25
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที 11 เรื่อง การแสดงออกทางนาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท ี่ ١ วิชา ศิลปะ เวลาเรียน 12 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที 11 การแสดงออกทางนาฏศิลป์ ปีการศึกษา ٢٥٥٢ 1. สาระที่ ٣ นาฏศิลป์ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 3.١ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 3. ตัวชี้วัด ٣.١ .1/٢ ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการ แสดง ٣.١ .1/٣ แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ 4. สาระสำาคัญ นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการละคร หรือ ฟ้อนรำาของไทย ที่มีกำาเนิดมายาวนานควบคู ่กับการพัฒนาการของชนชาติไทย และเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ ่งของวัฒนธรรมไทย ซึ่งการแสดง นาฏศิลป์ชุดหนึ่งนอกจากจะได้รับความบันเทิงและ สุนทรียภาพแล้ว ยังได้รับความรู้เกี่ยวกับ ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิตของ ผู้คน ที่สอดแทรกอยู ่ในการแสดงชุดนั้น ๆ ด ้วย 4.1 ความรู้ 1. อธิบายลักษณะของนาฏศิลป์ประเภทต่างๆได้ 2. สามารถจำาแนกประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ประเภท ต่างๆได้ 1

3.แผนการเรียนรู้ backward

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 3.แผนการเรียนรู้ backward

แผนการจ ัดการเร ียนร ู ้ หน่วยท ี ่ 11

เร ื ่อง การแสดงออกทางนาฏศ ิลป ์

กล ุ ่มสาระการเร ียนร ู ้ศ ิลปศ ึกษา ชั ้นม ัธยมศึกษาป ีท ี ่ ١

ว ิชา ศ ิลปะ เวลาเร ียน 12 ชั ่วโมง

หน่วยการเร ียนร ู ้ท ี ่ 11 การแสดงออกทางนาฏศ ิลป ์ ปีการศ ึกษา ٢٥٥٢

1. สาระท ี ่ ٣ นาฏศิลป ์

2. มาตรฐานการเร ียนร ู ้ ศ 3.١ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์

วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน

3. ตัวช ี ้ว ัด ศ ٣.١ ม.1/٢ ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการ

แสดง ศ ٣.١ ม.1/٣ แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ

4. สาระส ำาค ัญ นาฏศิลป ์ไทยเป ็นศ ิลปะการละคร หรือ ฟ้อนร ำาของไทย

ที ่ม ีก ำาเน ิดมายาวนานควบคู ่ก ับการพัฒนาการของชนชาติไทย และเป ็นเอกลักษณ์อย ่างหนึ ่งของว ัฒนธรรมไทย ซึ ่งการแสดง

นาฏศิลป ์ช ุดหนึ ่งนอกจากจะได้ร ับความบ ันเท ิงและ สุนทร ียภาพแล ้ว ย ังได ้ร ับความร ู ้ เก ี ่ยวก ับ ท ัศนคติ ความเช ื ่อ

ค่าน ิยม ว ัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี ว ิถ ีช ีว ิตของ ผู ้คน ที ่สอดแทรกอย ู ่ในการแสดงชุดน ั ้น ๆ ด ้วย

4.1 ความร ู ้1. อธบิายลักษณะของนาฏศิลป์ประเภทต่างๆได้2. สามารถจำาแนกประเภทของการแสดงนาฏศิลป์ประเภท

ต่างๆได้

1

Page 2: 3.แผนการเรียนรู้ backward

3. อธบิายประเภทของนาฏยศัพท์ประเภทต่างๆได้4. สามารถจำาแนกประเภทของนาฏยศัพท์ได้อย่างถูกต้อง5. แสดงภาษาท่าเบ้ืองต้นได้อย่างถูกต้อง สวยงาม6. แสดงภาษาท่าตามคำาสั่งได้อย่างถูกต้อง7. แยกประเภทของภาษาท่าได้ถูกต้อง8. รูปแบบของการแสดงพื้นเมือง9. ลักษณะของการแสดงพื้นเมือง10. การแสดงพื้นเมืองกับการถ่ายทอดความคิด11. การแสดงพื้นเมืองกับความงาม12. การแสดงพื้นเมืองและความสวยความงามของการแสดง

4.2 ทักษะ กระบวนการ١. ทักษะแสวงหาความรู้٢. ทักษะสอบถาม٣. ทักษะการวิเคราะห์٤. ทักษะสืบค้นข้อมูล

4.3 คุณลักษณะ1. ใฝ่เรียนรู้2. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน3. มุ่งมั่นในการทำางาน4. รักความเป็นไทย5. มีคุณธรรมพื้นฐาน ٨ ประการ

5. กระบวนการจ ัดการเร ียนร ู ้

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 1 เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏศิลป์ (เวลา เรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ

นาฏศิลป์ไทย การแสดง ละคร การฟ้อนรำา ประเภทต่างๆ3.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประวัติความเป็นมาของ นาฏศิลป์ ลักษณะของการแสดง ละคร และแยกประเภทของนาฏศิลป์

โดยครูให้นักเรียนยกมือตอบ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง ความรู้พื้นฐาน นาฏศิลป์ อย่างเข้าใจ5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มเท่ากัน แล้วให้

นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทย

2

Page 3: 3.แผนการเรียนรู้ backward

ว่ามีลักษณะอย่างไร โดยแต่ละกลุ่มจะได้คำาถามเหมือนกัน โดยให้นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมจากใบความรู้

6.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่านาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างไร จากน้ันครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าช้ันเรียน

เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ไทยว่ามีลักษณะอย่างไร จนรายงานครบทุกกลุ่ม

7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประวัติความเป็นมา และลักษณะ ของนาฏศิลป์ไทยว่าเป็นอย่างไร ก่อนที่นักเรียนจะได้ฝึกปฏิบัตินักเรียน

ควรรู้ที่มาของนาฏศิลป์ไทย อย่างเข้าใจ ครูอธิบายให้นักเรียนฟัง8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 2 เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏศิลป์ (เวลา เรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับการแสดงของนาฏศิลป์

จากน้ันครูสอบถามนักเรียนว่า ทราบหรือเปล่าวงการแสดงโขนมีการแต่ง ตัวแบบใด โดยครูสอบถามนักเรียน

3. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4 กลุ่ม เท่าๆกัน และให้นักเรียนไป ศึกษาจากใบความรู้ โดยครูจะกำาหนดหัวข้อให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไป

ศึกษา เช่น

- โขน- ละคร- รำา และ ระบำา- การแสดงพื้นเมือง

4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้เพิ่ม และครูอธิบายเพิ่มเติม ว่าการแสดงนาฏศิลป์แบบออกได้ 4 ประเภท เช่น โขน ละคร ระบำา

การแสดงพื้น5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เก่ียวกับความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับ

นาฏศิลป์ไทย โดยครูสุ่มนักเรียนในห้องลุกขึ้นตอบคำาถามจากบทเรียนที่เรียนมาว่านักเรียนเข้าใจมากน้อยเพยงใด

3

Page 4: 3.แผนการเรียนรู้ backward

6. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่นักเรียนได้ไปศึกษา

7.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม

8.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกต

4

Page 5: 3.แผนการเรียนรู้ backward

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 3 เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏยศัพท์ ( เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเรื่องของนาฏยศัพท์ ที่ใช้

เรียกช่ือท่ารำาทางนาฏศิลป์ โดยครูสอบถามนักเรียน ว่านาฏยศัพท์หมาย ถึงอะไร ให้นักเรียนยกมือตอบคำาถาม3. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาประเภทของนาฏยศัพท์ และ

ความหมายของนาฏยศัพท์ ว่ามีความหมายอย่างไร โดยครูสอบถาม นักเรียนว่านักเรียนมีความรู้เรื่องของนาฏยศัพท์หรือเปล่า ครูทดสอบให้

นักเรียนยกมือตอบ โดยครูคอยให้คำาปรึกษา4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏย

ศัพท์5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆกัน แล้วให้ไปศึกษา

เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏยศัพท์ จากห้องสมุดในโรงเรียนพร้อมจดบันทึกมาส่งครู

6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐาน นาฏยศัพท์ ที่นักเรียนได้ไปศึกษา โดยครูให้แต่ละกลุ่มออกมารายงาน

จนครบทุกกลุ่ม ครูคอยให้คำาปรึกษา7.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความสำาคัญของนาฏยศัพท์ที่ใช้ใน

การรำา หรือการแสดงโขน ว่ามีส่วนสำาคัญต่อการแสดงเป็นอย่างมาก จากน้ันครูให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน

8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่นักเรียนได้ไปศึกษา

9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม

10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 4 เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏยศัพท์(เวลา เรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับนาฏยศัพท์ ตอ่การ

แสดงหรือร่ายรำานาฏศิลป์ จากน้ันครูสอบถามนักเรียนว่า กิริยาศัพท์ เป็นอย่างไรนักเรียน นักเรียนตอง การจีบ การหงายมือคะ ครูชมเชย

นักเรียน

5

Page 6: 3.แผนการเรียนรู้ backward

3. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 3 กลุ่ม เท่าๆกัน และให้นักเรียน ไปศึกษาจากใบความรู้ โดยครูจะกำาหนดหัวข้อให้นักเรียนแต่ละกลุ่มไป

ศึกษา ประเภทของนาฏยศัพท์ โดยครูให้หัวข้อดังน้ี

- นามศัพท์- กิริยาศัพท์- นาฏยศัพท์เบ็ดเตล็ด

4. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของนาฏยศัพท์ โดย ครูให้นักเรียนศึกษาภาพ ที่ครูได้จัดเตรียมมาแล้วครูก็อธิบายบาย

การแยกประเภทของนาฏยศัพท์ ว่ามีความสำาคันอย่างไร5. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่มเท่ากัน แล้วให้นักเรียน

แยกประเภทของนาฏยศัพท์ โดยครู ได้ให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ แล้วนำาเน้ือหาจากใบความรู้นำามาทำา

แบบทดสอบ6. ครูให้แต่ละกลุ่มออกมารายงานการแยกประเภทของนาฏย

ศัพท์ โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาอธิบายให้เพื่อนฟังหน้าช้ันเรียน โดยครูเป็นคนคอยให้ความรู้เพิ่มเติมจากที่แต่ละกลุ่มทำารายงานมา 7.

นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเก่ียวกับนาฏยศัพท์ ว่ามีความสำาคัญอย่างไร ต่อการแสดง และการร่ายที่สวยงามและครูให้นักเรียนไปศึกษาเพิม่เติม

ต่อไป8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา

9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม

10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 5 เรื่อง ความรู้พื้นฐานภาษาท่า (เวลา เรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2.นักเรียนและครูสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้แยกประเภทของ

ภาษาท่าไปแล้วจากน้ันครูจะให้นักเรียนสังเกตภาษาท่าที่ครูทำาให้ดูแล้ว ให้นักเรียนตอบ เช่น ครูเอาน้ิวมาแตะที่ตา ความหมายว่าอะไร ให้

นักเรียน หรือท่าโกรธ ท่าดีใจ เป็นต้น

6

Page 7: 3.แผนการเรียนรู้ backward

3. ครูให้นักเรียนยืนขึ้นแล้วจัดแถวเป็นหน้ากระดาน แล้วให้ นักเรียนแสดงท่าทางตามครู เช่น การร้องไห้ การดีใจ การโกรธ การ

ยิ้ม การเศร้าใจ การอาย เป็นต้น4. นักเรียนและครูร่วมกันปฏิบัติท่ารำาอย่างสนุกสนานโดยครูทำา

เป็นตัวอย่างแล้วให้นักเรียนทำาตาม จากน้ันครูให้นักเรียนทำาตามคำาสั่ง ของครู ที่ละภาษาท่า จนนักเรียนปฏิบัติท่าได้คล่องและถูกต้อง

5.ครูให้นักเรียนน่ังลงจากน้ันครูจะสุ่มนักเรียนออกมาทำาภาษาท่าให้นักเรียนดูหน้าช้ันเรียนแล้วให้นักเรียนตอบพร้อมว่าท่าที่เพื่อน

แสดงอยู่หน้าช้ัน มีช่ือว่าอย่างไร6.นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความสำาคัญภาษาท่าที่ใช้ในการรำา

หรือการแสดงโขน ว่ามีส่วนสำาคัญต่อการแสดงเป็นอย่างมาก จากน้ันครู ให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน

7. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่นักเรียนได้ไปศึกษา

8.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม

9.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 6 เรื่อง ความรู้พื้นฐานภาษาท่า (เวลา เรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2.นักเรียนและครูสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้แยกประเภทของ

ภาษาท่าไปแล้วจากน้ันครูจะให้นักเรียนสังเกตภาษาท่าที่ครูทำาให้ดูแล้วให้นักเรียนตอบ

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายภาษาท่าที่ถูกต้อง และใช้กัน ในนาฏศิลป์ การดีใจ การร้องไห้ การเสียใจ โดยภาษาท่าแต่ละอย่าง

ก็ได้จากการใช้ในชีวิตประจำาวัน นักเรียนควรรู้เรื่องของภาษาท่าได้อย่างถูกต้อง

4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากรูปภาพ และใบความรู้ภาษาท่า และศึกษาจากใบความรู้ต่อไป

5. ครูและนักเรียนร่วมกันปฏิบัติภาษาท่าเบ้ืองต้นโดยครูเป็นคนทำาให้นักเรียนดูแล้วให้นักเรียนทำาตาม

6. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนออกมาแสดงภาษาท่าให้เพื่อนชมหน้า ช้ันเรียน แล้วให้นักเรียนตอบว่าท่าที่เพื่อนทำามีช่ือว่าอย่างไร

7

Page 8: 3.แผนการเรียนรู้ backward

7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความสำาคัญภาษาท่าที่ใช้ในการ รำา หรอืการแสดงโขน ว่ามีส่วนสำาคัญต่อการแสดงเป็นอย่างมาก จาก

น้ันครูให้นักเรียนทำาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 7 เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคเหนือ ( เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2. นักเรียนและครูสนทนาประเพณีวัฒนธรรมของภาคเหนือ และ

ให้นักเรียนยกตัวอย่างชุดการแสดงของภาคเหนือมา คนละ 1 ชุดการแสดง

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของการแสดงพื้น บ้านของภาคเหนือว่ามีรูปแบบการแสดงเป็นอย่างไร โดยครูให้นักเรียน

ยกมือตอบ จากคำาถามที่ครูถาม จากน้ันครูให้ความรู้แก่นักเรียนเพิ่มเติม4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคเหนือ อย่างเข้าใจ

5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เท่าๆกัน แล้วให้ นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับนาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคเหนือ ว่ามีการ

แสดงในรูปแบบใด6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้น

บ้าน ภาคเหนือ โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าช้ันเรียน จนครบทุกกลุ่ม โดยครูคอยให้คำาปรึกษา

7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของการแสดงของภาค เหนือ ว่ามีรูปแบบการแสดงเป็นอย่างไร พร้อมทั้งรูปแบบของการ

บรรเลงดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดง8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกต

8

Page 9: 3.แผนการเรียนรู้ backward

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 8 เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคกลาง ( เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2. นักเรียนและครูสนทนาประเพณีวัฒนธรรมของภาคกลาง และ

ให้นักเรียนยกตัวอย่างชุดการแสดงของภาคกลาง โดยให้นักเรียนยกมือ ตอบ โดยครูถามนักเรียน

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของการแสดงพื้น บ้านของภาคกลางว่ามีรูปแบบการแสดงเป็นอย่างไร โดยครูให้นักเรียน

ยกมือตอบ จากคำาถามที่ครูถาม จากน้ันครูให้ความรู้แก่นักเรียนเพิ่มเติม4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคกลาง อย่างเข้าใจ

5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เท่าๆกัน แล้วให้ นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับนาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคกลาง ว่ามีการ

แสดงในรูปแบบใด6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้น

บ้าน ภาคกลาง โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าช้ันเรียน จนครบทุกกลุ่ม โดยครูคอยให้คำาปรึกษา

7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของการแสดงของภาค กลาง ว่ามีรูปแบบการแสดงเป็นอย่างไรพร้อมทั้งรูปแบบของการบรรเลง

ดนตรีที่ใช้บรรเลงประกอบการแสดง8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 9 เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคใต้ ( เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2. นักเรียนและครูสนทนาประเพณีวัฒนธรรมของภาคใต้ และ

ครูได้สรุปจากการเรียนรูปแบบการแสดงของภาคเหนือ ภาคกลาง มา แล้ว นักเรียนได้อะไรบ้าง

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของการแสดงพื้น บ้านของภาคใต้ ว่ามีรูปแบบการแสดงเป็นอย่างไร รูปแบบการแสดง

9

Page 10: 3.แผนการเรียนรู้ backward

ลักษณะของการบรรเลงดนตรี รวมทั้งการแสดงที่มีรูปแบบเหมือนการ แสดงของภาคกลาง ภาคเหนือ หรอืเปล่า โดยครูถามนักเรียน

4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคใต้ อย่างเข้าใจ

5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 กลุ่ม เท่าๆกัน แล้วให้ นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับนาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคใต้ พร้อมทั้งให้

นักเรียนจดบันทึกข้อมูลมาส่งครู6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้น

บ้าน ภาคใต้ โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าช้ันเรียน จนครบทุกกลุ่ม โดยครูคอยให้คำาปรึกษา

7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของการแสดงของภาค ใต้ ว่ามีรูปแบบการแสดงเป็นอย่างไรลักษณะของเครื่องดนตรี และ

เทคนิคการบรรเลง แตกต่างกันอย่างไร โดยครูให้นักเรียนยกมือตอบ8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 10 เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคอีสาน ( เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2.นักเรียนและครูสนทนาหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษาวัฒนธรรม

พื้นบ้านมาแล้ว 3 ภาค ต่อไปเป็นภาคสุดท้ายคือภาคอะไร ครูถามนักเรียน

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของการแสดงพื้น บ้านของภาคอีสาน ว่ามีรูปแบบการแสดงคล้ายกับภาคอีสาน ทำานอง

เพลง ลักษณะการรำา ซึ่งภาคอีสานจะมีวัฒนธรรมความเช่ือทางศาสนา4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคอีสาน อย่างเข้าใจ

5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 กลุ่ม เท่าๆกัน แล้วให้ นักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกับนาฏศิลป์พื้นบ้านภาคอีสาน พร้อมทั้ง

ให้นักเรียนจดบันทึกข้อมูลมาส่งครู

10

Page 11: 3.แผนการเรียนรู้ backward

6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้น บ้านภาคอีสาน โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าช้ันเรียน จนครบทุกกลุ่ม โดยครูคอยให้คำาปรึกษา

7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของการแสดงของภาค อีสาน ว่ามีรูปแบบการแสดงเป็นอย่างไรลักษณะของเครื่องดนตรี และ

เทคนิคการบรรเลง แตกต่างกันอย่างไร โดยครูให้นักเรียนยกมือตอบ8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา8.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 11 เรื่อง ปฏิบัติพื้นบ้านสร้างสรรค์ ( เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับวัฒนธรรมทั้ง 4 ภาค

ที่นักเรียนได้ศึกษามา รวมทั้งการแสดงที่มีความสวยงามทางด้านอารมณ์ จิตใจ และความเพลิดเพลิน

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของการแสดงพื้น บ้านทั้ง 4 ภาค หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษามาทั้งวัฒนธรรมการทำามา

หากิน และความเช่ือทางศาสนา มีความร่ายรำาที่แตกต่างกัน4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน

ทั้ง 4 ภาคแล้ว แล้วให้นักเรียนสรุปมาส่งครู5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 กลุ่ม เท่าๆกัน แล้วให้

นักเรียนไปศึกษาชุดการแสดงทั้ง 4 ภาค โดยครูกำาหนดหัวข้อให้ นักเรียนไปศึกษา พร้อมทั้งจดบันทึกมาส่งครู

6. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมารายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้น บ้านทั้ง 4 ภาค โดยให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมารายงานหน้าช้ัน

เรียน จนครบทุกกลุ่ม โดยครูคอยให้คำาปรึกษา7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประเภทของการแสดงทั้ง 4 ภาค

ว่ามีลักษณะการแสดงอย่างไร พร้อมทั้งให้นักเรียนศึกษาท่ารำาของภาค อีสานมา8. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และส่งแบบรายงานที่

นักเรียนได้ไปศึกษา

11

Page 12: 3.แผนการเรียนรู้ backward

9.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม

10.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้คะแนนตามแบบสังเกต

กิจกรรมการเร ียนร ู ้คร ั ้ งท ี ่ 12 เรื่อง ปฏิบัติพื้นบ้านสร้างสรรค์ ( เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง )

1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้2. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเก่ียวกับวัฒนธรรมทั้ง 4 ภาค

ที่นักเรียนได้ศึกษามา รวมทั้งการแสดงที่มีความสวยงามทางด้านอารมณ์ จิตใจ และความเพลิดเพลิน

3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายลักษณะของการแสดงพื้น บ้านอีสาน แล้วครูถามนักเรียนว่าการแสดงของภาคอีสานมีการแสดง

อะไรบ้าง ครูทดสอบนักเรียนก่อนการเรียนปฏิบัติการรำา4. ครูให้นักเรียนศึกษาจากแผ่น วีดีทศัน์ชุดรำานาฏศิลป์พื้น

เมืองภาคอีสาน ชุดรำาตังหวาย โดยให้นักเรียนศึกษาท่ารำาและทำานอง เพลงอย่างเข้าใจ

5. ครูให้นักเรียนจักแถวหน้ากระดานให้เท่าๆกัน แล้วให้ นักเรียนลงมือปฏิบัติท่ารำาตามครูไปทีละท่า โดยครูสาธิตหน้าช้ันเรียน

และให้นักเรียนทำาตามไปที่ละท่าจนจบการรำาตังหวาย6. ครูให้นักเรียนฝึกซ้อมอย่างสนุกสนานและครูคอยให้จังหวะ

แก่นักเรียน และคอยปรับแต่งท่ารำาให้แก่นักเรียน จนนักเรียนรำาตังหวายได้อย่างถูกต้องและสวยงาม

7. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 8 คน เท่าๆกัน แล้วให้ แต่ละกลุ่มฝึกซ้อมรำาตังหวาย ให้ถูกต้อง

8. ครูให้แต่ละกลุ่มออกมาแสดงหน้าช้ันเรียน โดยให้กลุ่มที่ไม่ได้แสดงให้เป็นนักชมที่ดี

9. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการรำาตังหวาย ว่าเป็นการแสดง ของภาคอีสาน โดยจังหวะสนุกสนาน และท่ารำาดูสวยงาม โดยครูและ

นักเรียนร่วมกันรำาตังหวายอย่างสนุกสนาน10. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุป และดูการปฏิบัติท่ารำา

ได้อย่างถูกต้องสวยงาม11.ครูสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกตพฤติกรรม12.ครูสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักเรียนและให้

คะแนนตามแบบสังเกต

12

Page 13: 3.แผนการเรียนรู้ backward

6. สื ่ออ ุปกรณ์และแหล่งเร ียนร ู ้1. ใบความรู้2. ใบงาน3. แผนภาพ4. คำาถาม5. สถานการณ์/ เหตุการณ์6. อุปกรณ์การแสดงนาฏศิลป์7. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด8. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์9. หนังสือเรียน เอกสารความรู้

13

Page 14: 3.แผนการเรียนรู้ backward

7. การว ัดและประเม ินผลการเร ียนร ู ้7.1 ว ิธ ีการว ัดและเคร ื ่องม ือว ัด

เป ้าหมายการเร ียนร ู ้

ว ิธ ีการว ัด เคร ื ่องม ือว ัด

สาระส ำาค ัญนาฏศ ิลป ์ไทยเป ็นศ ิลปะการ

ละคร หรือ ฟ้อนร ำาของ

ไทย ที ่ม ีก ำาเน ิดมายาวนานควบคู ่ก ับการพัฒนาการของชนชาติ

ไทย ฯ

1. ทดสอบประเม ินผลก่อนเร ียน

2. ตรวจใบงาน3. การนำาเสนอผลงาน

1. แบบทดสอบประเม ินผลก่อนเร ียน2. แบบประเม ินใบงาน3. แบบประเม ินการน ำาเสนอผลงาน

ศ ٣.١ ม.1/٢ ใช้นาฏยศัพท์หรอืศัพท์ทางการละครในการแสดง

1. ใบความรู้ เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏศิลป์

– แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม

ศ ٣.١ ม.1/٢ ใช้นาฏยศัพท์หรอืศัพท์ทางการละครในการแสดง

ศ ٣.١ ม.1/٣ แสดงนาฏศิลป์และละครในรูป

แบบง่าย ๆ

1. การ รายงาน เรื่อง ความรู้พื้นฐานนาฏย

ศพัท์2. ผลการแยกประเภท

ของนาฏยศัพท์3. ผลการปฏิบัติท่ารำา4. ผลการศึกษาจาก

รูปภาพ และใบความรู้ ภาษาท่า

5. ผลการปฏิบัติภาษาท่าเบ้ืองต้น6. ผลการศึกษาใบความ รู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน

ภาคเหนือ

– แบบประเมินใบงาน– แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม– แบบประเมินการนำาเสนอผลงาน– แบบประเมินพฤติกรรม– แบบทดสอบประเมินผลหลังเรียน

14

Page 15: 3.แผนการเรียนรู้ backward

7. การรายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาค

เหนือ8. ผลการศึกษาใบความ รู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน

ภาคกลาง

15

Page 16: 3.แผนการเรียนรู้ backward

เป ้าหมายการเร ียนร ู ้

ว ิธ ีการว ัด เคร ื ่องม ือว ัด

9. การรายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน

ภาคกลาง10. ผลการศึกษาใบ

ความรู้ เรื่อง นาฏศิลป์พื้นบ้าน

ภาคใต้11. การรายงาน

เรื่อง นาฏศิลป์พื้น บ้าน ภาคใต้

12. ผลการศึกษาใบ ความรู้ เรื่อง

นาฏศิลป์พื้นบ้าน ภาคอีสาน

13. การรายงาน เรื่อง นาฏศิลป์พื้น

บ้านภาคอีสาน14. การรายงาน

เรื่อง นาฏศิลป์พื้น บ้านทั้ง ٤ ภาค

15. ผลการฝึกซ้อม รำาตังหวาย

คุณลักษณะ1. ใฝ่เร ียนร ู ้2. ใฝ่ร ู ้ใฝ ่ เร ียน3. มุ ่งม ั ่นในการทำางาน4. ร ักความเป ็นไทย5. มีค ุณธรรม

พื ้นฐาน ٨ ประการ

1. รายงานการสังเกตพฤติกรรม2. สังเกตพฤติกรรมด้านคุณธรรมพื ้นฐาน

1. แบบประเม ินพฤติกรรมด ้านการปฏิบ ัต ิตน2. แบบประเม ินพฤติกรรมด ้านคุณธรรมพื ้นฐาน

16

Page 17: 3.แผนการเรียนรู้ backward

17

Page 18: 3.แผนการเรียนรู้ backward

7.2 เกณฑ์การว ัด7.2.1 ข้อสอบปรนัย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน7.2.2 แบบประเม ินการปฏิบ ัต ิงานกล ุ ่ม

1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน

7.2.3 แบบประเม ินการนำาเสนอผลงาน1. เน้ือหา2. กลวิธีการนำาเสนอ3. ขัน้ตอนการนำาเสนอ4. การใช้ภาษา5. ตอบคำาถาม/เวลา

7.2.4 แบบตรวจผลงานเข ียนแผนผังความคิด1. ความคิดรวบยอด2. ความคิดรอง3. ความคิดย่อย4. การเช่ือมโยงความคิด٥. ความสวยงาม

7.2.5 แบบส ังเกตพฤติกรรมรายบ ุคคล1. ความตั้งใจ2. ความร่วมมือ3. ความมีวินัย4. คุณภาพของผลงาน5. การนำาเสนอผลงาน

7.2.6 แบบประเม ินใบงาน1. การสรุปเป็นองค์ความรู้2. เน้ือหาถูกต้อง ครบถ้วน3. การบันทึกข้อมูล4. การอภิปราย5. การสนทนาซักถาม

7.2.7 แบบประเม ินผลงาน/ชิ ้นงาน1. ความคิดสร้างสรรค์2. ความประณีตสวยงาม3 ความสะอาด

18

Page 19: 3.แผนการเรียนรู้ backward

٤ ความแข็งแรงคงทน5. ทำางานเสร็จทันเวลา

7.2.8 การสอบถามนักเร ียนเก ี ่ยวก ับการว ิ เคราะห ์แผนภาพ

1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ ١ คะแนน2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน

7.2.9 แบบประเม ินพฤติกรรมด ้านการปฏิบ ัต ิตน1. ความกระตือรือร้น2. ความร่วมมือ3. ความรับผิดชอบ4. การเคารพกติกา5. ความกล้าแสดงออก

7.2.10 แบบประเม ินพฤติกรรมด ้านค ุณธรรมพื ้นฐาน1. ความขยัน2. ความประหยัด3. ความซื่อสัตย์4. ความมีวินัย5. ความสุภาพ6. ความสะอาด7. ความสามัคคี8. ความมีนำ้าใจ

19

Page 20: 3.แผนการเรียนรู้ backward

7.3 เกณฑ์การผ่าน7.3.1 เกณฑ์การผ่านรายบ ุคคล

7.3.1.1 นักเรียนได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม

7.3.1.2 นักเรียนได้ระดับคุณภาพตั้งแต่ระดับ 2 ขึน้ไป จาก 3 ระดับคุณภาพของการประเมินหรือ ได้ระดับคุณภาพตั้งแต่ระดับ

3 ขึน้ไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน7.3.2 เกณฑ์การผ่านรายกลุ ่ม

7.3.2.1 จำานวนนักเรียนร้อยละ 80 ได้คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม

7.3.2.2 จำานวนนักเรียนร้อยละ 80 ได้ระดับคุณภาพ ตั้งแต่ระดับ 2 ขึน้ไปจาก 3 ระดับคุณภาพของการประเมินหรือ ได้

ระดับคุณภาพตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน

20

Page 21: 3.แผนการเรียนรู้ backward

8. บันทึกผลหล ังการจ ัดการเร ียนร ู ้8..1 ผลการจ ัดการเร ียนร ู ้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน )นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........ คน คิดเป็นร้อย

ละ...........นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง....... คน คิด

เป็นร้อยละ................. นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน

คิดเป็นร้อยละ.............8.2 ผลการประเม ินพฤต ิกรรมระหว ่างเร ียน

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

..............................................................................................

.................................................... 8.٣ ปัญหาและอ ุปสรรคระหว ่างการจ ัดก ิจกรรมการ

เร ียนการสอน..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

8.٤ การปร ับปร ุงและพัฒนา..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

……………………………………………ลงช่ือ

21

Page 22: 3.แผนการเรียนรู้ backward

(.................................................................)

ครู ว ิทยฐานะคร ูช ำานาญการ

22

Page 23: 3.แผนการเรียนรู้ backward

9 ความเห ็นของหัวหน้ากล ุ ่มสาระการเร ียนร ู ้ศ ิลปะ

..................……………………………………………………………………….....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ...........................................ผู้ตรวจสอบ

(......................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

23

Page 24: 3.แผนการเรียนรู้ backward

10. ความเห ็นของผู ้บร ิหารโรงเร ียน

..................………………………………………………………………………......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.................................................. ผู้ตรวจสอบ

( ..............................................) ผู้อำานวยการ

โรงเรียน.................................

24

Page 25: 3.แผนการเรียนรู้ backward

25