการทางดานโลจิสติกสแแหงหนึ่งซึ่งประสบปโญหาคลังสินคาที่มีอยูไมเพียงพอตอการสนองตอบความตองการของลูกคาที่มีจํานวนเพิ่มขึ้นและมีที่ตั้งกระจายอยูหลายแหง ทําใหมีคาใชจายในการขนสงเพิ่มขึ้นตามระยะทางจากคลังสินคาไปยังลูกคาแตละราย ผลจากการประยุกตแใชเทคนิคกระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะหแ และโปรแกรมสําเร็จรูป Expert Choice สรุปไดวาปโจจัยที่มีผลมากในการตัดสินใจเลือกที่ตั้งคลังสินคา อันดับแรกคือตนทุนคาขนสงที่มีคาเฉล่ียของน้ําหนักความสําคัญ 0.208 หรือ 20.8% รองมาคือตนทุนการดําเนินการที่มีคาเฉล่ียของน้ําหนักความสําคัญ 0.207 หรือ 20.7% ความพรอมของระบบสาธารณูปโภคมีคาเฉล่ียของน้ําหนักความสําคัญ 0.146 หรือ 14.6% และผลจากการวิเคราะหแทางเลือกในแตละปโจจัยสรุปหาที่ตั้งที่เหมาะสมที่สุดในการเป็นที่ตั้งคลังสินคาแหงใหมคือ อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยาโดยมีคาเฉล่ียน้ําหนักความสําคัญอยูที่ 0.341 หรือ 34.1% รองมาคือ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ซึ่งมีคาเฉล่ียน้ําหนักความสําคัญอยูที่ 0.241 หรือ 24.1% และถ.กิ่งแกว จ.สมุทรปราการมีคาเฉล่ียน้ําหนักความสําคัญอยูที่ 0.202 หรือ 20.2 % ตามลําดับ

1. บทนํา คลังสินคาถือเป็นสวนสําคัญในการดําเนินธุรกิจในปโจจุบันโดยเฉพาะอยางย่ิงในการประกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมจําเป็นตองมีคลังสินคาไวรองรับการเก็บวัตถุดิบเพื่อสนับสนุนการผลิตหรือไวเพื่อจัดเก็บสินคาสําเร็จรูปจากกระบวนการผลิตเพื่อเตรียมไวสงมอบใหกับลูกคาตอไป คลังสินคายังเป็นสวนชวยใหองคแกรสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางใกลชิด ชวยสนับสนุนการประหยัดคาขนสง หรือเพื่อการดํารงไวซึ่งโอกาสทางธุรกิจขององคแกรนั้นๆ ไดปโจจุบันนี้

นักศึกษาหลักสตูรวิทยาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาการจัดการโซ่อปุทานแบบบูรณาการ มหาวิทยาลยัธรุกจิ บณัฑติย์

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธห์ลัก

DPU

Page 2: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

795

โรงงานอุตสาหกรรมโดยทั่วไปมักไมนิยมที่จะสรางคลังสินคาเองเพื่อจัดเก็บวัตถุดิบหรือสินคาเองทั้งหมดมีเพียงคลังสินคายอยเพื่อจัดเก็บสินคาไวเพียงพอตอการ สนับสนุนการผลิตในแตละวันเทานั้น ผูใหบริการดานคลังสินคาจึงเขามามีบทบาทในระบบโซอุปทานของโรงงานอุตสาหกรรมเป็นอยางมากโดยเฉพาะอยางย่ิงในอุตสาหกรรมชิ้นสวนเล็กทรอนิกสแที่มีความตองการผันผวนอยูตลอดเวลาและตองการการสงมอบวัตถุดิบหรือสินคาแบบทันเวลาพอดี 1.1 ที่มาและความสําคัญของปํญหา บริษัทฯกรณีศึกษาเป็นบริษัทที่ใหบริการทางดานโลจิสติกสแและใหบริการทางดานคลังสินคาครบวงจรทั้งการดําเนินพิธีการทางศุลกากร การขนสงสินคา และบริการใหเชาคลังสินคาดวยกลุมลูกคาสวนใหญที่เป็นโรงงานผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสแและเครื่องใชไฟฟูาบริษัทฯไดมีการเติบโตทางธุรกิจอยางรวดเร็วทําใหตองหาลูทางในการขยายพื้นที่การใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะอยางย่ิงการใหบริการคลังสินคาที่จําเป็นจะตองตอบสนองลูกคากลุมผูผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสแไดแบบทันเวลา บริษัทฯจําเป็นจะตองมองหาทําเลที่ตั้งใหมของคลังสินคาอันเนื่องจากเหตุผลตอไปนี้ 1. ยอดสินคาคงคลังและจํานวนลูกคาที่เพิ่มขึ้น 2. ตนทุนการขนสงที่เพิ่มขึ้น 3. ความตองการในการตอบสนองลูกคาที่รวดเร็วขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปโจจัยท่ีมีผลตอการเลือกทําเลท่ีตั้งคลังสินคา 2. เพื่อเลือกทําเลท่ีตั้งคลังสินคาเพื่อลดตนทุนการขนสงและตอบสนองความตองการ ของลูกคาไดรวดเร็วขึ้น 1.3 ขอบเขตการวิจัย 1. ทําการเก็บรวบรวมขอมูลดวยการสัมภาษณแกับผูบริหารที่มีสวนเกี่ยวของกับการ ตัดสินใจกับเลือกทําเลที่ต้ังของคลังสินคา 2. นําเอากระบวนการตัดสินใจลําดับชั้นเชิงวิเคราะหแ (AHP) มาประยุกตแใชในการเลือกทําเลที่ต้ังคลังสินคา 3. ผลของการวิจัยท่ีไดใชเพื่อเป็นแนวทางในการเลือกทําที่ตั้งคลังสินคาใหกับบริษัท กรณีศึกษาเทานั้น แตอาจไมใชการตัดสินใจสุดทายของผูบริหารของบริษัทกรณีศึกษา

2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง 2.1 ความหมายและความสําคัญในการเลือกทําเลที่ตั้งคลังสินค้า มีนักวิชาการชาวตางประเทศหลายทานไดใหความหมายของการเลือกทําเลที่ตั้งตัวอยางเชน ไรดแ และซันเดอรแ (Ried & Sanders, 2002, หนา 258) กลาววา การเลือกทําเลที่ตั้ง หมายถึง การระบุที่ตั้ง

DPU

Page 3: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

796

ทางภูมิศาสตรแที่ดีที่สุดสําหรับสถานประกอบการของบริษัท จากความหมายที่อางถึงนั้น สรุปไดวา การเลือกทําเลที่ตั้ง หมายถึง การเสาะแสวงหาแหลงที่ตั้งของสถานประกอบการโดยพิจารณาทุกปโจจัยที่เกี่ยวของเพื่อใหได ที่ตั้งทางภูมิศาสตรแที่ดีที่สุดสําหรับการดําเนินงานของธุรกิจ ซึ่งเปูาหมายของการเลือกทําเลที่ต้ัง อาจไมใชแหลงที่ดีที่สุด แตเนื่องจากเงื่อนไขและขอจํากัดดานเวลาสงผลใหผูประกอบการตองทําการตัดสินใจในการเลือกทําเลนั้นๆ 1. การเลือกทําเลที่ตั้งตามแนวทางมหภาค (Macro Approaches) เป็นการวิเคราะหแเพื่อเลือกทําเลที่ตั้งหรือพื้นที่ขนาดใหญ ในระดับประเทศหรือในระดับภูมิภาค โดยสวนใหญใชสําหรับในการเลือกทําเลที่ตั้งของศูนยแกระจายสินคา อางอิงถึงแนวทางของ Edgar M. Hoover ไดเสนอกลยุทธแการเลือกทําเลที่ต้ังคลังสินคาไว 3 ประเภทคือ 1) กลยุทธแทําเลที่ต้ังใกลตลาด (Market-Positioned Strategy) 2) กลยุทธแทําเลที่ต้ังใกลแหลงผลิต (Production-Positioned Strategy) 3) กลยุทธแทําเลที่ตั้งอยูระหวาง (Intermediately-Positioned Strategy) กลยุทธแนี้จะกําหนดใหตั้งคลังสินคาอยูตรงกลางระหวางแหลงผลิตและตลาด 2. การเลือกทําเลที่ตั้งสําหรับแนวทางจุลภาค (Micro Approaches) เป็นการเลือกทําเลที่ตั้งแบบเฉพาะเจาะจงจากพื้นที่ๆ ไดเลือกไวแลว สวนมากเหมาะสําหรับการเลือกที่ตั้งคลังสินคาซึ่งมีปโจจัยตางๆ ที่ตองพิจารณาดังตอไปนี้ 1) สําหรับธุรกิจที่ตองการใชคลังสินคาเอกชน มีปโจจัยท่ีตองพิจารณาคือ 1.1 คุณภาพและความหลากหลายของยานพาหนะที่ใชในการขนสง 1.2 คุณภาพ และ จํานวนของแรงงานและอัตราคาจาง 1.3 คุณภาพของเขตอุตสาหกรรมท่ีสงผลตอส่ิงแวดลอมชุมชน และสาธารณูปโภค 1.4 เงินลงทุน ตนทุนคากอสราง ศักยภายในการขยายพื้นที่และสิทธิประโยชนแทางภาษี 2) สําหรับธุรกิจที่ตองการใชคลังสินคาสาธารณะ มีปโจจัยท่ีตองพิจารณาคือ 2.1 ลักษณะและบริการของคลังสินคา 2.2 ความเพียงพอในการใหบริการในเรื่องการขนสง เชน ยานพาหนะ ระยะทางในการขนสง เป็นตน 2.3 คุณภาพของระบบสารสนเทศ เทคโนโลยี และโทรคมนาคม 2.4 ประเภทของการรายงานสินคาคงคลังรวมถึงความถี่ในการรายงาน 2.2 ปํจจัยในการพิจารณาเลือกทําเลที่ตั้งคลังสินค้า ในการตัดสินใจเลือกทําเลที่ตั้งคลังสินคาคอนขางมีกระบวนที่ซับซอนและหลายขั้นตอน อาจมีปโจจัยอื่นเขามามีอิทธิตอการตัดสินใจ ปโจจัยพิจารณาในเชิงคุณภาพ หมายถึงปโจจัยไม

DPU

Page 4: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

797

2.2.1 อาจวัดออกมาในรูปของประมาณเป็นตัวเลขไดอยางชัดเจน เป็นปโจจัยที่ไมมีตัวตน แตก็มีอิทธิพลอยางสําคัญไดแก แหลงสินคา เสนทางคมนาคม แรงงาน ทัศนคติชุมชน บริการสาธารณะ ส่ิงแวดลอม และโอกสาสในอนาคตเป็นตน 2.2.2 ปโจจัยพิจารณาในเชิงปริมาณหมายถึงปโจจัยเกี่ยวกับทําเลที่ตั้งที่สามารถวัดไดเป็นตัวเลข ซึ่งมักแสดงในรูปของตัวเงินที่เรียกวาตนทุนเป็นปโจจัยทางเศรษฑกิจ ไดแก ตนทุนเกี่ยวกับคาที่ดิน การกอสราง แรงงาน วิธีการขนสงวัตถุดิบและสินคาสําเร็จรูป ระยะทางระหวางโรงงานกับผูขายหรือแหลงทรัพยากร ใกลกับสิ่งอํานวยความสะดวก เป็นตน 2.3 กระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytic Hierarchy Process หรือ AHP) การดําเนินการของวิธี AHP ประกอบดวยขั้นตอน 4 ประการ คือ 2.3.1 การสลายปโญหาที่ซับซอน (Decomposition) ใหอยูในรูปของแผนภูมิ โครงสรางเป็นลําดับชั้น (Hierarchy Structure) แตละระดับชั้นประกอบไปดวยเกณฑแในการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับปโญหานั้น ระดับชั้นบนสุดเรียกวาเปูาหมาย โดยรวมซึ่งมีเพียงปโจจัยเดียวเทานั้น ระดับชั้นที่ 2 อาจมีหลายปโจจัยขึ้นอยูกับวาแผนภูมินั้นมีทั้งหมดกี่ระดับชั้น ที่สําคัญที่สุดปโจจัยตางๆ ในระดับชั้นเดียวกันตองมีความสําคัญทัดเทียมกัน ถามีความสําคัญแตกตางกันมากควรแยกเอาปโจจัยที่มีความสําคัญนอยกวาลงไปอยูระดับชั้นที่อยูถัดลงไป 2.3.2 การหาลําดับความสําคัญ (Prioritization) โดยการเปรียบเทียบความสัมพันธแทีละคู (Pairwise Comparisons)

รูปโครงสรางของกระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะหแ AHP

2.3.3 การสังเคราะหแ (Synthesis) โดยการพิจารณาจากลําดับความสําคัญทั้งหมดจาก การปรียบเทียบวาทางเลือกใดควรไดรับเลือกกระบวนการวิเคราะหแของ AHP

DPU

Page 5: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

798

2.3.4 การวิเคราะหแความออนไหวของทางเลือกที่มีตอปโจจัยในการวินิจฉัย (Sensitivity Analysis) จะทําการทดสอบหลังจากเสร็จจากกระบวนการทั้งหมด เป็นการพิจารณาวาเมื่อขอมูลมีการเปลี่ยนแปลงทางดานเกณฑแการตัดสินใจหรือปโจจัยใดปโจจัยหนึ่ง จะทําใหอันดับความสําคัญของทางเลือกมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม 2.4 โปรแกรมสําเร็จรูป Expert Choice โปรแกรม Expert Choice ที่ชวยสนับสนุนในการตัดสินใจ (Decision Support Application Program) ลักษณะการทํางานเป็นแบบแขนงการตัดสินใจในลักษณะ Hierarchical คือ มีการเรียงลําดับตามความสําคัญลงมา Expert Choice เหมาะกับการนําไปสนับสนุนการตัดสินใจในกรณีทาการตัดสินใจที่มีวัตถุประสงคแหลากหลาย (Multi Objective Programming) ปโจจุบันโปรแกรม Expert Choice ไดถูกพัฒนาปรับปรุงใหสามารถสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุมได โดยอาศัยหลักของการจัดการแบบจําลองที่เรียกวา “Analytical Hierarchy Process หรือ AHP” ซึ่งมีข้ันตอนสําคัญเรียงลําดับกันดังนี้ ขั้นที่ 1 การระบุปโญหา และกําหนดวัตถุประสงคแ ขั้นที่ 2 เป็นการกําหนดเกณฑแตางๆ ที่จะใชเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคแนั้น ขั้นที่ 3 เป็นการกําหนดทางเลือกตางๆ เพื่อใหระบบชวยตัดสินใจเลือกให

3. วิธีการดําเนินการวิจัย 3.1 วิธีการศึกษา ใชการสํารวจขอมูลความตองการและปโจจัยในการตัดสินใจเลือกทําเลที่ตั้งคลังสินคาโดยการสัมภาษณแและทําแบบสอบถามของผูบริหารระดับสูงของบริษัทกรณีศึกษาเมื่อไดขอมูลแลวจึงนํามาวิเคราะหแโดยใชวิธีแบบ AHP เพื่อทําการเลือกท่ีตั้งคลังสินคาที่เหมาะสมที่สุด 3.2 ประชากร กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษานี้คือบริษัทผูใหบริการดานคลังสินคาที่ใหบริการกับลูกคาในกลุมที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรมมากกวาสิบรายในเขตภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กับกลุมประชากรในพื้นที่ที่จะทําการเลือกเป็นพื้นที่ตั้งคลังสินคาอันประกอบดวยเจาหนาที่ของบริษัทลูกคาและหนวยราชการหรือองคแกรที่เกี่ยวของในการใหขอมูลเพื่อการวิเคราะหแและตัดสินใจ 3.3 วิธีการศึกษาโดยใชเทคนิคกระบวนการวิเคราะหแเชิงลําดับชั้น 3.3.1 กําหนดวัตถุประสงคแของปโญหาท่ีตองทําใหตองมีกระบวนการตัดสินใจในที่นี้คือการเลือกทําเลที่ต้ังคลังสินคาแหงใหม 3.3.2 สรางรูปแบบของโครงสรางปโญหาในรูปแบบของแผนภูมิลําดับชั้นที่ประกอบดวย 3.3.3 วิเคราะหแเปรียบเทียบปโจจัยในรูปของตารางเมเทริกซแเปรียบเทียบปโจจัยเป็นคูๆ

DPU

Page 6: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

799

3.3.4 กําหนดน้ําหนักความสําคัญของแตละเกณฑแการตัดสินใจ เนื่องจากแตละปโจจัยหรือเกณฑแในการตัดสินใจมีความสําคัญตอเปูาหมายหรือวัตถุประสงคแไมเทากันดังนั้นจึงตองทําการเปรียบเทียบน้ําหนักความสําคัญของแตละปโจจัย 3.3.5 คํานวณหาน้ําหนักความสําคัญของปโจจัย (Normalized Weight) และคาดัชนีความสอดคลอง (Consistency Index) หรือ C.I. 3.3.6 ทําการเปรียบเทียบในทุกปโจจัยรองดวยวิธีการเดียวกัน 3.3.7 ทําการวิเคราะหแน้ําหนักความสําคัญของปโจจัยหรือเกณฑแในแตละทางเลือกเพื่อสรุปหาทางเลือกที่ดีท่ีสุดใหไดตรงกับเปูาหมายที่ต้ังไว 1. ผลการศึกษา หลังการเก็บรวบรวมขอมูลขั้นตอนตอไปผูวิจัยจะไดทําการนําขอมูลที่ไดไปทําการวิเคราะหแซึ่งไดเลือกเทคนิคการวิเคราะหแตามกระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะหแ (Analytic Hierarchy Process หรือ AHP) และโปรแกรมสําเร็จรูป Expert Choice เพื่อคัดสรรหาทําเลที่ตั้งคลังสินคาที่เหมาะสมโดยลําดับการวิเคราะหแจะเริ่มจาก 1.1 วิเคราะหแขอมูลความสําคัญของเกณฑแหรือปโจจัยที่ใชในการพิจารณา เลือกทําเล ที่ต้ังคลังสินคา 1.2 วิเคราะหแขอมูลความสําคัญของทางเลือกในแตละเกณฑแ

จากการวิเคราะหแขอมูลสรุปผลของเกณฑแ และทางเลือก ไดดังตอไปนี้

DPU

Page 7: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

800

1. ลําดับความสําคัญของของเกณฑแสามารถสรุปคาน้ําหนักความสําคัญไดดังนี้ อันดับที่ 1 คาขนสง โดยมีน้ําหนักอยูที่ 20.8% อันดับที่ 2 ตนทุนในการดําเนินการ โดยมีน้ําหนักอยูที่ 20.7% อันดับที่ 3 สาธารณูปโภค โดยมีน้ําหนักอยูที่ 14.6% อันดับที่ 4 การเขาถึงลูกคา โดยมีน้ําหนักอยูที่ 14.0% อันดับที่ 5 สภาพภูมิประเทศและส่ิงแวดลอม โดยมีน้ําหนักอยูที่ 9.9% อันดับที่ 6 แรงงาน โดยมีน้ําหนักอยูที่ 7.5% อันดับที่ 7 ตนทุนดานที่ดิน โดยมีน้ําหนักอยูที่ 5.5% อันดับที่ 8 โอกาสในการขยายธุรกิจ โดยมีน้ําหนักอยูที่ 3.6% อันดับที่ 9 การใกลไกลแหลงชุมชน โดยมีน้ําหนักอยูที่ 3.3% 2. ลําดับความสําคัญของของทางเลือกสามารถสรุปคาน้ําหนักความสําคัญไดดังนี้ อันดับที่ 1 วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา โดยมีน้ําหนักอยูที่ 34.1% อันดับที่ 2 คลองหลวง จ.ปทุมธานี โดยมีน้ําหนักอยูที่ 24.1% อันดับที่ 3 กิ่งแกว จ.สมุทรปราการ โดยมีน้ําหนักอยูที่ 20.2% อันดับที่ 4 ลาดหลุมแกว จ.ปทุมธานี โดยมีน้ําหนักอยูที่ 11.7% อันดับที่ 5 บางบัวทอง จ.นนทบุรี โดยมีน้ําหนักอยูที่ 9.9%

2. สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ ผลจากการใชเทคนิคกระบวนการวิเคราะหแเชิงลําดับชั้นมาชวยในการตัดสินใจเลือกทําเลที่ตั้งคลังสินคาของบริษัทฯพบวาทําเลอําเภอวังนอยเป็นทําเลที่เหมาะสมที่สุดที่สามารถตอบสนองปโจจัยตางๆ ที่สําคัญในการตัดสินใจเลือกทําเลท่ีตั้งคลังสินคาตามความคิดของผูบริหารของบริษัทฯได การใชเทคนิค AHP มาชวยในการตัดสินใจสามารถทําใหผูทําการตัดสินใจสามารถเปรียบเทียบน้ําหนักความสําคัญของแตละปโจจัยที่ผลตอการเลือกทําเลที่ตั้งไดอยางละเอียดทําใหกระบวนการตัดสินใจทําไดงายขึ้น ขณะเดียวกันยังสามารถตรวจสอบความสอดคลองของการเปรียบเทียบวามีแนวโนมที่สอดคลองกันหรือไม ทําใหขอมูลในการตัดสินใจนาเชื่อถือย่ิงขึ้น อยางไรก็ตามการศึกษานี้เป็นเพียงแนวทางชวยในการตัดสินใจเทานั้นการตัดสินใจเลือกทําเลที่ตั้งคลังสินคาจริงอาจขึ้นอยูกับปโจจัยนอกเหนือจากที่ไดระบุไวในงานวิจัยนี้ เชนงบประมาณของบริษัทฯ นโยบายหรือความตองการของผูบริหารสูงสุดเป็นตน

DPU

Page 8: DPUlibdoc.dpu.ac.th/mtext/article/516952.pdf1. การเล อกท าเลท ต งตามแนวทางมหภาค (M acro Approaches) เป นการว เคราะหแเพ

801

บรรณานุกรม

ภาษาไทย หนังสือ

คํานาย อภิปรัชญาสกุล. (2546). คลังสินค้า และศูนย์กระจายสนิค้า. กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย

แอนดแ พับลิชชิ่ง.

_____ . (2550). โลจิสติกส์และการซัพพลายเชนกลยยุทธ์สาํหรับลดต้นทุน และเพ่ิมกาํไร. กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนดแ พับลิชชิ่ง.

ทวีศักดิ์ เทพพิทักษแ. (2554). การจัดการโลจิสตกิส์และซัพพลายเชน. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ทพลัส.

วิทยานิพนธ์

นารีรัตนแ โพธิกุล. (2548). การประยุกต์ใช้กระบวนการลําดับชัน้เชิงวิเคราะหใ์นการเลือกที่ตั้งคลังสินค้า.

วิทยานิพนธแปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการดานโลจิสติกสแ.

กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณแมหาวิทยาลัย.

อภิชาต โสภาแดง และรุจิเรข พงษแเจริญ. (2549). การใชก้ระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะห์

เพื่อประเมินปํจจัยเชิงกลยุทธ์ดา้นการขนส่ง. วิทยานิพนธแปรญิญามหาบัณฑิต

สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ภาษาต่างประเทศ

BOOKS F. Tunç Bozbura. (2006). Prioritization of human capital measurement indicators using fuzzy AHP.B.C. IE. Turkey. Bahecsehir University. Lau Hui Seng. (2008). The Selection of Construction Project Manager by Using Analytical Hierarchy Process (AHP). M.S.c. Malaysia. University Teknologi.

DPU