19
บทที5 แนวทางการใชประโยชนจากสาหราย 5. การใชประโยชนจากจุลสาหรายในปจจุบัน ผลิตภัณฑจากจุลสาหรายที่เปนที่รูจักกันดีอยางหนึ่งก็คืออาหารเสริม โดยในตลาดอาหาร เสริมสุขภาพมีผลิตภัณฑที่ผลิตมาจากจุลสาหราย 3 ชนิด ไดแก สาหรายคลอเรลลา (Chorella) สาหราย สไปรูลินา (Spirulina) และสาหรายดูนาลิเอลลา (Dunaliella) ซึ่งจะพบวางจําหนายอยูตาม รานขายผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพและรานขายยาทั่วไป โดยมีจําหนายทั้งในรูปแบบสาหรายแหงอัดเม็ด สาหรายในแคปซูล และสาหรายผสมกับตัวยาหรือผลิตภัณฑอื่น 5.1 สาหรายคลอเรลลา สาหรายคลอเรลลาเปนสาหรายสีเขียว เปนสาหรายเซลลเดียว ชนิดแรกที่ถูกแยกออกมาเปน เชื้อบริสุทธิ(Pure culture) ตั้งแตป .. 1890 และในป .. 1960 เปนตนมา Taiwan Chorella Company ไดเริ่มผลิตสาหรายคลอเรลลาในระดับอุตสาหกรรมหลังจากนั้นจึงไดมีบริษัทตางๆ ผลิต คลอเรลลาออกสูตลาดอาหารเสริมอีกเปนจํานวนมาก แตสวนใหญจะเปนบริษัทของญี่ปุนและไตหวัน ภาพที5-1 ภาพซายมือบอเพาะเลี้ยงสาหรายคลอเรลลา Chorella ขวามือบอสาหราย Spirulina (Aquasearch, 1999) คลอเรลลามีผนังเซลลที่หนาและแข็ง ทําใหไมสามารถยอยและดูดซึมไดในกระเพาะอาหาร และลําไสของคน ดังนั้นผลผลิตสาหรายผงแหงของคลอเรลลาจําเปนตองผานกระบวนการพิเศษเพื่อ บดหรือยอยใหผนังเซลลแตกออก กอนที่จะมาบรรจุหรืออัดเม็ดเพื่อเปนอาหารเสริม มูลคาทาง การตลาดและผลผลิตของสาหรายคลอเรลลานั้นมักจะเปนความลับทางการคา แตสวนใหญจะผลิตใน ไตหวันและมีประมาณ 10–15 เปอรเซ็นตที่ผลิตในญี่ปุสวนตลาดมักจะอยูในแถวเอเชียตะวันออก และญี่ปุผลิตภัณฑหลัก คือ สาหรายผง สาหรายอัดเม็ด และสารสกัดคลอเรลลา โดยมีจุดขาย คือ ปริมาณโปรตีนสูง มีเบตาคาโรทีน

5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

บทท่ี 5

แนวทางการใชประโยชนจากสาหราย 5. การใชประโยชนจากจุลสาหรายในปจจุบัน ผลิตภัณฑจากจุลสาหรายที่เปนที่รูจักกันดีอยางหนึ่งก็คืออาหารเสริม โดยในตลาดอาหารเสริมสุขภาพมีผลิตภัณฑที่ผลิตมาจากจุลสาหราย 3 ชนิด ไดแก สาหรายคลอเรลลา (Chorella) สาหราย สไปรูลินา (Spirulina) และสาหรายดูนาลิเอลลา (Dunaliella) ซ่ึงจะพบวางจําหนายอยูตามรานขายผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพและรานขายยาทั่วไป โดยมีจําหนายทั้งในรูปแบบสาหรายแหงอัดเม็ด สาหรายในแคปซูล และสาหรายผสมกับตัวยาหรือผลิตภัณฑอ่ืน ๆ

5.1 สาหรายคลอเรลลา สาหรายคลอเรลลาเปนสาหรายสีเขียว เปนสาหรายเซลลเดียว ชนิดแรกที่ถูกแยกออกมาเปนเชื้อบริสุทธิ์ (Pure culture) ตั้งแตป ค.ศ. 1890 และในป ค.ศ. 1960 เปนตนมา Taiwan Chorella Company ไดเร่ิมผลิตสาหรายคลอเรลลาในระดับอุตสาหกรรมหลังจากนั้นจึงไดมีบริษัทตางๆ ผลิตคลอเรลลาออกสูตลาดอาหารเสริมอีกเปนจํานวนมาก แตสวนใหญจะเปนบริษัทของญี่ปุนและไตหวัน

ภาพที่ 5-1 ภาพซายมือบอเพาะเลี้ยงสาหรายคลอเรลลา Chorella ขวามือบอสาหราย Spirulina (Aquasearch, 1999) คลอเรลลามีผนังเซลลที่หนาและแข็ง ทําใหไมสามารถยอยและดูดซึมไดในกระเพาะอาหารและลําไสของคน ดังนั้นผลผลิตสาหรายผงแหงของคลอเรลลาจําเปนตองผานกระบวนการพิเศษเพื่อบดหรือยอยใหผนังเซลลแตกออก กอนที่จะมาบรรจุหรืออัดเม็ดเพื่อเปนอาหารเสริม มูลคาทางการตลาดและผลผลิตของสาหรายคลอเรลลานั้นมักจะเปนความลับทางการคา แตสวนใหญจะผลิตในไตหวันและมีประมาณ 10–15 เปอรเซ็นตที่ผลิตในญี่ปุน สวนตลาดมักจะอยูในแถวเอเชียตะวันออกและญี่ปุน ผลิตภัณฑหลัก คือ สาหรายผง สาหรายอัดเม็ด และสารสกัดคลอเรลลา โดยมีจุดขาย คือ ปริมาณโปรตีนสูง มีเบตาคาโรทีน

Page 2: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

5.2 สาหรายสไปรูลินา สาหรายสไปรูลินา (Spirulina) ชาวเม็กซิกันโบราณ ไดเก็บเกี่ยวสาหรายสไปรูลินาจากทะเลสาบ Texcoco โดยใชตะแกรงไมรอนจากน้ํา แลวนํามาตากแหงเปนแผนใชเปนอาหาร ในปจจุบันมีการผลิตสาหรายสไปรูลินาเปนอุตสาหกรรมในหลายแหงทั่วโลก บริเวณที่มีการผลิตมากไดแก ทางตะวันตกเฉียงใตของอเมริกา ฮาวาย เม็กซิโก ญ่ีปุน จีน และประเทศไทย โดยผลผลิตมีทั้งที่เปนผลิตภัณฑเกรดต่ําสําหรับใชเปนอาหารสัตว และผลิตภัณฑเกรดสูงสําหรับใชเปนอาหารเสริมสุขภาพและผลิตสารเคมีอ่ืน ๆ การสกัดโปรตีนที่มีรงควัตถุสีน้ําเงิน คือ ไฟโคไซยานิน เพื่อใชเปนสีผสมอาหารในไอศครีมและในเครื่องสําอางค เชน “Lima Blue” (เปนผลิตภัณฑของบริษัท Dai Nippon Ink ซ่ึงเปนตนสังกัดของบริษัทสยามแอลจีในประเทศไทย) บริษัท Dai Nippon Ink and Chemical ประเทศญี่ปุน เปนบริษัทที่ผลิตสาหรายสไปรูลินาที่ใหญที่สุดในโลก โดยเปนเจาของฟารมเลี้ยงสไปรูลินา 3 แหง ไดแก Earthrise Farm ในประเทศสหรัฐอเมริกา Siam Algae ในประเทศไทย และ Hainan-DIC Microalgae ในประเทศจีน โดยที่ฟารมเลี้ยงสาหรายสไปรูลินาที่ใหญที่สุดของโลกในปจจุบันเปนของบริษัท Earthrise ที่รัฐแคลิฟอรเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา (Aquasearch, 1999)

ภาพที่ 5-2 บอเล้ียงสาหรายของบริษัทในเครือ DIC (Aquasearch, 1999)

นอกเหนือไปจากอาหารเสริมสุขภาพแลว ยังมีการใชสาหรายสไปรูลินาเปนสวนผสมของเครื่องสําอางที่ชวยลบรอยเหี่ยวยนของผิวหนา และยังมีแนวโนมที่ดีในการใชในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เนื่องจากมีคุณคาทางอาหารสูงและยังชวยกระตุนอัตราการเจริญ อัตราการรอด นอกจากนี้ไฟโคไซยานินและโพลีแซคคาไรดบางชนิดในสาหราย สไปรูลินายังชวยกระตุนภูมิคุมกันในลูกกุงไดอีกดวย

Page 3: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

การใชสาหรายสไปรูลินาเปนสวนผสมในอาหารสัตว การใชสาหรายผงเพื่อผสมในอาหารสัตวน้ําเพื่อเรงสี ทั้งนี้เนื่องจากสีที่เกิดขึ้นบนตัวปลาโดยทั่วไปแลวจะเปนสีของรงควัตถุหรือสารสี (pigment) ที่เปนสารในกลุมคาโรทีนอยด ความเขมของสีที่ปรากฏบนผิวของปลานั้นขึ้นอยูกับปริมาณคาโรทีนอยดที่ไดจากอาหาร เนื่องจากสัตวไมสามารถสังเคราะหคาโรทีนอยดเองได จําเปนตองไดรับจากอาหารเทานั้น ซ่ึงคาโรทีนอยดที่พบในปลาจะมีหลายรูปแบบ ไดแก คาโรทีนอยดอิสระ(Free carotenoids) คาโรทีนอยดเอสเทอร (Carotenoid esters) และคาโรทีโนโปรตีน (Carotenoprotein) โดยคาโรทีนอยดในรูปของเอสเทอรจะพบไดตามเนื้อเยื่อผิวหนังและในเม็ดสี สวนในเนื้อปลามักจะเปนคาโรทีนอยดอิสระ ในขณะที่คาโรทีโนโปรตีนจะพบมากตามเปลือกกุงและแมลง ตัวอยางเชน สีน้ําเงินของกุงมังกรก็คือ คาโรทีโนโปรตีนคอมเพล็กซที่ประกอบดวยแอสตาแซนทินเปนสารสีหลัก เรียกวา ครัสตาไซยานิน (Crustacyanin) สําหรับสารสีที่เปนองคประกอบของสีแดงและสีสมของปลาทองรวมทั้งสีแดงของเนื้อปลาแซลมอนก็มาจากแอสตาแซนทินและแอสตาแซนทีนเอสเทอร (Latcha, 1990) สารตั้งตน ของวิตามินเอ และฮอรโมน เปนตน สูตรโครงสรางของคาโรทีนอยดตาง ๆ ที่ไดกลาวถึงไปแลวแสดงใน(ภาพที่ 5-3) ปญหาสีของสัตวน้ําโดยสารสีคาโรทีนอยดที่พบในประเทศไทยก็คือ กุงสีฟาซึ่งพบในกุงกุลาดําที่เล้ียงในป พ.ศ.2532 โดยกุงที่ผลิตจากบอเล้ียงจะมีเปลือกออกสีฟา เมื่อตมจะเปนสีออกสมไมเปนสีแดง ราคาตก ไมเปนที่ยอมรับของตลาด จากการวิจัยพบวาเกิดจากการขาดสารสีคาโรทีนอยดในอาหารเพราะสูตรผลิตอาหารกุงในขณะนั้นไมไดมีการเติมสารสี ดังนั้นเมื่อมีการเติมสารสีแอสตาแซนทีน หรือสารสกัดจากสาหรายสีน้ําตาลชื่อ Chnoospora minima ลงในอาหาร ผลที่ไดก็คือกุงจะมีเปลือกสีน้ําตาลธรรมชาติและเมื่อตมสุกแลวจะมีสีแดงสวย (Menasveta et al., 1993)

ภาพที่ 5-3 สูตรโครงสรางของคาโรทีนอยด ไลโคพีน เบตาคาโรทีน ลูทีน ซีอาแซนทิน และ แอสตาแซนทิน

Page 4: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

5.3 สาหรายดูนาลิเอลลา สาหรายดูนาลิเอลลา (Dunaliella) เปนสาหรายสีเขียวเซลลเดียว สะสมเบตาคาโรทีนไดเมื่อเซลลอยูในสภาวะที่มีความเขมแสงสูง ความเค็มของน้ําสูง ในปจจุบันมีการเพาะเลี้ยงสาหราย ดูนาลิเอลลา เพื่อผลผลิต เบตาคาโรทีนในระดับอุตสาหกรรมอยูในหลายประเทศ เชน อิสราเอล ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา จีน และสเปน เปนตน ผลผลิตหลักของสาหรายดูนาลิเอลลาจะอยูในสองรูปแบบ ไดแก สาหรายแหงสําหรับใชเปนอาหารเสริมสุขภาพและเปนสวนผสมในอาหาร และในรูปสารสกัดเบตาคาโรทีนสําหรับใชในอุตสาหกรรม 5.4 สาหรายเซลลเดียวชนิดอ่ืน ๆ ท่ีมีศักยภาพในทางอุตสาหกรรม

Scenedesmus เปนสาหรายสีเขียวพบไดทั่วไปในแหลงน้ําจืดและในดิน เซลลมีรูปรางยาวและอยูเปนกลุม 4 , 8 หรือ 16 เซลล เซลลตรงปลายสองขางจะมี spines ยื่นออกมา การผลิตมหมวลของสาหรายชนิดนี้ไดรับการทดลองมาเปนระยะเวลานานแลว และประสบผลสําเร็จในประเทศเปรูตั้งแตป 1973 และไดมีการทดลองเลี้ยงในอีกหลายประเทศ เชน อินเดีย ตลอดจนมีการทดลองในประเทศไทยที่สถาบันคนควาและวิจัยผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเมื่อประมาณ 20 ปที่แลว Porphyridium เปนสาหรายสีแดง เซลลเดียว พบไดในน้ําจืด น้ํากรอยและน้ําเค็มรวมทั้งในดินชื้นหรือเห็นไดเปนคราบสีแดงเกาะอยูตามกระถางตนไม เซลลจะไมมีผนังเซลล แตมีช้ันของ โพลีแซคคาไรดซ่ึงเปน sulfated sugars โพลีแซคคาไรดนี้มีน้ําหนักโมเลกุลเพราะมีโครงสรางเชื่อมกันดวยพันธะ ionic ของพวก divalent cations และมีการปลอยออกมานอกเซลลกลายเปนเมือกหอหุมเซลลอยู การสรางโพลีแซคคาไรดจะเกิดไดมากในระยะการเจริญคงที่ (stationary phase of growth) และเมื่อธาตุอาหารไนโตรเจนถูกจํากัด โพลีแซคคาไรดจะละลายออกมาในอาหารเลี้ยงเชื้อไดโดยการรวมเปนเกลือแคลเซียมและแยกออกมาโดยการสกัดดวยเอธานอลอีกครั้งหนึ่ง การผลิตมหมวลของ Porphyridium เทาที่มีผูศึกษาทําไดหลายวิธี เชน การตรึงเซลลบนชิ้นโฟมที่บรรจุในคอลัมนแกว โดยมีการเปาอากาศผสม CO2 2 % จากดานลางของคอลัมน ซ่ึงระบบนี้จะสามารถเก็บเกี่ยวอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีโพลีแซคคาไรดละลายอยูออกมาไดอยางตอเนื่องโดยที่ไมมีเซลลปนออกมาดวย และเมื่อจํากัดปริมาณไนเตรทในอาหารก็จะทําใหอัตราการเจริญของ Porphyridium ลดลง (เขาสู stationary phase) สงผลใหอัตราการสังเคราะห polysaccharide เพิ่มขึ้น อีกวิธีหนึ่งก็คือการเลี้ยงในหลอดแกวเสนผาศูนยกลาง 3 ซม. ความยาว 1 เมตร หรือทอ polyethylene เสนผาศูนยกลาง6 ซม. ยาว 20 เมตร จัดใหมีการไหลเปนวงดวยอัตราการไหล 20 cm /sec (800 L/ hr) โดยจะมีสวนที่เปนคอลัมนสําหรับการเติมคารบอนไดออกไซดและกําจัดออกซิเจนที่มีความเเขมขนสูงในน้ําออก ผลผลิตโพลีแซคคาไรดจาก Porphyridium มีคุณสมบัติการเปนเจล การวิเคราะหสวนประกอบของลิพิดในเซลลพบวาประมาณ 36% เปน arechidonic acid ซ่ึงเปนสารอาหารสําคัญ

Page 5: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

ของมนุษย เนื่องจากในรางกายจะมีเอนไซมที่เปลี่ยน arechidonic acid เปน prostaglandin ซ่ึงเปนสารที่มีผลตอรางกายในลักษณะเดียวกับฮอรโมนที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะ เชน มดลูก สมอง ปอด และ prostaglandin จากสาหรายชนิดนี้มาใชเปนสีผสมอาหารสีแดงที่มีความปลอดภัยสูง และยังมีความเปนไปไดที่จะนําสาหรายชนิดนี้มาทําแหงเพื่อ ผลิตสาหรายแผนแหง “ Nori ” เชนเดียวกับสาหรายทะเลสีแดงชนิดอื่น ๆ ไดดวย Phaeodactylum เปน pennate diatom ที่เมื่อนํามาเลี้ยงในสภาพที่จํากัดไนโตรเจนจะมีลิพิดสะสมอยูถึง 34% ของน้ําหนักแหง โดยกรดไขมันที่พบมากประกอบดวย palmitic (16:6), haxadecanoic (16:1) และ C20 polyyenoic acids สาหรายชนิดนี้สามารถเลี้ยงไดที่ความหนาแนนสูงถึง 108 เซลล/มล. ในสภาพหองปฏิบัติการ Botryococcus braunii เปนจุลสาหรายสีเขียวที่เจริญเปนโคโลนี มีความสามารถในการสะสมสารไฮโดรคารบอนไดถึง 25–40 % ของน้ําหนักแหง สาหรายชนิดนี้พบไดในแหลงน้ําจืดในประเทศเขตอบอุนและประเทศเขตรอนทั่วไป เซลลมีสีเขียว สีสม สีแดง หรือสีน้ําตาลขึ้นอยูกับสภาวะของเซลลและสภาพแวดลอม โคโลนีของ Botryococcus เกิดจากเซลลที่จับตัวกันลอยอยูบริเวณผิวหนาน้ํา แรงลอยตัวนี้เกิดจากสารไฮโดรคารบอนที่ถูกผลิตขึ้นมา จากความสามารถในการสะสมไฮโดรคารบอน จึงมีแนวความคิด ของการใชสาหรายชนิดนี้มาผลิตเปนน้ํามันในอนาคต Haematococcus (ภาพที่ 5-4) เปนสาหรายสีเขียวที่สามารถสะสมรงควัตถุแอสตาแซนทิน (astaxanthin) ไดในขณะที่เซลลอยูในระยะ aplanospore ซ่ึงเกิดจากการปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอม เชน การเพิ่มความเขมแสง การขาดฟอสเฟต และการเพิ่มความเค็ม (0.8 % NaCl) แอสตาแซนทินที่สะสมในเซลลของ Haematococcus จะกระจายอยูในไซโตพลาสซึม ซ่ึงตางจากการสะสมเบตาคาโรทีนในสาหรายดูนาลิเอลลาที่สะสมในชองวางของไทลาคอยดของคลอโรพลาสต ลักษณะของเซลล Haematococcus ที่สะสมแอสตาแซนทินนั้นเกือบจะไมมีการสังเคราะหแสง นอกจากนี้ ยังสามารถเจริญไดในสภาวะเฮเทอโรโทรฟค โดยไมใชแสงแตจะใช acetate เปนแหลงคารบอน ซ่ึงในสภาพนี้หากมีการขาดไนโตรเจนก็จะเกิดการสะสมแอสตาแซนทินและเปลี่ยนเปนสีแดงไดเชนกัน

ภาพที่ 5-4 สาหราย Haematococcus ในสภาพเซลลปกติสีเขียว (ภาพซาย) และสภาพ cyst สีแดง (ภาพขวา) Aquasearch (1999)

Page 6: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

5.5 การใชสาหรายเพื่อประโยชนทางดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําจึงจําเปนตองใชสาหรายเพื่อเปนอาหารสัตวน้ําทั้งในทางตรง คือ การบริโภคของลูกสัตวน้ํา เชน ลูกกุง หรือเปนอาหารของหอยสองฝาโดยตรง และทางออม คือ ใชสาหรายเปนอาหารของแพลงกตอนสัตวแลวจึงนําแพลงกตอนสัตวไปใชเปนอาหารลูกปลาอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีการใชประโยชนในรูปแบบอื่น ๆ เชน การใชสาหรายชวยบําบัดคุณภาพน้ําในบอเล้ียงสัตวน้ํา และน้ําทิ้งที่ปลอยจากบอเล้ียงสัตวน้ํา และการเลี้ยงสัตวน้ําแบบผสมผสาน (integrated culture) รวมกับสาหรายทั้งที่เปนจุลสาหรายหรือสาหรายทะเล ในบอปลาน้ําจืด “น้ําเขียว” ซ่ึงก็ คือ น้ําที่มี สาหรายเซลลเดียวคลอเรลลา (Chlorella sp.) และสาหรายชนิดอื่น ๆ จะเกิดขึ้นเองในบอเล้ียงปลาที่มีการเติมปุยลงในน้ํา คลอเรลลาจะเปนอาหารใหแพลงกตอนสัตว โดยเฉพาะอยางยิ่งโรติเฟอร (Rotifer: Brachionus rotundiformis, B. calyciflorus, B. rubens) ไรน้ํากรอย (Diaphanosoma aspinosum) ไรแดง (Moina macrocopa, M. micrura) ซ่ึงลูกปลาจะกินแพลงกตอนสัตวเหลานี้เปนอาหาร (ธิดา, 2542) การศึกษาของกัญญาและสัณหชัย (2527) ไดแสดงใหเห็นวาสามารถใชสาหรายเซลลเดียวที่มีโปรตีนสูงหลายชนิดสําหรับการเลี้ยงแพลงกตอนสัตว แตผลการทดลองในสาหราย 9 สกุล 14 สายพันธุ Scenedesmus, Chlamydomonas, Ankistrodesmus, Chlorella, Dictyospaerium, Dunaliella, Tetraselmis และ Spirulina พบวาคลอเรลลาใหผลดีที่สุดกับการเลี้ยงแพลงกตอนสัตวน้ําจืดทั้ง 6 ชนิด Balantidioides bivacuolata (ciliate protozoa), Stylonychia pustulata(ciliate protozoa), Lepadella jamini (โรติเฟอรน้ําจืด), Rotaria citrinus (โรติเฟอรน้ําจืด), Moina macrocopa (ไรแดง), Mesocyclops leuckarti (ไรขาว) สวนแพลงกตอนสัตวน้ําเค็ม Brachionus plicatitlis (โรติเฟอรน้ําเค็ม) จะเจริญไดดีเมื่อใชสาหราย Tetraselmis และ Chlorella ในขณะที่ Artemia salina จะขยายพันธุไดมากเมื่อเล้ียงดวยสาหราย Dunaliella sp. โดยนอกเหนือไปจากการเลี้ยงแพลงกตอนน้ําจืด แบบเปนครั้ง (batch) แลวยังสามารถใชสาหรายคลอเรลลา ทําการเลี้ยงไรแดงแบบกึ่งตอเนื่อง โดยเก็บผลผลิตไรแดงสัปดาหละ 2 คร้ังไดอีกดวย (หยกแกวและสมบูรณ , 2527) ในการเลี้ยงและเพาะพันธุหอยสองฝา สาหรายเซลลเดียวจะมีบทบาทที่สําคัญเพราะ หอยจะกรองกินสาหรายและสารอินทรียตาง ๆในน้ําเปนอาหาร การศึกษาองคประกอบของอาหารในกระเพาะของหอยแครงที่เจริญอยูในแหลงเลี้ยงหอยแครงจังหวัดสมุทรสงครามและเพชรบุรี โดยสุนันทและคณะ (2526) พบวา องคประกอบแพลงกตอนพืช 22 สกุล แพลงกตอนสัตว 8 สกุล และซากเนาเปอย (detritus) โดยแพลงกตอนพืชที่พบมาก คือ Chlorella, Coscinodiscus, Rhizosolenia และ Nitzschia ในขณะที่แพลงกตอนพืชในน้ําทะเลบริเวณแหลงเลี้ยงหอยแครงประกอบดวยสกุลที่พบมาก คือ Coscinodiscus, Rhizosolenia, Nitzschia, Pleurosigma และ Thalassiosira ซ่ึงตอมารายงานของจารุนันทและคณะ (2539) พบวาหอยนางรมที่บริเวณอางศิลา จังหวัดชลบุรี มีการคัดเลือกชนิดของแพลงกตอนพืชที่กินเปนอาหาร โดยการศึกษาองคประกอบในกระเพาะของหอยนางรม พบไดอะตอม Nitzschia, Pleurosigma, Amphora, Navicula, Melosira,

Page 7: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

Coscinodiscus และ Auliscus ซ่ึงชนิดของไดอะตอมในทะเลบริเวณอางศิลาจะมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาในขณะที่ไดอะตอมที่พบในกระเพาะอาหารของหอยนางรมจะมีไมกี่ชนิด เนื่องจากสาหรายเปนอาหารหลักของหอยสองฝา การเพาะพันธุหอยจึงจําเปนตองมีการผลิตสาหรายสําหรับใชเปนอาหาร สําหรับการเพาะพันธุหอยของกรมประมง ไดแก หอยแครง และหอยตลับ (ทรงชัยและคณะ, 2530) และหอยตะโกรม (จินตนาและคณะ, 2542) นิยมใชสาหราย Isochrysis galbana เปนอาหารของลูกหอยในระยะแรกเนื่องจาก Isochrysis มีเซลลขนาดเล็ก 3–5 ไมโครเมตร แตเมื่อลูกหอยมีขนาดใหญขึ้นก็จะเริ่มใหอาหารที่เปนสาหรายเซลลเดียวหลายชนิดผสมกัน เชน ในหอยตะโกรม ใชสาหราย Isochrysis 0.5–1 x 104 เซลล / มล. ในชวงแรกตั้งแตลูกหอยเขาสูระยะ D-shape หรืออายุ 1 วัน เมื่อลูกหอยมีอายุประมาณ 10 วัน หรือมีขนาด 150 ไมโครเมตรขึ้นไป จะให Chaetoceros calcitrasns และ Thalassiosira pseudonana สมทบดวย โดยจะใหอาหารอยางนอยวันละ 2 คร้ัง ตอนเชาและบาย สวนลูกหอยระยะเกาะวัสดุ (spat) จะใชสาหรายสีเขียวเซลลเดียวคือ Tetraselmis sp., Chlamydomonas sp. และ Dunaliella sp. ที่ทําการเพาะเลี้ยงในบอกลางแจงมาใชเปนอาหารดวย สวนสาหรายที่ใชเล้ียงหอยชนิดอื่น ๆ แสดงในตารางที่ 5-1 ตารางที่ 5-1 สาหรายที่ใชเปนอาหารในการเพาะเลี้ยงลูกหอยสองฝาชนิดตาง ๆ ระยะการพัฒนาของ

ลูกหอย หอยแครง

(คมนและคณะ , 2530) อางโดย สรวิศ (2543)

หอยตลับ (ทรงชัยและคณะ ,

2530)

หอยตะโกรม (จินตนาและคณะ,2530)

ลูกหอยระยะแรก (D-shape)

Isochrysis Isochrysis 1-5 x 104 cells / ml

Isochrysis 1-5 x 104 cells / ml

ลูกหอยขนาด 150-180 ไมโครเมตร

Isochrysis เสริมดวย Thalassiosira

- Isochrysis เสริมดวย Chaetoceros , Thalassiosira

ลูกหอยระยะเกาะวัสดุ (spat)

Tetraselmis Chaetoceros Tetraselmis

Tetraselmis Chlamydomonas

Dunaliella จากบอเล้ียงกลางแจง

สําหรับการเพาะเลี้ยงหอยฝาเดียวโดยเฉพาะหอยเปาฮื้อ (หอยโขงทะเล, หอยรอยรู, Haliotis spp.) จะตองใชสาหรายกลุมไดอะตอมชนิดที่เกาะติดกับพื้นผิว (benthic diatom) เชน Naviluca spp. และ Nitzschia spp. เนื่องจากลูกหอย Haliotis asinina ที่ฟกออกมาจากไข จะใชเวลาเปนแพลงกตอน อยูในน้ําเรียกวา trochophore larve และพัฒนาตอไปเปนระยะ veliger จนกระทั่ง ประมาณ

Page 8: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

25–26 ช่ัวโมง จึงลงเกาะบนวัสดุที่มีแผนลออาหารทําดวยพลาสติกที่มีไดอะตอมเกาะอยูบริเวณผิว ซ่ึงลูกหอยจะคลานไปบนแผนพลาสติกและขูดไดอะตอมกินเปนอาหาร ซ่ึงธานินทร (2532) ผูทําการวิจัยไดกลาวถึงปญหาของการขยายปริมาณ Nitzschia และ Navicula ไววาการเลี้ยงสาหรายกลางแจงไดรับแสงแดดมากเกินไป เกิดฟองอากาศและขี้แดดที่อาจทําใหลูกหอยหลุดออกจากแผนลออาหารได จึงควรมีหลังคากรองแสง 80% ชวยและไมควรขยายอาหารลวงหนาเกิน 5 วันกอนการเพาะพันธุ เมื่อหอยเปาฮื้อเจริญขึ้นก็จะกินสาหรายทะเลเปนอาหาร พบวาสาหรายเขากวาง (Gracilaria salicornia) สามารถใชเปนอาหารสําหรับหอยเปาฮื้อ H. asinina ไดดี แตปญหาที่สําคัญก็คือ การขาดแคลนสาหรายเขากวางสําหรับมาใชเปนอาหาร เนื่องจากจะตองไปเก็บจากธรรมชาติ การทดลองของธานินทร (2532) ไดพยายามหาแหลงอาหารอื่น ๆ มาทดแทนสาหรายเขากวาง พบวา สามารถใชอาหารเม็ดที่ผลิตจากประเทศญี่ปุนเปนอาหารไดแตมีตนทุนสูง สําหรับอาหารที่พอจะใชเล้ียงลูกหอยในชวงที่ขาดแคลนอาหารชั่วระยะหนึ่งก็คือ ผักคะนาและผักกาดขาว ในขณะที่อาหารที่ไมเหมาะกับการเลี้ยงลูกหอยเลยก็คือ ผักกาดหอม สาหรายหูหนู (Padina sp.) สาหรายสีเขียว (Enteromorpha intestinalis) และสาหรายพวงองุน (Caulerpa macrophysa) สวนการทดลองของเพ็ญแขและคณะ (2538) พบวาสามารถใชสาหรายสามชนิดคือ Eucheuma sp., Gracilaria fisheri และ Lauerencia sp. เปนอาหารหอยเปาฮื้อได โดย Lauerencia จะใหผลดีที่สุด แสดงใหเห็นวาการผลิตสาหรายเขากวางหรือสาหรายชนิดอื่น สําหรับใชเปนอาหารหอยนั้น นาจะเปนสิ่งที่จําเปนหากตองการพัฒนาการเพาะเลี้ยงหอยเปาฮื้อเพื่อเปนสัตวเศรษฐกิจชนิดใหม

การเพาะเลี้ยงสาหรายเซลลเดียวสําหรับการอนุบาลลูกกุง เปนการใชประโยชน จากสาหรายที่สําคัญมาก เนื่องจากลูกกุงในระยะซูเอีย (Zoea) ซ่ึงเปนระยะหลังจากลูกกุงฟกเปนตัวประมาณ 1 ½ ถึง 2 วัน จะกินแพลงกตอนพืชเปนอาหาร ถึงแมวาลูกกุงจะกินอาหารผงหรืออาหารสําเร็จที่มีขนาดเหมาะสมไดตั้งแตเร่ิมกินอาหาร แตอาหารผงที่มีคุณคาทางโภชนาการสมบูรณนั้นทําไดยากเพราะจะตองสรางใหเม็ดมีขนาดเล็กมาก แลวยังจมตัวไดงาย ในขณะที่ลูกกุงจะลองลอยอยูในน้ํา ดังนั้นโอกาสที่กุงจะไดกินอาหารจึงมีนอย และอาหารสําเร็จรูปที่เหลือยังเกิดการยอยสลายและเนาไดงายในสภาพอากาศของประเทศไทย ทําใหไดลูกกุงที่มีคุณภาพต่ํา ออนแอ และอัตราการตายสูง (ธิดา, 2542) ดังนั้นการใชสาหรายเพื่ออนุบาลลูกกุงจึงยังคงมีความจําเปนมาก โดยในประเทศไทยนิยมใช Chaetoceros และ Skeketonema เปนอาหารเลี้ยงลูกกุงระยะซูเอีย เมื่อลูกกุงเขาสูระยะไมซิส (mysis) ก็จะเปลี่ยนไปกินแพลงกตอนสัตวพวก โรติเฟอรหรือไรน้ําเค็ม (อารทีเมีย) แทน (ตารางที่ 5-2)

ฟารมอนุบาลลูกกุงมักจะประสบปญหาเรื่องการขาดแคลนสาหรายอยูเปนประจํา เนื่องจากการผลิตสาหรายจะทําเปนแบบ batch ที่ขยายปริมาณมาจากหองปฏิบัติการจนถึงถังขนาด 1 ตันหรือใหญกวา อัตราการเจริญของสาหรายขึ้นอยูกับแสงตามธรรมชาติซ่ึงในฤดูฝนที่มีเมฆครึ้มและฝนตกจะเปนอุปสรรคที่สําคัญสําหรับการผลิตสาหรายใหเพียงพอตอความตองการ ทําใหมีเกษตรกรบางคนหันมาทําอาชีพ เพาะสาหรายขายเพียงอยางเดียว ในบริเวณจังหวัดชลบุรีและฉะเชิงเทราซึ่งเปนบริเวณ

Page 9: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

ที่มีการเพาะและอนุบาลลูกกุงมากที่สุด เกษตรกรนิยมใชสาหราย Chaetoceros แตสวนใหญไมตองการผลิตสาหรายเอง เนื่องจากเกษตรกรไมมีหองปฏิบัติการสาหรายจึงตองใชวิธีซ้ือหัวเชื้อจากหนวยราชการ เชน กรมประมง หรือสถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา ซ่ึงทําใหไมสะดวก จึงทําใหเกิดผูประกอบการหลายรายทําการเพาะเลี้ยงสาหราย Chaetoceros ขาย มีทั้งที่ขายหัวเชื้อสาหรายตั้งแต 30–50 ลิตร ลิตรละ 30 บาท ซ่ึงจะนําไปขยายลงบอซีเมนตขนาด 3–4 ตัน ที่จะใชอนุบาลลูกกุงอีกกลุมหนึ่งจะขายสาหรายที่นิยมเรียกวา “คีโตตัน” เพราะจะจําหนายสาหรายที่เล้ียงในบอซีเมนตขนาด 5 ตัน บรรจุลงในถังพลาสติกขนาด 500 ลิตร นําสงลูกคาดวยรถบรรทุกหกลอราคาจําหนายตันละ 40 บาท (ประยูร, 2540) ตารางที่ 5-2 อาหารที่ใชในการอนุบาลลูกกุงกุลาดํา 100 ตัว /ลิตร (ธิดา, 2542)

ก ) ผลผลิตและตนทุนของการเลี้ยงสาหรายอาจดีขึ้นไดหากปรับปรุงกระบวนการผลิต ระบบการเลี้ยงสาหราย เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา นิยมใชการขยายระดับหลอดทดลองจนถึงบอขนาด 20 ตัน ซ่ึงรูปแบบและประสิทธิภาพของระบบการเลี้ยงจะแตกตางจากการเลี้ยงสาหรายแบบหนาแนน เชน สไปรูลินาในบอผลิตแบบอุตสาหกรรม ทั้งนี้เนื่องจากสาหรายที่ใชเปนอาหารสัตวน้ําสวนใหญจะมีการปนเปอนจากแบคทีเรีย สาหรายชนิดอื่นและโปรโตซัวไดงาย ทําใหไมสามารถทําการผลิตแบบตอเนื่องเปนระยะยาวได อยางไรก็ตามรูปแบบการเพาะเลี้ยงที่ใชอยูในปจจุบันโดยเฉพาะการใชบอขนาดใหญที่มีความลึกมากนั้นอาจทําใหประสิทธิภาพการผลิตเซลลสาหรายไมดีเทาที่ควร เพราะแสงจะกลายเปนปจจัยที่จํากัดการเจริญ แตปริมาตรน้ําที่มาก็อาจจะชวยในดานความคงตัวของอุณหภูมิ ในที่นี้จะขอยกตัวอยางจํานวนเซลลของ Chaetoceros ที่เพาะเลี้ยงใน

ลูกกุงระยะ ชนิดอาหาร ปริมาณที่ใหใน 1 วัน ซูเอีย Chaetoceros หรือ Skeletonema 10 x 10 4 cells / ml

5–8 x 10 3 cells / ml ไมซีส ไดอะตอม

โรติเฟอร เทาเดิม 100–200 ตัว / ตัว

โพสลาวา 1 – 4 โรติเฟอร 500–800 ตัว / ตัว โพสลาวา 5 – 6 ไรน้ํากรอย หรือ

อารทีเมีย แรกฟก 80–100 ตัว / ตัว 80–100 ตัว / ตัว

โพสลาวา 7 - 15 อาหารสําเร็จ อาจจะมีอารทีเมียโตตามวัย แทนที่ในมื้อกลางคืน

ใหอาหารสํา เร็จในปริมาณที่เหมาะสม โดยแบงใหวันละ 6 มื้อ ถาใหอารทีเมียก็ใหคร้ังเดียวแทนมื้อที่ 5- 6

Page 10: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

สถานีประมงจังหวัดระยอง (โชติมาและคณะ, 2533) การเลี้ยงถังขนาด 50 ลิตร มีความหนาแนนเฉลี่ย 8.65 x 10 5 เซลลตอมิลลิลิตร ในขณะที่ Chaetoceros ที่เล้ียงในถังขนาด 500 ลิตร มีความหนาแนนเฉลี่ยต่ํากวา คือ เพียง 2.3 x 10 5 เซลล / มิลลิลิตร 4.5-2 ) ซ่ึงในขณะที่ปริมาตรน้ําตางกันถึง 10 เทา แตปริมาณสาหรายหางกันเพียง 3.7 เทา ซ่ึงก็หมายถึงการเลี้ยงสาหรายในถังขนาด 50 ลิตรจํานวนประมาณ 4 ถัง รวมปริมาตร 200 ลิตร จะไดเซลลสาหรายมากกวาการเลี้ยงสาหรายในถังขนาดใหญ 500 ลิตร หรือจากขอมูลในภาพเดียวกันจะเห็นวาการเลี้ยงสาหรายในขวดขนาด 1 ลิตร จํานวน 5 ขวด ปริมาตรรวม 5 ลิตร จะไดเซลลปริมาณมากกวาการเลี้ยงในโหลขนาด 10 ลิตร ซ่ึงหากไดมีการตรวจสอบขอจํากัดที่เกิดขึ้นและทําการปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการเลี้ยงในภาชนะแตละชนิดใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เชน พิจารณาที่ตั้งของถังหรือขอจํากัดของรูปทรงถังแตละขนาด ก็อาจจะชวยใหไดผลผลิตสาหรายดีขึ้นดวยและประหยัดคาใชจายในการเตรียมน้ําและอาหารเล้ียงเชื้อได

การทดลองเลี้ยงแพลงกตอนพืชโดยใช GML (Glutamic Mother Liquid : กากผงชูรส) ซ่ึง เปนของเสียที่เหลือมาจากกระบวนการผลิตผงชูรส มีปริมาณกรดอะมิโนและแรธาตุตาง ๆ สูง ทางบริษัทอายิโนะโมะโตะ ประเทศไทย ไดนํามาจําหนายเปนปุยภายใตช่ือ อามิ อามิ (Ami Ami) ซ่ึงมีราคาถูกกวาปุยเคมีมาก ไดนํามาทดลองเพาะสาหราย Chaetoceros และ Tetraselmis ในบอกลางแจงไดผล ซ่ึงตอมาโชติมาและจารุรินทร (2533) ไดรายงานไววาการใชอามิปริมาณ 500 มิลลิกรัมตอตัน (น้ํา) ผสมกับ Na2HPO4 10 กรัมตอตัน และ Na2SiO3 10 กรัมตอตัน ใหผลผลิตสาหรายที่ดีกวาการใชปุยเคมีที่ประกอบดวย KNO3 100 กรัมตอตัน Na2HPO4 10 กรัมตอตัน Na2SiO3 5 กรัมตอตัน และ FeCl3 2.5 กรัมตอตัน โดยสาหรายจะมีผลผลิตสูงกวาการใชปุยเคมี 1.5 เทา และเมื่อนํา Chaetoceros ที่ผลิตไดไปใชเล้ียงกุงก็พบวา ลูกกุงมีอัตรารอดสูงกวา Chaetoceros ที่เล้ียงโดยปุยเคมี สวนการเลี้ยง Chaetoceros และ Tetraselmis ในหองปฏิบัติการซึ่งจะตองใชสูตรอาหารที่มีสวนประกอบที่สมบูรณกวาสูตรอาหารสําหรับการเพาะปริมาณมากกลางแจง โชติมาและ จารุรินทร (2530) ไดรายงานไววาการใช GML สําหรับ Chaetoceros ควรใช GML ผสมกับปุยเคมีสูตรของ Sato ในอัตราสวน Sato ตอ GML เทากับ 1:2 และสําหรับ Tetraselmis ควรใช GML ปริมาตร 1.5 มล./ลิตร ผสมกับ Na2HPO4 ตามสูตรของ Sato ซ่ึงการใช GML นี้ ชวยลดตนทุนการเพาะแพลงกตอนพืชลงได ข) จุลสาหรายจะชวยปรับสภาพน้ําในบอ ทําใหสัตวน้ํามีการเจริญท่ีดีขึ้น ถึงแมวาจะมีการกลาววาสาหรายจะชวยปรับปรุงคุณภาพน้ําและรักษาสมดุลในบอเล้ียงสัตวน้ํา ตลอดจนมีการพูดถึงการใชสาหรายในระบบหมุนเวียนน้ําแบบปดสําหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํากันมาก แตงานวิจัยที่มีการรายงานผลที่ชัดเจนกลับมีนอย ตัวอยางการใชประโยชนจากสาหรายเซลลเดียวในการชวยควบคุมคุณภาพน้ําที่จะยกเปนตัวอยางในที่นี้ก็คือการเติมคลอเรลลาลงในบออนุบาลลูกกุงกุลาดําที่เล้ียงดวยไขผสมนมผงตุน ซ่ึงเปนอาหารสําเร็จรูปที่มีราคาถูกมาก

Page 11: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

และสามารถนํามาทดแทนการเพาะอารทีเมีย เนื่องจากภาวะการขาดแคลนไขอารทีเมียที่ตองนําเขาจากตางประเทศ แตการใชไขตุนนั้นมีปญหาคือจะเกิดการเนาเสียไดงาย สงผลใหเกิดแอมโมเนียในน้ําและทําใหปริมาณออกซิเจนในน้ําลดลง ชาญเดชและคณะ (2542) พบวาการเติมคลอเรลลาลงในบออนุบาลลูกกุงที่ใชไขตุนเปนอาหาร จะชวยควบคุมปริมาณแอมโมเนียและไนไตรทในน้ําอยางไดผล โดยบอที่ไมมีสาหรายจะมีปริมาณแอมโมเนียและไนไตรทเพิ่มขึ้นทุกวัน ในขณะที่บอที่มี คลอเรลลา ปริมาณแอมโมเนียและไนไตรทจะคอนขางคงที่แทบจะไมเพิ่มขึ้นเลย ผลจากคุณภาพน้ําที่ดีทําใหลูกกุงมีอัตรารอด ความยาว น้ําหนัก และความทนทานตอความเครียดที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเค็มฉับพลันจาก 30 เปน 5 ppt และความทนทานตอการแชฟอรมาลีนเขมขน 200 ppm นาน 2 ช่ัวโมง ค) การใชประโยชนจากสารชีวเคมีบางชนดิในสาหรายสาํหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา

สาหรายเปนแหลงของสารสีคาโรทีนอยดที่สําคัญ ทั้งนี้เนื่องจากสัตวไมสามารถสรางคาโรทีนอยดขึ้นเองได จําเปนจะตองไดรับจากอาหารเทานั้น ในอาหารสัตวน้ํามักจะมีการผสมสารสีแอสตาแซนทิน (astaxanthin) ลงในอาหารเพื่อชวยเรงสีและยังชวยเรงการเจริญเติบโตอีกดวย ในปจจุบันการผลิตสารสีแอสตาแซนทินจากสาหรายโดยใชสาหรายสีเขียวเซลลเดียว Haeatococcus โดยสาหรายชนิดนี้เมื่ออยูในสภาวะที่เซลลเปลี่ยนรูปรางไปเปน aplanospore ก็จะมีการสะสมแอสตาแซนทินทําใหเซลลเปลี่ยนเปนสีแดง จินตนาและคณะ (2542) ไดทดลองเปรียบเทียบการผสมแอสตาแซนทินจากแหลงธรรมชาติที่ไดจากการเลี้ยงสาหราย Haematococcus pluvialis NIES 144 สายพันธุจากประเทศญี่ปุน กับแอสตาแซนทินที่ไดจากการสังเคราะหทางเคมีที่มีจําหนายทั่วไป นํามาผสมเปนอาหารเลี้ยงลูกกุง พบวากุงที่เล้ียงดวยอาหารที่มีแอสตาแซนทินจากสาหรายมีอัตรารอดตายสูงกวาอาหารที่เติมแอสตาแซนทินสังเคราะห และกลุมควบคุมคืออาหารที่ไมเติมแอสตาแซนทิน และอาหารธรรมชาติ อยางไรก็ตาม การเพาะเลี้ยงสาหราย Haematococcus นี้ในปริมาณมาก ๆ ยังทําไดยาก ในปจจุบันมีการเลี้ยงที่ประสบความสําเร็จในตางประเทศเพียงไมกี่แหง ทําใหในประเทศไทยยังไมมีการทดลองนําสาหรายชนิดนี้มาใชประโยชนมากนัก ง) การผลิตจุลสาหรายแบบเขมขนเพื่อใชเปนอาหารสัตวน้ํา ในการเก็บรักษาและการลําเลียงขนสงสาหรายที่ผลิตไดไปยังผูใช หากตองการสาหรายปริมาณมากก็หมายความวาจะตองบรรทุกน้ําไปเปนปริมาณมากเชนกัน เนื่องจากความเขมขนของสาหรายที่ผลิตไดมีนอย จึงไดมีการวิจัยเพื่อลดปญหานี้ ไดทําการตกตะกอนสาหรายคลอเรลลาน้ําเค็มดวยอลูมิเนียมซัลเฟต และสารสมซึ่งเปนอลูมิเนียมซัลเฟตที่มีโปแตสเซียมอยูดวย ในอัตราความเขมขนตางกัน แลวตรวจวัดการตกตะกอนในเวลา 60 นาที ผลแสดงดังตารางที่ 5-3

Page 12: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

ตารางที่ 5-3 รอยละของการตกตะกอนคลอเรลลาในเวลา 60 นาที เมื่อใชอลูมิเนียมซัลเฟต และสารสมที่ระดับความเขมขนตาง ๆ กัน

ความเขมขน (ppm)

50 100 150 200 250

อลูมิเนียมซัลเฟต 71.4 82.9 70.3 79.0 71.7

สารสม 35.6 70.7 72.2 72.5 69.4

ผูวิจัยไดเสนอวาความเขมขนของอลูมิเนียมซัลเฟตและสารสมที่เหมาะสมกับการตกตะกอนสาหรายคลอเรลลาคือ 50 และ 100 ppm ตามลําดับ หลังจากที่ตกตะกอนแลวก็สามารถนําคลอเรลลา เขมขนนี้ไปใชประโยชนได โดยสาหรายจะเจริญเพิ่มจํานวนขึ้นไดตามปกติ แตการนําคลอเรลลาที่ตกตะกอนแลวไปเก็บในตูเย็นเปนเวลาหลายวัน จะทําใหเมื่อนํามาเลี้ยงใหมจะมีการเจริญที่นอยกวา จ) การใชสาหรายเพื่อชวยบําบัดคุณภาพน้ําในบอเล้ียงสัตวน้ํา สาหรายชวยดูดซับสารอนินทรียไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ที่เกิดขึ้นในบอเล้ียงสัตวน้ําอยูจํานวนมาก แตในรายงานสวนใหญมักดูผลโดยรวมไมไดศึกษาลึกลงไปในสวนของสาหราย เชน คณิตและดุสิต (2535) ไดใชหอยแมลงภูและสาหรายผมนาง ( Gracilaria sp.) มาบําบัดน้ําทิ้งจากบอเล้ียงกุงกุลาดําแบบพัฒนา พบวาสามารถชวยปรับปรุงคุณภาพน้ําไดบางสวน และไดนําสาหรายหลายชนิด เชน สาหรายผมนาง และสาหรายเม็ดพริกไทย (Caulerpa sp.) มาใสในบอพันธุไมน้ําที่จะเปนบอชวยบําบัดคุณภาพน้ําของการเลี้ยงกุงทะเลในระบบปด (ไมมีการถายน้ําออกสูภายนอกฟารม) แตงานวิจัยทั้งสองไมไดมีการศึกษาอยางแนชัดถึงสภาวะที่เหมาะสมสําหรับสาหรายในการบําบัดของเสีย เพียงแตใสสาหรายจํานวนหนึ่งลงในบอ แลวตรวจสอบคุณภาพน้ําโดยรวมเทานั้น ทําใหไมอาจทราบไดเลยวาปริมาณสารมลพิษที่เปลี่ยนแปลงไปจริง ๆ แลวจะเกิดจากสาหรายหรือไม ตัวอยางเชน การลดลงของแอมโมเนียในน้ําก็อาจเนื่องมาจากแบคทีเรียในน้ํามากกวาสาหราย การใสสาหรายในบอเล้ียงสัตวน้ําหากไมมีการดูแลที่ดี หากสาหรายตายก็อาจทําใหน้ํากลับมีคุณภาพเสื่อมลงมากกวาการที่ไมใชสาหรายเลยเสียอีก แตก็มีงานวิจัยบางเรื่อง เชน พบวาเมื่อนํา น้ําทิ้งจากบอเล้ียงกุงกุลาดําใสในถังที่มีสาหราย Caulerpa macrophysa, Saegassum polycystum และ Gracilaria salicornia สาหรายจะสามารถลดปริมาณแอมโมเนียและไนเตรทในน้ําลงได ฉ) การเลี้ยงสาหรายทะเลแบบผสมผสานกับการเลี้ยงสัตวน้ํา นําสาหรายเขามาเลี้ยงกับสัตวน้ําแบบผสมผสาน (integrated culture) สาหรายจะใชสารอาหารไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในน้ําที่มาจากการขับถายของสัตวเล้ียง และจากการยอยสลาย

Page 13: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

เศษอาหารในบอ จึงชวยใหคุณภาพน้ําดีขึ้นและยังไดผลผลิตสาหรายเปนผลพลอยไดอีกดวย การเพาะเลี้ยงสาหรายผมนาง Gracilaria fisheri ในบอซีเมนตที่เล้ียงปลากระพงขาว พบวา ยังมีความจําเปนที่จะตองเพิ่มสารอาหารใหเพียงพอตอการเจริญเติบโตของสาหราย และความเค็มของน้ําที่ลดลงเนื่องจากฝนมีผลกระทบตอผลผลิตสาหรายเปนอยางมาก และยังมีปญหาการกินกันเองของลูกปลา เนื่องจากปลากระพงขาวเปนปลากินเนื้อ ในขณะที่การทดลองเลี้ยงสาหรายผมนางรวมกับปลานิลสีแดงในบอซีเมนต (วิวรรธน, 2539) พบวาไดผลดี โดยในบอที่เล้ียงปลารวมกับสาหรายใหผลผลิตสูงกวาบอที่เล้ียงปลา หรือสาหรายเพียงอยางเดียว ซ่ึงผูวิจัยไดอภิปรายไววาสาหรายจะใชของเสียจากการขับถายของปลา ในขณะที่ปลาก็ไดอาหารจําพวกสัตวน้ําเล็กๆ ที่อยูในสาหรายเปนอาหาร เมื่อคิดมูลคาผลผลิตจากราคาปลานิลสีแดงกิโลกรัมละ 20 บาท และสาหรายกิโลกรัมละ 5 บาท ในระยะเวลาการเลี้ยง 8 สัปดาห มูลคาเฉลี่ยของผลผลิตของบอขนาด 1.6 x 1.6 x 1 ลูกบาศกเมตรที่เล้ียงปลานิลสีแดงขนาด 3–5 เซนติเมตร จํานวน 50 ตัวรวมกับสาหราย 1,500 กรัม มีมูลคาสูงสุด 32.83 บาท/บอ รองลงมาเปนบอที่เล้ียงปลารวมกับสาหราย 750 กรัม มีมูลคา 25.99 บาท/บอ ในขณะที่การเลี้ยงปลานิลอยางเดียวไดมูลคา 7.5 บาท/บอ และบอที่เล้ียงสาหรายอยางเดียวไดผลผลิต 9.35 บาท/บอ เมื่อขยายขนาดของการเลี้ยงปลานิลสีแดงรวมกับสาหรายผมนางเปนบอซีเมนตขนาด 20 ตันในรายงานการวิจัยของวิวรรธน และอรุณ (2539) พบวาบอที่เล้ียงสาหรายผมนางรวมกับปลานิลใหผลผลิตสูงกวาบอที่เล้ียงสาหรายผมนางหรือปลานิลสีแดงอยางเดียว และการเลี้ยงสาหรายรวมกับปลานิลจะทําใหผลผลิตสาหรายสูงกวาการเลี้ยงสาหรายเพียงอยางเดียวอยางมีนัยสําคัญที่ความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต โดยที่ปริมาณสารอาหารในน้ําที่อยูในบอที่เล้ียงปลาเพียงอยางเดียวจะสูงกวาในบอที่เล้ียงปลารวมกับสาหรายอยางชัดเจน ทางกรมประมงไดแถลงขาวความสําเร็จในการเลี้ยงปลากระพงขาวรวมกับสาหรายผมนางในเดือนพฤษภาคม 2543 โดยกลาววาการเลี้ยงสาหรายผมนางในแผงขนาด 3 ตารางเมตร จํานวน 75 แผง เล้ียงรวมกับลูกปลากระพงขาวจํานวน 1,400 ตัว น้ําหนักรวมกันประมาณ 36 กิโลกรัม ในบอดินขนาด 800 ตารางเมตร ใชระยะเวลา 28 สัปดาหไดผลผลิตปลากระพงขาวน้ําหนักรวมกันประมาณ 138 กิโลกรัม และผลผลิตสาหรายผมนางเพิ่มขึ้นเปน 223 กิโลกรัม โดยผลผลิตสาหรายผมนางสามารถนําไปใชสกัดวุนและนําไปใชเล้ียงหอยเปาฮื้อได (ไทยรัฐ, 2541) 5.6 ตัวอยางการใชสาหรายสไปรูลินาในการเพาะเลี้ยงกุง และสัตวน้ําอื่นๆ

5.6.1 การใชสไปรูลินา (Spirulina) ในการเพาะเลี้ยงกุงกุลาดํา ในชวงป 2543 เปนตนมาวงการกุงกุลาดํา ทางภาคตะวันออกและภาคใต ประสบกับปญหาการระบาดของโรคกุงที่มาจากเชื้อไวรัส ตัวแดง ดวงขาว เรืองแสง หัวเหลือง เปนจํานวนมาก เกษตรกรผูเล้ียงใชสารพัดยาปฏิชีวนะตั้งแต Oxytetracycline – Norfloxacin Enrofloxacin Sulfattrimethropim ฯลฯ สารเคมีที่ใชในการเตรียมบอ ใชตั้งแต Formalin Copper Sulfate Benzalchlornium Chloride (BKC 50 -80 %) Trifulalin (Treflan) Trichorphon (Dipterex) สารพัดอยาง แตก็ไมสามารถลดการระบาดของโรคที่

Page 14: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

เกิดจากเชื้อไวรัสได กลับขยายเพิ่มขึ้นอยางมากมายทั่วไปหมดทั้งภาคตะวันออก – ภาคกลาง – ภาคใต เปนความเสียหายคอนขางรุนแรง ผูเขียนไดแนะนําใหเกษตรกรใชสาหราย Spirulina ชวยกระตุนภูมิคุมกัน กุงจะเจริญเติบโตมีภูมิคุมกันโรค อัตราการรอดสูง ลอกคราบไดงาย ลําตัวใสสะอาด แมในความเค็มที่สูงเกิน 40 ppt กุงก็ยังลอกคราบปกติ

5.6.2 การใชสาหราย Spirulina สดอนุบาล และเลี้ยงปลานิลแดง จนถึงระยะวางไข พบวา อัตราการฟกออกเปนตัว และอัตรารอดของลูกปลาสูง เนื้อปลา มี Gamma - linolenic acid ( GLA ) และโปรตีนสูง สีสันดี นําเนื้อปลาทําซาซิมิ (Sashimi) ไดรับความนิยมในญี่ปุน (Lu and Toshio, 2003) ภาพที่ 5-5

ภาพที่ 5-5 เนือ้ปลาทําซาซิมิ (Sashimi)

5.6.3 การผสมสาหราย Spirulina sp. ปริมาณ 1%- 5% ในอาหารผสม เพื่อเล้ียงปลานิลสีแดง จะทําใหมี คาโรทีนอยดสะสมในเนื้อมากกวาการใชอาหารผสมธรรมดา ซ่ึง คาโรทีนอยดจะชวยทําใหเนื้อปลามีสีแดงอมชมพูนารับประทาน และยังเปนแหลงโปรวิตามินเออีกดวย (จงกล และ นิวุฒิ, 2546) ภาพที่ 5-6

ภาพที่ 5-6 เนือ้ปลานิลแดง ที่เล้ียงดวยสาหราย

Page 15: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

5.6.4 การเพิ่มผลผลิตกุงกามกรามในบอดิน ใหอาหารกุงผสมสาหราย Spirulina 1- 3% ระยะเวลาเลี้ยง 150 วัน ทําใหกุงมีขนาดใกลเคียงกันและสีกุงเขมขึ้น (จงกล และขจรเกียรติ์, 2548) ภาพที่ 5-7

ภาพที่ 5-7 กุง ที่เล้ียงดวยสาหราย

5.6.5 การปรับปรุงคุณภาพเนื้อปลาดุกรัสเซีย โดยใชสาหราย สไปรูลินา และสาหรายไก นําสาหรายมาผสมในอาหาร 4 สูตรดังนี้ อาหารผสมสาหราย 0% อาหารผสมสาหราย Spirulina platensis 5% อาหารผสมสาหราย Spirulina platensis 10% และอาหารผสมสาหราย Cladophora sp. 5% นําอาหารผสมเลี้ยงปลาดุกในบอดิน ขนาดบอ 30 ตารางเมตร อัตราการปลอย 10 ตัว/ตารางเมตร ระยะเวลาในการเลี้ยง 60 วัน เมื่อส้ินสุดการทดลอง พบวา carotenoids ในเนื้อปลาดุกรัสเซีย ที่เล้ียงในสูตรอาหารผสมสาหราย Cladophora 5% มีคามากกวา อาหารผสมสาหราย S. platensis 10% อาหารผสมสาหราย S. platensis 5% และ อาหารผสมสาหราย 0% ตามลําดับ ที่ความ

เชื่อมั่น (p≤ 0.05) (จงกล และคณะ, 2548) ภาพที่ 5-9 และ 5-10

0% สไป 5% สไป 10% ไก 5% 0% สไป 5% สไป 10% ไก 5%

ภาพที่ 5-9 ปลาดุกหลังทดลองมีสีเหลืองโดยเฉพาะ T4 ภาพที่ 5-10 การชําแหละดูเนื้อปลาดุก T4 มีสีเหลืองเขม

Page 16: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

5.7 การใช Spirulina ดานการเกษตรอื่น ๆ ในปลาสวยงาม และในปลาเศรษฐกิจใช Spirulina ผสมอาหาร ตั้งแตลูกปลา อัตรา 2 กรัมตอน้ํา 1 ตัน ในบอเพาะลูกปลา ในบอเล้ียงใชผสมอาหาร อัตรา 3 กรัม ตออาหาร 1 กิโลกรัม ใหกินวันละ 2 มื้อ ในลูกปลา อัตราการรอดสูงกวาปลาที่ไมไดใช Spirulina ลูกปลาแข็งแรงกวาปกติ มีการใช Spirulina โดยละลายน้ํา แลวกรองเอากากที่เหลือออก นําไปเลี้ยงโรติเฟอร ในอัตรา 10 กรัม ตอน้ํา 1 ตัน แลวนําโรติเฟอรไปเลี้ยงปลากะพงขาว และปลาเสือตอ และกุงกุลาดํา ในระยะวัยออน ทั้งปลาและกุง มีอัตรารอดสูง ลําตัวยาว สีเขม

ในพืชใชน้ําหมักสาหราย Spirulina ในพริกขี้หนู สม มะนาว มังคุด หนอไมฝร่ัง โดยใชในอัตราสวน น้ําหมักสาหราย Spirulina 1สวน ตอน้ําสะอาด 20 สวน พนใตใบ และลดโคนตน 7 วัน ตอคร้ัง พริกขี้หนูใบเหี่ยวหายไป สมกับมะนาวที่เปนใบแกวหายไป หนอไมฝร่ังที่เปนราน้ําคางหายไป ภายในระยะเวลา 30–45 วัน ใบที่แตกมาใหมสมบูรณกวาเดิม ในไกเนื้อ ใช Spirulina ผงละลายผสมน้ําใหลูกไกกินตั้งแตอายุ 1 วัน จนกระทั่ง 40 วัน ในอัตรา 3 กรัม ตอน้ํา 20 ลิตร ผลที่ไดรับลูกไกมีภูมิตานทานโรค เปนหวัดนอยมาก หงอนแดงกวา สีแขงเหลือง เนื้อแนน อัตราแลกเนื้อดีกวาที่ไมไดใช Spirulina มาก ในหมูใช Spirulina ผงละลายผสมน้ํา ใหลูกหมูกิน อัตรา 3 กรัม ตอน้ํา 20 ลิตร หรือผสมอาหาร อัตรา 20 กรัม ตออาหาร 1 กก. ลูกหมูไมมีปญหาในเรื่องการถายทอง ผิวสีเขม ขนไมหยาบ ใชอัตราเดียวกัน จนถึงหมูใหญ อัตราการรอดสูงกวา ปญหาเรื่องถายทองเกือบจะไมพบเลย คุณภาพซาก เนื้อหมูมีสีแดงกวา การเจริญเติบโตดีกวาที่ไมไดใช Spirulina อัตราแลกเนื้อต่ํากวา 5.8 การประยุกตใชสาหรายกับการเกษตร 5.8.1 ปุยชีวภาพจากสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินหลายชนิดมีความสามารถในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศสําหรับใชในกระบวนการทางชีวเคมีภายในเซลลได ทําใหไมจําเปนตองใชสารอาหารอนินทรียไนโตรเจนที่ละลายในน้ําแบบสาหรายชนิดอื่น ๆ และสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินยังพบไดในดินทั่วไปโดยเฉพาะในที่ช้ืนแฉะในนาขาว ทําใหมีแนวความคิดที่จะนําสาหรายมาเปนปุยชีวภาพใหนาขาวเพื่อชวยลดปริมาณการใชปุยเคมีไนโตรเจน ซ่ึงมีราคาแพงและเปนตนทุนที่สําคัญในการผลิตขาว งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการตรึงไนโตรเจนของสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินในประเทศไทยมีมานานแลว เชน การศึกษาขนาดและการสราง heterocyst ของสาหราย Anabaena sp. (จันทนาและบพิธ, 2514) และการจําแนกสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน (Cyanophyta) ดินนาขาวซึ่งพบสาหราย Nostoc, Anabaena, Anabaenopsis, Cylindospermum , Trichodesmium และ Oscillatoria ในดินนาขาวที่ใชทดลอง โดยพบวา กระถางที่ปลูกขาวและมีปริมาณสาหรายมาก การเจริญเติบโตและผลผลิตของขาวก็จะมากดวย ผูวิจัยจึงสรุปไดวาสาหรายชวยเพิ่มผลผลิตของขาวใหมากขึ้นอยางเห็นไดชัด

Page 17: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

สาหรายที่ไดนํามาใชประโยชนจนถึงปจจุบัน มีรายงาน การศึกษาผลของแหลงไนโตรเจนตอการสรางเฮเทอโรซีส การตรึงไนโตรเจน และสวนประกอบของกรดอะมิโน เชน ของ Anabaena siamensis พงศเทพ (2528) สรุปประโยชนของการใชปุยชีวภาพจากสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินไวดังนี้ 1. ปุยชีวภาพชวยพัฒนาคุณภาพดิน ไมเพียงแตจะใหธาตุอาหารไนโตรเจนเทานั้น แตยังมีธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองอื่น ๆ ดวย โดยจะเพิ่มอินทรียวตถุใหดิน 2. ชวยประหยัดการใชปุยเคมีลงไดคร่ึงหนึ่งหรือหนึ่งในสามของที่เคยใชเปนการลดตนทุน 3. สาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินชวยผลิตและใหออกซิเจนแกรากขาวในสภาพน้ําขัง ชวยปองกันและลดปญหารากขาวเนา เนื่องจากแบคทีเรียและราในสภาพที่ขาดออกซิเจน 4. สาหรายบางชนิดจะปลดปลอยฮอรโมนพืชและกรดแอสคอรบิกลงในนาขาว ชวยใหขาวมีการเจริญเติบโตดีขึ้น และตานทานโรคมากขึ้น 5. สาหรายในปุยชีวภาพจะสรางสปอร เพื่อขยายพันธุฝงตัวปะปนอยูในดินนา ซ่ึงจะสามารถงอกเจริญขึ้น เพื่อตรึงไนโตรเจนไดใหมในฤดูฝนของปตอ ๆ ไป 6. สาหรายในนาขาวจะเปนอาหารใหปลาในโครงการเลี้ยงปลาในนาขาวไดอีก การทดลองอื่นๆ เชน การใชสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน 5 ชนิด คือ Anabaena oryzae, Aulosira sp., Calothrix sp., Nostoc sp. และ Tolypothrix sp. กับการปลูกขาว กข 23 พบวาการใชสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินจะเพิ่มผลผลิตขาวมากกวาการไมใสปุยไนโตรเจนเลยประมาณ 12–16% แตการทดลองในกระถางจะไดผลดีกวาการทดลองในแปลงทดลอง โดยในแปลงทดลองพบวาผลผลิตของขาวจากการใชปุยชีวภาพเพียงอยางเดียวยังต่ํากวาการใชปุยไนโตรเจนในอัตรา 12 กก./ไร นอกจากนี้ยังมีส่ิงที่ตองคํานึง คือ การตอบสนองของสาหรายตอยาปราบวัชพืชที่มีการใชกันมากในการเกษตร พบวา สารควบคุมวัชพืช 2, 4-D (dichloro-phenoxy acetic acid) ในปริมาณสูงกวา 600 ppm จะมีผลยับยั้งการเจริญและการพัฒนาของสายเซลล เซลลที่สรางอะคีนีต และสายของเซลล Calothrix sp. จะมีสีเหลืองและหักเปนทอน ๆ

ในปจจุบัน การผลิตปุยชีวภาพจากสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินของ วท. ไดมีการขยายไปสูระดับอุตสาหกรรมเปนที่เรียบรอยแลว โดย วท. ไดถายทอดเทคโนโลยีไปสูภาคเอกชน คือ บริษัทอัลโกเทค จํากัด ทําการผลิตปุยชีวภาพภายใตช่ือการคาวา “อัลจีนัว” จากโรงงานที่อําเภอ นครชัยศรี โดยมีวิธีการดังนี้ นาดํา หวานปุยออัลจีนัวใหทั่วแปลงในอัตรา 20 กก./ไร หลังปกดํา 1–30 วัน นาหวาน หวานปุยอัลจีนัวใหทั่วในอัตรา 20 กก./ไร หลังขาวงอก 7–30 วัน ทางบริษัทแนะนําใหใชปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมี (ปุยสูตร) โดยทดแทนการใชปุยเคมี 1 ใน 3 และในกรณีที่ใชรวมกับปุยยูเรียใหใชทดแทนปุยยูเรียไดคร่ึงหนึ่ง และควรเก็บรักษาปุยในที่รมและไมเปยกชื้น ทางบริษัทไดโฆษณาผลิตภัณฑวา สาหรายสีน้ําเงินแกมเขียวสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมาเปนธาตุอาหารและปลดปลอยฮอรโมนพืชกระตุนการเจริญเติบโตของตนขาว ทําใหผลผลิต

Page 18: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

ขาวเพิ่มขึ้น และยังเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ทําใหดินรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดิน และคืนสมดุลยทางธรรมชาติสูระบบนิเวศ นอกจากนี้ในป พ.ศ. 2542 วท. ยังสงเสริมการผลิตปุยชีวภาพจากสาหรายใหแกสหกรณการเกษตรและเกษตรกร ภายใตโครงการมิยาซาวา จํานวน 15 ลานบาท โดยหวังที่จะลดการนําเขาปุยเคมีลงรอยละ 30 และเพิ่มผลผลิตขาวในประเทศไทยรอยละ 15 – 20 โดยโครงการจะครอบคลุมพื้นที่ 17 จังหวัด เกษตรกรแตละจังหวัดจะไดรับการอบรมการผลิตปุยชีวภาพจาก วท. จํานวน 18,240 คน (จดหมายขาว วท., 2542) 5.8.2 การใชสารสกัดจากสาหรายในการกําจัดแมลงศัตรูพืช การพัฒนาเปนยาชนิดใหมสําหรับรักษาโรค แตในปจจุบันทางดานการเกษตร ตัวอยางเชน Mahakhant et al.(1999) ทดสอบสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงิน 408 สายพันธุ พบวามีสาหราย 90 สายพันธุ (22.1%) ที่ผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ แยกเปน 12 สายพันธุที่มีสารตานจุลชีพ (แบคทีเรีย ยีสต และรา) 43 สายพันธุมีสารที่ออกฤทธิ์ตานราที่กอโรคพืช ตานสัตวในกลุมแมลง (ใช Artemia salina เปนตัวทดสอบ) และ 11 สายพันธุมีสารออกฤทธิ์ตานสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินชนิดอื่น ๆ

5.9 การผลิตวุนจากสาหรายทะเลในประเทศไทย วุน (Agar) เปนสารโพลีแซคคาไรดที่มีคุณสมบัติเปนไฮโดรคอลลอยด (Hydrocolloid, Hydrophilic colliod) สามารถเกิดเปนเจล (Gel) ที่คงรูปไดในน้ําที่ระดับความเขมขนต่ําเพียง 0.4–1% ได วุนมีโครงสรางโมเลกุลเปนสายพอลิเมอรที่ประกอบดวยอากาโรส (Agarose) และอากาโรเพคติน (Agaropectin) วุนที่มีสวนประกอบของอาโรเพคตินซึ่งมีประจุนี้มากก็จะยิ่งทําใหความแข็งของเจล (gel strength) ลดลง ดังนั้นกระบวนการสกัดวุนจึงตองพยายามลดปริมาณของหมูซัลเฟตที่เกาะอยูในสวนของน้ําตาลลดลงมากที่สุด โดยใชดางทําใหเกิดการตกตะกอนของสารอนินทรียซัลเฟตออกมา การจัดแบงประเภทของวุนตามความบริสุทธิ์ ราคา และการใชงานแบงออกไดเปน 3 กลุม คือ 1. วุนที่ใชบริโภคและใชในอุตสาหกรรมทั่วไป (commercial agar) สําหรับใชในอุตสาหกรรมอาหาร มีความแข็งเริ่มตั้งแต 150 กรัมตอตารางเซนติเมตร ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (สํานักงานมาตรฐานผลิตภณัฑอุตสาหกรรม, 2531) 2. วุนที่ใชในการแพทยและเภสัชกรรม (Bacteriological agar) สําหรับใชเปนอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียหรือเนื้อเยื่อพืชในหองปฏิบัติการ โดยเมื่อเล้ียงเช้ือไปแลวแบคทีเรียจะไมสามารถยอยวุนใหเหลว มีความแข็งอยูระหวาง 400–600 กรัมตอตารางเซนติเมตร 3. วุนบริสุทธิ์ (Purified algar , agarose) คือการนําวุนมาผานกรรมวิธีกําจัดซัลเฟต เพื่อใหเหลือแตพอลิเมอรที่ประกอบดวยอากาโรสใหมากที่สุด ใชสําหรับงานวิจัยทางดานชีววิทยาโมเลกุล เชน อากาโรสสําหรับแยกดีเอ็นเอดวยวิธีอิเลคโตรฟอรีซีส (Electrophoresis) มีความแข็ง 350–1000 กรัมตอตารางเซนติเมตร บริษัทจัดการอุตสาหกรรม จํากัด ซ่ึงเปนบริษัทในเครือบริษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดยการสนับสนุนของศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติได

Page 19: 5.5.2 สาหร ายสไปร ล นา สาหร ายสไปร ล นา (Spirulina) ชาวเม กซ ก นโบราณ ได เก บเก ยวสาหร

ทําการศึกษาความเปนไปไดเชิงพาณิชยของโครงการการผลิตวุนในระดับอุตสาหกรรม (บ.จัดการอุตสาหกรรม, 2536) โดยเปนผลตอเนื่องมาจากงานวิจัยของหนวยวิจัยไบโอพอลิเมอร คณะวิทยาศาสตร มศว. ประสานมิตร ในการผลิตวุนที่ใชบริโภคและใชในอุตสาหกรรมทั่วไป (Commercial agar) และมีการทดลองระดับโรงงานตนแบบที่ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี สําหรับกระบวนการสกัดวุนที่พัฒนาเพื่อใชผลิตในระดับอุตสาหกรรมจะมีขั้นตอนดังแสดงภาพที่ 5-11

สาหรายแหง (Gracilaria) ความชื้น 20 %

นํามาลางน้ํา (อาจเติม NaOH เพื่อกําจัดซลัเฟต แลวเตมิ HCI ปรับ pH ใหกลับเปนกลาง)

ตัดเปนชิ้นเล็ก ๆ สกัดโดยการตมที่ 100 0C ประมาณ 1 ช่ัวโมง

กรอง กากสาหราย

กรองอัดความดัน (Filter press)

แยกน้ําโดยวิธีแชแข็ง

แช NaOH ปรับคุณภาพวุนใหแข็งขึน้ (Alkali – treatment)

ลาง , ปรับ pH ดวย HCI , ลางอีกครั้ง

อบแหงที ่70 0C , บด และบรรจุไดวุนที่มคีวามชื้น ภาพที่ 5-11 กระบวนการสกดัวุนทีห่นวยวจิัยไบโอพอลิเมอรพัฒนาเพือ่ใชผลิตในระดับอุตสาหกรรม (สรุปจากเอกสารของบริษัทจัดการอุตสาหกรรม (2536)