21
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาวิจัยเรื่อง สถานภาพองค์ความรู้ของจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระหว่างปีการศึกษา พ.ศ. 2539 - 2549 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี 1. แนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว - จิตวิทยาการศึกษา - ขอบเขตของการศึกษาเกี่ยวกับจิตวิทยา - การแนะแนว - ขอบเขตของการศึกษาเกี่ยวกับการแนะแนว 2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ - แนวคิดการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ - ความหมายของการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ 3. ระเบียบวิธีการวิจัยการศึกษา - การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - กรอบแนวคิดการวิจัย - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย - การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ - การสรุปผลการวิจัย การอภิปราย และข้อเสนอแนะ 4. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์งานวิจัย - ความหมายของการสังเคราะห์งานวิจัย - ประเภทของการสังเคราะห์งานวิจัย - ขั ้นตอนการสังเคราะห์งานวิจัย 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2539 - 2549 - Chiang Mai University · 2013. 5. 4. · 2539 - 2549 ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังต

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • 7

    บทที ่2 แนวคิด ทฤษฎ ีเอกสารและงานวจัิยทีเ่กีย่วข้อง

    การศึกษาวจิยัเร่ือง สถานภาพองคค์วามรู้ของจิตวทิยาการศึกษาและการแนะแนว คณะ

    ศึกษาศาสตร์ มหาวทิยาลยัเชียงใหม่ ระหวา่งปีการศึกษา พ.ศ. 2539 - 2549 ผูว้จิยัไดศึ้กษาเอกสาร และงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้งดงัต่อไปน้ี

    1. แนวคิดเก่ียวกบัจิตวทิยาการศึกษาและการแนะแนว - จิตวทิยาการศึกษา - ขอบเขตของการศึกษาเก่ียวกบัจิตวทิยา - การแนะแนว - ขอบเขตของการศึกษาเก่ียวกบัการแนะแนว

    2. แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งกบัการวจิยัเชิงปริมาณและการวจิยัเชิงคุณภาพ - แนวคิดการวจิยัเชิงปริมาณและการวจิยัเชิงคุณภาพ - ความหมายของการวิจยัเชิงปริมาณและการวจิยัเชิงคุณภาพ

    3. ระเบียบวธีิการวจิยัการศึกษา

    - การศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง - กรอบแนวคิดการวจิยั - ประชากรและกลุ่มตวัอยา่ง - เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั - การวเิคราะห์ขอ้มูลทางสถิติ - การสรุปผลการวจิยั การอภิปราย และขอ้เสนอแนะ

    4. แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้งกบัการสังเคราะห์งานวจิยั - ความหมายของการสังเคราะห์งานวจิยั - ประเภทของการสังเคราะห์งานวจิยั - ขั้นตอนการสังเคราะห์งานวิจยั

    5. งานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง

  • 8

    แนวคิดเกีย่วกบัจิตวทิยาการศึกษาและแนวคิดเกีย่วกบัการแนะแนว จิตวทิยา เป็นศาสตร์ท่ีศึกษาเก่ียวกบัพฤติกรรม หรือกิริยาอาการของมนุษยร์วมถึงความพยายามท่ีจะศึกษาวา่มีอะไรบา้งหรือตวัแปรใดบา้งในสถานการณ์ใดท่ีเก่ียวขอ้งกบัการท าใหเ้กิดพฤติกรรมต่างๆ ซ่ึงขอ้มูลดงักล่าวจะท าใหส้ามารถ คาดคะเนหรือพยากรณ์ได ้ซ่ึงจะช่วยลดพฤติกรรมเบ่ียงเบนอนัก่อให้เกิดปัญหาในอนาคต โดยใชแ้นวทางหรือวธีิการทางวทิยาศาสตร์เป็นเคร่ืองมือช่วยในการวเิคราะห์ จากแนวคิดน้ีเอง ไดเ้กิดการน าหลกัการทางจิตวทิยาไปประยกุตใ์ชใ้นแขนงต่างๆ เพื่อพฒันาคุณภาพชีวติของมนุษย ์รวมไปถึงดา้นการศึกษา จนไดก่้อเกิดสาขาวชิาจิตวทิยาการศึกษาและการแนะแนวเฉกเช่นปัจจุบนั จิตวทิยาการศึกษา จิตวทิยาการศึกษา เป็นจิตวทิยาประยกุต ์โดยการน าเอาหลกัการทางจิตวทิยาไปใชใ้นการศึกษา แต่จะมีความแตกต่างไปจากจิตวทิยาประยกุตใ์นสาขาอ่ืนๆ โดยท่ีจิตวทิยาการศึกษาจะมีเอกลกัษณ์เป็นของตวัเองคือ มีระบบ วธีิการ รวมทั้งในเร่ืองของทฤษฎี เทคนิคการวจิยัเป็นของตวัเอง ซ่ึงไดมี้ผูใ้หค้วามหมายจิตวทิยาการการศึกษาไวต่้างๆ กนั

    ดงัท่ี Meyer (1987, p.7) ไดก้ล่าวถึงจิตวทิยาการศึกษาวา่ เป็นสาขาหน่ึงของจิตวทิยาประยกุตท่ี์เก่ียวขอ้งกบัความรู้ความเขา้ใจ เก่ียวกบัสภาพแวดลอ้มการจดัการเรียนการสอน และคุณลกัษณะต่างๆ ของผูเ้รียน ซ่ึงจะมีผลต่อการพฒันาการทางความคิดท่ีเกิดข้ึนในตวัผูเ้รียน เช่นเดียวกบั Woolfolk (1998, p.1) ใหค้วามเห็นวา่ จิตวทิยาการศึกษาเป็นสาขาท่ีเก่ียวขอ้งกบัการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ โดยการประยกุตว์ธีิการและทฤษฎีทางดา้นจิตวทิยามาใชใ้หเ้กิดประสิทธิภาพ

    ในขณะท่ี สุรางค ์โคว้ตระกลู (2544, หนา้ 1) กล่าววา่ จิตวิทยาการศึกษาเป็นวทิยาศาสตร์ ท่ีศึกษาวจิยัเก่ียวกบัการเรียนรู้ และการพฒันาการของผูเ้รียนในสภาพการเรียนการสอนหรือในชั้นเรียน เพื่อคิดคน้ทฤษฎีและหลกัการท่ีจะน ามาช่วยแกปั้ญหาทางการศึกษา และส่งเสริมการเรียนการสอนใหมี้ประสิทธิภาพ

    นอกจากน้ีปรียาพร วงศอ์นุตรโรจน์ (2543, หนา้ 14) ไดใ้หค้วามเห็นเพิ่มเติมวา่ จิตวทิยาการศึกษา เป็นจิตวทิยาประยุกตแ์ขนงหน่ึงของจิตวทิยา จิตวทิยาการศึกษาเป็นศาสตร์ท่ีช่วยใหค้รูไดน้ าความรู้ในดา้นต่างๆทางจิตวทิยาท่ีมีอิทธิพลต่อการเรียนการสอน และสามารถน าความรู้นั้นไปพฒันาปรับปรุงกระบวนการเรียนใหมี้คุณภาพและบรรลุเป้าหมายของการศึกษา

    จากความหมายดงักล่าวขา้งตน้ จะเห็นไดว้า่ จิตวทิยาการศึกษาเป็นจิตวทิยาสาขาหน่ึงท่ีน าเอาแนวคิดทางดา้นจิตวทิยามาใชใ้นการศึกษาเพื่อจะไดเ้ขา้ใจพฤติกรรมของผูเ้รียน

  • 9

    ขอบเขตของการศึกษาเกีย่วกบัจิตวทิยาการศึกษา ในการศึกษาทางดา้นจิตวทิยา จะท าใหค้รูผูส้อนสามารถเขา้ใจลกัษณะต่างๆของนกัเรียน

    ไดดี้ยิง่ข้ึน เขา้ใจถึงความแตกต่างระหวา่งบุคคล ดงัท่ีสุรางค ์โคว้ตะกลู (2544, หนา้ 4) ไดก้ล่าวไว้วา่ จิตวทิยาการศึกษาสามารถช่วยเหลือครูให้รู้จกัลกัษณะนิสัยของนกัเรียนท่ีครูตอ้งสอน โดยทราบหลกัพฒันาการทั้งร่างการ สติปัญญา อารมณ์ สังคม และบุคลิกภาพ เป็นส่วนรวม เขา้ใจในความแตกต่างระหวา่งบุคคล เพื่อท่ีจะไดช่้วยพฒันาตามศกัยภาพของแต่ละบุคคล รู้วธีิการจดัสภาพแวดลอ้มของหอ้งเรียน ใหเ้หมาะสมกบัวยัและขั้นพฒันาการของนกัเรียน จูงใจใหน้กัเรียนสนใจและอยากจะเรียนรู้ ช่วยในการเตรียมการสอนวางแผน การเรียน ทราบหลกัและทฤษฎีของการเรียนรู้ท่ีนกัจิตวทิยาไดพ้ิสูจน์แลว้วา่ไดผ้ลดีเรียนรู้ถึงหลกัการสอน และวธีิการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพฤติกรรมของครูท่ีมีการสอนอยา่งมีประสิทธิภาพวา่มีอะไรบา้ง ช่วยครูในการปกครองชั้นเรียน และการสร้างบรรยากาศของห้องเรียนใหเ้อ้ือต่อการเรียนและเสริมสร้างบุคลิกภาพของนกัเรียน

    จิตวทิยาการศึกษา เป็นจิตวทิยาประยกุตแ์ขนงหน่ึงของจิตวทิยา เป็นศาสตร์ท่ีช่วยใหค้รูไดน้ าความรู้ทางจิตวทิยา เช่น การรับรู้ การจูงใจ การเรียนรู้ เชาวปั์ญญา ความคิด ทกัษะ เจตคติ บุคลิกภาพ เป็นตน้ เพื่อไปพฒันาปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ใหมี้คุณภาพ นอกจากน้ีจิตวทิยาการศึกษามีขอบข่ายกวา้งขวาง และมีส่วนเก่ียวขอ้งกบัสาขาวชิาอ่ืน เช่นจิตวทิยาพฒันาการ จิตวทิยาสังคม จิตวทิยาการเรียนรู้ จิตวทิยาบุคลิกภาพ ส่ิงเหล่าน้ียอ่มจะท าใหค้รูมองเห็นปัญหา และเป้าหมายท่ีแทจ้ริงของนกัเรียน สามารถเขา้ใจถึงการพฒันาการและแนวทางท่ีจะช่วยส่งเสริมให้นกัเรียนไดพ้ฒันาไปถึงขีดสุดของความสามารถของตนเอง การแนะแนว

    การแนะแนวเป็นกระบวนการใหค้วามช่วยเหลือ เพื่อใหบุ้คคลสามารถช่วยเหลือตนเอง รู้จกัตนเอง ตดัสินใจเลือกส่ิงต่างๆ ไดอ้ยา่งเหมาะสมกบัตวัเอง และพฒันาศกัยภาพท่ีมีอยูใ่หเ้กิดความเจริญสูงสุด เพื่อใหอ้ยูใ่นสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงไดอ้ยา่งมีความสุข และเขา้ประสบความส าเร็จ โดยมีหลกัวา่ จะตอ้งเป็นการแนะแนวตลอดชีวติ เพื่อท าใหบุ้คคลรู้จกัตนเองและเขา้ใจตนเองอยา่งถูกตอ้ง ซ่ึงการแนะแนวเป็นกรับวนการใหค้วามช่วยเหลือโดยมิไดมุ้่งแกปั้ญหาแต่เป็นการป้องกนัปัญหาและส่งเสริมพฒันาการ

  • 10

    ขอบเขตของการศึกษาเกีย่วกับการแนะแนว ขอบเขตของการแนะแนว สามารถสรุปไดด้งัน้ี

    1. การแนะแนวการศึกษา เป็นการใหค้วามช่วยเหลือนกัเรียนในดา้นการศึกษาโดคยตรง ช่วยใหน้ดัเรียนไดท้ราบถึงแนวทาง และโอกาสการศึกษาในอนาคต ช่วยให้นดัเรียนเลือกศึกษาต่อไดอ้ยา่งเหมาะสมกบัความถนดัและความสามารถของตนเอง

    2. การแนะแนวอาชีพ เป็นการใหค้วามช่วยเหลือนกัเรียนให้รู้จกัโลกของอาชีพเพื่อการเตรียมตวัในการประกอบอาชีพ เลือกอาชีพท่ีเหมาะสม โดยการพิจรณาจากความถนดัความสามารถ

    3. การแนะแนวส่วนตวัและสังคม เป็นการช่วยเหลือนกัเรียนใหรู้้จกัเขา้ใจตนเอง ใช้ชีวติอยา่งมีความสุข ปรับตวัใหเ้ขา้กบัการเปล่ียนแปลงในสังไดอ้ยา่งมีประสิทธิภาพมีความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อแกปั้ญหาต่างๆไดอ้ยา่งเหมาะสม

    4. บริการต่างๆของการแนะแนวในโรงเรียน ซ่ึงประกอบดว้ย การรวบรวมขอ้มูลเป็นรายบุคคล บริการสารสนเทศ บริการใหค้ าปรึกษา บริการจดัวางตวับุคคล และบริการติดตามผล ซ่ึงจดัข้ึนเพื่อใหค้วามช่วยเหลือ และอ านวยความสะดวกใหก้บันกัเรียน

    5. บทบาทของบุคลากรในโรงเรียนต่อการแนะแนว การแนะแนวในโรงเรียนแต่ละท่ีจะประสบความส าเร็จไดย้อ่มเกิดจากความร่วมมือของบุคลากรในโรงเรียนท่ีร่วมมือกนั ใหค้วามช่วยเหลือและสนบัสนุน งานแนะแนวตามบทบาท เพื่อให้งานบริการแนะแนวสามารถด าเนินได้อยา่งมีประสิทธิภาพ ปัจจุบนัน้ี จิตวทิยาการศึกษาและการแนะแนว มีบทบาทมากในการเรียนการสอน ซ่ึงในการศึกษานั้นไดน้ าวธีิการทางวทิยาศาสตร์มาใชใ้นการคน้ควา้ศึกษา เพื่อความเขา้ใจในสาเหตุของพฤติกรรมท่ีจะเกิดข้ึนของนกัเรียน ดงันั้น เพื่อใหบ้รรลุตามจุดมุ่งหมายท่ีตอ้งการ จึงจ าเป็นตอ้งมีการน าการวิจยั มาใชใ้นจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว เพราะการวจิยัเป็นการคน้ควา้หาความรู้ท่ีเช่ือถือได ้มีวธีิการท่ีเป็นระบบ แบบแผน เพื่อน าความรู้ท่ีไดไ้ปใชอ้ธิบายปรากฎการต่างๆ และเป็นผลใหส้ามารถท านาย และควบคุมการเกิดพฤติกรรมต่างๆ ของนกัเรียนได ้

  • 11

    การวจัิยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ การวจิยัเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ ความจริง อยา่งเป็นระบบโดยใชร้ะเบียบวธีิทาง

    วทิยาศาสตร์ในการท าวิจยั แนวคิดการวจัิยเชิงปริมาณและการวจัิยเชิงคุณภาพ กระบวนการแสวงหาความรู้ดว้ยวธีิการวจิยั ไดแ้บ่งแยกตามความเช่ือพื้นฐาน หรือปรัชญา

    ท่ีอยูเ่บ้ืองหลงัความเช่ือของผูว้จิยัในแต่ละสาขา นบัตั้งแต่ไดมี้การแบ่งความรู้ออกเป็นสาขาวทิยาศาสตร์และเทคโนโลย ีสาขาสังคมศาสตร์และสาขามนุษยศาสตร์ การแสวงหาและรวบรวมความรู้ในแต่ละสาขาต่างก็พฒันาไปตามลกัษณะแห่งศาสตร์ของตน ในการพฒันาน้ีเองไดก่้อใหเ้กิดปรัชญาความเช่ือสองกระแสข้ึนในตะวนัตก ในคริสตศ์ตวรรษท่ี 19 (สุภางค ์จนัทวานิช, 2545, หนา้ 45-50) ไดแ้ก่

    1. แนวคิดปฏิฐานนิยม (Positivism) เป็นแนวคิดท่ีมีพื้นฐานแบบวทิยาศาสตร์ นกัปฏิฐานนิยมเช่ือวา่ วธีิการแสวงหาความรู้ท่ีดีท่ีสุดคือ การใชว้ธีิแบบวทิยาศาสตร์ท่ีมีรากฐานอยู่บนขอ้มูลเชิงประจกัษ ์เม่ือน าแนวคิดปฏิฐานนิยมมาใชใ้นสาขาสังคมศาสตร์ ก็จะเนน้วิธีการแสวงหาความรู้จากหลกัฐานเชิงประจกัษ ์หรือจากพฤติกรรมท่ีปรากฏ โดยการสังเกต หรือการทดลอง (Empirical Evidence) เนน้ขอ้มูลท่ีแจงนบัได ้และวดัได ้

    2. แนวคิดปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) เป็นแนวคิดท่ีมีลกัษณะโนม้เอียงไป ทางมนุษยศาสตร์ นกัปรากฏการณ์นิยมคิดวา่ความรู้ท่ีมนุษยไ์ดรั้บการถ่ายทอดมาจากผูอ่ื้น และจากสังคมอาจผดิพลาดได ้มนุษยค์วรศึกษาโลกและสังคมดว้ยตวัของตวัเอง และสร้างระบบความรู้ท่ีเป็นส่วนตวัข้ึนมา จากนั้นมนุษยก์็จะมีระบบคิด วจิารณญาณ โลกทศัน์ ค่านิยม อุดมการณ์เฉพาะของตน โดยการไดส้ัมผสักบัโลกโดยตรง พฤติกรรมของมนุษยเ์ป็นผลจากวธีิการท่ีมนุษยใ์ห้ความหมายแก่โลก ดว้ยความเช่ือน้ีนกัปรากฏการณ์นิยมจะใหค้วามส าคญักบัขอ้มูลท่ีเป็นความรู้สึกนึกคิด และคุณค่าของมนุษย ์และโดยเฉพาะอยา่งยิง่ความหมายท่ีมนุษยใ์หต่้อส่ิงต่างๆ จะเห็นไดว้า่แนวคิดสองกระแสนั้นมีความแตกต่างกนัพอสมควร และผูว้จิยัท่ีมีความเช่ือพื้นฐาน หรือปรัชญาท่ีอยูเ่บ้ืองหลงัแตกต่างกนัน้ีก็จะใชว้ธีิการท่ีต่างกนัในการแสวงหาความรู้ นกัวจิยัท่ีมีความเช่ือแบบปฏิฐานนิยมจะเนน้วธีิการเชิงปริมาณ ใหค้วามส าคญัแก่ขอ้มูลเชิงประจกัษ์ท่ีแจงนบัได ้วดัได ้ใชว้ธีิการทางสถิติมาใชใ้นการวเิคราะห์ขอ้มูลท่ีเป็นตวัเลข และช่วยทดสอบความน่าเช่ือถือของขอ้คน้พบ มกัเป็นการวจิยัท่ีมุ่งทดสอบทฤษฎี หรือสมมติฐานท่ีมีผูต้ ั้งเอาไว ้ส่วนนกัวจิยัท่ีมีความเช่ือแบบปรากฏการณ์นิยมจะเนน้วธีิการเชิงคุณภาพ ใหค้วามส าคญัแก่ขอ้มูลดา้นความรู้สึกนึกคิด โลกทศัน์ ความหมายและวฒันธรรม เนน้การเขา้ไปสัมผสักบัขอ้มูล หรือ

  • 12

    ประสบการณ์โดยตรง ไม่เนน้การใชส้ถิติตวัเลขในการวเิคราะห์ และมุ่งท่ีจะกระตุน้ หรือก่อใหเ้กิดสมมติฐาน และขอ้สรุปใหม่ๆ มากกวา่พิสูจน์สมมติฐานเดิม ความแตกต่างของมุมมอง หลกัการเก่ียวกบัความจริง และการอธิบายถึงความจริง รวมทั้งแนวทางในการสืบสอบแสวงหาความจริงระหวา่งแนวคิดปฏิฐานนิยม (การวิจยัเชิงปริมาณ) และปรากฏการณ์นิยม (การวจิยัเชิงคุณภาพ) ปรากฏดงัต่อไปน้ี Guba และ Lincoln (1988, อา้งใน นิศา ชูโต, 2545, หนา้ 145-150)

    1. ธรรมชาติเก่ียวกบัความจริง แนวคิดปฏิฐานนิยมเช่ือวา่ความจริงเป็นหน่ึงเดียว มีตวัตน สามารถแยกออกศึกษาเป็นส่วนๆ เป็นตวัแปรเหตุและผล ซ่ึงมีความสัมพนัธ์เชิงสาเหตุเก่ียวขอ้งกนัภายใตส้ภาพการศึกษา แต่กลุ่มปรากฏการณ์นิยมเช่ือวา่ความจริงมีหลายระดบั และส่วนใหญ่เป็นส่ิงท่ีสร้างข้ึนและมีตวัตนในความรู้สึกนึกคิดของมนุษย ์เป็นส่ิงจบัตอ้งไม่ได ้

    2. ความสัมพนัธ์ระหวา่งผูว้จิยักบัส่ิงท่ีศึกษามีอิทธิพลซ่ึงกนัและกนั การศึกษาแบบ ปฏิฐานนิยมพยายามป้องกนั หรือแยกผูศึ้กษาและส่ิงท่ีศึกษาออกจากกนัเพื่อขจดัอิทธิพลดงักล่าว ซ่ึงท าไดย้ากเม่ือศึกษาเร่ืองท่ีเก่ียวกบัมนุษยแ์ละสังคม ในขณะท่ีการวจิยัเชิงปรากฏการณ์นิยมแนะน าใหใ้ชค้วามสัมพนัธ์ดงักล่าวเป็นโอกาสในการปรับวธีิการวจิยัต่างๆ เพื่อเพิ่มความเขา้ใจ และการตีความของผูศึ้กษา

    3. การอธิบายเก่ียวกบัความจริง วธีิการปฏิฐานนิยมเป็นการจบัสภาพความจริงโดยไม่ เก่ียวขอ้งกบับริบทเร่ืองอ่ืนๆ ในขณะท่ีการวจิยัปรากฏการณ์นิยมจะค่อยๆ พฒันาเก่ียวกบัภาพความจริงในระดบัต่างๆ ข้ึนมาโดยใชภ้าษาท่ีไม่เป็นทางการ ตั้งแต่หน่วยยอ่ยๆ โดยการสร้างสมมติฐานชัว่คราวเช่ือมโยงจากบริบท จนสภาพความจริงปรากฏชดั ดงันั้นจึงไม่สามารถน าไปสรุปอา้งอิงถึงความจริงในบริบทท่ีแตกต่างกนัได ้

    4. มุมมองเก่ียวกบัสาเหตุ กลุ่มวิจยัเชิงปฏิฐานนิยมมุ่งอธิบายความสัมพนัธ์เชิงสาเหตุและ ผลเป็นหลกั ผลท่ีเกิดข้ึนทุกอยา่งจะตอ้งมาจากสาเหตุซ่ึงสามารถบ่งบอกได ้รูปแบบท่ีส าคญัคือ วธีิการทดลอง กลุ่มวจิยัเชิงปรากฏการณ์นิยมเช่ือวา่ความสัมพนัธ์ของมนุษยมี์ความซบัซอ้น โยงใยซ่ึงกนัและกนั จนบางคร้ังไม่สามารถแยกแยะไดว้า่อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล ดงันั้นจึงไม่ควรเสียเวลาในการศึกษาทดลอง ส่ิงท่ีสามารถท าไดคื้อ พยายามสร้างรูปแบบของความคิดซ่ึงอาจมีอิทธิพลซ่ึงกนัและกนั และใชว้ธีิอธิบายแบบชกัจูงใหเ้กิดความกระจ่าง ความเขา้ใจ มากกวา่จะแสดงความเป็นเหตุและเป็นผลยนืยนัอยา่งจริงจงั

  • 13

    5. มุมมองท่ีเก่ียวขอ้งกบัค่านิยม กลุ่มปฏิฐานนิยมเช่ือวา่วธีิการวจิยัเชิงสาเหตุเป็นวธีิการท่ี ปราศจากอคติและค่านิยม มีความเป็นปรนยัสูง กลุ่มวจิยัเชิงปรากฏการณ์นิยมเช่ือวา่วิธีการวจิยัทุกวธีิลว้นแต่มีอคติ และค่านิยม และมีความเป็นอตันยัทั้งส้ิน โดยเฉพาะอยา่งยิง่วธีิการในการวจิยัท่ีเก่ียวขอ้งกบัมนุษย ์และสังคม

    ความแตกต่างระหวา่งแนวคิดปฏิฐานนิยมและปรากฏการณ์นิยมในมิติท่ีส าคญั สามารถสรุปไดด้งัตารางต่อไปน้ี Creswell (1994)

    ข้อตกลงเบือ้งต้น

    ค าถาม แนวคดิปฏิฐานนิยม (การวจิยัเชิงปริมาณ)

    แนวคดิปรากฏการณ์นิยม (การวจิยัเชิงคุณภาพ)

    1. สภาวะความจริง

    ธรรมชาติของความจริงคืออะไร

    ความจริงเป็นปรนยัและมีเพียงค าตอบเดียว

    ความจริงเป็นอตันยัข้ึนอยูก่บัมุมมองของผูว้จิยั

    2. การรับรู้ ปฏิสมัพนัธ์ของผูว้จิยักบัส่ิงท่ีท าวจิยั

    ผูว้จิยัเป็นอิสระจากส่ิงท่ีท าวจิยั ผูว้จิยัมีปฏิสมัพนัธ์กบัส่ิงท่ีท าวจิยั

    3. คุณค่า บทบาทของคุณค่า ไม่ยดึติดกบัคุณค่าและไม่มีอคติ ยดึคุณค่าซ่ึงท าใหเ้กิดอคติ 4. ลีลาในการเขียนรายงานวจิยั

    ภาษาท่ีใช ้ -เป็นทางการ -ยดึความหมายของค าศพัท์ตามท่ีนิยามไว ้- ไม่เอ่ยช่ือผูว้จิยัในรายงานการวจิยั - ใชค้ าท่ีบอกถึงปริมาณ

    - ไม่เป็นทางการ - ใชก้ารตดัสินใจแบบค่อยเป็นค่อยไป - ระบุช่ือผูว้จิยัในรายงานการวจิยั -ใชค้ าท่ีบอกถึงคุณภาพ

    5. วธีิการวจิยั กระบวนการในการวจิยั - ใชก้ระบวนการนิรนยั - เช่ือในทฤษฎีเหตุและผล - ออกแบบการวจิยัก่อนลงมือปฏิบติั - สรุปอา้งอิงไดใ้นบริบทต่างๆ - สรุปอา้งอิงผลการวจิยัเพื่อพยากรณ์ อธิบาย และท าความเขา้ใจปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนได ้- ความถูกตอ้งและเช่ือถือได้

    - ใชก้ระบวนการอุปนยั - เช่ือวา่ปัจจยัท่ีควรท าวจิยัมาจากความร่วมมือระหวา่งผูว้จิยักบัผูใ้หข้อ้มูล - ออกแบบไปพร้อมๆ กบัการท าวจิยั - ขอ้คน้พบเป็นจริงเฉพาะบริบทใดบริบทหน่ึง - มีรูปแบบเฉพาะท่ีใชพ้ฒันาทฤษฎีเพื่อใหเ้ขา้ใจปรากฏการณ์ - ความถูกตอ้งและเช่ือถือไดข้อง

  • 14

    ของผลการวจิยัมาจากความตรงและความเท่ียงของเคร่ืองมือ และกระบวนการวจิยั

    ขอ้มูลมาจากการตรวจสอบความถูกตอ้งของขอ้มูล

    ความหมายของการวจัิยเชิงปริมาณและการวจัิยเชิงคุณภาพ

    มีผูใ้หค้วามหมายของการวจิยัเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพไวห้ลายท่าน ดงัน้ี ยทุธ ไกยวรรณ์ (2545) สรุปวา่ การวจิยัเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวจิยัท่ีคน้หาขอ้เทจ็จริงในเชิงกวา้ง โดยอาศยัขอ้มูลท่ีเป็นเชิงปริมาณ และแสดงผลการวจิยัเป็นตวัเลข ในการวเิคราะห์ขอ้มูลจะใชว้ธีิการทางสถิติเขา้ช่วย การวจิยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวจิยัท่ีไม่เนน้ขอ้มูลท่ีเป็นตวัเลข แต่จะเนน้การหารายละเอียดต่างๆ ในเชิงลึก ซ่ึงไดม้าจากการสังเกตหน่วยท่ีตอ้งการศึกษา

    ธีรวฒิุ เอกะกุล (2544) สรุปวา่ การวจิยัเชิงปริมาณเป็นการวจิยัท่ีจะไดข้อ้มูลท่ีอยูใ่นลกัษณะของตวัเลข และตอ้งใชว้ธีิการทางสถิติในการวเิคราะห์ขอ้มูล

    การวจิยัเชิงคุณภาพเป็นการวิจยัท่ีไม่เนน้ขอ้มูลท่ีเป็นตวัเลขเป็นหลกั แต่เป็นการวจิยัท่ีเนน้การหารายละเอียดต่างๆ ของกลุ่มท่ีท าการศึกษาวจิยั ท่ีจะก่อใหเ้กิดความรู้ ความเขา้ใจอยา่งลึกซ้ึงในเร่ืองนั้นๆ

    สุวมิล ติรกานนัท ์(2542) สรุปวา่ การวจิยัเชิงปริมาณเป็นการวจิยัท่ีมุ่งศึกษาขอ้มูลท่ีเป็นปริมาณ สามารถแจงนบัได ้และอาศยัเทคนิคทางสถิติมาช่วยในการวเิคราะห์ขอ้มูล

    การวจิยัเชิงคุณภาพเป็นการวิจยัท่ีรวบรวมขอ้มูลท่ีเป็นคุณลกัษณะ ไม่สามารถแจงนบัและใชเ้ทคนิคทางสถิติมาวเิคราะห์ขอ้มูล แต่เป็นการวเิคราะห์ขอ้มูลโดยอาศยัวธีิการวเิคราะห์ขอ้มูลเชิงคุณลกัษณะ

    จากความหมายต่างๆ ขา้งตน้ สามารถสรุปความหมายของวธีิการวจิยัเชิงปริมาณและการวจิยัเชิงคุณภาพไดด้งัน้ี การวจิยัเชิงปริมาณหมายถึง การวจิยัท่ีผูว้จิยัวางกรอบทฤษฎีและกรอบการวจิยัไวล่้วงหนา้ มีวตัถุประสงคเ์พื่อทดสอบทฤษฎีโดยใชก้ระบวนการนิรนยั เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเก็บขอ้มูลไดแ้ก่ แบบสอบถาม แบบทดสอบ และแบบวดัต่างๆ วเิคราะห์ขอ้มูลดว้ยวธีิการทางสถิติบรรยายและสถิติอนุมาน โดยผูว้ิจยัเป็นอิสระจากส่ิงท่ีท าวจิยั ลกัษณะของความรู้ท่ีไดเ้ป็นความสัมพนัธ์เชิงเหตุและผลเป็นหลกั สามารถสรุปอา้งอิงไดใ้นบริบทต่างๆ การวจิยัเชิงคุณภาพหมายถึง การวจิยัท่ีผูว้จิยัไม่ไดว้างกรอบทฤษฎีและกรอบการวจิยัไว้ล่วงหนา้ มีวตัถุประสงคเ์พื่ออธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ โดยใชก้ระบวนการอุปนยั การเก็บรวบรวม

  • 15

    ขอ้มูลใชผู้ว้จิยัเป็นเคร่ืองมือหลกั ในการสังเกต สัมภาษณ์ และวเิคราะห์ขอ้มูลโดยการตีความสร้างขอ้สรุปแบบอุปนยั ผูว้จิยัมีปฏิสัมพธ์ักบัส่ิงท่ีท าวจิยั และไม่สามารถสรุปอา้งอิงไปยงับริบทอ่ืนได ้ ระเบียบวธีิการวจัิยทางการศึกษา การวจิยัเป็นกระบวนการสร้างองคค์วามรู้ใหม่ ช่วยในการแกปั้ญหา และขยายความรู้เขา้ใจต่างๆ ใหมี้ความชดัเจนยิง่ข้ึน อีกทั้งสามารถน าค าตอบจากการวจิยัเหล่านั้นไปใชใ้นการพฒันาและเป็นขอ้มูลในการก าหนดนโยบายต่างๆ ดงันั้นการศึกษาระเบียบวธีิการวจิยัจะช่วยท าให้สามารถรับรู้กฎเกณฑข์องการท าวิจยั และท าใหง้านวจิยันั้นมีคุณภาพมากยิง่ข้ึน

    การศึกษาเอกสารงานวจัิยทีเ่กีย่วข้อง เอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้ง เป็นเหมือนการสร้างกรอบแนวคิดในการวจิยั โดยการน า

    ผลการทบทวนเอกสารและรายงานการวจิยัในอดีตมาจดัท าเป็นรายงานเรียบเรียงใหม่ โดยยดึเน้ือหาของเร่ืองเป็นหลกั และน ามาเรียบเรียงผสมผสานเร่ืองต่างๆใหเ้ขา้กนัต่อเน่ืองเป็นเน้ือเด่ียวกนั อาจแยกเป็นตอนๆ ตามปัญหาหรือวตัถุประสงคข์องการวจิยั ซ่ึงจะช่วยท าใหเ้ห็นความส าคญั และความจ าเป็นในการท าวจิยัเร่ืองนั้นๆ มิใช่เป็นเพียงแค่การน าเอาขอ้มูลหรือขอ้ความของบุคคลอ่ืนๆมาปะติดปะต่อกนั ทั้งน้ี ในส่วนทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ เป็นการเขียนเก่ียวกบัส่ิงท่ีผูว้จิยัไดม้าจากการศึกษาคน้ควา้และงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง ดงันั้นในส่วนน้ีจึงประกอบไปดว้ยแนวคิดทฤษฎี หลกัการ ขอ้เทจ็จริง แนวความคิดของผูรู้้ และผลงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้ง โดยทั้งหมดท่ีกล่าวถึงน้ีจะตอ้งสัมพนัธ์กบัปัญหาการวิจยัของตนเอง การศึกษาเอกสารและงานวิจยัท่ีเก่ียวขอ้งจะเป็นประโยชน์ต่อผูว้ิจยัหลายประการ

    บุญชม ศรีสะอาด (2549) สรุปประโยชน์ของการศึกษาเอกสารงานวจิยัท่ีเก่ียวขอ้งไวด้งัน้ี 1. ช่วยใหเ้ขา้ใจทฤษฎี แนวคิด ท่ีเก่ียวขอ้งกบัเร่ืองท่ีวจิยั 2. ช่วยป้องกนัการท าวิจยัซ ้ าซอ้นกบัคนอ่ืนๆท่ีวจิยัไปแลว้ 3. ช่วยใหท้ราบผลงานวจิยัท่ีผา่นมาท่ีเก่ียวขอ้งกบัเร่ืองท่ีจะวจิยัวา่มีการศึกษากวา้งขวางมากนอ้ยแค่ไหน ในแง่มุมใด ผลการวจิยัเป็นเช่นไร ซ่ึงเป็นหลกัฐานส าคญัท่ีจะน ามาประกอบเหตุผลในการตั้งสมมติฐานของผูว้จิยัและน ามาประกอบเหตุผลในการอภิปรายผลการวจิยั 4. เป็นแนวทางในการด าเนินการวจิยั เลือกตวัแปรท่ีจะศึกษา ออกแบบการวิจยั สร้างเคร่ืองมือ วิเคราะห์ขอ้มูล แปลผล สรุปผลและเขียนรายงานการวจิยั

  • 16

    5. เป็นแนวทางในการพฒันาคุณภาพของเร่ืองท่ีจะวจิยั เพราะในการศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวขอ้งกบัการวจิยัอยา่งกวา้งขวางจริงจงัจะช่วยใหเ้ขา้ใจในเร่ืองท่ีจะศึกษาอยา่งลุ่มลึกในการศึกษาผลการวจิยัต่างๆ ช่วยใหท้ าการพิจารณาถึงจุดอ่อนและจุดดีของแต่ละเร่ืองแลว้หลีกเล่ียงไม่ใหเ้กิดจุดอ่อนและเสริมสร้างจุดดีเหล่านั้นใหเ้กิดข้ึนในงานวจิยัของตน

    กรอบแนวคิดการวจัิย การสร้างกรอบแนวคิดในการวจิยั เป็นขั้นตอนของการน าเอาตวัแปรและประเด็นท่ี

    ตอ้งการท าวจิยัมาเช่ือมโยงกบัแนวคิดทฤษฏีท่ีเก่ียวขอ้งในรูปของค าบรรยาย แบบจ าลองแผนภาพหรือแบบผสมการวาง กรอบแนวคิดในการวจิยัท่ีดี จะตอ้งชดัเจน แสดงทิศทางของความสัมพนัธ์ ของส่ิงท่ีตอ้งการศึกษา หรือตวัแปรท่ีจะศึกษา สามารถใชเ้ป็นกรอบในการก าหนดขอบเขตของการวจิยั การพฒันาเคร่ืองมือในการวจิยั รูปแบบการวจิยั ตลอดจนวธีิการรวบรวมขอ้มูลและวเิคราะห์ขอ้มูล การสร้างกรอบแนวคิดท่ีชดัเจน จะเป็นประโยชน์ต่อผูว้ิจยัและผูท่ี้อ่านงานวจิยั ดงัน้ี

    1. สามารถเขา้ใจแนวคิดส าคญัท่ีแสดงถึงแก่นของปัญหาการศึกษาในระยะเวลาอนัสั้น 2. เป็นตวัช้ีน าท าใหผู้ว้ิจยัเกิดความมัน่ใจวา่งานวจิยัเป็นไปในแนวทางท่ีสอดคลอ้งกบั

    วตัถุประสงค ์ 3. สร้างความชดัเจนในงานวิจยัวา่จะสามารถตอบค าถามท่ีศึกษาได ้ 4. เป็นแนวทางในการก าหนดความหมายตวัแปร การสร้างเคร่ืองมือ และการเก็บรวบรวม

    ขอ้มูลในการวจิยั 5. สามารถเช่ือมโยงไปสู่การก าหนดกรอบทิศทางการท าวิจยัไดเ้หมาะสม ถูกตอ้ง

    โดยเฉพาะวเิคราะห์ขอ้มูล จะเห็นไดว้า่การสร้างกรอบแนวคิดการวจิยั จะเป็นประโยชน์ต่อตวัผูว้ิจยัเป็นอยา่งมาก

    ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การวจิยัแต่ละคร้ัง ผูท้ าวจิยัไม่สามารถศึกษาขอ้มูลจากประชากรทั้งหมดได ้หรือหากไม่ได้

    ก็จะมีขอ้จ ากดัในเร่ืองของเวลา และแรงงาน ดงันั้นการวิสจยัส่วนใหญ่จึงเป็นการศึกษาเพียงบางส่วนของส่ิงท่ีจะศึกษา นัน่คือ กลุ่มตวัอยา่ง โดยถือวา่กลุ่มตวัอยา่งนั้นเป็นตวัแทนของส่ิงท่ีจะตอ้งการศึกษาทั้งหมด เรียกวา่ ประชากร

    ประชากร หมายถึง หน่วยขอ้มูลทั้งหมดท่ีผูว้จิยัศึกษา ซ่ึงอาจจะเป็นคน สัตว ์พืช วตัถุ หรือประสบการณ์ต่างๆก็ไดร้วมกนัโดยมีลกัษณะบางประการท่ีก าหนดไวเ้หมือนกนัเช่น ศึกษาความเครียดของครูในจงัหวดัเชียงใหม่ ครูทุกคนในจงัหวดัเชียงใหม่คือประชากร

  • 17

    กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ส่วนหน่ึงของประชากรท่ีน ามาใชใ้นการศึกษาแทนประชากร ซ่ึงถา้ประชากรมีคุณสมบติัใดๆแลว้กลุ่มตวัอยา่งท่ีจะเลือกตอ้งมีสมบติัต่างๆนั้นดว้ย ในเร่ืองน้ี พวงรัตน์ ทวรัีตน์ (2543, หนา้ 83) ไดใ้หค้วามเห็นเพิ่มเติมเก่ียวกบักลุ่มตวัอยา่งวา่ กลุ่มตวัอยา่งเป็นตวัแทนท่ีดี หมายถึง กลุ่มตวัอยา่งท่ีค่าสถิติท่ีค านวนไดใ้กลเ้คียงหรือเกือบเท่าค่าพารามิเตอร์ของประชากร ซ่ึงการจไดก้ลุ่มตวัอยา่งท่ีดีเป็นตวัแทนท่ีดีจะตอ้งค านึงถึงหลกัสองประการ คือ การเลือกกลุ่มตวัอยา่งใหเ้ป็นตวัแทนไดจ้ริงๆ และมีจ านวนเหมาะสม โดยมีจ านวนมากพอท่ีจะทดสอบได้

    นอกจากน้ี บุญชม ศรีสะอาด (2544, หนา้ 37) ไดก้ล่าวถึง การก าหนดขนาดกลุ่มตวัอยา่งไว้วา่ควรพิจรณาถึงส่ิงต่อไปน้ี 1. ธรรมชาติของประชากร ถา้ไดป้ระชากรมีความเป็นเอกพนัธ์มาก ความแตกต่างกนัของสมาชิกมีนอ้ย นัน่คือมีความแปรปรวนนอ้ยก็ใชก้ลุ่มตวัอยา่งนอ้ยได ้แต่ถา้ประชากรมีความแตกต่างกนัมากความแปรปรวนมีมากก็ควรใชก้ลุ่มตวัอยา่งมาก 2. ลกัษณะของเร่ืองวจิยั การวจิยับางประเภทไม่จ าเป็นตอ้งใชก้ลุ่มตวัอยา่งจ านวนมาก เช่น การวจิยัเชิงทดลอง การใชก้ลุ่มตวัอยา่งจ านวนมากจะก่อใหเ้กิดผลเสียมากกวา่ผลดี เพราะยากต่อการควบคุใสภาพการทดลอง เป็นตน้

    ดงันั้น ในการก าหนดกลุ่มประชากรหรือกลุ่มตวัอยา่ง ผูว้ิจยัจะตอ้งค านึงถึงส่ิงท่ีกล่าวมาแลว้ขา้งตน้ เพื่อใหส้อดคลอ้งกบัหลกัการวจิยั และการท าใหผ้ลการวจิยัท่ีไดมี้ความถูกตอ้งและแม่นย ามากข้ึน

    เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง มีวธีิการเลือกกลุ่มตวัอยา่งจ าแนกอยา่งกวา้งๆ ได ้2 วธีิ คือ วธีิการสุ่มแบบอาศยัทฤษฎีความน่าจะเป็น และวธีิการแบบสุ่มแบบไม่อาศยัความน่าจะเป็น ดงัท่ี กนกทิพย ์ พฒันาพวัพนัธ์ (2543, หนา้ 105) ไดใ้หค้วามเห็นเก่ียวกบัการไดก้ลุ่มตวัอยา่งในงานวจิยัวา่ สามารถแบ่งออกไดเ้ป็น 2 ประเภท คือ 1. การได้กลุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็น คือ การไดก้ลุ่มตวัอยา่งแบบสุ่ม โดยท่ีหน่วยตวัอยา่งทุกหน่วยมีโอกาสถูกสุ่มมาเป็นตวัแทนโดยทัว่กนั ซ่ึงแบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ 1.1 การสุ่มกลุ่มตวัอยา่งแบบวง่าย เหมาะกบัประชากรท่ีมีลกัษณะของหน่วยตวัอยา่งท่ีคลา้ยคลึงกนัหรือมีความแตกต่างกนัไม่มากนกั 1.2 การสุ่มกลุ่มตวัอยา่งอยา่งมีระบบ เหมาะกบัประชากรท่ีมีหน่วยตวัอยา่งจดัเรียงกนัเป็นระบบอยูก่่อนแลว้ เช่น บญัชีรายช่ือเรียงตามหมายเลขบตัรประจ าตวัประชาชนหรือเรียงตามตวัอกัษร การสุ่มกลุ่มตวัอยา่งแบบมีระบบน้ี มีหลกัการวา่จะตอ้งสุ่มใหไ้ด ้หน่วยแรกซ่ึงเป็นหน่วยเร่ิมตน้ก่อนแลว้หน่วยอ่ืนๆจะตามมาเป็นระบบ

  • 18

    1.3 การสุ่มกลุ่มตวัอยา่งแบบสุ่ม เหมาะกบัประชากรท่ีมีลกัษณะหน่วยตวัอยา่งอยูเ่ป็นกลุ่ม โดยภายในกลุ่มหน่ึงๆจะมีสมาชิกท่ีมีลกัษณะปะปนกนัภายในกลุ่ม แต่ระหวา่งกลุ่มจะมีลกัษณะคลา้ยคลึงกนั ส าหรับขนาดของกลุ่มอาจจะเท่ากนัหรือไม่เท่ากนัก็ได ้ 1.4 การสุ่มกลุ่มตวัอยา่งแบบชั้นภูมิหรือแบบแบ่งประเภท เหมาะกบัประชากรท่ีมีลกัษณะของหน่วยตวัอยา่งท่ีแตกต่างกนัอยา่งเห็นไดช้ดัเจน เช่น อาชีพ รายได ้ระดบัการศึกษา การนบัถือศาสนา ฯลฯ ดงันั้น การสุ่มกลุ่ตวัอยา่ง ตอ้งไดห้น่วยตวัอยา่งทุกลกัษณะของประชากร จึงจ าเป็นตอ้งท าการแบ่งแยกหน่วยตวัอยา่งออกเป็นชั้นภูมิ ตามลกัษณะท่ีแตกต่างกนั ซ่ึงเป็นตวัแปรท่ีส่งผลถึงขอ้มูลส าหรับการวเิคราะห์ต่อไป 2. การได้กลุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น คือการไดก้ลุ่มตวัอยา่งแบบไม่สุ่ม หรือไดม้าอยา่งโดยสะดวกโดยท่ีหน่วยตวัอยา่งบางส่วนนั้นท่ีมีกาสถูกเลือกมาเป็นกลุ่มตวัอยา่ง ซ่ึงก่อใหเ้กิดความล าเอียงของค่าประมาณหรือผลสรุป ดงันั้น ถา้สามารถหลบเล่ียงไดไ้ม่ควรเลือกวธีิการไดก้ลุ่มตวัอยา่งแบบไม่สุ่ม การไดก้ลุ่มตวัอยา่งแบบไม่สุ่มแบ่งได ้3 แบบคือ

    2.1 การเลือกกลุ่มตวัอยา่งแบบโควตา้ เป็นการเลือกกลุ่มตวัอยา่งโดยก าหนดลกัษณะของหน่วยตวัอยา่ง และจ านวนหน่วยตวัอยา่งท่ีตอ้งการไวล่้วงหนา้ เม่ือพบหน่วยตวัอยา่งท่ีมีลกัษณะตามตอ้งการก็สอบถามไดท้นัที ท าเช่นน้ีจนครบจ านวนตามตอ้งการ

    2.2 การเลือกกลุ่มตวัอยา่งแบบเจาะจง เป็นการเลือกกลุ่มตวัอยา่งโดยการไม่พิจารณาตดัสินของผูว้จิยัวา่จะเลือกกลุ่มตวัอยา่งลกัษณะใด

    2.3 การเลือกตวัอยา่งแบบบงัเอิญ เป็นการเลือกกลุ่มตวัอยา่งโดยไม่เจาะจง หรือก าหนดลกัษณะของหน่วยตวัอยา่งไวล่้วงหนา้ ถา้ตอ้งการส ารวจความเห็นเก่ียวกบัเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงก็ไปสอบถามจากผูท่ี้เตม็ใจจะให้ขอ้มูล

    นอกจากน้ี การไดก้ลุ่มตวัอยา่งแบบหลายขั้นตอน เป็นการไดก้ลุ่มตวัอยา่งซ่ึงท าเป็นหลายขั้นตอนโดยมีวธีิการคลา้ยกบัการสุ่มกลุ่มตวัอยา่งแบบกลุ่ม แต่มีขั้นตอนมากกวา่โดยมีขั้นตอนตั้งแต่ 2 ขั้นตอนข้ึนไป แต่ละขั้นตอนอาจใชก้ารสุ่มแบบเดียวกนัหรือต่างกนัก็ได ้หรือบางขั้นตอนใชว้ธีิสุ่ม บางขั้นตอนใชว้ธีิเลือกผสมผสานกนัไปตามความเหมาะสม ทั้งน้ีข้ึนอยูก่บัลกัษณะของกลุ่มตวัอยา่งในแต่ละขั้นตอน

    สรุปไดว้า่ในการสุ่มกลุ่มตวัอยา่ง ผูว้จิยัควรพิจรณาใชเ้ทคนิคการสุ่มเพื่อเลือกหากลุ่มตวัอยา่งท่ีดี เพื่อเป็นตวัแทนของกลุ่มประชากร ถา้กลุ่มตวัอยา่งมีความเช่ือถือไดย้อ่มส่งผลถึงการสรุปผลการวจิยั ท่ีท าใหเ้กิดความคลาดเคล่ือนนอ้ยท่ีสุด ดงันั้น การสุ่มกลุ่มตวัอยา่งจึงตอ้งให้สอดคลอ้งกบัความตอ้งการของผูว้จิยัและเร่ืองท าการวจิยั นอกจากนั้นยงัจะตอ้งถูกตอ้งตามหลกัของการวิจยัดว้ย

  • 19

    เคร่ืองมือทีใ่ช้ในการวจัิย เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการวจิยั เป็นเป็นส่ิงส าคญัอยา่งยิง่ท่ีใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มูลนกัวจิยัจึง

    ตอ้งมีความรู้เก่ียวกบัเคร่ืองมือท่ีใช ้เพราะเคร่ืองมือแต่ละชนิดต่างก็มีความมุ่งหมายต่างกนั เคร่ืองมือท่ีใชใ้นการเก็บรวบรวมขอ้มูล ส าหรับนกัวจิยัมีหลายประเภท แต่ท่ีนิยมใชก้นัมากในการวจิยั ไดแ้ก่

    1. แบบทดสอบ ในท่ีน้ีจะหมายถึงเฉพาะท่ีวดัความสามารถทางสมอง ซ่ึงไดแ้ก่การวดัความรู้ความถนดัท่ีสามารถใหเ้ป็นคะแนนได ้

    2. แบบสอบถาม เป็นเคร่ืองมือท่ีนกัวจิยันิยมใชก้นัมากในการเก็บรวบรวมขอ้มูล เพราะเป็นวธีิท่ีสะดวกและสามารถวดัไดอ้ยา่งกวา้งขวาง เป็ชุดของค าถามท่ีจดัเรียงไวอ้ยา่งเป็นระเบียบ เพื่อใหก้ลุ่มตวัอยา่งอ่านและตอบค าถามดว้ยตวัเอง แบบสอบถามส่วนมากจะถามเก่ียวกบัขอ้เทจ็จริง กบัความคิดเห็นของผูต้อบ

    3. การสัมภาษณ์ เป็นวธีิการรวบรวมขอ้มูลขอ้มูลท่ีใชก้ารสนทนา ซกัถาม มีลกัษณะเหมือนการสอบปากเปล่า ตอ้งอาศยัการโตต้อบทางวาจาเป็นหลกั ใชไ้ดดี้ส าหรับหารเก็บขอ้มูล เก่ียวกบัความรู้สึก ความสนใจ ความคิดเห็น และทศันคติ

    4. การสังเกต เป็นการเก็บขอ้มูลรวบรวมขอ้มูลท่ีตอ้งอาศยัประสาทสัมผสัทางหูและตาเป็นส าคญั ใชไ้ดดี้กบัการศึกษาคุณลกัษณะและพฤติกรรมของบุคคลขณะท่ีก าลงัเกิดพฤติกรรมนั้นข้ึน ท าใหไ้ดข้อ้มูลแบบปฐมภูมิ นอกจากน้ีแลว้ยงัมีการสังเกตในบางคร้ังช่วยเสริมขอ้มูลท่ีไดจ้ากการสัมภาษณ์ ท าใหเ้กิดความเท่ีบงตรงมากข้ึน

    5. เทคนิคการฉายภาพ เป็นลกัษณะของการใชก้ลวธีิใหร้ะบายความในใจ เป็นการดึงดูดความรู้สึกนึกคิดของบุคคลขณะเผชิญหนา้กบัสถานการณ์ ดดยการจดัใหบุ้คคลไดพ้บกบัสถานการณ์ต่างๆเพื่อใหบุ้คคลเขียนบรรยายความรู้สึกอยา่งอิสระ แลว้น าค าบรรยายมาแปลความหมายเพื่อวดความรู้สึก หรือใชท้ านายบุคลิกภาพ และทศันคติ

    6. แบบสังคมมิติ เป็นเคร่ืองมือท่ีใชใ้นการศึกษาโครงสร้าง และความสัมพนัธ์ของบุคคลในกลุ่มต่างๆ โดยอาศยัการรวบรวมและวเิคราะห์ขอ้มูลหลายวธีิเขา้ดว้ยกนั

    การเลือกใชเ้คร่ืองมือในการวิจยั ควรเลือกใหส้อดคลอ้งกบัตวัแปรท่ีศึกษาหรือเลือกใหต้รงกบัวตัถุประสงคข์องการวิจยั ตลอดจนกรอบแนวคิดของการวจิยั เคร่ืองมือท่ีเลือกใชจ้ะตอ้งมีความน่าเช่ือถือในแง่ของความเช่ือมัน่ ความเท่ียงตรง การมีอ านาจจ าแนก และมีความเป็นปรนยัเป็นตน้

    การวเิคราะห์ข้อมูลทางสถิติ การวเิคราะห์ขอ้มูลเป็นการน าขอ้มูลท่ีเก็บรวบรวมได ้มาจดัระเบ่ียบ แยกประเภท หรือใช้

    วธีิการทางสถิติ เพื่อน าผลท่ีไดไ้ปใชเ้พื่อตอบปัญหาของการวจิยั การวิเคราะห์ขอ้มูลในการวจิยัเชิง

  • 20

    คุณภาพจะใชว้ธีิการวพิากษว์จิารณ์เพื่อตีความและสรุปผล ส าหรับการวจิยัเชิงทดลอง และการววจิยัเชิงบรรยาย มกัจะใชว้ธีิการทางสถิติในการวเิคราะห์ขอ้มูล

    ดงัท่ีกนกทิพย ์พฒันาพวัพนัธ์ (2543, หนา้ 1) กล่าววา่ในการท าวจิยันั้น โดยทัว่ไปถา้หากมีการวเิคราะห์ขอ้มูลโดยการสถิติแลว้ การวเิคราะห์ขอ้มูลทางสถิติท่ีใชใ้นการวจิยันั้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

    1. สถิติภาคบรรยาย เป็นสถิติท่ีศึกษาขอ้มูลกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง เม่ือมีการวเิคราะห์ขอ้มูลไดผ้ลเป็นอยา่งไรก็น าไปบรรยายลกัษณะของกลุ่มท่ีศึกษาเท่านั้น และจะน าไปอา้งอิงกลุ่มอ่ืนไม่ได ้สถิติประเภทน้ีจะจดักระท ากบัขอ้มูลท่ีรวบรวมมาได ้ให้อยูใ่นลกัษณะท่ีดูง่าย และสะดวกแก่การน าผลท่ีไดไ้ปบรรยาย เช่น การแจงนบัขอ้มูล การน าเสนอขอ้มูลในเชิงบรรยายหรือหรือรูปกราฟ การบรรยายผลการวิเคราะห์ขอ้มูลอาจจะบรรยายโดยใช ้ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าสหสัมพนัธ์

    2. สถิติภาคอ้างองิ เป็นสถิติท่ีศึกษาขอ้มูลจากกลุ่มตวัอยา่ง ซ่ึงถือวา่เป็นตวัแทนของขอ้มูลทั้งหมด แลว้น าผลท่ีไดจ้ากตวัแทนบางส่วนนั้นอา้งอิงไปยงักลุ่มใหญ่ทั้งหมดหรืออาจกล่าวไดว้า่ เป็นสถิติท่ีใชล้กัษณะของกลุ่มตวัอยา่งอา้งอิงไปยงักลุ่มใหญ่หรือกลุ่มประชากรเป้าหมาย การอา้งอิงหรือการสรุปผลอาจใชก้ารประมานค่าหรือทดสอบสมมุติฐานซ่ึงผลการสรุปอา้งอิงจะถูกตอ้งมากนอ้ยเพียงใดข้ึนอยูก่บัการเก็บขอ้มูล และกลุ่มตวัอยา่งท่ีใชใ้นการศึกษาวา่เป็นตวัแทนประชากรไดดี้แค่ไหน ถา้เก็บรวบรวมขอ้มูลดี และกลุ่มตวัอยา่งเป็นตวัแทนท่ีดี ผลสรุปท่ีไดก้็มีความน่าเช่ือถือมาก เหตุผลท่ีตอ้งใชส้ถิติภาคอา้งอิงก็เพราะไม่สามารถศึกษาประชากรทั้งหมดไดท้ั้งหมดทั้งน้ีดว้ยเหตุและปัจจยัต่างๆจ ากดั

    การน าสถิติไปใชใ้นการวเิคราะห์ขอ้มูลวจิยันั้น อาจเลือกใชส้ถิติเบ้ืองตน้ง่ายหรืออาจเลือกใชส้ถิติท่ียุง่ยากซบัซอ้น ทั้งน้ีตอ้งพิจรณาจากปัญหาและรูปแบบของการวิจยัรวมไปถึงวตัถุประสงคข์องการวจิยั ถา้สามารถเขียนวตัถุประสงคใ์นการวจิยัใหเ้ฉพาะลงไปไดม้ากเพียงใด ก็จะท าใหง่้ายต่อการเลือกใชส้ถิติเหมาะกบังานวจิยัท่ีศึกษา

    การสรุปผลการวจัิย การอภิปราย และข้อเสนอแนะ ในการสรุปผลการวิจยั การอภิปรายผล และการเขียนขอ้เสนอแนะนั้น เป็นบทสุดทา้ยของ

    การท าวจิยัซ่ึงในเร่ืองน้ี อุเทน ปัญโญ (2539, หนา้ 201) ไดใ้หท้ศันะไวว้า่ การสรุปผลการวจิยัจะสรุปเรียงตามวตัถุประสงคก์ารวจิยั ถา้วตัถุประสงคใ์นการวจิยัมี 3 ขอ้ก็ควรสรุปผลการวจิยัเป็น 3 ขอ้ ใหส้อดคลอ้งกนั หากวตัถุประสงคข์อ้ใดขอ้หน่ึงจ าเป็นตอ้งแยกเป็นขอ้ยอ่ยก็ควรแยกออกเป็นขอ้ยอ่ย แต่ให้อยูใ่นขอ้ใหญ่เดียวกนั การเขียนสรุปผลการวจิยัเช่นน้ีท าให้ผูอ่้านรายงานวจิยัทราบวา่ ตามวตัถุประสงคใ์นการท าวิจยัขอ้ 1 ไดก้ารวจิยัออกมาวา่อยา่งไร วตัถุประสงคก์ารวจิยัขอ้ 2 ได้

  • 21

    ผลการวจิยัออกมาวา่อยา่งไรและขอ้ต่อๆไปจนถึงขอ้สุดทา้ยบางคร้ังผูอ่้านมีความสนใจเฉพาะวตัถุประสงคก์ารวจิยับางขอ้ ก็สามารถเลือกอ่านเฉพาะผลการวจิยัขอ้นั้นไดอ้ยา่งตรงประเด็น

    การอภิปรายผลการวจิยั ซ่ึงโดยปกติแลว้ก็จะอภิปรายเรียงตามผลการวจิยั วา่จากผลการวจิยัแต่ละขอ้จะอภิปรายอยา่งไร โดยโยงไปหาทฤษฎีท่ีไดท้ าการศึกษาคน้ควา้มาและรวบรวมไวใ้นบทท่ีวา่ดว้ยงานท่ีเก่ียวขอ้งเป็นไปตามทฤษฎี สอดคลอ้งกบัทฤษฎีใหม่หรือไม่ตรงตามทฤษฎีท่ีคน้ควา้มา และโดยงไปหางานวจิยัอ่ืนท่ีเก่ียวขอ้งวา่สอดคลอ้งกบัผลการวจิยัใดและในการใหข้อ้เสนอแนะในการน าผลการวิจยัไปใชใ้หเ้กิดประโยชน์ ควรค านึงถึงอะไร และมีการปฏิบติัอยา่งไรจึงได้ประโยชน์มากท่ีสุด งานวิจยับางเร่ืองการน าผลการวจิยัไปใชส้ าหรับผูช้ี้แจงแก่ผูเ้ขา้มาเก่ียวขอ้งแต่ละฝ่าย วา่จะใหเ้ขา้มามีส่วนร่วมอยา่งไร นอกจากนั้นผูว้จิยัส่วนใหญ่จะมีขอ้เสนอแนะ ส าหรับผูท่ี้สนใจจะท าการศึกษาเร่ืองท่ีคลา้ยกบังานวจิยัเร่ืองนั้นวา่ควรมีการวสิจยัในเร่ืองท านองใดอีก และมีขอ้เสนอแนะส าหรับผูท่ี้จะท าการวจิยัอยา่งไรบา้ง

    นอกจากน้ี ลว้น สายยศ และองัคนา สายยศ (2538, หนา้ 233) ไดก้ล่างถึงการสรุปผลการวจิยัวา่มกัมีการจะแบ่งส่วนต่างๆ ออกเป็น 3 ส่วน ซ่ึงสมารถสรุปรายละเอียดไดด้งัน้ี

    1. การสรุปงานวิจยั เป็นการสรุปยอ่ยผลทั้งหมด ท่ีด าเนินการไปแลว้อยา่งรวบรัด โดยจบัเอาเฉพาะหวัใจส าคญั ตารางและเลขท่ีซบัซอ้นไม่ตอ้งน ามาเสนอ ส่ิงท่ีน ามาสรุปยอ่ย ไดแ้ก่ จุดมุ่งหมายของการวจิยั ประชากรหรือกลุ่มตวัอยา่ง วธีิการด าเนินการ และผลการวเิคราะห์ขอ้มูล

    2. การอภิปราย เป็นการวพิากวจิารณ์ผลการวจิยัของตนเอง วา่เก่ียวขอ้งกบัของผูอ่ื้นอยา่งไร อาจคลอ้ยตามหรือขดัแยง้ก็ได ้หวัใจส าคญัเพื่อจะท าความกระจ่างของผลงานวิจยัของนกัวจิยัใหดี้ยิง่ข้ึน

    3. ขอ้เสนอแนะ การเสนอแนะเป็นการน าผลท่ีไดจ้ากการวจิยัหรือปัญหาจากการท าวิจยัเพื่อเสนอใหผู้อ่ื้นน าไปใชห้รือน าไปคิดต่อ

    ส าลี ทองทิว และสุมิตรา องัวฒันกุล (2538, หนา้ 339) ไดก้ล่าวถึงการสรุปผลการวจิยั การอภิปราย และการใหข้อ้เสนอแนะวา่เป็นหวัใจส าคญัของการเขียนรายงานและเป็นจุดส าคญัของการววจิยั ฉะนั้นจึงเป็นบทท่ีเขียนไดย้ากท่ีสุดจะตอ้งมีการตีความ และสรุปผลการคน้พบทั้งหมด ในบทน้ีจึงมกัจะเป็นการทบทวนปัญหาและวธีิท่ีใชใ้นการวจิยั ทั้งน้ีมุ่งท่ีจะใหผู้อ่้านไดท้ราบถึงวตัถุประสงคข์องการวจิยั การทบทวนควรกล่าวอยา่งสั้นๆและน าไปสู่การสรุปและการอภิปรายผลไดท้นัที การสรุปข้ึนอยูก่บัความซบัซอ้นของผลท่ีไดรั้บจากการวจิยั ไม่ควรกล่าวอยา่งกวา้งๆจนเกินไป ควรสรุปตามขอ้เท็จจริงท่ีพบในการวจิยัและในขณะเดียวกนัก็อยา่ใหแ้คบเกินไปเพราะท าใหข้าดความส าคญัของปัญหาท่ีท าวจิยั

  • 22

    ดงันั้น การอภิปรายผลควรมีลกัษณะท่ีสร้างสรรค ์ซ่ึงตอ้งอาศยัความเขา้ใจเก่ียวกบัขอบเขตของการวิจยั และงานวจิยัต่างๆท่ีเก่ียวขอ้งเป็นอยา่งดี การอภิปรายผลควรรวมถึงการประยกุตท์ฤษฎีต่างๆเขา้ไวด้ว้ยกนั และควรมีการทบทวนแนวคิดในการวจิยั ขอบเขตการวิจยัเพื่อน าไปสู่การเสนอแนะเก่ียวกบังานวจิยัอ่ืนๆ ต่อไป

    การสังเคราะห์งานวจัิย ปัจจุบนัมีการศึกษาคน้ควา้ และสร้างสรรคง์านวจิยัเป็นจ านวนมาก ซ่ึงในบางคร้ังงานวิจยัท่ีมากมายนั้นมกัจะศึกษาในปัญหาเดียวกนั คลา้ยคลึงกนั ใชว้ธีิการศึกษาท่ีไม่แตกต่างกนั ซ่ึงท าให้เกิดความซ ้ าซอ้น ท าให้องคค์วามรู้นั้นขาดการพฒันาการ จึงจ าเป็นตอ้งมีการสังเคราะห์งานวจิยั เพื่อไม่ใหเ้กิดปัญหาดงักล่าว

    ความหมายของการสังเคราะห์งานวจัิย อุทุมพร จามรมาน (2531, หนา้ 1) ใหค้วามหมายของการสังเคราะห์ (Synthesis) วา่หมายถึง การน าส่วนยอ่ยมาประกอบเขา้ดว้ยกนัจนเกิดส่ิงใหม่ข้ึน นงลกัษณ์ วรัิชชยั (2542, หนา้ 26) ใหค้วามหมายของการสังเคราะห์งานวิจยั (Research Synthesis) หรือการปริทศัน์งานวิจยั (Research Review) วา่เป็นระเบียบวธีิการศึกษาตามระเบียบวธีิทางวทิยาศาสตร์เพื่อตอบปัญหาวจิยัเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง โดยการรวบรวมงานวจิยัท่ีเก่ียวกบัปัญหานั้นๆ มาศึกษาวเิคราะห์ดว้ยวธีิการทางสถิติ หรือวธีิการวเิคราะห์ขอ้มูลเชิงคุณภาพ และน าเสนอขอ้สรุปอยา่งมีระบบใหไ้ดค้ าตอบปัญหา�