24
คคค คคคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคค 180212 คคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคค (Introduction to Pharmaceutical Technology) คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคคค คคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคคค คคคคคคคคคคคคคคคค ค.ค. 2562 (คคคคคคคค 6 คค) 1

1. ELO ของหลักสูตร · Web viewPharmaceutical formulation development of peptides and proteins, 1st ed. Philadelphia: Taylor & Francis; 2000. p. 189-205. Lieberman

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

แผนการเรียนรู้ของรายวิชา

180212 บทนำสู่เทคโนโลยีเภสัชกรรม

(Introduction to Pharmaceutical Technology)

หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562

(หลักสูตร 6 ปี)

รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification)

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา เภสัชศาสตร์

หมวดที่1 ข้อมูลทั่วไปของรายวิชา

1. รหัสและชื่อรายวิชา 180212 บทนำสู่เทคโนโลยีเภสัชกรรม (Introduction to Pharmaceutical Technology)

2. จำนวนหน่วยกิต 2 (2-0-4)

3. คำอธิบายรายวิชา

ภาพรวมของกระบวนการผลิตเภสัชภัณฑ์ ความหมายและหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ ที่ใช้ในเภสัชภัณฑ์ การแบ่งรูปแบบเภสัชภัณฑ์ตามลักษณะทางกายภาพ ตามความปราศจากเชื้อ และตามการผลิต ภาพรวมการผลิตยา ภาพรวมมาตรฐานและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเภสัชภัณฑ์ในระดับอุตสาหกรรม และการเตรียมยาในโรงพยาบาล การแปลความหมายภาษาลาติน รวมทั้งคำย่อที่มักใช้ในใบสั่งยา การคำนวณเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องในการเตรียมยา และการคำนวณขนาดใช้ยา

Overview of pharmaceutical production; definition and function of various excipients in pharmaceutical preparations; classification of pharmaceutical preparations based on physical appearance, sterility and process; overview of process, standards and regulations involved in manufacturing in pharmaceutical industry and compounding in hospital; translation of Latin and abbreviations used in prescriptions; basic calculations for pharmaceutical compounding and dosage calculations

4. ประเภทของรายวิชา [วิชาบังคับ] [เลือก] หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพ วิชาด้านผลิตภัณฑ์

หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาลทางเภสัชกรรม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562

5. ภาคการศึกษา/ปีการศึกษา 1/2563 ชั้นปีที่ 2

6. อาจารย์ที่รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

รศ.ดร.ภญ. ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์ ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม ติดต่อห้อง ภ. 2106 โทร 1877

ผศ.ดร.ภก. วรวุฒิ เกรียงไกร ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม ติดต่อห้อง ภ. 2106 โทร 1880

อาจารย์ผู้สอน (เปิดสอน 1 กลุ่ม)

รศ.ดร.ภญ. ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์ e-mail: [email protected]

รศ.ดร.ภญ. อรสร สารพันโชติวิทยา e-mail: [email protected]

ผศ.ดร.ภญ. อโณทัย ตั้งสำราญจิต e-mail: [email protected]

ผศ.ดร.ภก.อัษฎางค์ พลนอก e-mail: [email protected]

ผศ.ดร.ภก.สรวุฒิ รุจิวิพัฒน์ e-mail: [email protected]ผศ.ดร.ภก. วรวุฒิ เกรียงไกร e-mail: [email protected]

ผศ.ภก.อรรถวิทย์ สมศิริ e-mail: [email protected]

ดร.ภญ. สุภาวดี พาหิระ e-mail: [email protected]

7. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) [ไม่มี] [มี ระบุ.....................................]

8. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co- requisites) (ถ้ามี) [ไม่มี][มี ระบุ.....................................]

9. สถานที่เรียน

ช่วง 22 มิ.ย. 63 ถึง 31 ก.ค. 63 สอนรูปแบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Microsoft Team โดยใช้ code ”kumbcog” (ห้องสำหรับการอัดวีดีโอ และควบคุมการสอนออนไลน์ PHA 2103)

ช่วง 1 ส.ค.63 ถึง 30 ก.ย. 63 สอนในชั้นเรียนปกติ ห้องเรียน ไชยาฯ 1 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

วันพฤหัสที่ 1 และ 8 ต.ค.63 สอนในชั้นเรียนปกติ แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อย ห้องเรียน PHA1308, 6306, 6307, และ 6203 (ไชยาฯ.3)

10. วันเดือนปีที่ปรับปรุงเนื้อหาสาระรายวิชา

ไม่มี (รายวิชาใหม่)

หมวดที่ 2 รายละเอียดเนื้อหาและการจัดการเรียนการสอน

1. ELO ของหลักสูตร 1) รอบรู้ในสาขาวิชาการบริบาล ทางเภสัชกรรมและศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ได้ อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ (PLO2)

2) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (PLO 7)

2. CLO ของรายวิชา

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้วนักศึกษาสามารถ (CLOs= understanding 1-2, applying 3, analyzing 4)

CLO 1: สามารถอธิบายภาพรวมของกระบวนการผลิตเภสัชภัณฑ์ในภาคอุตสาหกรรมและการเตรียมยาในโรงพยาบาล (อธิบายแนวทางการพัฒนาเภสัชภัณฑ์จนถึงการขึ้นทะเบียน) รวมทั้ง อธิบายหลักการและความสำคัญของ GMP หรือระบบคุณภาพที่สำคัญอื่นๆ ในการผลิตการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพของยาที่ผลิตใน ภาคอุตสาหกรรมและใน โรงพยาบาลได้ (understanding) (SSLO)

CLO 2: สามารถอธิบายความหมายและหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ ที่ใช้ในเภสัชภัณฑ์ และสามารถอธิบายความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยารูปแบบต่างๆ ได้ (understanding) (SSLO)

CLO 3: สามารถอ่านและแปลความหมายของตัวย่อภาษาละตินที่ใช้สูตรตำรับและในใบสั่งยาได้ (understanding) (SSLO)

CLO 4: สามารถคำนวณค่าต่างๆ ที่นำไปใช้ในการเตรียมยาตามสูตรตำรับได้ (understanding) (SSLO)

CLO 5: สามารถคำนวณขนาดใช้ยา (dosage) ได้ (understanding) (SSLO)

CLO 6: สามารถเลือกแหล่งข้อมูลเพื่อการตั้งตำรับ และการเตรียมยาได้อย่างเหมาะสม (understanding, applying) (GLO, SSLO)

3. ตารางความสัมพันธ์ของการจัดการการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ที่คาดหวังกับรายวิชา (CLOs)

CLO

วิธีการจัดการสอน/ประสบการณ์เรียนรู้

วิธีการวัดผลลัพธ์การเรียนรู้

CLO 1: สามารถอธิบายภาพรวมของกระบวนการผลิตเภสัชภัณฑ์ในภาคอุตสาหกรรมและการเตรียมยาในโรงพยาบาล (อธิบายแนวทางการพัฒนาเภสัชภัณฑ์จนถึงการขึ้นทะเบียน) รวมทั้ง อธิบายหลักการและความสำคัญของ GMP หรือระบบคุณภาพที่สำคัญอื่นๆ ในการผลิตการประกันคุณภาพและควบคุมคุณภาพของยาที่ผลิตใน ภาคอุตสาหกรรมและใน โรงพยาบาลได้

- บรรยายแบบมีปฏิสัมพันธ์

- การยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง

- การมอบหมายงานเดี่ยว หรือกลุ่ม

- ฝึกทำแบบฝึกหัด

การสอบกลางภาค

แบบฝึกหัด

CLO 2: สามารถอธิบายความหมายและหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆ ที่ใช้ในเภสัชภัณฑ์ และสามารถอธิบายความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยารูปแบบต่างๆ ได้

- บรรยายแบบมีปฏิสัมพันธ์

- การยกตัวอย่างยาในท้องตลาด

- ฝึกทำแบบฝึกหัด

การสอบกลางภาค

แบบฝึกหัด

CLO 3: สามารถอ่านและแปลความหมายของตัวย่อภาษาละตินที่ใช้สูตรตำรับและในใบสั่งยาได้

- บรรยายแบบมีปฏิสัมพันธ์

- การยกตัวอย่างใบสั่งยาเพื่อให้ฝึกการอ่าน

การสอบกลางภาค

CLO 4: สามารถคำนวณค่าต่างๆ ที่นำไปใช้ในการเตรียมยาตามสูตรตำรับได้

- บรรยายแบบมีปฏิสัมพันธ์

- ฝึกทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน หรือให้งานมอบหมาย

การสอบปลายภาค

CLO 5: สามารถคำนวณขนาดใช้ยา (dosage) ได้

- บรรยายแบบมีปฏิสัมพันธ์

- ฝึกทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน หรือให้งานมอบหมาย

การสอบปลายภาค

CLO 6: สามารถเลือกแหล่งข้อมูลเพื่อการตั้งตำรับ และการเตรียมยาได้อย่างเหมาะสม

- บรรยายแบบมีปฏิสัมพันธ์

- การยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริง

- การมอบหมายงานเดี่ยว หรือกลุ่ม

- การสอบปลายภาค

- ประเมินคุณภาพงานมอบหมาย

4. ตารางความสัมพันธ์ของ CLOs, ELOs, SSLOs และ GLOs

รายวิชา

CLOs

ELOs

Skills

180212 บทนำสู่เทคโนโลยีเภสัชกรรม (Introduction to Pharmaceutical Technology)

CLO1

ELO 1

SSLOs

CLO2

ELO 1

SSLOs

CLO3

ELO 1

SSLOs

CLO4

ELO 1

SSLOs

CLO5

ELO 1

SSLOs

CLO6

ELO 2

SSLOs

GLOs: ทักษะในการสืบค้น

หมายเหตุ: 1. CLOs ของรายวิชา ต้องสอดคล้อง (Align) กับ ELOs ของหลักสูตรเท่านั้น และ CLOs ของรายวิชาใด วิชาหนึ่งไม่จำเป็นต้องครบทุก ELOs ของหลักสูตร

2. SSLOs = Subject Specific Learning Outcomes (ผลการเรียนรู้เฉพาะ); GLOs = Generic Learning Outcomes (ผลการเรียนรู้ทั่วไป)

1

4.แผนการสอน

CLO

สัปดาห์ที่

หัวข้อที่สอน

TLO (Topic learning outcome) ผลการเรียนรู้รายหัวข้อ หรือ รายคาบ

วิธีการสอน

(TLA)

รูปแบบการประเมิน

ผู้รับผิดชอบสอน

ผลการเรียนรู้ทั่วไป

(GLOs)

ผลการเรียนรู้เฉพาะ

(SSLOs)

1 /

16 มิถุนายน 2563

- แนะนำรายวิชา การจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล (50 นาที)

ชี้แจง

-

รศ.ดร.ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์ และ

ผศ.ดร.วรวุฒิ เกรียงไกร

CLO2

1-2 /

25 มิถุนายน 2563

2 กรกฎาคม 2563

Overview: How active ingredients (chemical & natural) become dosage forms)

Pharmaceutical excipients and dosage forms

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- ยกตัวอย่าง

- แบบฝึกหัด

(PowerPoint, เอกสารการสอน, การสอนออนไลน์ด้วย MS team)

การสอบกลางภาค

แบบฝึกหัด

รศ.ดร.อรสร สารพันโชติวิทยา

CLO1

3 /

9 กรกฎาคม 2563

Classification of pharmaceutical preparations (based on sterility or manufacturer)

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- ยกตัวอย่าง

(PowerPoint, เอกสารการสอน, การสอนออนไลน์ด้วย MS team)

การสอบกลางภาค

ผศ.ดร.อัษฎางค์ พลนอก

CLO1

4 /

16 กรกฎาคม 2563

Production process, standard & regulations in pharmaceutical industry

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- ยกตัวอย่าง

(PowerPoint, เอกสารการสอน, การสอนออนไลน์ด้วย MS team)

การสอบกลางภาค

ผศ.ดร.สรวุฒิ รุจิวิพัฒน์

CLO1

5 /

23 กรกฎาคม 2563

Good Manufacturing Practice (GMP) in Pharmaceutical Industry

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- ยกตัวอย่าง

(PowerPoint, เอกสารการสอน, การสอนออนไลน์ด้วย MS team)

การสอบกลางภาค

ผศ.ดร.อัษฎางค์ พลนอก

CLO 1

6-7 /

30 กรกฎาคม 2563 &

6 สิงหาคม 2563

Production process, standard & regulations in extemporaneous preparations

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- ยกตัวอย่าง

- แบบฝึกหัด

(PowerPoint, เอกสารการสอน, การสอนออนไลน์ด้วย MS team)

การสอบกลางภาค

แบบฝึกหัด

อ.ดร.สุภาวดี พาหิระ

CLO 3

7-8 /

6 & 13 สิงหาคม 2563

Prescription, Latin words & Abbreviation used in prescription

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- ยกตัวอย่างใบสั่งยา

การสอบกลางภาค

รศ.ดร.ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์

9 /

17-23 สิงหาคม 2563

สอบกลางภาค

CLO 4

10 /

27 สิงหาคม 2563

Basic calculations for extemporaneous preparations 1:

การลดขยายสูตร

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- แบบฝึกหัด

การสอบปลายภาค

รศ.ดร.ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์

CLO 6

10 /

27 สิงหาคม 2563

สืบค้นสามารถเลือกแหล่งข้อมูลเพื่อการการเตรียมยาได้อย่างเหมาะสม

- บรรยายประกอบสไลด์

- คอมพิวเตอร์สำหรับการสืบค้น

ประเมินคุณภาพงานมอบหมาย และการส่งงานตรงเวลา

อ.ดร.สุภาวดี พาหิระ

CLO 4

11-13 /

3, 10 & 17 กันยายน 2563

Basic calculations for extemporaneous preparations 2:

ความแรงของสารในรูปของอัตราส่วน หรือร้อยละ และการปรับเปลี่ยนความเข้มข้น ความเข้มข้นของอิเล็กโทรไลต์

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- แบบฝึกหัด

การสอบปลายภาค

ผศ.อรรถวิทย์ สมศิริ

CLO 5

14 /

24 กันยายน 2563

Dosage calculation

- บรรยายประกอบสไลด์

- ถามและตอบ

- แบบฝึกหัด

การสอบปลายภาค

ผศ.ดร.อโณทัย ตั้งสำราญจิต

CLO 3, 4 & 5

15-16 /

1 & 8 ตุลาคม 2563

แบ่งนิสิตเป็น 4 กลุ่มย่อย และเรียนตามกรณีศึกษา 4 ประเด็น

นำกรณีศึกษาที่เกิดขึ้นจริงมาเป็นโจทย์ในการฝึกคำนวณ

ประเมินคุณภาพงานมอบหมาย และการส่งงานตรงเวลา

Case study 1: การคำนวณที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมยาตามสูตรตำรับ เช่น W.F., ¾ V, คำนวณปริมาณสารแต่งสี – กลิ่น สารถนอม (ไม่สนใจชื่อ และหน้าที่ของสาร)

ผศ.ดร.วรวุฒิ เกรียงไกร

Case study 2: การคำนวณที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้น mEq, osmolarity ของยากลุ่มอิเล็กโทรไลต์ เช่น KCl, NaCl, CaCl2, ORS

รศ.ดร.ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์

Case study 3: โจทย์คำนวณความเข้มข้นในรูปแบบต่างๆ เช่น %, ratio, stock solution

ดร.สุภาวดี พาหิระ

Case study 4: คำนวณปริมาณยา ขนาดยา อัตราการให้ยา ที่ต้องจ่าย/ให้ ผู้ป่วย โดยการแปลจากภาษาละตินในใบสั่งยา เช่น คำนวณจำนวนเม็ด ช้อน ซีซี ที่ต้องให้ต่อครั้ง; คำนวณจำนวนเม็ด-ขวดที่ต้องให้กลับบ้าน; คำนวณขนาดยาจากพื้นที่ร่างกาย หรือน้ำหนัก; คำนวณอัตราการให้ยาในรูป drop/min, ml/min

ผศ.ดร.อโณทัย ตั้งสำราญจิต

17-18 /

10 – 25 ตุลาคม 2563

สอบปลายภาค

5. สื่อ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

Ackson, M., Lowey, A. (2010). Handbook of extemporaneous preparation: a guide to pharmaceutical compounding. London: Pharmaceutical Press; 2010.

Alfonso RG. Remington. The science and practice of pharmacy, 19th ed, Pennsylvania: Mack Publishing Company; 1995.

Allen LV, Popovich NG, Ansel HC. Pharmaceutical dosage forms and drug delivery systems, 9th ed. USA: Williams & Wilkins; 2011.

Ansel HC. Pharmaceutical Calculations 14th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2013.

Augsburger LL, Hoag SW. Pharmaceutical Dosage Forms: Tablets (Volume 1, 2, 3), 3rd ed. CRC Press; 2008.

Aulton ME. Pharmaceutics: the science of dosage form design, 2nd ed. Edinburgh; New York: Churchill Livingstone; 2002.

Banker GS, Rhodes C. Modern Pharmaceutics, 4th ed. CRC Press; 2002.

Bhowmik D, Krishnakanth CB, Margret Chandira PR. Fast dissolving tablet: an overview. J Chem Pharm Res. 2009; 1(1): 163-177.

Crommenlin D, Winden E, Mekking A. Delivery of pharmaceutical proteins. In: Aulton ME (ed) Pharmaceutics: The science of dosage form design, 2nd edn, Edinburgh: Churchill Livingstone; 2002. p. 544-545.

Cynthia C. Drug Calculations & Drug Administration 2nd ed. St. Louis, MO: Saunders Elsevier; 2006.

DeSousa LR. Common Medical abbreviations. Albany: Delmar, 1995.

Dey P, Maiti S. Orodispersible tablets: A new trend in drug delivery. J Nat Sci Biol Med. 2010; 1(1): 2-5.

Gad SC. Pharmaceutical Manufacturing Handbook: Production and Processes, Wiley-Interscience; 2008.

Ingemann M, Frokjaer S, Hovgaard L, Brondsted H. Peptide and protein drug delivery systems for non-parenteral routes of administration. In: Frokjaer S, Hovgaard L, editors. Pharmaceutical formulation development of peptides and proteins, 1st ed. Philadelphia: Taylor & Francis; 2000. p. 189-205.

Lieberman HA, Banker GS. Pharmaceutical Dosage Forms Disperse Systems (Volume 1, 2, 3), 3rd ed. CRC Press; 2008.

Martin AN, Bustamante P, Chun AHC. Physical Pharmacy: Physical chemical principles in the pharmaceutical sciences, 4th ed. Philadelphia: Lea & Febiger, 1993, pp. 65-101, 128-30.

Nema S, Ludwig JD. Pharmaceutical Dosage Forms - Parenteral Medications (Volume 1, 2, 3), 3rd ed. CRC Press; 2016.

Ogden S, Fluharty L. Calculation of Drug Dosages: A Work Text 10th ed. St. Louis, MO: Mosby; 2016.

Olsen JL, Giangrasso AP. Medical Dosage Calculation 7th ed. New Jersy: Prentice-Hall; 2000.

Panwar AS, Upadhyay N, Bairagi M, Gujar S, Darwhekar GN, Jain DK. Emulgel. Asian J Pharm Life Sci. 2011; 1 (3): 333-343.

Peng DY, Hu Y, Chatterjee S and Zhou D. Chapter 36 - Commercial Manufacturing and Product Quality. In: Qiu Y, Chen Y, …, Mantri RV, editors. Developing Solid Oral Dosage Forms: Pharmaceutical Theory and Practice (2ed). Elsecier; 2017. p. 1015-1030. (https://doi.org/10.1016/B978-0-12-802447-8.00040-6)

Reddy S, Das P, Das H, Ghosh A. MUPS (Multiple Unit Pellet System) Tablets – A Brief Review. J Pharm Biomed Sci. 2011; 12(02): 1-5.

Remington JP, Beringer P. Reminton: the science and practice of pharmacy, 21st ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2006.

Rowe RC, Sheskey PJ, Owen SC. Handbook of pharmaceutical excipients, 7th ed. Washington DC: American Pharmacists Association, London: Pharmaceutical Press; 2012.

Shayne CG. Pharmaceutical Manufacturing Handbook: Production and Processes. USA: John Wiley & Sons; 2007. (DOI:10.1002/9780470259818)

Shayne CG. Pharmaceutical Manufacturing Handbook: Regulations and Quality. John Wiley & Sons, Inc.: USA; 2008.

Stokosa MJ, Ansel HC. Pharmaceutical calculations. 10th ed. Baltimore: Williams & Wilkins, 1996.

Susan B. Henke's Med-Math: Dosage Calculation, Preparation & Administration 7th ed. Philadelphia: Wolters Kluwer Health/ Lippincott Williams & Wilkins; 2012.

Swarbrick J, Boylan JC (1992) Encyclopedia of pharmaceutical technology, Vol. 7. New York: Marcel Dekker; 1992. p. 299-339.

The United States pharmacopeia 25. National formulary 20. Rockville (MD): United States Pharmacopeial Convention; 2002.

United States Pharmacopeia and National Formulary (USP 42-NF 37). (2018). Rockville, MD: United States Pharmacopeial Convention.

Vivek D, Vandaha A, Kumar SA. Hydrodynamic balancing system (HBS): Innovative approach of gastro retention: A review. J Pharm Sci Innov. 2012; 1(3): 16-22.

Zhang H, Johnson D, Skanchy D and Yu LX. Chapter 40 - Modern Pharmaceutical Regulations: Quality Assessment for Drug Products. In: Qiu Y, Chen Y, …, Mantri RV, editors. Developing Solid Oral Dosage Forms: Pharmaceutical Theory and Practice (2ed). Elsecier; 2017. p. 1095-1126. (https://doi.org/10.1016/B978-0-12-802447-8.00040-6)

คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ. (2562). บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2562 ฉบับลงราชกิจจานุเบกษา (วันที่ 19 มีนาคม 2562). สืบค้นออนไลน์ จากhttp://dmsic.moph.go.th/index/dataservice/97/0

คณะอนุกรรมการสอบความรู้เพื่อขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม. (2562). คู่มือทักษะตามเกณฑ์ความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ ของผู้ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม (สมรรถนะร่วม) พ.ศ. 2562. นนทบุรี:บริษัท เอช อาร์ พริ้นซ์ แอนด์ เทรนนิ่ง จำกัด.

จิตสมาน กี่ศิริ. ละตินทางเภสัชกรรม. กรุงเทพฯ: คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523.

นวภรณ์ วิมลสาระวงศ์. (2555). ยาเตรียมพิเศษเฉพาะรายรูปแบบยาน้ำสำหรับเด็ก. กุมารเวชสาร. 19(3), 193-199.

หมวดที่ 3 การประเมินผลรายวิชา

3.1 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (CLO)

ผลการเรียนรู้ตาม

CLO

วิธีการประเมินผลนิสิต

สัปดาห์ที่ประเมิน

สัดส่วนของการ ประเมินผล

1

สอบกลางภาค

แบบฝึกหัด

8

29.00%

2.00%

2

สอบกลางภาค

แบบฝึกหัด

8

12.00%

2.00%

3

สอบกลางภาค

8

10.00%

4

สอบปลายภาค

17-18

24.50%

5

สอบปลายภาค

17-18

7.00%

3, 4, 5

งานมอบหมาย (case study 1-4) ดังตารางด้านล่าง

15-16

10.00%

6

งานมอบหมาย (สืบค้น)

7-18

3.50%

รวม

100.00%

รายละเอียด

งานมอบหมาย (Assignment) / แบบฝึกหัด (Exercise):

หัวข้อที่สอน

คะแนน

กำหนดส่ง

ผู้มอบหมายงาน

Pharmaceutical excipients and dosage forms

2.00

แจ้งให้ทราบในชั่วโมงเรียน

รศ.ดร.อรสร สารพันโชติวิทยา

Production process, standard & regulations in extemporaneous preparations

2.00

แจ้งให้ทราบในชั่วโมงเรียน

ดร.สุภาวดี พาหิระ

Searching

3.50

แจ้งให้ทราบในชั่วโมงเรียน

ดร.สุภาวดี พาหิระ

Case study 1

2.50

แจ้งให้ทราบในชั่วโมงเรียน

ผศ.ดร.วรวุฒิ เกรียงไกร

Case study 2

2.50

แจ้งให้ทราบในชั่วโมงเรียน

รศ.ดร.ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์

Case study 3

2.50

แจ้งให้ทราบในชั่วโมงเรียน

ดร.สุภาวดี พาหิระ

Case study 4

2.50

แจ้งให้ทราบในชั่วโมงเรียน

ผศ.ดร.อโณทัย ตั้งสำราญจิต

รวม

17.50

ข้อสอบกลางภาค (Midterm)

หัวข้อที่สอน

คะแนน

เวลา (นาที)

ผู้ออกข้อสอบ

ผู้อ่านข้อสอบ

Pharmaceutical excipients and dosage forms

12.00

40

รศ.ดร. อรสร

ผศ.ดร.สรวุฒิ

Classification of pharmaceutical preparations

7.00

24

ผศ.ดร.อัษฎางค์

รศ.ดร. อรสร

Production process, standard & regulations in pharmaceutical industry

7.00

24

ผศ.ดร.สรวุฒิ

ผศ.ดร.อัษฎางค์

Good Manufacturing Practice (GMP) in Pharmaceutical Industry

7.00

24

ผศ.ดร.อัษฎางค์

อ.ดร.สุภาวดี

Production process, standard & regulations in extemporaneous preparations (sterile & non-sterile)

8.00

34

อ.ดร.สุภาวดี

ผศ.ดร.อัษฎางค์

Prescription, Latin words & Abbreviation used in prescription

10.00

34

รศ.ดร.ทัศนา

ผศ.ดร. อโณทัย

รวม

51.00

180

ข้อสอบปลายภาค (Final)

หัวข้อที่สอน

คะแนน

เวลา (นาที)

ผู้ออกข้อสอบ

ผู้อ่านข้อสอบ

Basic calculations for extemporaneous preparations 1:

3.50

13

รศ.ดร.ทัศนา

ผศ.อรรถวิทย์

Basic calculations for extemporaneous preparations 2:

21.00

80

ผศ.อรรถวิทย์

รศ.ดร.ทัศนา

Dosage calculation

7.00

27

ผศ.ดร. อโณทัย

รศ.ดร.ทัศนา

รวม

31.50

120

3.2 การวัดและประเมินผล (ตารางเกรด)

พิจารณาระดับผลการเรียนเป็น A, B+, B, C+, C, D+, D และ F ใช้เกณฑ์การพิจารณาแบบอิงเกณฑ์ และเกณฑ์ที่ใช้เป็นดังนี้

คะแนน*

ระดับผลการเรียน

คะแนน*

ระดับผลการเรียน

80.00 - 100.00

A

60.00 -  64.99

C

75.00 -  79.99

B+

55.00 -  59.99

D+

70.00 -  74.99

B

50.00 -  54.99

D

65.00 -  69.99

C+

< 50.00

F

หมายเหตุ: * คะแนนในแต่ละส่วนจะถูกรวบรวมโดยใช้โปรแกรม Excel และคะแนนรวมสุดท้ายจะใช้ทศนิยม 2 ตำแหน่ง ทั้งนี้หากคำนวณมาแล้วมีทศนิยมเกิน 2 ตำแหน่ง จะใช้การปัดเศษทศนิยมให้เป็น 2 ตำแหน่ง

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

ลงชื่อ ....................................................

(รศ.ดร.ภญ.ทัศนา พิทักษ์สุธีพงศ์)

.....9....../....มิถุนายน....../......2563..........

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา

ลงชื่อ ....................................................

(ผศ.ดร.ภก.วรวุฒิ เกรียงไกร)

.....9....../....มิถุนายน....../......2563..........