26
การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุรี บทที2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม บทที2 การวิเคราะหดานกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม 2.1 ประวัติความเปนมาของเทศบาลตําบลจอมบึง จอมบึงไดตั้งเปน กิ่งอําเภอ เมื่อ .. 2438 เนื่องดวย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวปยมหาราช เสด็จประพาสถ้ําจอมพล (ถ้ํามุจลินท ) เมื่อวันที19-22 .. .. 2438 ทรงมีพระราชดําริวา ทองที่จอมบึงเปนที่ราบที่มีการทํานามากกวาแหงอื่น ประชาชนตั้งบานเรือนอยาง หนาแนนแตกันดาร เพราะอยูหางไกลตัวเมืองราชบุรีมากจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้งขึ้นเปนกิ่งอําเภอจอมบึง และไดมีการตรา พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะ เปน เทศบาล เมื่อวันที25 .. .. 2542 โดยเทศบาลตําบล จอมบึงมี ตราสัญลักษณประจําเทศบาล คือ 1. จอมบึง ไดรับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 2. ภูเขาเปนสัญลักษณแหงความมั่นคง ภูเขาจอมพลตั้งอยูในกลางเทศบาล ดานหนาเปน ที่ตั้งของที่ทําการเทศบาลมีทุงจอมบึงอันเปนสัญลักษณแหงความอุดมสมบูรณ ภาพที2.1 แสดงภาพบรรยากาศในอดีตของพื้นที่และลักษณะทางสังคมของเทศบาลตําบลจอมบึง

2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

บทท่ี 2 การวิเคราะหดานกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม

2.1 ประวัตคิวามเปนมาของเทศบาลตําบลจอมบึง จอมบึงไดตั้งเปน กิ่งอําเภอ เม่ือ พ.ศ. 2438 เน่ืองดวย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา

จุฬาลงกรณพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวปยมหาราช เสด็จประพาสถํ้าจอมพล (ถํ้ามุจลินท) เม่ือวันที่ 19-22 ธ.ค. พ.ศ. 2438 ทรงมีพระราชดําริวา

“ทองท่ีจอมบงึเปนท่ีราบท่ีมีการทํานามากกวาแหงอืน่ ประชาชนตั้งบานเรือนอยางหนาแนนแตกันดาร เพราะอยูหางไกลตัวเมืองราชบุรีมาก”

จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้งขึ้นเปนก่ิงอําเภอจอมบึง และไดมีการตราพระราชบัญญัติเปล่ียนแปลงฐานะ เปน เทศบาล เม่ือวันที่ 25 พ.ค. พ.ศ. 2542 โดยเทศบาลตําบลจอมบึงมี ตราสัญลักษณประจําเทศบาล คือ

1. จอมบึง ไดรับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

2. ภูเขาเปนสัญลักษณแหงความม่ันคง ภูเขาจอมพลตั้งอยูในกลางเทศบาล ดานหนาเปนที่ตั้งของที่ทําการเทศบาลมีทุงจอมบึงอันเปนสัญลักษณแหงความอุดมสมบูรณ

ภาพท่ี 2.1 แสดงภาพบรรยากาศในอดีตของพ้ืนที่และลักษณะทางสังคมของเทศบาลตําบลจอมบึง

Page 2: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-5

2.2 ลักษณะทางกายภาพ (Physical Aspect) 2.2.1 ท่ีตั้ง พ้ืนท่ี เขตการปกครอง ท่ีตั้งเทศบาล เทศบาลตั้งอยูในอําเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี อยูทางทิศตะวันตกและหางจากอําเภอเมืองราชบุรีประมาณ 30 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ประมาณ 8.5 ตารางกิโลเมตร

อาณาเขตตําบล ทิศเหนือ จรด ถนนไปหนองมะคา

ทิศใต จรด แนวคลองชลประทาน (คลองใหญ) ทิศตะวันออก จรด หนวยปองกันรักษาปาไม ทิศตะวันตก จรด เขตโรงเรยีนวันครู 2503 (บานหนองบัว)

2.2.2 การเขาถึงเทศบาลตําบลจอมบึง การเขาเทศบาลโดยทางรถยนตจากอําเภอเมืองราชบุรี โดยเสนทางหลวงหมายเลข3087

2.2.3 ลักษณะภูมิประเทศ พ้ืนที่ใจกลางเทศบาลมีภูเขาจอมพลซ่ึงปกคลุมดวยไมเบญจพรรณหลายชนิดประกอบดวย

สวนรุกขชาติถํ้าจอมพลซ่ึงมีตนไมยืนตนดั้งเดิมอาณาบริเวณของสวนรุกชาติและถํ้าจอมพลมีเน้ือที่ประมาณรอยละ15ของพ้ืนที่ทั้งหมดโอบลอมดวยพ้ืนที่ลุมมีนํ้าขังในฤดูนํ้าหลากซึ่งมีเน้ือที่ประมาณรอยละ50 ของพ้ืนที่ทั้งหมด ดินอุดมสมบูรณ มีลําคลองใหญตามแนวทิศใตเก็บกักนํ้าไดตลอดป

Page 3: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-6

ผิดพลาด

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เขาจอมพล

ไปจ.ราชบุร ี

หมูที ่3 บานนากลาง-วัดเดื่อ

หมูที4่ บานหนองบัว

หมูที ่1 บานเกาะ

หมูที ่2 บานทาเนียบ

ไปอ.สวนหลวง

คลองยาว

แก มอ น

ด านท ับตะโก

เบ ิกไพร

รางบ ัว

จอมบ ึง

ปากช อง

ผ ึ ง

โพธาราม

เม ือง

ก ิ งอ.ด านมะขามเต ี ยท าม วง

บ านโป ง

สวนผ ึ ง

จอมบ ึง

ปากท อ

เม ือง

โพธาราม

บ านโป ง

บางแพ

ดำเน ินสะดวก

ว ัดเพลง

จ.กาญจนบ ุร ีจ.สม ุทรสงคราม

จ.เพชรบ ุร ี

ประเทศพม าสวน

แผนที่ 2.1 แสดงขอบเขตและที่ตั้งเทศบาลตําบลจอมบึง

สัญลักษณ

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

เทศบาลตาํบลจอมบึง

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 4: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-7

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เขาจอมพล

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ

หมูที่4 บานหนองบัว

หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

คลองยาว

แผนที่ 2.2 แสดงเสนทางการเขาถึงเทศบาลตําบลจอมบึง

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

ทางหลวงแผนดินหมายเลข ทางหลวงแผนดินหมายเลข 33008877

ไปจ.ราชบรี

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง

ไปอ.สวนผึ้ง

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

เสนแบงเขตหมูบาน

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3087

ถนนสายรอง

ถนนสายยอย

สัญลักษณ

เทศบาลตําบลจอมบึง

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 5: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-8

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ที่มา : pointasia.com แผนที่ 2.3 แสดงลักษณะภูมิประเทศ

น ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

สัญลักษณ

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง เขาจอมพล

คลองยาว

Page 6: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-9

2.2.4 ทรัพยากรธรรมชาต ิทรัพยากรธรรมชาติในเทศบาลตําบลจอมบึง ประกอบดวย ปาไม คลองยาว ถํ้าจอมพล แหลง

นํ้าธรรมชาติจอมบึงโดยทรัพยากรปาไมจะอยูในทิศเหนือและทิศใตและพ้ืนที่อื่นรอบๆตัวเขตเทศบาล สวนคลองยาว แหลงนํ้าธรรมชาติ จอมบึง ตั้งอยูทางทิศใตของตัวเทศบาลตําบล และถํ้าจอมพลอยูjในบริเวณกลางเทศบาลตําบลจอมบึง

2.2.5 ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูรอน เริ่มตั้งแตเดือนมีนาคม ส้ินสุดเดือนพฤษภาคม และมีอากาศรอนที่สุดในเดือนเมษายน ฤดูฝน เริ่มตั้งแตเดือนมิถุนายนส้ินสุดเดือนตุลาคม ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ฤดูหนาว เริ่มตั้งแตเดอืนพฤศจิกายนส้ินสุดเดือนกุมภาพันธ 2.2.6 โครงสรางพ้ืนฐาน

1. การคมนาคม

เทศบาลตําบลจอมบึงมีถนนสายหลักที่เชื่อมตอมาจากตัวเมือง ลักษณะเปนลาดยาง 3 เลน คือทางหลวงแผนดินหมายเลข 3087 ตัดเขาตัวเทศบาลตําบลจอมบึง มีความสวยงาม และเปนจุดดึงดูดสายตาไดดีถนนสายหลัก จอมบึง- ราชบุรี เปนถนนกรมทางหลวงหมายเลข 3087 มีรถโดยสารประจําทางว่ิงผานใจกลาง มีซอยเขาหมูบานตางๆ เชื่อมโยงกัน จํานวน 44 สาย

- คอนกรีตเสริมเหล็ก จํานวน 3 สาย

- ถนนแอสฟลท จํานวน 27 สาย

- ถนนลูกรัง จํานวน 7 สาย

- การวางทอระบายนํ้า จํานวน 7 สาย

จุดจอดรถโดยสาร เทศบาลมีการขนสงโดยสารโดยรถ2แถวและรถบัสปรับอากาศเชื่อมระหวางจังหวัดและอําเภอ อยูบริเวณหนาโรงเรยีนอนุบาลจอมบึง

2. ระบบขนสง เทศบาลมีการขนสงโดยสารโดยรถ2แถวและรถบัสปรับอากาศเช่ือมระหวางจังหวัดและอําเภอ

อยูบริเวณหนาโรงเรียนอนุบาลจอมบึง 3. ระบบไฟฟา เทศบาลตําบลจอมบึงมีการบริการไฟฟาทั่วถึงทุกหมูบานรอยละ90มีไฟฟาตามที่สาธารณะตาม

ถนนสายหลักและตรอกซอยโดยที่ทําการไฟฟาบริเวณถนสายหลักทางเขาเทศบาล 4. ระบบประปา เทศบาลตําบลจอมบึงมีการประปาสวนภูมิภาค 1 แหงตั้งอยูบริเวณริมคลองยาว

2.2.7 การใชประโยชนท่ีดนิ การใชประโยชนที่ดินในเขตเทศบาลตําบลจอมบึงสามารถจําแนกประเภทไดดั ง น้ี

ทรัพยากรธรรมชาติประมาณรอยละ10 การใชที่ดินดานการเกษตรประมาณรอยละ 70 การใชที่ดินประเภทที่พาณิชยกรรมรอยละ10 การใชที่ดินดานที่อยูอาศัยประมาณรอยละ 20 ของพ้ืนที่

Page 7: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-10

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เขาจอมพล

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ

หมูที่4 บานหนองบัว

หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

คลองยาว

แผนที่ 2.4 แสดงเสนทางคมนาคม

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

ทางหลวงแผนดินหมายเลข ทางหลวงแผนดินหมายเลข 33008877

ไปจ.ราชบุรี

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง

ไปอ.สวนผึ้ง

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

เสนแบงเขตหมูบาน

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3087

ถนนสายรอง

ถนนสายยอย

สัญลักษณ

เทศบาลตําบลจอมบึง

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 8: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-11

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง

เขาจอมพล

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ

หมูที่4 บานหนองบัว

หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

คลองยาว

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

โรงเรียนอนุบาลจอมบึง

ม.ราชภัฏหมูบานจอมบึง

ทางหลวงแผนดินหมายเลข ทางหลวงแผนดินหมายเลข 33008877

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3087

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

รถประจําทางจอมบึง-ราชบุร ี

รถตูประจําทางจอมบึง-กรุงเทพฯ

รถจักรยานยนตรับจาง

เสนแบงเขตหมูบาน

แผนที่ 2.5 แสดงตําแหนงจุดจอดรถโดยสาร

ไปจ ราชบรี

ไปอ สวนผึ้ง สัญลักษณ

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 9: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-12

เขาจอมพล

สนง.บริการโทรศัพท

การประปาสวนภูมิภาค หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ

หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

หมูที่4 บานหนองบัว ไปจ.ราชบรี

ไปอ.สวนผึ้ง

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

คลองยาว

ทางหทางหลวงแผนดินหมายเลข ลวงแผนดินหมายเลข 33008877

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3087

ถนนสายรอง

ถนนสายยอย

เสนแบงเขตหมูบาน

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

โครงขายไฟฟา

การประปาสวนภูมิภาค

สนง.บริการโทรศัพท

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมืองคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

สัญลักษณ

แผนที่ 2.6 แสดงโครงขายสาธารณปูโภค

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 10: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-13

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เขาจอมพล

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

คลองยาว

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

รร.วันครู

หมูที่4 บานหนองบัว

สํานักงานสวนรุกขชาด

รร.อนุบาลจอมบึง

รร.คุรุราษฎรรังสฤษฎิ์

สนง.เกษตรอําเภอ หนวยปองและ

ม.ราชภัฏหมูบานจอมบึง

สนง.สาธารณสุข

สภอ.จอมบึง ที่วาการอําเภอ สนง.เทศบาลตําบล

บรรเทาสาธารณะภัย

สนง.ที่ดิน

สนง.เกษตรและสหกรณ

อบต.จอมบึง

หนวยปองกันปาไม

ไปรษณียจอมบึง

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3087

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

สถานที่ราชการ

โรงเรียน

เสนแบงเขตหมูบาน

ไปจ.ราชบุรี

ไปอ.สวนผึ้ง สัญลักษณ

แผนที่ 2.7 แสดงที่ตั้งสาธารณูปการ

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง

Page 11: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-14

เขาจอมพล

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

คลองยาว

ทางหลวงแผนดินหมายเลข ทางหลวงแผนดินหมายเลข 33008877

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

หมูที่4 บานหนองบัว

ไปจ.ราชบุรีการกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง

เทศบาลตําบลจอมบึง

ไปอ.สวนผึ้งธ.ออมสิน

ธ.กรุงเทพ

ตลาดสดเอกชน

ธ.กรุงไทย

ธ.ก.ส. ตลาดสดเทศบาล

ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3087

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

ธนาคาร

ตลาด

เสนแบงเขตหมูบาน

แผนที่ 2.8 แสดงที่ตั้งสาธารณูปการ

สัญลักษณ

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 12: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-15

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เสนแบงเขตหมูบาน

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

ที่อยูอาศัย

พาณิชยกรรม

เกษตรกรรม

แผนที่ 2.9 แสดงการใชประโยชนที่ดิน

สัญลักษณ

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง

คลองยาว

เขาจอมพล

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

หมูที่4 บานหนองบัว ุรีไปจ.ราชบ

ไปอ.สวนผึ้ง

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

ถนนเลี่ยงเมืถนนเลี่ยงเมืององ

ทางหลวงแผนดินหมายเลข ทางหลวงแผนดินหมายเลข 33008877

Page 13: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-16

การใชประโยชนที่ดินในเขตเทศบาล สามารถแบงออกเปน 5 ประเภทหลักๆ ดังน้ี

พ้ืนท่ีประเภทท่ีอยูอาศยั 1.มีการตั้งบานเรือนกันหนาแนนในบริเวณถนนสายหลักและซอยที่เชื่อมตอจากถนนสายหลักออก ไป และจะหนาแนนขึ้นบริเวณใกลกับตัวราชภัฎตําบลจอมบึง

สํารวจ ณ วนัที่ 23 ธันวาคม 2549

รูปท่ี 2.1 แสดงการใชประโยชนอาคารบริเวณยานพักอาศัย

ยานที่พกัอาศัยบริเวณดานทิศใต ยานที่พกัอาศัยบริเวณดานเหนือ

ยานที่พกัอาศัยบริเวณดานทิศใต

ยานที่พกัอาศัยบริเวณดานทิศเหนือ

ภาพท่ี 2.2

บานพักอาศัยไมช้ันเดยีว บานพักอาศัยกึ่งไมกึ่งปูนสองช้ันเดยีว บานพกัอาศัยไมสองชั้น

อาคารพักอาศัยรวม(หอพัก)แบบหนึง่ชั้นและสองช้ันครึง่ บานพักอาศัยกึ่งพาณิชย

รูปที่2.2 แสดงประเภทของกลุมอาคารและกิจกรรมบริเวณยานที่พักอาศัยภาพท่ี 2.3

Page 14: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-17

พ้ืนท่ีประเภทเกษตรกรรม 2. มีพ้ืนที่เกษตรกรรมในบริเวณทศิเหนือและทิศใตของพ้ืนที่การเกษตรสวนใหญคือการปลูกขาวเปนหลัก มีการเล้ียงสัตวอาทิ โค กระบือ

ยคูาลิปตสัแกวมังกรนาขาวฟารมไก

ตวัเทศบาลตาํบลจอมบึง

มมุมองจากเขาจอมพล

นาขาวนาขาว

นาขาว

รปูท่ี 2.3 แสดงการใชประโยชนอาคารบรเิวณยานเกษตรกรรม

สํารวจ ณ วนัที ่23 ธนัวาคม 2549

ภาพท่ี 2.4

3. พ้ืนท่ีประเภทพาณชิยกรรม เกาะตัวกันอยางหนาแนนไปตามแนวถนนสายหลัก และหนาแนน

มากบริเวณใกลๆ กับตัวราชภัฎจอมบึง

กลุมอาคารพาณิชยดานทิศเหนือ

กลุมอาคารพาณิชยดานทิศใต

สํารวจ ณ วนัท่ี 23 ธันวาคม 2549

กลุมอาคารพาณชิยดานทิศเหนือ กลุมอาคารพาณชิยดานทิศใต

รูปที่ 2.4 แสดงการใชประโยชนอาคารบริเวณยานพาณชิยกรรมภาพท่ี 2.5

Page 15: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-18

รปูท่ี 2.5 แสดงประเภทของกลุมอาคารและกิจกรรมบรเิวณยานพาณิชยกรรม

หองแถวปูนชั้นเดียว อาคารปูนชั้นเดียว อาคารพาณิชยไมสองชั้น

อาคารพาณิชยปูนสองช้ันครึง่ อาคารพาณิชยปูนสามชั้น รานคาตอเตมิจากบานพักอาศัย

ภาพท่ี 2.6

พ้ืนท่ีประเภทสถานท่ีราชการ 4. กระจายตัวอยูบนสายหลักทัง้หมด ไมวาจะเปน ที่วาการ สํานักงานเขตเทศบาล อบต. ไปรษณีย สถานีตํารวจ โทรศัพท การประปา พ้ืนท่ีอุตสาหกรรม 5.

ประกอบตัวอุตสาหกรรมเพียงไมกี่แหงซ่ึงสวนใหญจะเปนอุตสาหกรรมขนาดเลก็ 2.2.8 จินตภาพและแนวโนมของเมือง

ลักษณะโดยทั่วไปของเทศบาลตําบลจอมบึงบรรยากาศของเมืองบริเวณถนนสายหลักจะดูแหงแลงเพราะขาดรมเงาไมมีกิจกรรมการคาที่ตั้งอยูอยางไมหนาแนนตามถนนสายหลักและดูไมคึกคักสักเทาไรในชวงเวลากลางวันแตจะคึกคักในชวงตอนเย็นเพราะในชวงเวลากลางวันมีอากาศรอนแสงแดดจัดผูคนบางเบาเพราะในเทศบาลตําบลจอมบึงมีประชากรที่มีจํานวนนอยมากสถานที่ทองเที่ยว อันไดแก ถํ้าจอมพลขาดการบํารุงรักษาใหอยูในสภาพอันดี และจํานวนประชากรลิงมีจํานวนมากเกินไปทําใหนักทองเที่ยวอาจเกิดความหวาดกลัวได เพราะยังขาดการจัดการถัดเขาไปในบริเวณพ้ืนที่ดานในตอเน่ืองจากถนนสายหลักแลวเปนการตั้งบานเรือนของชาวบานมีการตั้งเปนหมูบาน4หมูบานดวยกันถัดเขาไปอีกยังพ้ืนที่เกษตรกรรมมีการปลูกขาวเปนสวนใหญประกอบกับการเล้ียงสัตวมีการจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรมอยางเปนระเบียบสวนแหลงนํ้าธรรมชาติและคลองยาว ยังขาดการจัดการที่ดี แนวโนมของเมืองดานประชากร มีแนวโนมลดลงไปเรื่อยเนื่องจากเทศบาลตําบลจอมบึง ขาดความนาอยูนาสนใจ เศรษฐกิจก็ไมคอยคึกคักคนรุนใหมมักยายออกไปประกอบอาชีพที่อื่น คงเหลือแตคนรุนเกาหรือคนแก ดานทรัพยากรปาไม คอยลดลงเรื่อยๆ แหลงนํ้าธรรมชาติ แหงแลงลงไปทุกที

Page 16: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-19

3

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

4

1

2

5

คลองยาว

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ

หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

หมูที่4 บานหนองบัว ไปจ.ราชบุรี

ไปอ.สวนผึ้ง

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

ทางหลวงแผนดินทางหลวงแผนดินหมายเลข หมายเลข 33008877

3

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง

3. เสนขอบ

สัญลักษณ 1. เสนทาง

2. จุดหมายตา

4. ชุมชน

5. ยานพักอาศัย ยานพานิชยกรรม

ยานสถาบันการศึกษา

แสดงจินตภาพของเมอืง แผนที่ 10

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 17: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-20

Page 18: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-21

สภาพทางดานเศรษฐกิจ ( Economic Aspect) 2.3 ลักษณะทางเศรษฐกิจโครงสรางทางเศรษฐกิจของประชาชนตามลักษณะเดิมของประชาชนในชุมชน

ในเขตเทศบาลสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมเปนหลักกลาวคือประชาชนสวนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรมถึงรอยละ80รองลงมาคือคาขายและขาราชการซ่ึงประชาชนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพราะสภาพพ้ืนที่มีความเหมาะสมและความอุดมสมบูรณของพ้ืนที่มีการทําไรมันสําปะหลังออยนอกจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรมแลวการคาขายของเบ็ดเตล็ดรานอาหารและหอพักก็จัดเปนรายไดที่สําคัญของประชาชนทั้งน้ีเพราะเทศบาลตําบลจอมบึงมีมหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึงซ่ึงกลุมนักศึกษาและขาราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมูบานจอมบึงจัดอยูในกลุมของผูมีกําลังซ้ือและชวยกระจายรายไดใหแกชุมชน เชน หอพัก รานอาหาร รานเครื่องเขียน เปนตน

โครงสรางทางเศรษฐกิจของเทศบาลตําบลจอมบึง 2.3.1

ตารางท่ี 2.1 แสดงโครงสรางทางเศรษฐกิจของงพ้ืนที่เทศบาลตําบลจอมบึง

หมูบาน ประชากร คาขาย(%) ขาราชการ(%) ภาคเกษตร(%) อื่นๆ(%)

บานเกาะ 1. 1190 85 5 5 5

2.ทําเนียบ 810 90 4 2 4

3.บานกลาง 3227 65 10 20 5

4. 1028 80 10 5 5 หนองบัว

รวม 6255 80 7.2 8 4.75

ประชากรในเทศบาลตําบลจอมบึงประกอบอาชีพเกษตรกรรม ถึง 80%รองลงมา ไดแก ขาราชการ คาขาย และ อื่นๆ ตามลําดับ

แผนภูมิท่ี 2.1 แสดงรอยละการประกอบอาชีพของประชาชน

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

1.บานเกาะ 2.ทําเนียบ 3.บานกลาง 4.หนองบัว

ภาคเกษตร(%)

คาขาย(%)

ขาราชการ(%)

อื่นๆ(%)

Page 19: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-22

2.3.2 สาขาการผลิตหลักของเทศบาลตาํบล 1. เกษตรกรรม เปนสาขาที่มคีวามสําคัญมากทางเศรษฐกิจและความเปนอยูของประชาชนในเทศบาลตําบล

จอมบึง เน่ืองจากสภาพดินที่มีความอุดมสมบูรณ เหมาะสมมากสําหรับการทํานา อาชีพการทาํนาจึงเปนอาชีพหลักของคนสวนมากในพ้ืนที่ รองลงมา ไดแก การปลูกพืชไรไรนาสวนผสม เชน ออย มันสําปะหลัง มีการทําสวนผลไม เชน มะมวง สวนทางดานปศุสัตว ที่สําคญั ไดแก ปลาดุก โคนม โคเน้ือ และไก เปนตน แตเน่ืองจากจอมบึงไมมีแมนํ้าไหลผาน การเกษตร นอกเหนือจากฤดูฝนจึงไดผลที่ไมดีนัก ตองอาศัยนํ้าจากคลองที่ไหลผานเทศบาลตาํบลทัง้ 2 สาย และอาศยันํ้าที่กักไวในบึงจอมบึงมีการนําเทคโนโลยีมาชวยในการเพ่ิมผลผลิตและในการผลิตไมมากนัก บริเวณที่มีการทํานามากที่สุดอยูในหมูที1่ และ 2

2. การคาและบริการ การประกอบธุรกิจ การคาและบริการเปนแหลงรายไดรองลงมาเปนอันดับ 2 ของพ้ืนที่น้ีแหลง

ธุรกิจและบริการที่สําคัญ เชน ธนาคาร มีจํานวนทั้งหมด 4 แหงตามที่แสดงในแผนที่ สวนตลาดสดจะเห็นวามี 2 แหงคือตลาดสดเทศบาลและเอกชน แตมีเพียงตลาดเดียวที่ยังเปดใหบริการอยูคือตลาดเอกชน และจะเห็นวาแหลงการคาและบริการที่ไดแก รานขายของเบ็ดเตล็ด และรานอาหารตางๆ รวมทั้งหอพักที่เปดใหบริการ มักจะมีการกระจุกตัวกันอยูในบริเวณหมู 3 บานกลาง ซึ่งเปนที่ตั้งของสถานศึกษาและสถานที่ราชการตางๆ รวมทั้งราชภัฎบานจอมบึง ซึ่งเปนตัวขับเคล่ือนเศรษฐกิจทางดานการคาและบริการที่สําคัญในพ้ืนที่น้ี แตจะเห็นวาบริเวณน้ีแทบจะไมมีแหลงบริการและบันเทิงที่เปนอบายมุขเลย เน่ืองจากประชากรในพ้ืนที่สวนมาก เปนนักศึกษาและราชการ

3. อุตสาหกรรม เทศบาลตําบลเปนเมืองที่มีจํานวนอุตสาหกรรมนอย มีเพียงโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กที่

ผลิตและ แปรรูปมันเสน ในหมู 2 เพียง 2 โรง โรงงานน้ําดื่มและโรงงานนํ้าแข็งในหมูที่ 2 เพียง1โรงและหมูที่ 3 อีก 6 โรง มีโรงสี ที่หมู 2 จํานวน 1 โรง จะเห็นวาโรงงานจะมีการกระจุกตัวมากที่บริเวณ หมูที่ 2

และ 3 คาดวานาจะใกลกับแหลง เกษตรกรรมที่ผลิตวัตถุดิบใหแกโรงงาน 4.การทองเท่ียว จะเห็นวาแหลงทองเทีย่วที่สามารถ สรางมูลคาใหกับเทศบาลตําบลน้ีมีเพียงแหงเดียวไดแก

“ ถํ้าจอมพล” มีนักทองเทีย่วเที่ยวชมปละประมาณ 22,191 คน ซึ่งนอยมากและมีเพียงจุดเดียวทาํใหไมมคีวามหลากหลายและทางเลือกแกนักทองเทีย่ว

Page 20: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-23

ตารางท่ี 2.2 รายไดเฉล่ียของประชากรในเทศบาลตําบลจอมบึง ตอคน ตอป

หมูบาน รายไดเฉล่ียตอคนตอป(บาท)

1.บานเกาะ 25,000

2.ทําเนียบ 30,000

3.บานกลาง 27,500

4.หนองบัว 25,000

รวม 26,875

2.3.3 สรุปภาพรวมเศรษฐกิจของพ้ืนท่ีเทศบาลตําบลจอมบึง พ้ืนที่เหมาะสมมากสําหรับการทําการเกษตร โดยเฉพาะการทํานาเน่ืองจากมีดินอุดมสมบูรณ

ในหนาแลงนํ้ามีไมมากทําใหไมสามารถทําการเกษตรที่ใหผลผลิตที่ดีไดเต็มประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังมีการทําไร ไรนาสวนผสม ปศุสัตวที่สําคัญ ไดแก การเล้ียงโค และเล้ียงไก ประชากรบางสวนมีการรับราชการและประกอบอาชีพคาขาย ทําใหแหลงธุรกิจ พาณิชยกรรมสวนมากกระจุกตัวกันอยูใกลกับ แหลงที่มีสถานที่ราชการและสถานศึกษา โรงงานอุตสาหกรรมที่มีสวนมากเปนอุตสาหกรรมที่รองรับการบริโภคของคนในพ้ืนที่ แตอยางไรก็ตามประชากรสวนมากยังทําการเกษตรแตเนนเพ่ือพออยูพอกิน ไมไดผลิตเพ่ือการคาเปนหลัก เทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร รวมทั้งเคร่ืองทุนแรงตางๆ ยังไมมีการใชที่แพรหลายนัก รายไดเฉล่ียของประชากรยังอยูในระดับที่ต่ํามากเมื่อเทียบกับเทศบาลตําบลอ่ืนในจังหวัดราชบุรี ไมพบปญหาการวางงานถาวร 2.4 สภาพทางดานสังคม (Social Aspect) 2.4.1 การปกครองและการบริหารจัดการ เทศบาลตําบลจอมบึงประกอบดวย 1 ตําบลคือ เทศบาลตําบลจอมบึง และทั้งหมด 7 ชุมชนคือ

ชุมชนบานเกาะ ชุมชนหนองบานเกา ชุมชนบานทําเนียบ ชุมชนบานกลาง – หลังเขา ชุมชนบานวังมะเดื่อ ชุมชนคันคลอง ชุมชนหนองบัว - หนาถํ้า การบริหารการปกครองเทศบาลตําบลจอมบึงเปนองคกรปกครองสวนทองถ่ินซึ่งประกอบดวยสภาเทศบาล และคณะรัฐมนตรี โดยสภาเทศบาลประกอบดวยสมาชิกสภาที่ไดรับการเลือกตั้ง จากประชาชนตามกฎหมายวาดวยการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลสําหรับคระเทศมตรีประกอบดวย นายกเทศมนตรีคนหน่ึง และคณะเทศมนตรีตามบัญญัติไวในพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 การแบงสวนการบรหิารงานเทศบาลของเทศบาลตําบลจอมบึงแบงไดดังน้ี 1)สํานักปลัดเทศบาล มีหนาที่ดแูลรับผิดชอบงานเจาหนาทีท่ะเบียนราษฎรและปองกันตลอดจนบรรเทาสาธารณภัย

2) กองคลัง มหีนาที่ดแูลรับผิดชอบพัฒนารายได บรหิารการเงิน การบัญชี พัสดุและภาษ ี

Page 21: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-24

3) กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม มีหนาที่ดแุลงานสุขาภิบาล ส่ิงแวดลอม อนามัย และสงเสริมสุขภาพ

4) กองชาง มหีนาที่ดแูลรับผิดชอบงานดานวิศวกรรม สถาปตยกรรม อาคารสถานที่และสาธารณูปโภค

แผนภูมิท่ี 2.2 แสดงโครงสรางการบรหิารเทศบาล โครงสรางการบริหารเทศบาล เทศบาลตําบลจอมบึง

สภาเทศบาล คณะเทศมนตรี ประธานสภา 1 คน นายกเทศมนตรี 1 คน

รองประธานสภา 1 คน รองนายกเทศมนตรี 2 คน

สมาชิก 10 คน เลขานุการนายก 1 คน

สมาชิกทั้งหมด 12 คน วาระ 4 ป ที่ปรึกษานายก 1 คน

ปลัดเทศบาล

สํานักปลัด กองการคลัง กองชาง กองสาธารณสุข กองการศึกษา และส่ิงแวดลอม

2.4.2 ประชากร การศึกษาดานประชากร มีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินจํานวนประชากรท่ีคาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งมีความสําคัญตอการประเมินดานตางๆ วิธีการศึกษาดานประชากร ดําเนินการโดยวิเคราะหแนวโนมการเติบโตของประชากรในอนาคตจากสถิติขอมูลที่มีการบันทึกจาก 1. จํานวนประชากร

จํานวนประชากรใน 4 หมูของเทศบาลตําบลจอมบึงจากขอมูลของเทศบาลตําบล พบวา ประชากรในเทศบาลตําบลจอมบึงสามารถจําแนกเปนกลุมหลัก2สวนกลาวคือประชากรที่พักอาศัยซึ่งประกอบดวยประชากรที่ปรากฏในทะเบียนราษฎรและประชากรแฝงซึ่งไมมีชื่อปรากฏในทะเบียนราษฎรและอีกสวนคือ ประชากรจรซ่ึงมิไดอาศัยในเขตเทศบาลแตเขามาดําเนินกิจกรรมชั่วคราวในเขตเทศบาล จํานวนประชากรในเทศบาลมีรายละเอียดดังน้ี

Page 22: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-25

1) ประชากรทะเบียนราษฎร หมายถึง ประชากรที่มีชื่อปรากฏเปนหลักฐานในทะเบียนราษฎรของเทศบาลตําบลจอมบึงในปพ.ศ.2549 เทศบาลตําบลจอมบึงมีจํานวนประชากร 5,251 คนจําแนกเปนชาย2,482 คน และ หญิง2,769 คน มีจํานวนครัวเรือน 2,416 ครัวเรือน

ตารางท่ี 2.3 แสดงจํานวนประชากรในแตละหมูบนพ้ืนที่เขตเทศบาลตําบลจอมบึง ตําบล/หมูท่ี จํานวนประชากร ประชากรรวม(คน)

ชาย หญิง 5,251 ตําบลจอมบึง

หมูที่ 1 523 606 1,129

หมูที่ 2 383 424 807

หมูที่ 3 1,417 1,572 2,989

หมูที่ 4 159 167 326

2) ประชากรแฝง หมายถึง ประชากรที่เขาพํานักอาศัยในเขตเทศบาลโดยมิไดทําการแจงชื่อยายเขาในทะเบียนราษฎร ประชากรกลุมน้ีไดแก จํานวนนักศึกษา บุคลากรหนวยงาน และคนงาน ในมหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบานจอมบึง

3) ประชากรจร หมายถึงประชากรที่มิไดพักอาศัยในเขตเทศบาล แตเขามาดําเนินกิจกรรมเปนการชั่วคราวภายในเขตเทศบาล ประชากรกลุมน้ัน ไดแก กลุมนักเรียนนักศึกษา บุคลากร คนงาน นักทองและนักทัศนาจร

เน่ืองจากเทศบาลตําบลจอมบึง เปนเมืองที่มีขนาดใหญและหางไกลจากตัวอําเภอเมืองราชบุรีมากที่สุด เทศบาลตําบลจอมบึงจัดไดวาเปนพ้ืนที่ที่มีความครบถวนในเรื่องของระบบการศึกษา กลาวคือ เทศบาลตําบลจอมบึงประกอบไปดวยสถานศึกษาตั้งแตระดับ อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา สายอาชีพจนกระทั่งระดับอุดมศึกษาจากเหตุผลดังกลาวจึงทําใหเขตเทศบาลมีประชากรแฝงเกิดขึ้น เน่ืองมาจากการเขามาศึกษาตอของนักศึกษาการเขามาทํางานของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยราชภัฎหมูบานจอมบึง ดังน้ันเทศบาลตําบลจอมบึงจึงมีจํานวนประชากรแฝงเกิดขึ้นประมาณรอยละ 10 ของประชากรทั้งหมด(เทศบาลตําบลจอมบึง, 2549) นอกจากน้ีแลวประชากรจรกลุมนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามาทองเที่ยวบริเวณสวนรุกขชาติ ถํ้าจอมพล ซึ่งประชากรจรที่ เกิดข้ึนมีทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ.

สําหรับประชากรแฝงกลุมนักศึกษาคาดวาจะเปนกลุมประชากรทีค่อนขางสําคัญในอนาคตเน่ืองจากเทศบาลตําบลจอมบึงเปนพ้ืนที่ที่มีสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาตั้งอยูประกอบกับตั้งอยูไมไกลจากเทศบาล ดังน้ัน นักศึกษาในพ้ืนที่เทศบาลและพ้ืนที่มีใกลเคียงกส็ามารถเขาศกึษาตอในระดับอุดมศึกษาได

Page 23: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-26

การคาดการณประชากรในอนาคต 2. ในการประมาณจํานวนประชากรในอนาคตใชวิธี Exponential มีสูตรการคํานวณดังน้ี

Pt = PoEm

Pt = ประชากรในปที่ t Po = ประชากรในปที่เปนปฐาน

R = อัตรากาเปลี่ยนแปลงประชากร

N= จํานวนป

ตารางท่ี 2.4 แสดงการคาดการณประชากรเทศบาลตําบลจอมบึง ป จํานวนประชากร

2550 5,013

2551 4,918

2552 4,890

2553 4,785

2554 4,675

แผนภูมิท่ี 2.3 แสดงการคาดการณประชากรเทศบาลตําบลจอมบึง

การคาดการณประชากรในอนาคต 5 ป เทศบาลตําบลจอมบึง(พ.ศ. 2550-2554)

0.00

1,000.00

2,000.00

3,000.00

4,000.00

5,000.00

6,000.00

7,000.00

2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

การคาดการณ

2.4.3 การศึกษา ศาสนา ศลิปวัฒนธรรม เทศบาลตําบลจอมบึงประกอบดวยโรงเรียน 5 แหงและวัดจํานวน1แหงประชากรสวนใหญนับถือ

ศาสนาพุทธ 2.4.4 การสาธารณสุข เทศบาลตําบลจอมบึง มี โรงพยาบาลของรัฐ 1แหง ศูนยบริการสาธารสุข จํานวน 1แหง คลินิก

เอกชน 1 แหง และมีเจาหนาที่อาสาสมัครประจําตําบล

Page 24: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-27

2.4.5 การปองกันสาธารณภัย เทศบาลตําบลจอมบึง มีรถยนตดับเพลิงรถบรรทุกนํ้า และพนักงานขับรถดับเพลิงประจําตาํบล

2.5 การวิเคราะหปญหา ศักยภาพ และแนวโนมการพัฒนาของพ้ืนท่ี 2.5.1 แนวโนมการพัฒนาและขยายตัวของเมืองในปจจุบัน จากสภาพปจจุบันของเทศบาลตําบลจอมบึง จะเห็นไดวาโครงสรางทางประชากรปจจุบันของ

เมืองมีแนวโนมลดลง โครงสรางทางเศรษฐกิจขึ้นอยูกับกิจกรรมภาคการเกษตรและปศุสัตว การใชที่ดินในเมืองก็เปนแบบผสมผสาน(Mix Land use)โดยมีการใชประโยชนที่ดินในหลายๆประเภทปะปนกันอยู ในดานแนวโนมของการขยายเมืองจัดอยูในกลุมพ้ืนที่ที่มีการขยายตัวของเมืองคอนขางปานกลางถึงชา เมืองในรอบสามปมีการขยายตัวที่ชามาก (ขอมูลจากการขออนุญาตกอสรางอาคาร)แตเน่ืองจากทางหนวยงานทองถ่ินมีความพยายามที่จะพัฒนาพ้ืนที่ โดยเรงปรับปรุงระบบโครงสรางพ้ืนฐาน และระบบการคมนาคมของเมืองทําใหเมืองไดรับการพัฒนาสภาพแวดลอมของเมือง ยานพาณิชยกรรมของเมืองไดรับการสงเสริม ซึ่งจะเห็นไดวาแนวโนมของประชากรในอนาคตอีก 5 ปก็มีแนวโนมลดลง การขยายเมืองสวนใหญจะเปนแนวราบ ในแนวทิศตะวันออกหรือตามถนนทางหลวงหมายเลข 3087 ในอนาคต ดังน้ันจึงควรมีการวางแผนการพัฒนาเมืองเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและยกระดับศักยภาพเมืองแหงการศึกษา สังคมแหงการเรียนรู และคุณภาพชีวิตของประชากร ลดปญหาการอพยพออกจากเมือง วางแผนการใชประโยชนที่ดินของเมืองเพ่ือรองรับการขยายตัว ควบคุมและปองกันการขยายตัวของเมืองแบบไรทิศทาง และเพ่ือเปนแนวทางในการพัฒนาเมืองตอไปในอนาคต

2.5.2 สภาพปญหาของเมือง 1. ปญหาการลดลงอยางตอเน่ืองของประชากรปจจุบัน อันเน่ืองมาจาก

- ผลจากการที่เปนเมืองเกษตรแบบดั้งเดิม - โครงสรางประชากรของประเทศที่วัยเด็กมีแนวโนมลดลง - เมืองมีเศรษฐกิจที่คอนขางเติบโตชา

2. ปญหาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ํา 3. ปญหาการวางงานของประชากรภาคการเกษตร 4. สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษายังไมเปนที่รูจัก

2.5.3 ขอจํากัดการพัฒนา 1. อยูใกลเขตแนวชายแดนทําใหมีปญหาเรื่องความไมปลอดภัยจากปญหาทางการเมือง 2. ขาดอํานาจการในการตอรองทางเศรษฐกิจ

2.5.4 ศักยภาพของพื้นท่ี 1. สภาพของพ้ืนที่ที่ยังมีความอุดมสมบูรณทางดานทรัพยากรธรรมชาติ 2. พ้ืนที่ชุมนํ้าที่มีศักยภาพในการเพาะปลูก 3. ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุม เหมาะทั้งการทํานา และการเพาะปลูกพืชไร

Page 25: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

2-28

เขาจอมพล

หมูที่ 3 บานนากลาง-วัดเดื่อ

หมูที่4 บานหนองบัว

หมูที่ 1 บานเกาะ

หมูที่ 2 บานทาเนียบ

คลองยาว

เสนแบงเขตหมูบาน

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

ขอบเขตเทศบาลตําบลจอมบึง

ทางหลวงแผนดินหมายเลข ทางหลวงแผนดินหมายเลข 33008877

แผนที่ 2.12 แสดงแนวโนมการพัฒนาและการขยายตัวของเทศบาลตําบลจอมบึง

ไปจ

ไปอ สวนผึ้ง

สัญลักษณ แนวโนมการขยายตัว

ของเมือง

ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง

ถนนเลี่ยงเมืองถนนเลี่ยงเมือง

บทที่ 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

Page 26: 2.1 ประวัติความเป นมาของเทศบาล ...pioneer.netserv.chula.ac.th/~pwannasi/work-chapter2.pdf · 2010. 12. 17. · เทศบาลตําบลจอมบึง

การวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมือง เทศบาลตําบลจอมบึง จังหวัดราชบุร ี

บทท่ี 2 การวิเคราะดานกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม

2-29

4. เปนแหลงวัตถุดิบทางการเกษตรที่สําคัญ และสามารถพัฒนาการแปรรูปเพ่ือเพ่ิมมูลคาของสินคา สรางแหลงงานใหชุมชนได

5. มีสถานบันอุดมศึกษาที่เปนแหลงขอมูลทางวิชาการในการพัฒนาเทคโนโลยี การแปรรูป การหาตลาด และพัฒนาความรูเพ่ือพัฒนาการประกอบอาชีพ 2.5.6 แนวโนมในการพัฒนาในอนาคต

1. สังคมแหงการเรียนรู พัฒนาศักยภาพ 2. เมืองนาอยูเพ่ือรองรับเมืองการศึกษา 3. เมืองแหงสภาพแวดลอมดี ประชาชนมีสุขอนามัยด ี4. เมืองอุทยานเพ่ือการพักผอน