81
4.3 Spontaneous potent ial log Spontaneous potential (SP) log เเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเ (conductive mud) SP log เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ เเเเเเเเเเเเเเ (oil-base mud) เเเเ เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ (empty holes) เเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเเ (cased holes)

4.3 Spontaneous potential log

  • Upload
    korene

  • View
    125

  • Download
    4

Embed Size (px)

DESCRIPTION

4.3 Spontaneous potential log. - PowerPoint PPT Presentation

Citation preview

Page 1: 4.3 Spontaneous potential log

43. Spontaneous potentiaa aaaSpontaneous potential (SP) log เป็นการวดั

ค่าความแตกต่างของศักยไ์ฟฟา้ระหวา่งจุดสองจุด ใดๆ ในหลมุเจาะ ท่ีเป็นสาเหตจุากเซลไฟฟา้เคมท่ีีเกิด

ขึ้นในธรรมชาติ โดยท่ีหลมุเจาะจะต้องมนี้ำ้าโคลนท่ี สามารถน้ำาไฟฟา้ได้ (conductive mud) SP log

ไมส่ามารถท้ำาในหลมุเจาะท่ีใชน้้ำ้าโคลนแบบน้ำ้ามนั(oil-base mud) หลมุเจาะท่ีไมม่นี้ำ้าโคลน(empty holes) หรอืหลมุเจาะท่ีลงท่อกรุ(cased holes)

Page 2: 4.3 Spontaneous potential log

SP log มปีระโยชน์ดังนี้ 1. ใชห้าความสมัพนัธร์ะหวา่งชัน้หนิ

(correlation) 2. ใชก้้ำาหนดลักษณะชนิดของหนิ (lithologyindicator) 3. ใชป้ระมาณค่าความพรุนและค่าความซมึได้

(porosity and permeability indicators) 4. วดัค่าความต้านทานไฟฟา้และค่าความเค็มของน้ำ้าในชัน้หนิกักเก็บ (measure formation water

resistivity (Rw) and formation water sa linity)

Page 3: 4.3 Spontaneous potential log

5 . ใชก้้ำาหนดต้ำาแหน่งของชัน้หนิดินดาน ชัน้ถ่าน หรอืประมาณสดัสว่นของหนิดินดาน (lithologic

- indicator : shale, coal seam, shal e fraction estimation) 6 . ใชว้เิคราะหห์าเฟซสีจ์ากรูปรา่งลักษณะของกราฟ

(facies analysis) 7 . ใชก้้ำาหนดความเป็นไปได้ในการเป็นแหล่งกักเก็บ

สารไฮโดรคารบ์อนในชัน้หนิ รวมถึงการก้ำาหนดต้ำาแหน่งความลึกของรอยสมัผัสของก๊าซและน้ำ้ามนั (indicator of possibility hydrocarbon saturation in shaly sands, including the presence of a gas-oil contact)

Page 4: 4.3 Spontaneous potential log

431. . Origin of the SPในหลมุเจาะซึ่งมนี้ำ้าโคลนท่ีสามารถน้ำาไฟฟา้

ได้ มกัมคีวามเขม้ขน้ของสารละลายน้อยกวา่น้ำ้าท่ีอยูใ่นชัน้หนิ เป็นผลใหเ้กิดการไหลของกระแสไฟฟา้ระหวา่งชัน้หนิต่างๆและน้ำ้าโคลนในหลมุเจาะ ท้ำาใหเ้กิดค่าผิดปกติขึ้นบนกราฟของ SP

Page 5: 4.3 Spontaneous potential log

การไหลเวยีนของกระแสไฟฟา้มสีาเหตมุาจากแรงกระตุ้นทางไฟฟา้ (electromotive forces, emf) ในชัน้หนิท่ีได้จาก

1. ความต่างศักยไ์ฟฟา้เคม ี (electrochemical potential, Ec) เกิด

ได้ใน 2 ลักษณะคือ liquid junctionpotential และ membrain potential

2. ความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล (electrokinetic potential, Ek ) ซึ่งอาจ

เรยีกวา่ streaming potential หรอื electrofiltration potential

Page 6: 4.3 Spontaneous potential log
Page 7: 4.3 Spontaneous potential log

4311. . . Electrochemicalpotenti al ,E cLiquid junction potential (Elj) หรอื

Diffusion potential (Ed) เป็นศักยไ์ฟฟา้ท่ีเกิดจากความสามารถในการเคล่ือนท่ีของอิออนท่ี

แตกต่างกัน โดยอาศัยขบวนการซมึผ่าน(diffusion) ของอิออนผ่านเยื่อบางๆท่ียอมใหส้าร

ไหลผ่านได้ (permeable membrane) จากบรเิวณท่ีมคีวามเขม้ขน้ของสารละลายมากไปยงั

บรเิวณท่ีมคีวามเขม็ขน้ของสารละลายน้อย เนื่องจากCl- มคีวามสามารถในการเคล่ือนท่ีได้ดีกวา่ Na+ เพราะขนาดอิออนท่ีเล็กกวา่

Page 8: 4.3 Spontaneous potential log

ผลจากการเคล่ือนท่ีของอิออนท้ำาใหเ้กิดการไหลของกระแสจากบรเิวณท่ีสารละลายมีความเขม้ขน้น้อยไปยงับรเิวณท่ีมคีวาม

เขม้ขน้มาก เรยีกปรากฏการณ์น้ีวา่liquid junction effect ในสภาพ

ความเป็นจรงิของหลมุเจาะ mud filtrate เป็นบรเิวณท่ีมคีวามเขม็ขน้ของสารละลายน้อยเมื่อเปรยีบเทียบกับความเขม้ขน้ของสารละลายท่ีอยูใ่นชัน้หนิ

Page 9: 4.3 Spontaneous potential log

ค่าความต่างศักยจ์ะมค่ีามากหรอืน้อยขึ้นอยูกั่บค่าความแตกต่างของความเขม้ขน้ของสารละลาย

ระหวา่ง mud filtrate และ ในชัน้หนิ ซึ่ง สามารถค้ำานวณได้จากสมการ

เมื่อ Kd = ค่าคงท่ีขึ้นกับอุณหภมูิRmf = ค่าความต้านทานไฟฟา้ของ mud

filtrateRw = ค่าความต้านทานไฟฟา้ของน้ำ้าในชัน้หนิ (formation water)

w

mfdd R

RKE log

Page 10: 4.3 Spontaneous potential log
Page 11: 4.3 Spontaneous potential log

Membrane potential (Esh) เป็นศักย์ไฟฟา้ท่ีสมัพนัธกั์บการเคล่ือนตัวของอิออนผ่านชัน้บางๆ ที่มคีวามแตกต่างของความเขม้ขน้ของอิออนท่ีเกิดขึ้นภายในหนิดินดาน ซึ่งเน่ืองมาจากลักษณะโครงสรา้งท่ีเป็นชัน้ของแร่ดิน (clay mineral) และประจุไฟฟา้ในแต่ละชัน้ O -2 ซึ่งเป็นอิออนท่ีอยูผ่ิวด้านนอกสดุของแรด่ินไปดึง Na+ จากน้ำ้าที่กักเก็บอยูใ่นชัน้หนิซมึน้ำ้าได้ซึ่งมคีวามเขม้ขน้ของสารละลายมากผ่านชัน้หนิดินดานและไหลไปยงัน้ำ้าโคลนในหลมุเจาะซึ่งมคีวามเขม้ขน้ของสารละลายน้อย ท้ำาให้เกิดการไหลของกระแสไฟฟา้ขึ้น

Page 12: 4.3 Spontaneous potential log

ความเขม้ของความต่างศักยท่ี์เกิดจากการไหลของกระแสไฟฟา้นี้สามารถน้ำาไปหาความสมัพนัธกั์บความต้านทานไฟฟา้ได้ด้วยสมการ

เมื่อ Ksh = ค่าคงท่ีขึ้นกับอุณหภมูิ

w

mfshsh R

RKE log

Page 13: 4.3 Spontaneous potential log
Page 14: 4.3 Spontaneous potential log

ค่าความต่างศักยไ์ฟฟา้เคมี (Ec) ซึ่งเป็นผลรวมของ liquid junction potential และ membrane potential เป็นไปตามสมการ

โดยท่ี

เมื่อ T = อุณหภมู ิ

w

mfcc R

RKE log

CFmljc OO TTKKE 24.065133.060

Page 15: 4.3 Spontaneous potential log

4312. . . Electrokinetic aaaaaaaaa akความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล เกิดขึ้นจาก 2 ลักษณะ ลักษณะแรกเรยีกวา่ ความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล

Emc เกิดขึ้นในบรเิวณท่ีน้ำ้าโคลนแทรกเขา้มาในชัน้หนิซมึน้ำ้ากับ mud cake เนื่องจากการไหลของ mud filtrate ผ่าน mud cake เขา้ไปในชัน้หนิซมึน้ำ้า ค่าความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกลลักษณะน้ีขึ้นอยูกั่บความแตกต่างของความดันระหวา่งในหลมุเจาะและ บรเิวณ virgin zone

Page 16: 4.3 Spontaneous potential log

ค่าความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล Emc ในธรรมชาติวดัได้ยากมากเนื่องจากมค่ีาน้อย แต่อยา่งไรก็ดีสามารถประมาณได้จากสมการ

เมื่อ P = ค่าความแตกต่างของความดันระหวา่งในหลมุเจาะและในชัน้หนิ , psiR mc = ค่าความต้านทานไฟฟา้ของ mud -cake, ohm mTmc = ความหนาของ mud cake, in f = ค่าการสญูเสยีน้ำ้าของน้ำ้าโคลน , cc/30

min

ftRPE mcmcmc ..04.0

Page 17: 4.3 Spontaneous potential log

ลักษณะท่ีสองเรยีกวา่ ความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล Esb เกิดขึ้นในบรเิวณชัน้หนิดินดานท่ีไมซ่มึน้ำ้ากับน้ำ้าโคลนในหลมุเจาะ โดยการแทรกตัวของ mud filtrate เขา้ไปในชัน้หนิดินดาน

Page 18: 4.3 Spontaneous potential log

ค่าความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล (Ek ) ซึ่งเป็นผลรวมของ ความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล Emc และ ความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล Esb ขึ้นอยูกั่บปัจจยัหลายประการ เชน่ ค่าความแตกต่างของความดัน อัตราการไหลผ่านของ mud filtrate หรอื ค่าความต้านทานไฟฟา้ของ mud filtrate

Page 19: 4.3 Spontaneous potential log
Page 20: 4.3 Spontaneous potential log

4313. . . Total potentialความต่างศักยร์วม (Total potential) ซึ่งเป็น

ผลรวมของความต่างศักยไ์ฟฟา้เคม ี (Ec ) และ ความต่างศักยไ์ฟฟา้เชงิกล (Ek ) แต่จากการศึกษาพบวา่ ค่า Ek มค่ีาท่ีน้อยมากเมื่อเทียบกับ Ec โดยเฉพาะอยา่งยิง่ในบรเิวณท่ีน้ำ้าในชัน้หนิมค่ีาความเค็มสงู (ค่าความต้านทานไฟฟา้น้อยกวา่ 01. โอหม์-เมตร ) และความแตกต่างของความดันมค่ีาไมม่าก (ประมาณ - 200300 psi หรอืน้อยกวา่ )สามารถท่ีจะไมน่้ำา ค่า Ek มารว่มค้ำานวณได้

Page 21: 4.3 Spontaneous potential log

แต่อยา่งไรก็ดี ค่า Ek จะเริม่มผีลกับค่าความต่างศักยร์วมเมื่อมคีวามผิดปกติของค่าความแตกต่างของความดันหรอืในบรเิวณท่ีมค่ีาค่าสมัประสทิธิค์วามซมึได้ต้ำ่ามาก

Page 22: 4.3 Spontaneous potential log

ในสภาวะโดยทัว่ไป ผลรวมของความต่างศักยท่ี์เรยีกวา่ Static SP (SSP)สามารถค้ำานวณจากสมการ

w

mfF R

RTSSP O log133.060

Page 23: 4.3 Spontaneous potential log

ค่า SSP เป็นการวดัค่าความต่างศักยไ์ฟฟา้สงูสดุเปรยีบเทียบกับความต่างศักยไ์ฟฟา้ท่ีเกิดขึ้นในชัน้หนิดินดาน เนื่องจากภายในชัน้หนิดินดานซึ่งไมม่กีารไหลของกระแสไฟฟา้ ค่าความต่างศักยไ์ฟฟา้จงึมค่ีาคงท่ี ค่า SSP ในชัน้หนิดินดานจงึก้ำาหนดใหม้ค่ีาเท่ากับ 0 เรยีกความต่างศักยไ์ฟฟา้ในชัน้หนิดินดานวา่ Shale baseline แต่เมื่อมีรอยสมัผัสกับชัน้หนิซมึน้ำ้า จะมกีารไหลของกระแสท้ำาใหเ้กิดความต่างศักยไ์ฟฟา้ขึ้น สามารถวดัค่า SP ได ้

Page 24: 4.3 Spontaneous potential log

ค่า SP ท่ีเป็น peak ท่ีมค่ีาน้อยกวา่ SSPเรยีกวา่ Pseudostatic potentialหรอื PSP ซึ่งจะขึ้นอยูกั่บความหนาของชัน้หนิ ค่าความต้านทานไฟฟา้ของ

invaded และ virgin zones ความลึกของ invasion ปรมิาณของแรด่ิน เป็นต้น

Page 25: 4.3 Spontaneous potential log
Page 26: 4.3 Spontaneous potential log

432. . Shape of SPaaaaaaการวดัค่า SP เป็นการวดัค่าการ

เปล่ียนแปลงศักยไ์ฟฟา้ท่ีเกิดขึ้นในหลมุเจาะอันเนื่องมาจากมกีารไหลของกระแสไฟฟา้ผ่านของเหลวท่ีไมน่้ำาไฟฟา้ในหลมุเจาะ

Page 27: 4.3 Spontaneous potential log

เมื่อชัน้หนิทรายวางตัวอยูร่ะหวา่งหนิดินดาน และมค่ีาความเค็มของน้ำ้าในชัน้หนิทรายมากกวา่ของ mud filtrate ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟา้จาก mud filtrate ไปยงัน้ำ้าในชัน้หนิ ดังนัน้บรเิวณท่ีเป็นชัน้หนิทราย SP จะมค่ีาเป็นลบเมื่อเทียบกับหนิดินดาน เรยีกค่า SP นี้วา่ normal SP

Page 28: 4.3 Spontaneous potential log

ถ้าค่าความเค็มของ mud filtrate มค่ีามากกวา่ของน้ำ้าในชัน้หนิทราย กระแสไฟฟา้จะไหลกลับทิศทาง ซึ่งในกรณีนี้บรเิวณท่ีเป็นชัน้หนิทราย SP จะมค่ีาเป็นบวก เมื่อเทียบกับหนิดินดาน เรยีกค่า SP นี้วา่ reverse SP ค่าบวกมกัพบในชัน้หนิท่ีมสีะสมตัวในบรเิวณท่ีเป็นน้ำ้าจดื

ถ้าค่าความเค็มของ mud filtrate มค่ีาเท่ากับของน้ำ้าในชัน้หนิทราย จะไมม่กีารไหลของกระแสไฟฟา้ ดังนัน้บรเิวณท่ีเป็นชัน้หนิทรายจะไมม่กีารเบีย่งเบน

Page 29: 4.3 Spontaneous potential log

ความชดัเจนของกราฟของ SP ท่ีรอยสมัผัส ขึ้นกับรูปรา่งและลักษณะการไหลของกระแสไฟฟา้ท่ีรอยสมัผัส ลักษณะการไหลของกระแสไฟฟา้มคีวามสมัพนัธกั์บค่าความต้านทานกระแสไฟฟา้สมัพทัธข์องน้ำ้าโคลน ชัน้หนิซมึน้ำ้าได้ ชัน้หนิดินดาน ขนาดเสน้ผ่าศูนยก์ลางของหลมุเจาะ และความลึกของ invasion

Page 30: 4.3 Spontaneous potential log

ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟา้พยายามท่ีจะไหลไปยงับรเิวณท่ีมค่ีาความต้านทานไฟฟา้

น้อยท่ีสดุ เมื่ออัตราสว่นของค่าความต้านทานไฟฟา้ของชัน้หนิกับของน้ำ้าโคลนมี

ค่าสงู กระแสไฟฟา้จะมกีารกระจายตัวออก ไปมาก ท้ำาใหเ้กิดการไหลของกระแสไฟฟา้ใน

หลมุเจาะเป็นทางยาว การก้ำาหนดรอยสมัผัส ของชัน้หนิจงึท้ำาได้ยาก ในขณะท่ีอัตราสว่น

ของค่าความต้านทานไฟฟา้ของชัน้หนิกับ ของน้ำ้าโคลนมค่ีาต้ำ่า การก้ำาหนดต้ำาแหน่ง

ของรอยสมัผัสของชัน้หนิจะท้ำาได้ง่ายขึ้น

Page 31: 4.3 Spontaneous potential log

ความชนัของกราฟของ SP ท่ีระดับใดๆ เป็นสดัสว่นกับความเขม้ของ กระแสไฟฟา้ท่ีไหลในน้ำ้าโคนในหลมุเจาะท่ีระดับนัน้ๆ ความเขม้ของกระแสไฟฟา้ในน้ำ้าโคลนมค่ีามากท่ีสดุท่ีรอยสมัผัสของชัน้หนิซมึน้ำ้าได้ ซึ่งใหค่้าความชนัมากท่ีสดุ

Page 32: 4.3 Spontaneous potential log

433. . Factors i nfl uenci ngthe SPcurve

ลักษณะกราฟของ SP และค่าผิดปกติท่ีเกิดขึ้น ขึ้นอยูกั่บหลายปัจจยั การน้ำาเอาค่า SP ไปใชจ้งึต้องมคีวามระมดัระวงั ปัจจยัต่างๆได้แก่

Page 33: 4.3 Spontaneous potential log

1. ความหนาของชัน้หินซมึน้ำ้าได้SP วดัการเพิม่ขึ้นหรอืลดลงของความต่างศักย์

ไฟฟา้ท่ีเกิดเน่ืองจากการไหลของกระแสไฟฟา้ใน น้ำ้าโคลน ค่าความเขม้ของ SP ท่ีมค่ีาสงูเท่ากับ

SSP บอกถึงความต้านทานการไหลของกระแสไฟฟา้ของชัน้หนิมค่ีาน้อยมากเมื่อเปรยีบเทียบ

กับน้ำ้าโคลน ซึ่งเป็นจรงิได้เมื่อชัน้หนิมคีวามหนา พอ ชัน้หนิที่มคีวามหนาน้อยมากจะไมส่ามารถ

ท้ำาใหเ้กิดกระแสไฟฟา้ได้อยา่งสมบูรณ์ ดังนัน้SP มค่ีาลดลงเมื่อความหนาของชัน้หนิลดลง

Page 34: 4.3 Spontaneous potential log
Page 35: 4.3 Spontaneous potential log

2. ความต้านทานไฟฟา้ของชัน้หินซมึน้ำ้าได้และความต้านทานไฟฟา้ของ

mud filtrate ในบรเิวณ virgin zone อัตราสว่นขอ

ง Rt/Rm มค่ีาเพิม่ขึ้น ท้ำาให ้ SP มค่ีาลดลง ท้ำาใหร้อยสมัผัสของหนิสงัเกตได้ยากขึ้น บรเิวณท่ีมสีารไฮโดรคารบ์อนจะไปลดค่า SPในชัน้หนิดินดานค่า SP เพิม่ขึ้นตามอัตราสว่นของ Rsh/Rm ใน invaded

zone ค่า SP เพิม่ขึ้นตามอัตราสว่นของ Rxo/Rm

Page 36: 4.3 Spontaneous potential log

3. ความลึกของชัน้ invasionSP มค่ีาลดลงเมื่อ invasion zone ลึก

มากขึ้น

Page 37: 4.3 Spontaneous potential log

4. เสน้ผ่าศูนยก์ลางของหลมุเจาะSP มค่ีาลดลงเมื่อขนาดของเสน้ผ่า

ศูนยก์ลางของหลมุเจาะมขีนาดใหญ่ขึ้น

Page 38: 4.3 Spontaneous potential log

5. ความต้านทานไฟฟา้ของชัน้หินดินดานชัน้หนิท่ีมหีนิดินดานปนอยู ่จะไปลดความ

สามารถในการวดัค่า SP ซึ่งชว่ยให้สามารถตรวจสอบสดัสว่นปรมิาณของหนิดินดานในชัน้หนิได้ หากวา่มชีัน้หนิทรายสอาดท่ีมค่ีาความเค็มของน้ำ้าในชัน้หนิเท่ากันเป็นตัวเปรยีบเทียบ

Page 39: 4.3 Spontaneous potential log

6. สารประกอบไฮโดรคารบ์อนเนื่องจากสารประกอบไฮโดรคารบ์อนท่ีอยูใ่น

ชัน้หนิจะไปลดความสามารถในการวดัค่า SP การน้ำาเอาค่า SP ไปใชใ้นการค้ำานวณค่า Rw จงึต้องเลือกเอาเฉพาะค่า SP ท่ีวดัจากบรเิวณท่ีไมม่สีารประกอบไฮโดรคารบ์อนอยูใ่นชัน้หนิ

Page 40: 4.3 Spontaneous potential log

4 3 4. . Irregular anomal y of SPcurves

Page 41: 4.3 Spontaneous potential log

4 .3 .4 .1 Highly resistivity formations o

r tight formationในชัน้หนิบางบรเิวณ ค่าความต้านทานไฟฟา้

มค่ีาสงูมาก ยกเวน้บรเิวณท่ีเป็นชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้และชัน้หนิดินดาน บรเิวณท่ีมีค่าความต้านทานไฟฟา้สงูเหล่าน้ี ท้ำาใหเ้กิดการการกระจายตัวของกระแสไฟฟา้ มีแนวโน้มท่ีจะไหลลึกเขา้ไปในชัน้หนิเนื้อแน่น มผีลต่อรูปรา่งของกราฟของ SP

Page 42: 4.3 Spontaneous potential log

กระแสไฟฟา้จะมกีารไหลออกหรอืไหลเขา้ไปในหลมุเจาะเฉพาะบรเิวณท่ีชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้ท่ีมีค่าความต้านทานไฟฟา้ต้ำ่าหรอืบรเิวณชัน้หนิดินดานท่ีท้ำาหน้าท่ีเป็นทางผ่านของกระแสจากชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้กลับเขา้ไปยงัน้ำ้าโคลนในหลมุเจาะและกลับเขา้มายงัชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้อีกครัง้ เนื่องจากกระแสไฟฟา้ซึ่งไหลอยูใ่นชัน้หนิดินดานมค่ีาคงท่ี ดังนัน้อัตราการเปล่ียนแปลงของความต่างศักยไ์ฟฟา้จงึมค่ีาคงท่ี ท้ำาใหก้ราฟของ SP มคีวามชนัท่ีคงท่ี รอยสมัผัสของชัน้หนิเนื้อแน่นจงึก้ำาหนดต้ำาแหน่งได้ยาก

Page 43: 4.3 Spontaneous potential log
Page 44: 4.3 Spontaneous potential log

4 3 4 2. . . Shale baseline shifts

การเคล่ือนของ shale baseline เกิดขึ้นไมบ่อ่ยนัก ในบางหลมุเจาะจะสงัเกตเหน็การเคล่ือนของ shale baseline อาจมสีาเหตมุาจากน้ำ้าในชัน้หนิสองชัน้ท่ีมคีวามแตกต่างของค่าความเค็มและชัน้ดินดานท่ีเป็นตัวกัน้ชัน้หนิสองชัน้นี้ไมเ่ป็น ‘perfect cationic membrane’ หรอืน้ำ้าในชัน้หนิมกีารเปล่ียนแปลงค่าความเค็มอยูใ่นชัน้หนิชัน้เดียว ท้ำาใหก้ารก้ำาหนด shale baseline และ SSP ท้ำาได้ยาก

Page 45: 4.3 Spontaneous potential log

ในกรณีท่ีไมม่ชีัน้หนิดินดานเป็นตัวแบง่ชัน้น้ำ้าท่ีมคีวามเค็มต่างกัน ก็อาจมกีารเคล่ือนของ shale baseline ซึ่งในกรณีน้ีกราฟของ SP ไมแ่สดงค่าผิดปกติในบรเิวณท่ีมกีารเปล่ียนแปลงความเค็ม แต่จะมค่ีาผิดปกติบนกราฟของ SP ท่ีรอยต่อบนและล่างของชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้ ซึ่งค่าผิดปกติมค่ีาแตกต่างกันมาก อาจมคีวามแตกต่างกันในลักษณะของขัว้ได้

Page 46: 4.3 Spontaneous potential log

ถ้าค่าความเค็มของ mud filtrate มค่ีาอยู่ระหวา่งค่าความเค็มของน้ำ้าในชัน้หนิสองชัน้ ในกรณีท่ีชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้ไมม่ีหนิดินดานปนและชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้และหนิดินดานในบรเิวณใกล้เคียงมคีวามหนามากพอ การผิดปกติบนกราฟของ SP ท่ีรอยสมัผัสทัง้สองเป็น SSP ท่ีสอดคล้องกับน้ำ้าในชัน้หนิท่ีมคีวามแตกต่างกัน

Page 47: 4.3 Spontaneous potential log
Page 48: 4.3 Spontaneous potential log
Page 49: 4.3 Spontaneous potential log

4 3 4 3. . . SP anomalies relative to inversion

conditionsในกรณีท่ีชัน้หนิทรายท่ีมค่ีาความเค็มของน้ำ้าใน

ชัน้หนิและค่าสมัประสทิธคิวามซมึน้ำ้าได้สงู และถกูแทรกซมึด้วย mud filtrate ท่ีมีความหนาแน่นและความเค็มน้อยเมื่อเทียบกับน้ำ้าในชัน้หนิ อาจมกีารไหลของ mud

filtrate ขึ้นไปยงัรอยต่อด้านบนของชัน้หนิ และไมม่กีารสะสมตัวของ mud filtrate ในตอนล่างของชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้

Page 50: 4.3 Spontaneous potential log

ดังนัน้ความลึกของ invasion zone จะมีค่าน้อยมากในบรเิวณรอยต่อด้านล่างของชัน้หนิ และลึกมากท่ีรอยต่อด้านบนของชัน้หนิ ท้ำาใหค่้าผิดปกติของ SP มค่ีาน้อยในบรเิวณสว่นบนของชัน้หนิเนื่องมาจาก

invasion ท่ีลึกมาก

Page 51: 4.3 Spontaneous potential log
Page 52: 4.3 Spontaneous potential log

สว่นในบรเิวณท่ีเป็นชัน้หนิดินดานมคีวามหนาน้อยวางตัวอยูร่ะหวา่งชัน้หนิน้ำ้าซมึผ่านได้ท่ีมคีวามหนามาก จะเกิดลักษณะฟนัเล่ือย (saw-tooth) ขึ้น ใต้บรเิวณดังกล่าวค่าผิดปกติของ SP มค่ีาน้อยกวา่ SSP และท่ีเหนือบรเิวณดังกล่าวค่าผิดปกติของ SP มค่ีามากกวา่ SSP ค่าผิดปกตินี้เกิดเนื่องจากการสะสมตัวของ mud filtrate ใต้ชัน้หนิดินดานนัน่เอง

Page 53: 4.3 Spontaneous potential log
Page 54: 4.3 Spontaneous potential log

4 3 5. . Recognition o f sandstone depositional

environmentsกราฟของ SP ท่ีวดัจากชัน้หนิทรายจะใหลั้กษณะ

ท่ีสามารถบง่บอกถึงรอยสมัผัสบนและล่างของชัน้หนิ ลักษณะการแทรกสลับของชัน้หนิ และการกระจายตัวของขนาดของเมด็ตะกอน รอยสมัผัสระหวา่งชัน้หนิดินดานและชัน้หนิทรายท่ีเด่นชดัจะแสดงลักษณะการเปล่ียนแปลงค่าความต่างศักยไ์ฟฟา้อยา่งชดัเจนด้วย การแทรกสลับของชัน้หนิดินดาน ชัน้หนิดินดานปนทราย

Page 55: 4.3 Spontaneous potential log

ในชัน้หนิทรายจะแสดงใหเ้หน็ได้จากลักษณะของกราฟของ SP แบบฟนัปลา (serrated) เนื่องจากค่า SP ได้รบัผลกระทบอยา่งมากจากการเปล่ียนแปลงปรมิาณหนิดินดานในชัน้หนิ ท้ำาใหก้ารบอกถึงลักษณะการกระจายตัวของเมด็ตะกอนท้ำาได้ยากขึ้น กราฟของ SP ท่ีวดัจากบรเิวณท่ีเป็นหนิทรายอาจสามารถแปลความหมายในลักษณะของการลดขนาดของตะกอนขึ้นด้านบน (fining upward) หรอื การเพิม่ขนาดขึ้นด้านบน (coasening upward)

Page 56: 4.3 Spontaneous potential log

รูปรา่งพื้นฐาน 4 แบบของกราฟของ SP ท่ีวดัได้จากชัน้หนิทราย ได้แก่ รูประฆงั (bell) รูปทรงกระบอก (cylinder) รูปกรวย (funnel) และ รูปไข ่(egg) ซึ่งท้ำาให้สามารถแปลความหมายถึงรูปรา่งภายนอก ลักษณะเนื้อหนิ และสภาพแวดล้อมการเกิด อยา่งไรก็ดีการใชเ้พยีงกราฟของ SP ในการแปลความหมายอาจมคีวามผิดพลาดได้ง่าย จงึควรท่ีจะใชป้ระกอบกับขอ้มูลอ่ืนๆ เชน่ หนิโผล่ แท่งหนิจากหลมุเจาะ เป็นต้น

Page 57: 4.3 Spontaneous potential log
Page 58: 4.3 Spontaneous potential log
Page 59: 4.3 Spontaneous potential log
Page 60: 4.3 Spontaneous potential log

ในการวเิคราะหถึ์งสภาพแวดล้อมของการเกิดของชัน้หนิ กราฟของ SP มกัใชร้ว่มกับกราฟของความต้านทานไฟฟา้ โดยปกติกราฟของความต้านทานไฟฟา้ จะเป็นรูปกลับในกระจกของกราฟของ SP แต่มรีายละเอียดมากกวา่ เนื่องจากวา่ resistivity มผีลกระทบจากการเปล่ียนแปลงค่าความพรุนในชัน้หนิด้วย resistivity ยงัใชใ้นการจ้ำาแนกชัน้ถ่าน ชัน้หนิปูนเน้ือแน่น ซึ่งจ้ำาแนกออกจากชัน้หนิดินดานใน กราฟของ SP ได้ยาก

Page 61: 4.3 Spontaneous potential log

สภาพแวดล้อมของสะสมตัวใน distributary channel อาจพบลักษณะของรอยสมัผัสแบบไมต่่อเนื่องท่ีชดัเจนบรเิวณสว่นล่างของชัน้หนิ อาจแสดงลักษณะการลดขนาดของตะกอนขึ้นด้านบน หรอืแสดงรอยสมัผัสแบบต่อเน่ืองท่ีสว่นบนของชัน้หนิ ลักษณะของ SP curve อาจแสดงลักษณะรูปรา่งแบบรูประฆงั หรอืรูปทรงกระบอก ในบรเิวณอ่าวปิดชัน้หนิอาจให้ลักษณะของ SP curve แตกต่างกันไป

Page 62: 4.3 Spontaneous potential log

สว่นบรเิวณ Barrier island และ marine bars จะใหลั้กษณะของกราฟของ SP ท่ีตรงขา้มกับใน channel ท้ำาให้ได้ลักษณะท่ีเป็นรูปกรวย บรเิวณท่ีเป็น pro-delta จะได้กราฟของ SP ท่ีอยูใ่กล้กับ shale base line แต่ในสว่นท่ีเป็น regressive sands ใน delta front อาจได้ลักษณะของกราฟของ SP รูปฟนัปลา

Page 63: 4.3 Spontaneous potential log

การสงัเกตลักษณะของหนิตะกอนพบวา่ วงจรการสะสมตัวของตะกอนสามารถจ้ำาแนกได้โดยอาศัยลักษณะรูปรา่งของกราฟจาก SPและ - short normal device ออกเป็น 6ลักษณะคือ

1. regressive sand 2 . transgressive sand

- 3. channel fill sand bar 4. turbidite 5 . constructive delta

Page 64: 4.3 Spontaneous potential log

1 . Regressive sedimentary pattern

ใน regressive sequence เมด็ตะกอนจะมขีนาดเพิม่ขึ้นทางด้านบน

regressive sand bars เกิดหา่งออกไปจากบรเิวณ constructional deltadeposits

Page 65: 4.3 Spontaneous potential log
Page 66: 4.3 Spontaneous potential log

การพฒันาของ regressive sequenceเริม่จาก

1 . Basal shale สะสมตัวในบรเิวณท่ีมีพลังงานต้ำ่าท่ีมสีภาพแวดล้อมแบบทะเลลึก เมื่อระดับน้ำ้าทะเลต้ืนขึ้น มกีารเปล่ียนสภาพแวดล้อมของการสะสมตัวของตะกอน ขนาดของเมด็ตะกอนเริม่มขีนาดใหญ่ขึ้นทางตอนบน

Page 67: 4.3 Spontaneous potential log

- 2 . Well sorted sand พฒันาขึ้นในบรเิวณท่ีเป็นชายผัง่ อาจมกีารแทรกสลับด้วย silt และ sssss แต่พวก cleanssss ยงัเป็นชัน้หนิหลัก กราฟของ SPแสดงลักษณะของ ssss ssssss ท่ีบง่บอกถึงลักษณะท่ีเป็นชัน้บางๆแทรกสลับกันของชัน้หนิ

Page 68: 4.3 Spontaneous potential log

3. สว่นบนสดุของ clean sand สะสมตัวในบรเิวณท่ีมพีลังงานสงู ได้ค่า SP ท่ีเป็น positive

4 . การเกิด transgressive sequence เป็นตัวจ้ำากัดการพฒันาของ regressive sequence ท้ำาใหเ้กิดรอย

สมัผัสระหวา่งชัน้ sssss ssss และ neritic (marine) shale

Page 69: 4.3 Spontaneous potential log

2. Transgressive sandการเกิด transgression เป็นผลมาจากการ

สงูขึ้นของน้ำ้าทะเล สว่นล่างของชัน้หนิเป็นตะกอนหยาบท่ีมกีารคัดขนาดดีและอาจมกีารหยุดของขนาดของตะกอนอยา่งทันทีทันใด การสงูขึ้นของน้ำ้าทะเลท้ำาใหเ้กิดการซ้ำ้าๆกันของชัน้หนิที่มาสะสมตัวจากตะกอนหยาบตอนล่างเปล่ียนเป็นตะกอนขนาดละเอียดท่ีมกีารคัดขนาดไมด่ี

Page 70: 4.3 Spontaneous potential log

การแทรกสลับกันของชัน้หนิทรายและหนิตะกอน ท้ำาใหเ้กิดลักษณะของกราฟของ SP ท่ีม ีamplitude ลดลงขึ้นด้านบน ในบรเิวณ transgressive ท่ีสมัพนัธกั์บ sand bars ลักษณะของชัน้หนิจะผกผันชัน้หนิของบรเิวณ regressive

Page 71: 4.3 Spontaneous potential log

- 3. Channel f ill sand barChannel-fill sand bar เกิดใน

ขบวนการทางน้ำ้า โดยท่ี channel-fill หรอื valley-fill เกิดการยา้ยต้ำาแหน่ง

ของรอ่งน้ำ้า ท้ำาใหส้ามารถสงัเกตเหน็ ลักษณะส้ำาคัญ 2 ลักษณะคือ

distributary channel-fill และpoint bar-buildup

Page 72: 4.3 Spontaneous potential log

Distributary channel-cut and fill แสดงลักษณะของการเปล่ียนแปลงของเมด็ตะกอนจากบรเิวณตอนกลางของรอ่ง

น้ำ้าซึ่งกระแสน้ำ้ามคีวามเรว็สงู และท่ีขอบ ของรอ่งน้ำ้าที่กระแสน้ำ้ามคีวามน้อยกวา่ ดัง

นัน้ ตอนกลางของรอ่งน้ำ้าจงึมเีมด็ตะกอน ขนาดใหญ่ กราฟของ SP ท่ีได้จากบรเิวณ

น้ี อาจเป็นรูปทรงกระบอก สว่นที่ขอบของ รอ่งน้ำ้าอาจแสดงลักษณะของกราฟของ

SP แบบน้ิวมอื

Page 73: 4.3 Spontaneous potential log

Alluvial point bar channel build-up แสดงลักษณะท่ีชัน้หนิวางตัวเกือบอยู่

ในแนวราบ ลักษณะกราฟของ SP แสดง การลดขนาดของตะกอนขึ้นด้านบน

Page 74: 4.3 Spontaneous potential log

4. TurbiditeTurbidite หรอื ตะกอนท่ีเกิดขึ้นในบรเิวณ

ท่ีมตีะกอนมกีารเคล่ือนตัวเนื่องจากแรง โน้มถ่วง สงัเกตจากชัน้หนิดินดานปน

ทรายแป้งเนื้อแน่นจาก กราฟของ SP มีการเปล่ียนแปลงเป็นวงจรของขนาดของเมด็ตะกอนจากขนาดทรายไปเป็นทราย

แป้งและดินในลักษณะของสารแขวนลอย

Page 75: 4.3 Spontaneous potential log

5. Constructive deltaตะกอนท่ีเป็นแหล่งกักเก็บปิโตรเลียมสว่น

ใหญ่สะสมตัวอยูใ่น delta sequence ตะกอนเหล่านี้ได้จากการผุพงัของหนิอัคนี หนิแปร และหนิตะกอน ตะกอนเหล่าน้ีถกูพดัพามาทางแมน่้ำ้าและตกสะสมตัวในบรเิวณชายฝ่ังและขยายตัวออกไปจนถึงบรเิวณท่ีเป็น continental shelves

Page 76: 4.3 Spontaneous potential log

รูปรา่งของ delta อาจมลัีกษณะเป็น cuspate type (Nile river), lobate type (Lafourche), elongate type หรอื bird-foot delta (Mississippi river ) ขึ้นอยูกั่บ ความแรงของคล่ืน กระแสน้ำ้าขึ้นน้ำ้าลง และ คล่ืนตามแนวชายฝ่ัง delta เหล่าน้ีเป็น constructive เนื่องจากมกีารสะสมตัวของตะกอนกลายเป็นแผ่นดินเพิม่ขึ้นเรื่อยๆ

Page 77: 4.3 Spontaneous potential log

ในกรณีของ lobate ตะกอนด้านในสดุท่ีได้มาจากการพดัพามาโดย fluvial channelท้ำาใหเ้กิดลักษณะการซอ้นทับกันของ - fill in

sand ใน mud และ ooze ของ continental margin กราฟของ SP ไม่แสดงลักษณะผิดปกติใดๆ สว่น กราฟของ ความต้านทานไฟฟา้ แสดงลักษณะ fining

upward ของแต่ละ -channel fillสว่นถัดมาเป็น distributary channel ซึ่งสะสมตัวนน้ำ้าทะเล

Page 78: 4.3 Spontaneous potential log

กราฟของ SP แสดงใหเ้หน็ถึงการสะสมตัวของตะกอนขนาดหยาบท่ีได้จาก

crevasses ไปจนถึงบรเิวณท่ีเป็น channel levees บรเิวณท่ีเป็น delta

f r ont f aci es ซึ่งอาจพบสว่นท่ีเป็น ssssssssssss s ssss ssss sssss

front slope, distal delta front, delta margin fringe ซึ่งจะใหลั้กษณะ

ของกราฟของ SP ท่ีแตกต่างกันออกไป

Page 79: 4.3 Spontaneous potential log

aaa aaaaaaa436

ปัญหาต่างๆท่ีพบได้ในการประยุกต์ใช ้กราฟของ SP ในการศึกษาสภาพแวดล้อมของการเกิด เชน่

1. ถ้ามกีารเปล่ียนแปลค่าความเค็มของน้ำ้าในชัน้หนิทราย จนกระทัง่ท้ำาใหเ้กิดลักษณะท่ีชัน้หนิทรายท่ีมนี้ำ้าไมเ่ค็มแสดงลักษณะเหมอืนชัน้หนิดินดาน

Page 80: 4.3 Spontaneous potential log

2. เนื่องจาก SSP มคีวามเก่ียวขอ้งกับค่าความแตกต่างของความต้านทานไฟฟา้ระหวา่งน้ำ้าในชัน้หนิและ mud filtrateดังนัน้ในการใชน้้ำ้าโคลนท่ีแตกต่างกันในในการเจาะหลมุหนึ่งๆ จะมผีลใหเ้กิดการเปล่ียนแปลงกราฟของ SP โดยเฉพาะเมื่อ

mud filtrate และ น้ำ้าในชัน้หนิ มค่ีาความต้านทานไฟฟา้เท่ากัน ท้ำาใหแ้ปลผลวา่เป็นชัน้หนิดินดาน

Page 81: 4.3 Spontaneous potential log

3. ในบางกรณี อุณหภมูมิผีลต่อกราฟของ SP

4 . หนิทรายท่ีมก๊ีาซหรอืน้ำ้ามนั จะมผีลไปลดค่า SP

5 . การใชก้ราฟของ SP รว่มกับกราฟของความต้านทานไฟฟา้ จะเหมาะสมเฉพาะกับบรเิวณท่ีเป็นชัน้หนิทราย-หนิดินดานเนื้อแน่น แต่จะใชไ้ม่ได้ผลดีกับบรเิวณท่ีชัน้หนิเนื้อไมแ่น่นที่มค่ีาความพรุนมากและมคีวามเค็มของน้ำ้าในชัน้หนิสงู