30

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
Page 2: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

คือ การซื้อขาย สินค้า การลงทุน และการร่วมมือกัน ระหว่างประเทศ

Page 3: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

การซื้อขายสินค้า การร่วมมือ

การลงทุน การช าระเงิน

Page 4: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

สาเหตุที่เกิดการค้าระหว่างประเทศ

1. ความแตกต่างของอุปสงค์ในแต่ละประเทศ (รสนิยม รายได้ สภาพทางเศรษฐกิจ)

Page 5: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

สาเหตุที่เกิดการค้าระหว่างประเทศ

2. ความแตกต่างของอุปทานการผลิตต่างๆ (ทรัพยากร และภูมิประเทศ ภูมิอากาศ)

Page 6: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

สาเหตุที่เกิดการค้าระหว่างประเทศ

3. ความช านาญในการผลิต ด้านเกษตร ด้านอุตสาหกรรม ด้านหัตถกรรม ฯ

4. นโยบายการลงทุนของรัฐบาล ประเทศที่มีการลงทุนสูง มักได้เปรียบในการแข่งขันและการขยายตลาด

Page 7: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ดุลการค้าระหว่างประเทศ

คือ บัญชีบันทึกมูลค่าสินค้าออกและสินค้าน าเข้าของประเทศหนึ่ง ในระยะเวลา 1 ปี

มูลค่าสินค้าเข้า มูลค่าสินค้าออก

Page 8: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ประเภทของดุลการค้า

ดุลการค้าขาดดุล

ดุลการค้าเกินดุล

ดุลการค้าสมดุล

Page 9: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ดุลการค้าระหว่างประเทศ

ดุลการค้าขาดดุล

คือ มูลค่าสินค้าออก น้อยกว่ามูลค่าสินค้าเข้า

Page 10: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ดุลการค้าระหว่างประเทศ

ดุลการค้าเกินดุล

คือ มูลค่าสินค้าออกมากกว่ามูลค่าสินค้าเข้า

Page 11: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ดุลการค้าระหว่างประเทศ

ดุลการค้าสมดุล

คือ มูลค่าสินค้าออก เท่ากับมูลค่าสินค้าเข้า

Page 12: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ดุลการช าระเงนิ

คือ บัญชีบันทึกรายรับ-รายจ่าย เงินตราต่างประเทศ ของประเทศหนึ่ง กับประเทศอื่นๆ ในระยะ

เวลา 1 ปี

Page 13: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ประเภทของดุลการช าระเงิน

1. ประเทศที่มีรายรับ มากกว่ารายจ่ายรวม เรียกว่า ดุลการช าระเงินเกินดุล

2. ประเทศที่มีรายรับ น้อยกว่ารายจ่ายรวม เรียกว่า ดลุการช าระเงินขาดดุล

Page 14: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

บัญชีในดุลการช าระเงิน

บัญชีเดินสะพัด

บัญชีเงินโอน-บริจาค

บัญชีทุนเคลื่อนย้าย

บัญชีทุนส ารองระหว่างประเทศ

Page 15: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

บัญชีเดินสะพัด

คือ บัญชีแสดงรายรับ - รายจ่ายเกี่ยวกับดุลการค้าหรือผลต่างของมูลค่าสินค้าเข้า และมูลค่าสินค้าออก

Page 16: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

บัญชีทุนเคลื่อนย้าย

คือ บัญชีที่แสดงรายการเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ

Page 17: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

บัญชีเงินบริจาค เงินโอน

คือ บัญชีที่แสดงรายรับ รายจ่าย ของเงินตราต่างประเทศที่เกิดจากการย้ายทุน

Page 18: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

บัญชีเงินบริจาค เงินโอน

ทุนทางอ้อม ทุนทางตรง

ลงทุนที่ใช้เงินสูง ฝากเงิน ตลาดหลักทรัพย์

น าเงินไปลงทุนกับต่างประเทศ

Page 19: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

บัญชีทุนส ารองระหว่างประเทศ

คือ บัญชียอดรวมที่แสดงให้เห็นฐานะทางการเงินทุนของประเทศ

Page 20: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ทุนส ารองหรือทรัพย์สินของประเทศ เป็น (เงินหรือทองค า)

สิทธิถอนเงินพิเศษ(SDR) ที่ IMF

ก าหนดให้ใช้ในประเทศสมาชิก

บัญชีทุนส ารองระหว่างประเทศ

Page 21: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

แก้ปัญหาบัญชีเดินสะพัดขาดดุล

1. ลดการสั่งสินค้าเข้า โดยตั้งก าแพงภาษี หรือจ ากัดสินค้าเข้าให้น้อยลง

2. ส่งสินค้าออกให้มากขึ้นโดยลดภาษีสินค้าออก

Page 22: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

แก้ปัญหาบัญชีเดินสะพัดขาดดุล

3. ส่งเสริมการท่องเที่ยว และการน าเงินมาลงทุน

4. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักประหยัด

Page 23: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ประโยชน์ของดุลการช าระเงิน

1. รู้ถึงเสถียรภาพทางการเงิน

2. เป็นข้อมูลก าหนดนโยบายการค้า3. เป็นทุนส ารองเงนิตรา

4. เป็นทุนหมุนเวียนในการช าระหนี้

Page 24: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

นโยบายการคา้ระหว่างประเทศ

คือ ก าหนดทางการค้าที่ประเทศหนึ่งประเทศใดจะน าไปใช้ในการค้าหรือการน าสินค้าเข้าหรือสินค้าสินค้าออก

Page 25: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

นโยบายการค้าระหว่างประเทศ

นโยบายการค้าแบบเสรี(การค้าขายสินค้ากันโดย

ไม่มีข้อจ ากัด)

Page 26: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

นโยบายการค้าระหว่างประเทศ

นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน(ข้อจ ากัดที่รัฐบาลก าหนดขึ้น)

การตั้งก าแพงภาษี

การทุ่มตลาดการควบคุมสินค้า

Page 27: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
Page 28: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ทดสอบ

1. ดุลการค้าระหว่างประเทศ หมายถึงอะไร

2. ดุลการค้าระหว่างประเทศ ท าให้เกิดภาวะใดกับประเทศบ้าง

Page 29: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ทดสอบ

3. ดุลการช าระเงิน หมายถึงอะไร มีกี่ประเภท

4. บัญชีในดุลการช าระเงิน ประกอบด้วยบัญชีใดบ้าง

Page 30: เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

ทดสอบ

5. บัญชีเดินสะพัด หมายถึงอะไร

6. แก้ปัญหาบัญชีเดินสะพัดขาดดุล ท าอย่างไรบ้าง