12

Click here to load reader

ต้องทำแบบคนจน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ต้องทำแบบคนจน

1

บทที่ 4 พระราชกรณียกิจ และพระราชดํารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว

เกี่ยวกับธรรมาภิบาลΤ รองศาสตราจารย จินตนา บญุบงการ

“...ในยามที่สถานการณของบานเมืองเรา และประเทศตางๆ ในภูมภิาคสวนนี้ของโลก กําลังเปลี่ยนแปลง เคล่ือนไหวอยางรวดเรว็ ทานทั้งหลายจะตองควบคุมสติใหมั่น ไมหวั่นไหวไปกบัเหตุวกิฤตทําความคิดจิตใจใหหนักแนน และเที่ยงตรงเสมอเหมือนกัน ที่จะยดึมั่นในเหตุผลความสุจริตถูกตอง และประโยชนสุขสวนรวม แลวมุงมั่นปฎบิตัิหนาที ่ ดวยความรู ความสามารถ ดวยความเฉลียวฉลาดรอบคอบ และความสามัคคีเปนอันหนึ่งอันเดยีวกัน ก็จะรวมกันปฎิบัติบริหารงานทุกดานไดอยางเขมแข็งเหนยีวแนน และประสบความสําเร็จอนังดงามตามเปาหมาย...” 1 1

พระราชกรณยีกจิ และพระราชดํารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั เกี่ยวกับธรรมาภิบาลมีมากมาย จะรวบรวมมาเปน 4 เร่ืองใหญๆ ดังนี้ 1. แนวคดิการจัดการทีย่ัง่ยืน 2. ธรรมาภิบาลในการบรหิาร 3. ความรับผิดชอบของผูบริหารตอสังคม 4. การจัดการดานสิ่งแวดลอม 4.1 แนวคิดการจัดการที่ยั่งยืน

ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดจัดใหมีการระดมความคิดเห็นจากผูทรงคุณวุฒิ และประชาชนจากทุกภาคทั้งในระดับจังหวัด ระดับอนุภาค และระดับชาติ จึงเห็นพองตองกันวาเพื่อการพัฒนา

Τจากบทความในการจัดประชุมวชิาการเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวครองสิริราชสมบัติครบ 60 ป หัวขอเรื่อง ใตรมพระบารมีพระบรมธรรมมหาราชา

Page 2: ต้องทำแบบคนจน

2

เศรษฐกิจ และสังคมของชาติอยางยั่งยืน จะตองอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนหลักการพื้นฐานของการพัฒนาทั้งทางดานเศรษฐกจิและสังคม โดยเฉพาะใชเปนแนวทางในการดําเนินวิถีชีวิตของคนไทย ทั้งในระดับบคุคล ครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยสวนรวม โดยยังคงใหความสําคัญกับการพัฒนาแบบองครวมที่ยึดคนเปนศูนยกลางการพัฒนา อันเปนแนวคดิและแนวทางตอเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ ฉบับที่ 8 เพื่อนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยนืและความกนิดีอยูดีมีความสุขอยางพอเพียงของปวงชนชาวไทย เศรษฐกิจพอเพียง “...ใหพอเพียงนี้ก็หมายความวา มีกินมีอยู ไมฟุมเฟอย ไมหรูหราก็ได แตวาพอ แมบางอยางอาจจะดูฟุมเฟอย แตถาทําใหมีความสุข ถาทําไดก็สมควรที่จะทํา สมควรที่จะปฎิบัติ...” 2 2

แนวพระราชดําริเร่ือง “เศรษฐกจิพอเพียง” เปนพระราชปรัชญาที่ช้ีถึง แนวการดํารงอยูและปฎิบัติตนของประชาชนในทกุระดบั ตั้งแตระดบัครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง 3 3 หลักการนี้เหมาะสมสําหรับประเทศไทยที่กําลังพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหเจริญกาวหนาไปไดทันตอเศรษฐกจิของโลกในยคุโลกาภิวัฒน ที่เนนการบริโภคจนเกินความสามารถของกําลังการผลิต ความหมายและแนวทางสําคัญเพื่อการปฎิบัต ิ ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตวัที่ดีพอสมควร ผลกระทบจากยุคโลกาภิวัฒน ผลกระทบในยุคโลกาภิวฒันตอเศรษฐกจิ การเมือง และสังคมในยุคนี้มีอยางมากมายทั้งภายนอกและภายใน ผลกระทบมีอยางรุนแรง รวดเร็ว และตอเนื่องจนปวงชนชาวไทยไมอาจเขาใจ และตั้งตวัรับผลกระทบตอความเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกไดอยางถูกตอง เหมาะสม และทันการ แนวทางสําคัญเพือ่การปฎิบตั ิ การจะรบัมือกับผลกระทบในยุคนี้จาํเปนตองอาศยัความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง โดยยดึหลักการที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปนอยูตลอดเวลาคือ “รูรัก สามัคคี” มาเปนแนวคิดหลักนําทางในการจะนาํวิชาการตางๆมาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน ทุกระดับ ส่ิงสําคัญยิ่งในการปฏิบัติ ตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาต ิ โดยเฉพาะผูบริหารประเทศ นักการเมือง เจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกจิในทุกระดบั จําเปนตองมีจิตสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจรติ และพัฒนาใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชวีิตดวยความอดทน มีความเพยีร มีสติปญญา และความรอบคอบ ทั้งนี้เพื่อใหเกดิความสมดุล และมีความพรอมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลง

Page 3: ต้องทำแบบคนจน

3

ที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว รุนแรง ตอเนื่อง และกวางขวาง ทั้งทางดานวตัถุ สังคม ส่ิงแวดลอมและวฒันธรรมจากโลกภายนอกที่ประชาชนชาวไทย จําเปนตองติดตอและอยูรวมดวย “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัทรงชี้ทางสวางใหคนไทยมานานแลว ทั้งมีพระราชดํารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมานานเกือบ30 ป และยงัทรงปฏิบตัิใหเหน็เปนแบบอยาง เพยีงแตไมคอยมใีครเหน็ไมสนใจกัน ประเทศชาติก็เลยตองย่ําอยูในวังวนของปญหากันอยางนี้” 4

พระบรมราโชวาทเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 5

เปรียบเสมือนเสาเข็ม “เศรษฐกจิพอเพยีงเปนเสมือนรากฐานของชีวติ รากฐานความมัน่คงของแผนดนิ เปรยีบเสมอืนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบานเรือนตัวอาคารไวนั่นเอง ส่ิงกอสรางจะมั่นคงไดก็อยูที่เสาเข็ม แตคนสวนมากมองไมเห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียดวยซํ้าไป” ตองทําแบบคนจน “ตองทําแบบคนจน เราไมเปนประเทศร่ํารวย เรามีพอสมควร พออยูได แตไมเปนประเทศที่กาวหนาอยางมาก เพราะถาเราเปนประเทศกาวหนาอยางมาก ก็จะมแีตถอยหลัง ประเทศเหลานั้นเปนประเทศที่มีอุตสาหกรรมกาวหนา จะมแีตถอยหลัง และถอยหลังอยางนากลัว แตถาเริ่มการบริหารที่เรียกวา แบบคนจน แบบที่ไมติดกบัตํารามากเกนิไป ทําอยางมีสามัคคีนี่แหละ คือเมตตากนั ก็จะอยูไดตลอดไป” พึ่งตนเอง (Self-sufficiency) “Self-sufficiency นั้นหมายความวา ผลิตอะไรมีพอที่จะใชไมตองไปขอซื้อคนอื่น อยูไดดวยตนเอง(พึ่งตนเอง).... บางคนแปลจากภาษาฝรั่งวา ใหยืนบนขาตวัเอง คําวา “ยนืบนขาตัวเอง” นี่มีคนบางคนพูดวาชอบกล ใครจะมายืนบนขาคนอื่น มายืนบนขาเรา เราก็โกรธ แตตัวเองยืนบนขาตวัเองก็ตองเสยีหลักหกลมหรือลมลง อันนี้ก็เปนความคิดที่อาจจะเฟองไปหนอย แตวาเปนความที่เขาเรียกวายืนบนขาของตัวเอง (ซ่ึงแปลวา พึ่งตนเอง) หมายความวาสองขาของเรานี่ยนืบนพื้น ใหอยูไดไมหกลม ไมตองไปขอยืมขาของคนอื่นมาใชสําหรับยืน”

4.2 ธรรมาภิบาลในการบริหาร “...ผลของการคิดดี ทําดี ทําถูกตองนั้น จะไดสงเสริมใหแตละคนตลอดจน ประเทศชาติดาํเนินกาวหนาตอไปดวยความมั่นคงสวัสดี...”6

ทศพิธราชธรรมเปนหลักธรรมาภิบาลของพระมหากษัตริย ที่ไดถูกกําหนดมาตั้งแตสมัยโบราณ แตเปนหลักการปฏิบัติที่ไมลาสมัย เปนสิ่งที่ประชาชนทัง้หลายสามารถเอามาประยุกตใชได ทั้งนีจ้ะเห็นไดวาพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหัวทรงมพีระราชกรณยีกจิใหปวงชนชาวไทย ไดเหน็อยูตลอดเวลา หากผูบริหาร

Page 4: ต้องทำแบบคนจน

4

ทั้งหลายนําไปประยุกตใช จะทําใหจรรยาบรรณในการบริหารนาํความสําเร็จ ความสุข ความเจริญมาใหอยางแนนอน ทศพิธราชธรรม 7

ทศพิธราชธรรม คือ ธรรมะ 10 ประการ สําหรับพระมหากษัตริยทรงปฏิบัติ อันนํามาซึ่งความเจริญรุงเรืองความสงบสุขสันติของบานเมอืง และพสกนิกรทั้งหลาย พระราชธรรมทั้ง 10 ประการไดแก ทานํง สีลํ บริจฺจาคํ มทฺทวํ ตป อกฺโกธํ สวหิึสา ขนฺติ และอวิโรธน ํ

1. ทานํ คือ การใหอยางมีผูรับ ไมวาจะเปนการใหทางกาํลังวัตถุส่ิงของ การใหทางกาํลังสติปญญา การใหทางกําลังกาย กําลังใจ จะเห็นไดชัดเจนจากโครงการพัฒนาตางๆ ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหดําเนินตามแนวพระราชดาํริ การพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองคในกรณแีละภยัพิบัติตางๆ 2. สีลํ คือ การสํารวมในศลี การรักษากาย วาจาใหเรียบรอย พระราชจริยาวัตรทีป่รากฏทางพระวรกาย ทางพระวาจา ลวนหมดจดงดงาม เปนที่จับใจของผูพบเห็น 3. บริจฺจาค ํ คือ การบริจาค เปนการใหภายใน หรือที่เรียกวาทางจติใจ เปนการใหแบบไมตองมีผูรับเปนการยอมสละสวนเฉพาะตน เพื่อประโยชนสวนรวม สละความสุขสบาย และผลประโยชนสวนตนได มีจิตใจกวางขวาง เอื้อเฟอเผื่อแผชวยเหลือเกื้อกูล 4. อาชฺชวํ คือ ความเปนผูตรง ไดแก การประพฤติตอตนเองและผูอ่ืนดวยความจริงใจ ไมมีมายาสาไถย ไมมีนอก ไมมีใน พระมหากษัตริยทรงซือ่ตรงในฐานะที่เปนผูปกครองดํารงอยูในสัตยสุจริต ซ่ือตรงตอพระราชสัมพันธมิตร และอาณาประชาราษฎร 5. มทฺทวํ คือ ความเปนผูออนโยน ไดแก สัมมาคารวะ ออนนอมตอทานผูใหญผูเจรญิ ออนโยนตอบุคคลที่เสมอกันและต่ํากวา วางตนสม่ําเสมอ ไมดูหม่ินผูอ่ืน ในหลวงของเราทรงปฏิบัติพระราชธรรมขอนี้อยูเปนนติย ทรงมีพระพักตรอันแชมชื่น อันบงบอกถึงพระเมตตาคณุ และพระกรุณาธิคุณอันเปยมลนอยูภายใน พระองคมิไดถือพระอิสริยยศ เสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยมเยยีนราษฎรโดยไมเลือกชั้นวรรณะแตอยางใด 6. ตป คือ ความเพียร ไดแก ความบากบั่น กาวหนาไมถอยหลัง ความไมหยุดอยูกับที่ อันเปนคุณสมบัติที่เผาผลาญกิเลสความเกยีจครานทั้งปวง การที่พระมหากษัตริยทรงตั้งพระราชอุตสาหะ วิริยะ ปฏิบัตพิระราชกรณยีกจิทั้งปวงใหสําเร็จยอมเปนตวัอยางอันดีในเรื่องความเพียร 7. อกฺโกธํ คือ ความไมโกรธ ไดแก การไมแสดงความโกรธใหปรากฏ ตลอดถึงการไมพยาบาทมุงรายผูอ่ืน กิริยาทีแ่สดงความโกรธออกมานั้นไมงดงาม นาเกลียดนาชัง ในหลวงของเราไมเคยแสดงพระอาการกริ้วโกรธ แมจะมีเหตุใหระคายเคอืงเบื้องพระยคุลบาท พระองคทรงมีพระอาการสงบนิ่ง 8. อวิหึษา คือ ความไมเบยีดเบียน ไดแก การไมกอความทุกขยากใหแกผูอ่ืนตลอดถึงสัตว ดวยเหน็เปนการสนุกของตนเพราะอาํนาจโมหะ เชน ทํารายคนและสัตวอ่ืนเลน ความไมเบยีดเบียน จักเปนได ก็ตองอาศัยความกรุณาเปนเบื้องหนา

Page 5: ต้องทำแบบคนจน

5

9. ขนฺต ิ คือ ความอดทน ไดแก ความอดทนตอโทสะ อดทนตอโมหะ นัน่เอง ไมทําลวงไปดวยอํานาจโลภะ หรือราคะ โทสะ โมหะนี้ งามทางกาย ทางวาจา ตลอดถึงทางมนะ หรือทางใจ ขนฺติ คูกับโสรจัจะ โสรัจจะ ไดแก การทําใจใหสงบจากความคิดที่จะทําชัว่ พูดชั่ว หรือคิดช่ัว ขันติและโสรัจจะ เปนธรรมะที่ทําใหงามคือทาํใจใหงามกอน เมื่อใจงามแลวกายก็งาม วาจาก็งาม ความคิดเรือ่งราวตางๆ กง็าม 10. วิโรธนํ คือ ความไมคลาดธรรม วางตนเปนหลักหนักแนนในธรรม คงที่ ไมมีความเอนเอียง หวั่นไหว เพราะถอยคําที่ดีราย ลาภสักการะ หรือ อิฎฐารมณอนิฏฐารมณใดๆ สถิตมั่นในธรรม ทั้งสวนยุติธรรม คือ ความเที่ยงธรรมก็ดี นิติธรรม คือ ระเบียบแบบแผนหลักการปกครอง ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามก็ดี ไมประพฤติใหเคล่ือนคลาดวิบัตไิป

4.3 ความรบัผิดชอบของผูบริหารตอสังคม

“...ประเทศของเราจะมีความมั่นคงเปนปรกติสุขอยูได ก็ดวยคนไทยทุกหมูเหลามีความ สมัครสมานสามัคคี และรูจักปฏิบตัิหนาที่ของแตละฝายแตละคนใหประสานสงเสริมกัน...”8

จากการติดตามพระราชกรณยีกิจของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัอยางใกลชิดจะสามารถประมวลวิธีการที่พระองคใชในการดาํเนินพระราชกรณียกิจที่มีผลใหเกดิเปนการบริหารจัดการที่แสดงความรับผิดชอบของผูบริหารตอสังคม ซ่ึง ดร.สุเมธ ตันติเวชกลุ ไดรวบรวมเอาไว 10 ประการดังนี้ 9

1. ทํางานอยางผูท่ีรูจริงและมีผลงานเปนท่ีประจักษ “รูรัก สามัคค”ี เปนคําที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัทรงรบัสั่งเสมอคําวา “รู” เปนสิ่งสําคัญในการทํางาน ไมวาจะเปนผูบริหาร หรือผูดําเนินงานในระดับใด ตั้งแตระดับผูบริหารชาติบานเมือง ไปจนถึงผูบริหารหนวยงานยอย ตัวอยาง “การรอนุรักษ” ไมไดแปลวา ไมตองทําอะไร หามแตะตองมีของเกาเก็บเอาไว นั่นไมใชผูรูจริง “การอนุรักษ” เปนกจิกรรมหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัทรงดาํเนินเปนพระราชกรณียกิจอยางผูรูจริงโดยทรงเริ่มจากการทดลองในพระบรมมหาราชวัง พระองคทรงเอาสระวายน้ําของพระองคทานที่สวนอัมพรมาเลี้ยงปลา โดยมีพระราชดํารัสวา “อยูไปของหรูหราฟุมเฟอยกไ็มคอยไดใชวายน้ํา เล้ียงปลาดีกวา” ปลาหมอเทศเกิดที่นั่น แจกจายกระจายไปทั่ว พระองคไมเสวยปลาหมอเทศ พระองครับส่ังวา “เหมือนลูก” เพราะพระองคทานเริ่มเพาะ แลวแจกจายไปทั่ว เปนโปรตีนราคาถูกใหกับทุกคน การทํางานตองมี “สติ” และจะเกิดสิ่งที่สูงกวาตามมาคือ “ปญญา” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงศึกษาเรื่องทีจ่ะทรงปฏิบัตอิยางละเอียดในทุกเรื่องกอนจะตัดสินพระทยัลงไปชวยพัฒนาประชาชน ทรงศึกษาแผนที่ ศึกษาชองทางน้ํา ศึกษาเรื่องกระบวนการพัฒนา และเมื่อพรอมแลวพระองคจงึจะลงไปทํา

Page 6: ต้องทำแบบคนจน

6

2. ความอดทน มุงมั่นยึดธรรมะและความถูกตอง ชีวิตเราเหมือนกนัทุกคน บางครั้งถูกกดดัน บางครั้งถูกเกลียดชัง บางครั้งถูกอิจฉา บางครั้งถูกทําลาย บางครั้งมีอุปสรรคอยางมาก ฉะนัน้ความอดทนตองมี ตั้งแตปลายป 2543 มาจนกระทั่งทุกวันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั พระราชทานปริญญาไปแลวรวมน้ําหนกัทั้งส้ิน 220 ตัน แมกระทั่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา พระราชทานปรญิญาปหนึ่งๆ หนึ่งแสนฉบับ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช พระราชทานใหราชภัฏ ราชมงคล อีกหนึ่งแสนฉบับ แตละฉบับหนัก 3 ขีด ตองนั่งยกสงไปมา 2,400 ที ในแตละวนั ไมทรงปริพระโอษฐ ประทับอยูในปาในดงมืดค่ํา แมลงบินมาสองไฟแมลงบินเขาหนาเขาตา ไมทรงปริปาก ทากตอยดึงออกมาปลอยไป นั่นคือพระเจาอยูหวั พระเจาอยูหัว 59 ปนี้ ทุกขยากมากๆ ทรงงานมากจนกระทั่งวันนี้ ผลพวงก็ออกมาตอนพระชนมายุ 72 พรรษา ทรงเสด็จมาประทับที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน ก็เพื่อรักษาอาการปวดพระปฤษฎางคใหเขาที่ ตองใชเวลาตั้ง 3-4 เดือน เทาที่รับทราบมา ทรงใชจนพระวรกายสึกหรอ ภาษาชาวบานอยางนั้นดีกวา แลวเราจะนิ่งเฉยอยูไดอยางไร ความอดทนของเราที่จําเปนตองมี เพื่อจะเผชิญกับเหตุการณนั้นนอยกวาพระองคทานเยอะ เพราะเราเผชิญแคปญหาในสํานกังานของเรา พระองคทานปญหาทั้งชาติ พระองคทานรับสั่งวาตามปกติโครงสรางของสังคมตองเปนรูปปรามิดใชไหม ทรงถาม จะเปนปรามิด คนจนก็อยูที่ฐาน รวยขึ้นมาหนอยก็เขยิบขึ้นมาเรื่อยๆ และในฐานะพระเจาแผนดินก็เปรยีบเหมือนคนสงูสุด พระเจาแผนดินก็เปรียบเหมือนอยูยอดปรามดิ อันนั้นคือโครงสรางทั่วๆไป แตพระองคทานรับสั่งวาโครงสรางของสังคมไทยนั้นเปนปรามิดหวักลับ พระองคทานแทนที่จะอยูบนยอด ประทับอยูบนยอดปรามิดสบายๆ ตองอยูกนกรวย ตองมารองรับ ทุกอยางมาเทสูพระองคหมด ทั้งคนจน คนรวยอะไรไมรู ใครตีกันที่ไหนก็ถึงพอของแผนดนิ ขาราชการตีกัน นกัการเมอืงตีกัน พระตกีัน ไมมีเวนสักกลุม สนุกสนาน อะไรกนัไมรู ใครตีกันทั่ว มันด ี ไมมีคูกัด กก็ัดตัวเอง กม็นัดี นั่งขย้ําแขนกันเสร็จแลวพอแกไมตกกถ็วายฎีกา ยุตธิรรมหรือเปลาก็ไมทราบ พระองคตองอดทนตลอดเวลา 59 ปกวา พวกเราอายุราชการอยางมากก็ 40 ป รับราชการอายุ 20 เกษยีณอายุ 60 เพราะฉะนั้นเรื่องความอดทนนั้นขอใหมองพระเจาอยูหวัไว แลวพยายามทาํตามใหได ธรรมะ ความถูกตอง ทรงถือยิ่งกวาส่ิงใด ทานรูหรือไมวาคนถวายเงนิโดยเสด็จพระราชกุศล ซ่ึงสวนมากเรากพ็ูดกนัทัว่ๆไป ทานเชื่อหรือไมวากองนี้ใครแตะไมไดนะครับ ทาํบญุอยางเดียว เพราะเจาของเงนิเขาระบไุว โดยเสด็จพระราชกุศล ซ่ึงคนถวายนั้นถวายโดยเสด็จพระราชกศุล และมกัจะคิดวา จะทรงทําอะไรกท็ําเถอะ กองไหนตามพระราชอัธยาศัย กองนี้ก็ถึงไปใชอะไรก็ได แตพระองคก็ไมเคยใชสวนพระองคเลยกาํชับเรากําชับนักหนาเรื่องความถูกตองในการดําเนนิการ ตองทุกกระเบียดนิว้ ทุกกระบวนการตองยึดความถกูตองไว

Page 7: ต้องทำแบบคนจน

7

3. ความออนนอมถอมตน เรียบงาย และประหยัด พระองคทรงนอมพระวรกายไปหาประชาชน คุกเขาหนาประชาชน ตามทุกขสุข ปรึกษาหารือกับเขาเปนชัว่โมงๆ บางทีประทับพับเพยีบ ประชาชนนั่งพับเพยีบ พระองคทานก็ทรุดพระวรหายนั่งเสมอบนพื้นเดียวกนั เวลาทรงงานตางๆนั้น ทรงประทับกับพื้นประทับพับเพยีบ ทานประทับพับเพียบไดเปน 5-6 ช่ัวโมงไมเปลีย่นทาเลย พระองคกองเอกสารบนพื้น ผูถวายงานกน็ั่งลอมวงเฝากัน ไมตองเขาหองประชุม ไมตองมีโตะเกาอี้ ประหยดันัน่เอง ฉลองพระองคเปนสิบๆป ก็อยางนั้น ฉลองพระบาทผาใบตลอด 54 ป ไมเคยเปลี่ยนยี่หอเลย นาฬิกาของพระองคทาน พระองคเรียกของพระองคเองวา “ยี่หอใสแลวโก” ราคาไมกี่รอยบาท ยาสีฟนจะทรงบีบใชจนหมดแบนจรงิๆ ไมเหลือเลยจึงจะทิ้ง 4. มุงประโยชนคนสวนใหญเปนหลัก พระองคทานไดดําเนินการตลอดชีวิตของพระองค 59 ป ของการทรงงานนั้น ทรงยึดถือประโยชนสวนรวมเปนที่ตั้งโดยตลอดไมเคยนึกถึงพระวรกายแมแตนอย เคยเขาไปขอพระราชทานพร ทรงพระราชทานพรวันเกิดวา “ขอใหมีรางกายที่แข็งแรง เพื่อสามารถทําประโยชนใหกับคนอื่นเขาได ขอใหมีความสุขจากการทํางาน และขอใหไดรับความสุขจากผลสําเร็จของงานนั้น” 5. รับฟงความเห็นของผูอ่ืน เคารพความคิดท่ีแตกตาง เมื่อวันที่ 4 ธันวาคมที่ผานมา (พ.ศ. 2546) ทรงเตือนวา “นั่งปรึกษาหารือกัน ฟงเขาแสดงเหตุแสดงผลออกมา แลวเราแสดงเหตแุสดงผลออกไป แลวดูสิ เหตุผลอันไหนจะยอมรับไดถูกตองมากกวา และเมื่อตกลงกันแลวก็เลิกเถยีงกนั ลงมือปฏิบัติเลย” 6. ความตัง้ใจจริงและขยันหมัน่เพียร พระเจาอยูหัวเวลาทําอะไรทรงมุงมั่นมาก เร่ืองความขยนัไมตองพูด ทรงงานไมมีวันเสารวนัอาทิตย ไมมีเวลากลางวันกลางคืน จําไดไหมเมื่อ 2-3 ปที่น้ําทวม ทรงอึดอัดพระทัย พระองคทานไมใชหนวยงานจะไปสั่งเขาไดอยางไร รัฐบาลก็ไมใช จะทํากันทีตองจดัประชุม น้ํามาแลวนะ แลวก็ดุนะครับ พระองคไมรับส่ังอยางที่เจาขุนมูลนายของเราชอบสั่งกัน ชอบพูดกนั น้ํามาแลวพวกเราไปทํา ไม พระองคอธิบายนี่น้ําทวมมนัมาวินาทีละเทานั้น ระหวางทางมนัเติมเทานั้น เพราะฉะนั้นระหวางทางมนัเติมมากี่ลูกบาศกเมตร เคล่ือนยายดวยความเร็วเทานัน้ เพราะฉะนัน้นับวนัเวลาทีเ่ทานั้นจะถึงกรุงเทพฯ พอด ีรับพระราชกระแสมา พรุงนีเ้ชาเราจะเร่ิมดําเนินการ ไมใชพรุงนีเ้ชา ตองเดี๋ยวนี้ๆ เพราะน้ําไมมหียุด ไมใชหยดุกอนแลวโอเค รอพรุงนี้เชาถึงจะทําไดแลวคอยมา เผอิญน้ําเขาไมไดหยุดอยางนั้น เขามาของเขาตลอด เราตองรีบทํากันคืนนี้เลย

Page 8: ต้องทำแบบคนจน

8

เรื่องความขยัน เร่ืองความตั้งใจอะไรตางๆนัน้ จะเหน็ไดชัดเจน ความตัง้ใจจริงนีเ่ห็นไหมครับ ทรงเปนเลิศหมดทุกอยาง ตอนที่ไดรับดษุฎีบัณฑิตแพทยศาสตร รับส่ังวาเปนหมอยาแลว พอถัดมาไดรับนิติศาสตร ทรงบอกวาเปนหมอยาเสร็จแลวเปนหมอความ แลวถัดมาอกีสักพักไดเกษตรก็บอกวาไดเปนหมอดินแลว แลวตอนนี้เปนหมอลําแลวดวย เพราะไดรับดษุฎีบัณฑิตดานดนตรี ทรงมีพระอารมณขัน และจะทรงรับสั่งเลนๆอยางนั้น แตแสดงใหเหน็ถึงความตั้งพระทัยจริงแลวไปสูการปฏิบัติที่เปนผล ความขยันหมัน่เพยีรไมตองพูด วนันั้นเสร็จงานหาทุม เสด็จฯไปแลวเราก็เขาคาย ไปนอนอยูคายมฤคทายวนั นอนอยูกป็รากฏวา ตี 2 วิทยุมาใหไปเขาเฝา เราเหนื่อยมาตั้งแตบาย ๔ โมงเย็นจนกระทั่งถึง 5 ทุมแผนอนสลบไสลหมดเลย ตี 2 ทรงเรียกไปขอแผนที่ ขอขอมูลเพิ่มเติม ในขณะที่เรากลับสลบไสล ทรงกลับไปทรงงานตอ เร่ืองนี้ไมใชวาปรากฏขึ้นหนสองหนปรากฏขึ้นอยูตลอดเวลา ตราบใดที่งานไมเสร็จจะตองตอเนื่องไมมีวนัจบ จนกระทั่งงานบรรลุ 7. ความสุจริต และความกตัญู ความสุจริตเปนเรือ่งที่ทรงแสดงใหเห็น ไมใชเฉพาะความกตญัู เห็นไดชัดกับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ไดทรงแสดงใหเห็นเลย ความกตัญู ความกตัญูตอแผนดิน ความกตัญูตอส่ิงตางๆ ที่เปนประโยชน ถาเปนเรื่องสวนรวมนั้น พระเจาอยูหวัไดทรงแสดงใหเราด ู และทรงเตือนพวกเราดวย ใหยึดสิ่งนี้ไว เพราะเปนเรื่องจําเปน เปนเรื่องที่มีความสําคัญ เปนเรื่องที่มีคุณคา 8. พึ่งตนเอง สงเสริมคนดีและคนเกง พึ่งตนเองก็คือเศรษฐกิจพอเพยีง พระเจาอยูหัวบอกวาคําทีสํ่าคัญที่สุดในเรื่องราวที่อธิบายมานี่คือคําวา “พอ” ทุกคนตองกําหนดเสนความพอใหกับตนเองใหได และขีดเสนนั้นไวเปนมาตรฐานของตนเอง คือการวางเสนทางชวีิตของตัวเรา ตั้งวิถีชีวิตใหเปนวิถีชีวิตแบบไทยๆ วิถีชีวิตที่เรียบงาย ธรรมดา เดินเสนทางสายกลาง ทานสอนมาตลอด เพียงแตวาเราลืมไป เราละไปอยูเร่ือยๆ ธรรมดาไมเหน็วามีปมดอยอะไรทั้งส้ิน เพระฉะนัน้การพึ่งตนเองนั้นเปนสิ่งสําคัญ 9. รักประชาชน ตอนหนึ่งที่พระองคทานรับสั่งใหผมไปจดมูลนิธิชัยพัฒนา ผมไปที่ กทม. (ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร) เราไมอยากใชอภิสิทธิ์อะไรทั้งส้ิน เพราะยิ่งอยูใกลเจานายยิ่งตองทําตัวใหธรรมดาตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ก็ไปแจงเหมือนบุคคลธรรมดาทั่วไป ก็มีเจาหนาที่ของ กทม.เขามาสอบสวน ถามบอกทําไมนายกฯไมมาเอง ผมก็บอกนายกฯงานเยอะมาไมไดเลยมอบฉันทะมา บานอยูอําเภออะไร บอกอยูอําเภอดุสิต บานเลขที่เทาไหร ไมรูเขาก็ เอ อะไรบานไมมีหลักแหลง แลวมาตั้งมูลนิธิไดอยางไร สอบสวนไลผมตอ ไลไปเรื่อย ทําอาชีพอะไรบอกไมรูจริงวาอาชีพอะไร แตเห็นทาํหลายอยาง ก็ตอบไปอยางนั้น เจาหนาที่เขาก็บอก อะไร บานก็ไมมีเปนหลักแหลง อาชีพก็ไมมี แลวตากเ็หลือบไปเรื่อยจนกระทั่งไปเห็นชื่อผูยื่นจริงๆ และผมเปนแคตัวแทนเทานั้นของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมอบอํานาจ

Page 9: ต้องทำแบบคนจน

9

มา อุย อยาใหทานมานะ มายุงตายเลย ขออยามาเลย จัดการใหเสรจ็ คาจดทะเบยีนสามสิบบาท ขอบริจาคเปนคนแรกไดไหม แลวตกลงวันนัน้ ฟรี สามสิบบาทแกควักออกมาดวยความตกอกตกใจมากเลย กก็ลับมากราบบังคมทูล นี่พอเขาถามวาอาชีพอะไรขาพระพุทธเจาตอบไมไดพระองคทานตอบวาคราวหลังถาเขาถามวาฉันทําอาชีพอะไร ใหตอบวา “ทําราชการ” ผมเลาตรงนี้เพื่อมาสูพวกเรา ขณะทีพ่ระองคทานทําราชการ พวกเรานี่ทําอะไร “รับราชการ” ใชหรือเปลา รับจากพระองคมาเพื่อทําตอ พระองคทานทรงรักประชาชน ทํางานเพื่อประชาชน คนทีรั่บราชการ ถือวารับงานของราชะมาทําตอ ส่ิงแรกที่ตองทํา คือตองรักประชาชน ทํางานเพื่อประชาชน 10. การเอื้อเฟอซ่ึงกันและกัน พระเจาอยูหวัรับสั่งวา “รูไหมบานเมืองอยูรอดมาไดทุกวันนีเ้พราะอะไร เพราะคนไทยเรายังใหกันอยู” คําส้ันๆ คําเดียว “เรายังใหกนัอยู” คนในครอบครัวยังชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยู คนในชุมชนยังเอื้อกนัอยู ขาราชการยังใหบริการแกประชาชน เวลาเกิดทกุขยากที่ไหนทุกคนยังรวมตวักนัชวยเหลือซ่ึงกันและกันอยู อันนี้เปนสังคมที่หาไมไดที่ไหนในโลก 4.4 การจัดการดานสิ่งแวดลอม

“คนไทยรักษาชาติ รักษาแผนดินใหมั่นคงเปนปกแผนมาได ดวยสติปญญา ความสามารถ

ดวยความรักชาติ และดวยคุณความด”ี 10

สวนใหญประชากรของประเทศไทย ยังชีพอยูดวยการเกษตร ดงันั้นโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริจึงเกี่ยวของอยูกับเรื่องการพัฒนาปจจัยการผลิตตางๆ เชน ดิน น้ํา ทีท่ํากิน ทุน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับเร่ืองน้ํา ในเรื่องน้ํานัน้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัทรงเปนทีย่อมรับนับถือกันโดยทัว่ไปวาพระองคคือ “ปราชญในเรื่องน้ําของแผนดิน” 11

น้ําที่พระองคทรงพัฒนามี 3 น้ําที่สําคัญคือ - น้ําแลง - น้ําทวม - น้ําเสีย

แนวคดิและทฤษฎีที่ทรงดําเนินการเกี่ยวกบัน้ําที่จะนํามายกตวัอยางมดีงันี้ 12

Page 10: ต้องทำแบบคนจน

10

น้ําดีไลน้ําเสีย ในการแกไขมลพิษทางน้ํานั้น ทรงแนะนําใหใชหลักการแกไขโดยใชน้ําที่มีคุณภาพดีจากแมน้ําเจาพระยา ใหชวยผลักดันและเจือจางน้ําเนาเสียใหออกแหลงน้ําของชมุชนภายในเมอืงตามคลองตางๆ เชน คลองเทเวศร และคลองบางลําภู เปนตน วิธีนี้จะกระทําไดดวยการเปด-ปดอาคารควบคุมน้ํา รับน้ําจากแมน้ําเจาพระยาในชวงจังหวะน้ําขึ้น และระบายน้ําสูแมน้ําเจาพระยาในระยะน้ําลง ผลก็คือน้ําตามลําคลองตางๆ มีโอกาสไหลถายเทหมุนเวยีนกนัมากขึ้น น้ําที่มสีภาพทรงอยูกับที่และเนาเสียก็จะกลับกลายเปนน้ําที่มีคุณภาพดีขึ้น ดวยวิธีธรรมชาติงายๆ อยางที่ไมมีผูใดคดิมากอนเชนนี้ ไดมีสวนทําใหน้ําเนาเสียตามคูคลองตางๆ ในกรุงเทพมหานคร มีสภาพดีขึ้นอยางเหน็ไดชัดในปจจุบัน วิธีการงายๆเชนนี้คือการนําระบบการเคล่ือนไหวของน้ําตามธรรมชาตมิาจัดระเบียบแบบแผนใหม เปนการ “จัดการทรพัยากรธรรมชาติในเชิงอนุรักษควบคูไปกับการพัฒนาที่เรียบงาย” ไมขัดกับหลักธรรมชาติ แตสอดคลองและนําไปสูประโยชนที่ตองการได “ไตธรรมชาต”ิ กรุงเทพมหานคร ที่บึงมักกะสัน เปนอกีตัวอยางหนึ่งของแนวความคดิในเรื่องการบําบัดน้ําเสียของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั โดยไดทรงวางแนวพระราชดําริพระราชทานไววา เมืองใหญทุกแหงตองมี “ปอด” คือสวนสาธารณะไวหายใจหรือฟอกอากาศ ในขณะเดยีวกันก็ควรมแีหลงน้ําไวสําหรับกลั่นกรองสิ่งโสโครกเนาเสีย ทําหนาที่เสมือนเปน “ไตธรรมชาติ” จึงไดทรงใช “บึงมักกะสัน” เปนแหลงน้ําทีร่องรับน้ําเสียจากชุมชนในเขตปริมณฑลและในกรุงเทพมหานคร โดยทรงเปรียบเทียบวา “บึงมักกะสัน” เปนเสมือนดงั “ไตธรรมชาติ” ของกรุงเทพมหานครทีเ่ก็บกักและฟอกน้ําเสียตลอดจนเปนแหลงเก็บกักและระบายน้ําในฤดูฝน และที่บึงแหงนีเ้องก็ไดโปรดใหมีการทดลองใชผักตบชวา ซ่ึงเปนวัชพืชที่ตองการกําจัดอยูแลวมาชวยดดูซับความสกปรกปนเปอน รวมตลอดทั้งสารพิษตางๆ จากน้ําเนาเสียประกอบเขากบัเครื่องกลบําบัดน้ําเสียแบบตางๆ ที่ไดทรงคิดคนประดิษฐขึ้งเองโดยเนนวิธีการที่เรียบงายประหยดั และไมสรางความเดือดรอนรําคาญแกประชาชนในพื้นที่นั้น มีพระราชกระแสในเรื่องนีว้า “...สวนสาธารณะ ถือวาเปนปอด แตนี่ (บึงมักกะสัน) เปนเสมือนไตฟอกเลือด ถาไตทํางานไมดีเราก็ตาย อยากใหเขาใจหลักการของความคิดนี้...” แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับเร่ือง “ดิน” โดยลักษณะเดียวกนักับเรื่อง “น้ํา” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัไดพระราชทานแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการอนุรักษและปรับปรุงบํารุงดิน เพื่อการเกษตรกรรมไวหลายประการ ทั้งนี้รวมถึง “การใชหญาแฝก” เพื่ออนุรักษและปองกนัการพังทลายของหนาดิน จนประเทศไทยกลายเปนศนูยกลางของการใชเทคนิคและวิชาการหญาแฝกที่ประสบผลสําเร็จและมีความกาวหนามากที่สุดในโลกปจจุบนันี้ดวย แนวคิดและทฤษฎีตาง ๆที่เกี่ยวกับดินนั้นที่สมควรยกมาเปนตัวอยางพอสังเขปในสวนนี้มีดังตอไปนี้คือ 13

วิธีการแกไขปญหาดินเปรีย้วดวยการ “การแกลงดิน” สภาพพื้นที่ดินทางภาคใตมีสภาพเปนดินเปรี้ยวจดั ทําการเพาะปลูกไมไดเนื่องจากมีกรดกํามะถันอันเปนสาเหตุของดินเปรี้ยวอยูเปนอันมาก วิธีการแกไขก็คือ ใชกรรมวิธีการ “แกลงดินใหเปรี้ยว” ดวยการทําใหดินแหงและเปยกสลับกันเพื่อใหเกดิปฏิกิริยา

Page 11: ต้องทำแบบคนจน

11

ทางเคมีของดินใหมกีรดจดัมากขึ้นจนถึงที่สุด จากนั้นจึงมกีารปรับปรุงดินเปรี้ยวโดยวิธีการตางๆ เชน โดยการควบคมุระบบน้ําใตดินเพื่อปองกนัการเกดิกรดกํามะถัน การใชวัสดุปูนผสมประมาณ 1-4 ตันตอไร การใชน้ําชะลางจนถึงการเลอืกใชพืชที่จะเพาะปลูกในบริเวณนั้น “การแกลงดิน” โดยวิธีการที่ไดพระราชทานไวนั้น สามารถทําใหบริเวณพื้นที่ดินทีเ่ปลาประโยชนและไมสามารถทําอะไรได กลับฟนคืนสภาพที่สามารถทําการเพาะปลูกไดอีกครั้งหนึ่ง ดวยวิธีการอันเกดิจากพระปรีชาสามารถโดยแท การใชหญาแฝกเพื่อการอนุรักษและปรับปรุงบํารุงดิน ก็เปนอีกวิธีการหนึ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวัทรงคิดคนวิธีการใชและดัดแปลงจากวิธีการสมัยเกาทีใ่ชกันมาแตคร้ังโบราณ โดยพระราชทานแนวคิดและทฤษฎีการใชหญาแฝกใหมปีระสิทธิภาพสูงสุดตามลักษณะและสภาพภูมิประเทศที่แตกตางกัน การปรับปรุงดินนัน้ไดพระราชทานแนวคิดวา “...การปรับปรุง พัฒนาที่ดินที่สําคัญคือ ตองอนุรักษผิวดินซึ่งมีความอุดมสมบูรณไวใหได ไมลอกหนาดินทิ้งไป ตองสงวนไมยนืตนที่ยังเหลืออยู เพื่อรักษาความชุมชื้นของผืนดินไว...” แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการพัฒนาและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาตแิละสิ่งแวดลอม ตัวอยางที่พอจะแสดงใหเห็นเปนสังเขปคือ 14

ปา 3 อยาง ปาไม 3 อยางเปนแนวคิดของการผสมผสานความตองการในการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไม ควบคูไปกบัความตองการดานเศรษฐกจิและสังคม กลาวคือ เพื่อปองกันมิใหเกษตรกรเขาบุกรุกทําลายปาไม เพื่อนํามาใชประโยชน จึงควรใหดําเนินการปลูกปา 3 อยางเพื่อประโยชน 4 อยางคือ ปาสําหรับไมใชสอย ปาสําหรับเปนไมผล และปาสําหรับเปนเชื้อเพลิง ปาหรือสวนปาเหลานี้นอกจากเปนการเกื้อกูลและอํานวยประโยชนในการอนุรักษดนิและน้ํา และคงความชุมชื้นเอาไว อันเปนการอํานวยประโยชน อยางที่ 4 ซ่ึงเปนผลพลอยได ปลูกปาโดยไมตองปลูก เปนอีกตัวอยางหนึ่งที่สะทอนใหเห็นความเขาพระทัยอยางลึกซึ้งถึงวิถีแหงธรรมชาติ โดยที่ไดพระราชทานแนวคิดวา บางครั้งปาไมก็เจริญเติบโตขึ้นเองตามธรรมชาติขอเพียงอยาเขาไปรบกวนและทําลายโดยรูเทาไมถึงการณ หากปลอยไวตามสภาพธรรมชาติช่ัวระยะเวลาหนึ่งปาไมก็จะขึ้นสมบูรณเอง ฝายชะลอความชุมชื่น (Check Dam) เปนอีกแนวคิดหนึ่งที่เกดิจากพระปรีชาสามารถอันยิ่งใหญของพระบาทสมเดจ็พระเจาอยูหวั ที่ไดทรงคิดคนขึ้นเพื่อเปนวิธีการในการสรางความชุมชื้นใหกับพืน้ที่ปาไมดวยวิธีงายๆ ประหยดั และไดผลดี นั่นคือการสรางฝายเล็กๆ ใหสอดคลองไปกับสภาพธรรมชาติ โดยการใชวัสดุธรรมชาติที่หาไดงายในทองถ่ิน ฝายชะลอความชุมชืน้ (Check Dam) มีอยู 2 ประเภทคือ ฝายตนน้าํลําธาร สําหรับกักกระแสน้ําไวใหไหลชาลง และสามารถซึมลงใตผิวดนิเพื่อสรางความชุมชื้นในบริเวณนัน้ และอีกประเภทหนึ่งคอื ฝายดักตะกอนดินและทรายมิใหไหลลงสูแหลงน้ําเบื้องลาง

Page 12: ต้องทำแบบคนจน

12

ทฤษฎีใหม อันเกิดจากพระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยะภาพของพระองคนั้น หลักสําคัญงายๆ มิสลับซับซอน สรุปไดวา พืน้ที่ครองโดยถัวเฉลี่ยของเกษตรกรไทยอนุมานวาจะมเีนื้อที่ประมาณ 15 ไร แบงพื้นที่ตามวิธีการทฤษฎีใหมจะเปนนาขาว 5 ไร พืชไร พืชสวน 5 ไร ที่อยูอาศยั และอ่ืนๆ 2 ไร สระน้ํา 3ไร (ลึกประมาณ 4 เมตร) จุน้ําไดประมาณ 19,000 ลูกบาศกเมตร หรือสูตร 30-30-30-10 เชิงอรรถ 1 พระราชดาํรัส ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช 2540,

วันศุกรที่ 5 ธันวาคม 2540 2 พระราชดํารัส พระราชทานแกคณะบุคคลตางๆที่เขาเฝาฯถวายชัยมงคลเนื่องในโอกาสวนัเฉลิมพระ

ชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิตาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันศกุรที่ 4 ธันวาคม 2541 3 ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล, หลักธรรม (ทํา) ตามรอยพระยคุลบาท ศูนยหนังสือจุฬาฯ , กรุงเทพ , p. 98 4 คําใหสัมภาษณของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกลุ 5 อางแลว , หลักธรรม (ทํา) ตามรอยพระยุคลบาท , p. 112-114 6 พระราชดํารัส พระราชทานแกประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปใหม พุทธศกัราช 2547 วันพุธที่ 31

ธันวาคม 2546 7 เพิ่งอาง , p 102-111 8 พระบรมราโชวาท พระราชทานแกทหารรักษาพระองค ในพิธีถวายสัตยปฏิญาณตนและสวนสนามของ

ทหารรักษาพระองค วันอังคารที่ 2 ธันวาคม 2546 9 สรุปความจาก เพิ่งอาง , p. 30-73 , และคาํสัมภาษณ ของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล 10 พระราชดํารัส ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช

2531 วันจนัทรที่ 5 ธันวาคม 2531 11 สํานักงาน กปร. , แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในพระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหวั , กรุงเทพ , 2540 ,p. 18 12 เพิ่งอาง , p. 19-20 13 เพิ่งอาง , p. 23-25 14 เพิ่งอาง , p. 26 , 28-29