79
1 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ 1.ความหมายของเว็บไซต์ (Web site) เว็บไซต์ (Web site) หมายถึง สื่อประสมการเชื่อมต่อ และนาเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆ ไปยังกลุ่ม ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยปัจจัยหนึ่งที่ทาให้ เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็ว ก็คือ ความง่ายในการใช้งานและการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งคนที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะ นาเสนอบริการใหม่ 2.ประเภทของเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่มีอยู่ในปัจจุบันมีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่าง กัน โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์ แต่ละ เว็บไซต์จะมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการ ออกแบบจึงต้องคานึงถึงความสะดวกในการใช้งานการที่จะสามารถ ใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้นั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้อง เข้าใจถึงลักษณะของเว็บไซต์และจาแนกแยกแยะได้ว่าเว็บไซต์ เหล่านั้นมีความแตกต่างหรือเหมือนกันประการใด รวมถึงมีหน้าทีหลัก เฉพาะตัวอย่างไรบ้าง ประเภทของเว็บไซต์แบ่งตามลักษณะ การใช้งานสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภทดังนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 3; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 184)

หนังงสือเล่มเล็ก

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หนังงสือเล่มเล็ก

1

ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์

1.ความหมายของเว็บไซต์ (Web site)

เว็บไซต์ (Web site) หมายถึง สื่อประสมการเชื่อมต่อและน าเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆ ไปยังกลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยปัจจัยหนึ่งที่ท าให้เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็ว ก็คือ ความง่ายในการใช้งานและการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งคนที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะน าเสนอบริการใหม่ ๆ

2.ประเภทของเว็บไซต์

เว็บไซต์ที่มีอยู่ในปัจจุบันมีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์ แต่ละเว็บไซต์จะมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการออกแบบจึงต้องค านึงถึงความสะดวกในการใช้งานการที่จะสามารถใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้นั้นจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจถึงลักษณะของเว็บไซต์และจ าแนกแยกแยะได้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีความแตกต่างหรือเหมือนกันประการใด รวมถึงมีหน้าที่หลัก เฉพาะตัวอย่างไรบ้าง ประเภทของเว็บไซต์แบ่งตามลักษณะการใช้งานสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภทดังนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 3; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 184)

Page 2: หนังงสือเล่มเล็ก

2

(1) เว็บไซต์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ เป็นเว็บไซต์ที่จัดท าโดยองค์กรต่างๆ เว็บไซต์ เหล่านี้ เทียบได้กับแผ่นพับหรือจดหมายข่าว เพียงแต่เว็บไซต์อาจมีข้อมูลเพ่ิมเติมมากกว่า เว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .org

(2) เว็บไซต์เพ่ือธุรกิจและการตลาด เป็นเว็บไซต์ที่จัดท าโดยบริษัทธุรกิจต่างๆ โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือขายหรือโฆษณาสินค้าและบ ริ ก า ร ต่ า ง ๆ ใ น บ า ง ค รั้ ง อ า จ มี ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ เชื่อถือได้ และให้ใช้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .com

(3) เว็บไซต์เพ่ือข่าวสาร เป็นเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือเสนอข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และเพ่ือแลกเปลี่ยนผลการวิจัยข้อมูลบางอย่างมีลักษณะคล้ายจุลสารที่มักพบได้ตามหน่วยงานต่างๆ ซึ่งมีประโยชน์ส าหรับเป็นข้อมูลพ้ืนฐาน แต่เนื้อหามักจะขาดความลุ่มลึก ปกตทิี่อยู่ของ เว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .Gov.

(4) เว็บไซต์ข่าวและเหตุการณ์ เป็นเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์หลักในการให้ข่าวสารที่เป็นปัจจุบันที่สุดในฐานะที่เป็นบริการสาธารณะ อย่างไรก็ตามเว็บไซต์เหล่านี้มักจะมีบริษัทหรือ องค์กรต่างๆ เป็นผู้ให้การสนับสนุน ที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .com

Page 3: หนังงสือเล่มเล็ก

3

(5) เว็บไซต์ส่วนบุคคล เป็นเว็บไซต์ของบุคคลเพ่ือเสนอแนวคิดหรือเพ่ือประชาสัมพันธ์ ตัวเองในด้านต่างๆ ส่วนใหญ่มักเป็นงานที่ไม่ค่อยมีสาระ ปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้าย ด้วย .com และมักจะมีเครื่องหมาย ปรากฏในที่อยู่ด้วย การสร้างเว็บไซต์มีความจ าเป็นอย่างมากในการก าหนดกรอบและทิศทางของเว็บไซต์ นั้นๆ ให้อยู่ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดข้างต้น

3.องค์ประกอบที่ส าคัญในการออกแบบเว็บไซต์ ธวชัชัย ศรีสุเทพ (2544 : 16) กล่าวว่าองค์ประกอบที่ส าคัญในการออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพมีดังนี้

1. ความเรียบง่ายคือ การสื่อสารเนื้อหาถึงผู้ชมโดยจ ากัดองค์ประกอบเสริมที่เก่ียวกับการน าเสนอให้เหลือเฉพาะสิ่งที่จ าเป็น

2. ความสม่ าเสมอ นักออกแบบสามารถสร้างความสม่ าเสมอให้กับเว็บไซต์ได้ โดยใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์เนื่องจากผู้ชมจะรู้สึกว่าเว็บไซต์เป็นเสมือนสถานที่จริงถ้าลักษณะของแต่ละหน้าในเว็บไซต์เดียวกันนั้นแตกต่างกันมากผู้ชมจะเกิดความสับสนและไม่แน่ใจว่าก าลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่ ดังนั้น รูปแบบของหน้าสไตล์ของกราฟิกระบบเนวิเกชั่นและโทนสีที่ใช้ควรจะมีความคล้ายคลึง

Page 4: หนังงสือเล่มเล็ก

4

3. ความเป็นเอกลักษณ์การออกแบบต้องค านึงถึงลักษณะขององค์กร เนื่องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ขององค์กรนั้นได้ การใช้ชุดสีชนิดตัวอักษร รูปภาพและกราฟิกจะมีผลรูปแบบของเว็บไซต์อย่างมากผู้ออกแบบจึงต้องเลือกใ ช้องค์ประกอบเหล่านี้

4. เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาถือเป็นสิ่งส าคัญที่สุดในเว็บไซต์ ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ชมต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ โดยมีการปรับปรุงและเพ่ิมเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ

5. มีระบบเนวิเกชั้นที่ใช้งานง่าย ระบบเนวิเกชั่นเน้นองค์ประกอบที่ส าคัญมากของเว็บไซต์ จึงควรออกแบบให้ผู้ชมเข้าใจได้ง่ายและใช้งานสะดวก โดยใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับค าอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและล าดับของรายการที่สม่ าเสมอ

6. มีลักษณะที่น่าสนใจ ความน่าสนใจในแต่ละเว็บไซต์ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตาม หน้าตาของเว็บไซต์จะมีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ ไม่มีร่องรอยของความเสียหายเป็นจุดด่างหรือมีขอบเป็นขั้นบันไดให้เห็นการใช้ชนิดตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา และการใช้โทนสีที่เข้ากันอย่างสวยงาม เป็นต้น

Page 5: หนังงสือเล่มเล็ก

5

7. การใช้งานอย่างไม่จ ากัด โดยไม่บังคับให้ผู้ชมเข้าชมต้องติดตั้งโปรแกรมใหม่ หรือบราวเซอร์เพ่ิมจะรองรับผู้ใช้บริการจ านวนมากหรือกลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลายได้ดีข้ึน

8. คุณภาพในการออกแบบ ควรให้ความส าคัญกับการออกแบบเว็บไซต์อย่างมากเช่นเดียวกับการออกแบบสื่อประเภทอ่ืน ๆ ที่ต้องออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ

9. ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง ระบบการท างานต่าง ๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและท าหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง เช่น หากเว็บไซต์มีฟอร์มให้ผู้ชมกรอกข้อมูลจะต้องแน่ใจว่าฟอร์มนั้นสามารถใช้งานได้จริง หรือลิงค์ต่าง ๆ ที่มีอยู่นั้นจะต้องเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีปรากฏอยู่จริงและถูกต้องด้วย

4.ส่วนประกอบของเว็บไซต์

ในระยะเครือข่ ายเวิลด์ ไวด์ เว็บจะประกอบไปด้วยศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ส าหรับให้บริการข้อมูลเรียกว่า Host server หรือ Web server หรือเรียกว่า Web siteกับเครื่องรับข้อมูลหรือWeb client หรือ Client machine ผู้ให้บริการมีทั้งที่เป็นหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ ตลอดจนตัวบุคคลที่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลส่วนเครื่องที่ใช้เข้าไปติดต่อใช้ประโยชน์จากข้อมูลคือ เครื่องที่เป็น Web clientรังสิมา เพชรเม็ดใหญ่ (2542 :

Page 6: หนังงสือเล่มเล็ก

6

ออนไลน)์ ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของเวิลด์ไวด์เว็บว่าประกอบด้วย ส่วนประกอบ 4 ส่วน ดังนี้

ตัวบริการ WWW (WWW Server)WWW Server คือ โปรแกรมที่ท าหน้าที่ให้บริการด้านเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ดังนั้น คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่ให้บริการได้จะต้องมีการติดตั้งโปรแกรม WWW Serverซึ่งโปรแกรม WWW Server จะใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อหรือโปรโตคอลที่เรียกว่า HTTP(Hypertext transfer protocol)

ตัวค้น WWW (WWW Browser)WWW Browser คือ โปรแกรมท่ีใช้ส าหรับอ่านข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ใน WWWามารถแบ่งบราวเซอร์ (Browser) ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ Text mode browser ซึ่งเป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้นดูข้อมูลที่มีลักษณะเป็นตัวอักษรเท่านั้น Graphics mode browser เป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้นดูข้อความและข้อมูลที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทั้งข้อมูลเสียงได้ ถ้าติดตั้งอุปกรณ์เสริมซึ่งเป็นลักษณะของสื่อประสม (Hypermedia) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดขณะนี้ คือ โปรแกรม Netscape โปรแกรม Mosaic หรือโปรแกรม Internet Explorer เป็นต้น

Page 7: หนังงสือเล่มเล็ก

7

HTLM (Hypertext markup language) เนื่องจาก WWW ก าหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปแบบเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงถึงกันในแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ดังนั้นข้อมูลหรือเอกสารจะต้องเขียนให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกันที่เรียกว่า HTLM เพ่ือเชื่อมโยงข้อความ รูปภาพเสียง ภาพเคลื่อนไหวเข้าด้วยกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

URL (Uniform resource locator) URL เป็นมาตรฐานของการระบุต าแหน่งของข้อมูล (หรือไฟล์) ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีรูปแบบ ดังนี้ชื่อโปรโตคอล//ชื่อเครื่อง/ชื่อไดชื่อเครื่องหรือชื่อโดเมน มีรายละเอียดที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้สามารถคาดเดา URL โดยให้การแปลชื่อโดเมนจากขวาไปซ้าย

Edu. หมายถึง สถาบันการศึกษา

Com. หมายถึง องค์กรที่ท าธุรกิจการค้า

Org .หมายถึง องค์กรที่ไม่ค้าก าไร

Gov. หมายถึง องค์การทางด้านรัฐบาล

Page 8: หนังงสือเล่มเล็ก

8

5.การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์

การออกแบบเว็บไซต์โดยไม่มีแนวทางในการวางแผนการด าเนินงาน ย่อมท าให้เว็บไซต์ประสบความส าเร็จได้ยาก ดังนั้น กระบวนการในการออกแบบเว็บไซต์หรืออาจเรียกว่า วิธีการน าเสนอเว็บไซต์นั้นจึงเป็นสิ่งส าคัญที่จะท าให้การออกแบบเว็บไซต์ส าเร็จสมดังวัตถุประสงค์ ซึ่งมีกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้

กิดานันท์ มะลิทอง (2542 : 8) ได้เสนอแนะหลักการในการเริ่มต้นที่ดีในการออกแบบเว็บไซต์ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 5 ข้อ ดังนี้

1. การวางแผนล่วงหน้าการออกเว็บไซต์ ควรมีการสร้างเค้าโครงบนกระดาษก่อนเพ่ือช่วยให้สามารถจัดระเบียบโครงสร้างต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย และควรมีการเก็บรวบรวมวัสดุอัน ได้แก่ แฟ้มเนื้อหา แฟ้มภาพ แฟ้มเสียง หรือภาพถ่าย เป็นต้น โดยควรไว้ในลักษณะของแฟ้มต้นฉบับ (Source files)

2. รวบรวมจัดระเบียบหลัง จากที่ผู้ออกแบบได้รวบรวมวัสดุในลักษณะของแฟ้มแล้วควรมีการจัดเก็บรวมกันไว้ในโฟล์เดอร์ที่ชัดเจน ในกรณีที่เว็บไซต์มีขนาดใหญ่ ควรจัดระเบียบแฟ้มให้เหมาะสมโดยการสร้างโฟลเดอร์ย่อย ๆ ซึ่งอาจมีหลายระดับก็ได้ หลังจากรวบรวมจัดระเบียบแฟ้มแล้ว ควรแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นส่วน

Page 9: หนังงสือเล่มเล็ก

9

ๆ ให้เหมาะสมรวมทั้งออกแบบตัวเลือกในแต่ละหน้าที่จ านวนไม่มากเกินไป ที่ส าคัญ คือ ไม่ควรให้เว็บไซต์มีการเชื่อมโยงที่ลึกมากเกินไป กฎก็คือ “ผู้อ่านไม่ควรคลิกผ่านไปเกินกว่า 5 หน้าจึงจะถึงเนื้อหาที่ต้องการ”

3. การน าทางการสร้างเครื่องมือ น าทางควรค านึงถึงความรวดเร็วในการเข้าถึงสารสนเทศของผู้อ่านเป็นหลัก มีค าที่เรียกใช้เครื่องมือน าทางอยู่หลายค าที่นิยมใช้ คือ แถบเครื่องมือ (Toolbar)หรือเมนู (Menu) ซึ่งสามารถออกแบบเครื่องมือน าทางไว้ในลักษณะที่ผู้ใช้สามารถไปสู่ส่วนต่าง ๆได้โดยไม่จ าเป็นต้องย้อนกลับมาที่หน้าโฮมเพจส าหรับสารบัญทุกครั้ง หลักก็คือ หากเป็นเว็บไซต์ไม่ใหญ่นักและมีเนื้อหาส่วนต่าง ๆ ไม่มากควรใช้เครื่องมือน าทางในลักษณะกราฟิก หากเป็นเว็บไซต์ค่อนข้างใหญ่มีส่วนต่าง ๆ ให้เลือกมากควรให้เครื่องมือน าทางในลักษณะที่เป็นข้อความนอกจากนี้ไม่ควรออกแบบแถบเครื่องมือให้ใหญ่เกินไปเพราะจะท าให้กินเนื้อที่ของหน้าเว็บ และยังท าให้การโหลดช้าด้วย

4. เกณฑ์มาตรฐานเป็นสิ่งส าคัญที่ในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี เพราะจะช่วยให้ผู้ใช้เกณฑ์ที่ส าคัญ ๆ ได้แก่ การออกแบบโดยค านึงถึงความคงตัว (Consistency) การออกแบบเส้นแนวในการแบ่งส่วนเนื้อหาที่ต่างกันออกจากกัน และควรค านึงถึงการก าหนดความกว้างยาวมาตรฐานก่อนที่จะเริ่มออกแบบ

Page 10: หนังงสือเล่มเล็ก

10

5. ผู้อ่านหลักการข้อสุดท้ายที่ส าคัญอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การค านึงถึงผู้ใช้เว็บไซต์โดยควรมีการออกแบบให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ควรพิจารณาถึงอุปกรณ์ในการเข้าถึงเว็บไซต์ของผู้ ใช้และช่องทางในการให้ผู้ ใช้มีโอกาสส่งข้อมูลป้อนกลับมายังผู้ออกแบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของการสื่อสารแบบเวลาเดียวกัน (Synchronous mode) เช่น การสนทนาหรือในลักษณะของการสื่อสารต่างเวลา (Asynchronous mode) เช่น อีเมล์ หรือ เว็บบอร์ด และควรมีการส ารวจความคิดเห็นของผู้ใช้ได้ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก

6.การออกแบบเว็บไซต์

การพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีหลักการ ด าเนินการตามขั้นตอนที่ชัดเจน จะท าให้ผู้สร้าง เว็บไซต์สามารถใส่ใจรายละเอียดที่จ าเป็นในแต่ละขั้นตอนของการออกแบบ ซึ่งจะช่วยป้องกัน ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และลดความเสี่ยงที่จะท าให้เว็บประสบความล้มเหลว ให้ผู้สร้างได้เว็บไซต์ ที่ตรงกับเป้าหมายตามต้องการ มีประโยชน์ และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ การสร้าง เว็บไซต์ที่ดีนั้นต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมหลักการออกแบบมีดังนี้

(1) ก าหนดเป้าหมายและวางแผน การพัฒนาเว็บไซต์ควรก าหนดเป้าหมายและวางแผน ไว้ล่วงหน้า เพ่ือให้การท างานในขั้นต่อไปมี

Page 11: หนังงสือเล่มเล็ก

11

แนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่ควรท าในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วยก าหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพ่ือให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้ต้องการ น าเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไร ก าหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย เพ่ือจะได้รู้ว่าผู้ใช้หลักคือใคร และออกแบบเว็บไซต์ ให้ตอบสนองความต้องการผู้ใช้กลุ่มนั้นให้มากที่สุดเตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระส าคัญที่แท้จริงของเว็บไซต์ ต้องรู้ว่าข้อมูลที่จ าเป็นต้องใช้มาจากแหล่งใดบ้าง เช่น ถ้าเป็นเว็บข่าวสาร ข่าวนั้นจะมาจากแหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่ เป็นต้นเตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลายด้าน เช่น ในการเตรียมเนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรม และการดูแลเครื่องบริการ เป็นต้นซึ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจ านวนมากแต่ส าหรับเว็บไซต์เล็กๆที่สามารถดูแล ได้โดยบุคลากรเพียงคนเดียวก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆ เพ่ือเตรียมพร้อมเตรียมทรัพยากรต่างๆ ที่จ าเป็น เช่น โปรแกรมส า ห รั บ ส ร้ า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ โ ป ร แ ก ร ม ส า ห รั บ ส ร้ า ง ก ร า ฟิ ก ภาพเคลื่อนไหวและสื่อประสม โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities) อ่ืน ๆ ที่จะต้องใช้ เป็นต้น

(2) วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล เป็นการน าข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้จากขั้นแรก น ามาประเมิน วิเคราะห์และจัดระบบ เพ่ือให้ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อก าหนด ซึ่งจะใช้เป็นกรอบ ส าหรับ

Page 12: หนังงสือเล่มเล็ก

12

การออกแบบและด าเนินการในขั้นต่อไป ผลที่ได้รับจากขั้นนี้ประกอบไปด้วย

- แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ สารบัญ ล าดับการน าเสนอหรือผังงานระบบน าทางซึ่งผู้ใช้จะใช้ส าหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ เช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนู เป็นต้น

- องค์ประกอบต่างๆ ที่จะน ามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ สื่อประสม แบบฟอร์ม ฯลฯ อะไรบ้างที่โปรแกรมค้นดูของผู้ใช้ สนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริมข้อก าหนดเกี่ยวกับลักษณะและรูปแบบของเว็บเพจ ข้อก าหนด ของโปรแกรมภาษาสคริปต์ หรือโปรแกรมประยุกต์ส าหรับเว็บ (Web application) และฐานข้อมูลที่ใช้ในเว็บไซต์คุณสมบัติของเครื่องบริการเว็บ รวมถึงข้อจ ากัด และบริการเสริมต่าง ๆ ที่มีให้

(3) ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล เป็นขั้นตอนการออกแบบเค้าโครงและลักษณะ ด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจ เพ่ือให้ผู้ใช้เกิดอารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามท่ีผู้สร้างต้องการ นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการก าหนดสีสันและรูปแบบของส่วนประกอบต่างๆ ที่ไม่ใช่กราฟิก เช่น ชนิด ตัวอักษร ขนาด และสีข้อความ สีพ้ืนบริเวณที่ว่าง เป็นต้น ในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการ น าเนื้อหาที่

Page 13: หนังงสือเล่มเล็ก

13

เลือกไว้มาปรับแก้และตรวจทานความถูกต้อง เพ่ือให้พร้อมส าหรับจะน าไปใส่เว็บเพจ แต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป

(4) ลงมือสร้างและทดสอบ เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นทีละหน้าโดยอาศัย เค้าโครงและองค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆ จะถูกน ามาใส่และจัดรูปแบบจุดเชื่อมโยงและมีระบบน าทางไปสู่หน้าเว็บต่างๆ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่ จะน าออกเผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความถูกต้องของเนื้อหา การท างานของจุดเชื่อมโยงและระบบ น าทาง ตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมภาษาสคริปต์และฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับของกลุ่มเป้าหมาย เช่น รุ่นของโปรแกรมค้นดู ความละเอียดของ จอภาพ เพ่ือดูว่าผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายสามารถชมเว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม ่

(5) เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก โดยทั่วไปการน าเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บน อินเทอร์ เน็ตจะท าด้วยการอัพโหลด (Upload) แฟ้มข้อมูลทั้งหมด คือ เอชทีเอ็มแอลและแฟ้มข้อมูล อ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องขึ้นไปเก็บบนเครื่องบริการที่เปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์อาจท าด้วย โปรแกรมสร้างเว็บไซต์หรืออาจใช้โปรแกรมอรรถประโยชน์ประเภทโปรแกรมถ่ายโอนข้อมูล (FTP) หรือใช้เครื่องมืออ่ืนบนเครื่องบริการเว็บ หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการ

Page 14: หนังงสือเล่มเล็ก

14

ทดสอบอีกครั้ง เพ่ือตรวจหาปัญหาบางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบบนคอมพิวเตอร์ของผู้สร้างเอง เช่น การเชื่อมโยง ของเว็บเพจกับเว็บไซต์อ่ืน และการท างานของโปรแกรมค้นดูกับฐานข้อมูล ซึ่งอาจท าไม่ได้ บนเครื่องของผู้สร้างเว็บ หรือบนเครื่องบริการเว็บอาจมีสภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป เว็บไซต์ที่จะ ประสบความส าเร็จ นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้างการออกแบบที่เหมาะสมแล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักในผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีก ด้วย การส่งเสริมนี้มีกลยุทธ์ที่ท าได้หลายวิธี ซึ่งไม่จ าเป็นต้องใช้งบประมาณจ านวนมากเสมอไป โดยสามารถท าได้ตั้งแต่แบบง่ายๆ คือ การแลกเปลี่ยนที่อยู่เว็บ ประกาศบนเว็บบอร์ด (Web board) การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) เพ่ิมข้อมูลในโปรแกรมค้นหาหรือสารบนเว็บ (Web directory) จนถึงแบบที่ใช้งบประมาณมากข้ึน เช่น การจัดงานเปิดตัว การลงโฆษณา บนเว็บไซต์อ่ืน ในสิ่งพิมพ์ หรือในวิทยุและโทรทัศน์ เป็นต้น

(6) ดูแลและปรับปรุงต่อเนื่อง เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้ว ควรดูแลโดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมตั้งแต่การตรวจสอบเครื่องบริการเว็บว่าไม่หยุดท างานบ่อย จุดเชื่อมโยงไปยัง ภายนอกยังคงใช้งานได้หรือไม่ คอยตอบอีเมล์หรือค าถามที่มีผู้ฝากไว้บนเว็บเพจ ถ้าเป็นข่าวสาร ก็ต้องปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา ถ้ามีการใช้ฐานข้อมูลก็ต้องส ารองข้อมูลอย่างสม่ า เสมอ นอกจากนี้ควร

Page 15: หนังงสือเล่มเล็ก

15

ตรวจสอบสถิติของการเข้าใช้เป็นระยะๆ หลังจากที่เว็บไซต์ได้รับการเผยแพร่ไประยะ หนึ่ง ควรปรับปรุงเพ่ือให้ผู้ใช้รู้สึกว่ามีความเปลี่ยนแปลง มีความใหม่ ทันสมัยหลักการออกแบบและน าเสนอด้วยเว็บไซต์ให้น่าสนใจ และดึงดูดผู้คนให้เข้ามาชม จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบถึงหลักการและวิธีการในการออกแบบและการน าเสนอเว็บไซต์ เพราะถ้าหากท าไปโดยปราศจากการออกแบบหรือการน าเสนอท่ีดีแล้ว ผู้ใช้อาจจะไม่สนใจและใส่ใจ ที่จะเข้ามาใช้ ท าให้การน าเสนอในครั้งนั้นสูญเปล่าได้ ดังนั้นจึงควรเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการ ของการน าเสนอก่อน ซึ่งสามารถท าได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและความชอบ ของผู้พัฒนา ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการน าเสนอ ทั้งนี้นักวิชาการหลายท่านได้เสนอข้อแนะน าส าหรับการออกแบบเว็บไซต์

Page 16: หนังงสือเล่มเล็ก

16

7.การพัฒนาเว็บไซต์

การพัฒนาเว็บไซต์ เป็นการก าหนดโครงสร้างหลักที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ ที่ประกอบด้วยข้อความ เสียง ภาพนิ่ง ภาพวดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเชื่อมโยงหรือลิงค์ไปยังแบนเนอร์(Banner) แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรม กระดานสนทนา (Web board) และสมุดเยี่ยม (Guestbook)ในเครือข่ายซึ่งประกอบด้วยการเชื่อมโยงภายในเว็บเพจเดียวกัน การเชื่อมโยงกับเว็บเพจอ่ืนที่อยู่ภายในเว็บไซต์เดียวกัน การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อ่ืนๆ ในส่วนของเสียง และวีดิทัศน์ใช้โปรแกรมเรียลเพล-เยอร์ในการเปิดฟังหรือชมโดยมีข้ันตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้

1.การก าหนดแหล่งเก็บข้อมูล ส าหรับเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นผู้วิจัยก าหนดให้จัดเก็บไว้ที่ตัวบริการเว็บ

2 .การก าหนดโฟล์เดอร์ (Folder) ส าหรับจัดเก็บข้อมูล และก าหนดประเภทแฟ้มข้อมูล (File) ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์

3. การก าหนดรูปแบบของค าสั่งหลักที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ ได้แก่อินคลูด (Includes) ใช้ในการจัดการกับเมนูหลัก เมนูย่อย และส่วนท้าย (Footer) ของทุกๆ เว็บเพจซึ่งมีข้อดีคือ ช่วยให้การบริหารจัดการเว็บไซต์ง่ายและสะดวกลดการซ้ าซ้อนในการท างานลดความผิดพลาดในการเขียนค าสั่ง การแก้ไขสามารถท าได้ง่าย

Page 17: หนังงสือเล่มเล็ก

17

และรวดเร็ว (รุจกา สุภาพันธ์ 2543 : 71)แผ่นแบบ (Cascading style sheets หรือ CSS) ใช้ในการก าหนดการแสดงผลของตัวอักษรให้มีรูปแบบ และขนาดเหมือนๆ กัน ซึ่งมีข้อดีคือ ผู้ดูแลเว็บไซต์สามารถควบคุมรูปแบบของตัวอักษรให้เป็นมาตรฐาน เดียวกันทั้งเว็บไซต์ ท าให้ไม่ต้องเสียเวลาในการดาวน์โหลดเว็บเพจนาน และสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลภายในเว็บเพจได้ตามที่ออกแบบไว้ (อติพงศ ์จุลโพธิ 2545 : 156-157)

4.โปรแกรมในการพัฒนาเว็บเพจ เป็นการสร้างเว็บเพจหน้าต่างๆ โดยการน าเนื้อหาที่ท าการศึกษาและรวบรวม มาสร้างเว็บเพจตามรูปแบบที่ก าหนดด้ วยโปรแกรมแมโครมี เดี ยดรีมวีพ เวอร์(Macromedia Dreamweaver) และโปรแกรมแมโครมีเดียแฟลช (Macromedia flash)

Page 18: หนังงสือเล่มเล็ก

18

8.การประเมินเว็บไซต์

ในการประเมินเว็บไซต์ ควรประเมินเว็บไซต์ตามหัวข้อดังต่อไปนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 4 ; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 185)

(1) จุดมุ่งหมายและกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์นั้นคืออะไร มีความชัดเจน หรือไม่

(2) ขอบข่าย ครอบคลุมเนื้อหาอะไรบ้าง จุดเน้นของการน าเสนอสารสนเทศคืออะไร ขอบเขตของเนื้อหาเน้นเฉพาะเนื้อหาของเรื่องนั้นหรือรวมถึงเนื้อหาอื่นที่เก่ียวข้องด้วย

(3) เนื้อหา องค์ประกอบส าคัญที่เก่ียวกับเนื้อหามี

(4) กราฟิกและการออกแบบด้านสื่อประสม

(5) ความสามารถในการท างาน

(6) ความสามารถในการเข้าถึง เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญ

(7) การวิจารณ์เว็บโดยผู้อ่ืน

(8) ค่าใช้จ่าย

Page 19: หนังงสือเล่มเล็ก

19

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการประเมินเว็บไซต์เป็นสิ่งจ าเป็นในการออกแบบเว็บไซต์อันจะท าให้ทราบว่าเว็บไซต์ใดเหมาะสมและเป็นประโยชน์ ผู้ใช้บริการเว็บและผู้ออกแบบเว็บ ก็จะได้ประโยชน์ด้วยกันทุกฝ่าย เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นก็จะมีคุณภาพและเป็นเว็บที่ดีบนอินเทอร์เน็ต ต่อไป

9.การโปเมทเว็บไซต์ (Promote wed)

การโปรโมทเว็บไซต์ (Promote wed) คือ การโฆษณาเผยแพร่เว็บไซต์ที่เราสร้างข้ึนให้เป็นที่รู้จักอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะให้เป็นที่รู้จักของผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ถือเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งส าหรับใช้แจ้งข่าวสาร เพ่ือเชิญชวนให้นักทองเว็บได้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของตน โดยทั่วไปการค้นหาข้อมูลของเว็บไซต์ผ่านทางเครื่องมือประเภทต่าง ๆ ที่สามารถน ามาใช้เป็นช่องทางในการโปรโมทเว็บไซต์และท่ีได้รับความนิยม คือการโปรโมทเว็บไซต์แบบออฟไลน์ การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการเว็บไดเรกทอรี่ (web directory) มีทั้งแบบเสียค่าใช้จ่าย และไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยหากต้องการให้ผลลัพธ์ของการค้นหาปรากฏอยู่ในล าดับต้นๆ อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมขึ้นอีกได้แก่ yahoo.com,mickinley.com และ google.com ส่วนกรณีที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายผู้ใช้บริการจะต้องเป็นผู้จัดท าหรือก าหนดหมวดหมู่ที่ต้องการขึ้นเอง โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ปรากฏอยู่ล าดับต้นๆ โดยมีเว็บให้บริการได้แก่ sanook.com , hunsa.com

Page 20: หนังงสือเล่มเล็ก

20

, hotbot.com เป็นต้น การโปรโมทเว็บไซต์ทาง Search engine การโปรโมทเว็บไซต์ทาง Searchengine ของGoogleเข้าไปที่ http://www.Google.co.th/adder

Page 21: หนังงสือเล่มเล็ก

21

บรรณานุกรม

นิติยา บุญรัตน์. (2553). การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดโรงเรียนเตรียม อดุมศึกษาภาคใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช. สารนิพนธ์ ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.จักรพงษ์ เจือจันทร์ : การศึกษาการออกแบบเว็บไซต์ของโรง เรี ยนในโครงการ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพ่ือโรงเรียนไทย (A STUDY OF WEB SiteDESIGN OF SCHOOLS IN SCHOOLNET THAILAND) อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.กิดานันท์ มลิทอง , 110 หน้า.ISBN 974-13-0817-5กิดานันท์ มลิทอง. (2542). สรรค์สร้างหน้าเว็บและกราฟิกบนเว็บ. กรุงเทพฯ:

Page 22: หนังงสือเล่มเล็ก

22

ค าน า

หนังสือเล่มนี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1193524 โปรแกรมสร้างเว็บเพ่ือการศึกษา (Web Programming for Education) โดยมีจุดประสงค์เพ่ือการศึกษาหาความรู้ได้จากเรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์จากแหล่งความรู้ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเว็บไซต์ องค์ประกอบของเว็บไซต์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ความหมายของเว็บไซต์ การออกแบบและการพัฒนา ขั้นตอนการพัฒนา การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ ส่วนประกอบของเว็บไซต์ กระบวนการพัฒนา ประเภทของเว็บไซต์ การประเมินเว็บไซต์ และการโปรเมทเว็บไซต์ (Promote wed)

ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ในการทาหนังสือเล่มนี้ เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนในตรงกับจุดประสงค์ในการเรียนในรายวิชา 1193524 โปรแกรมสร้างเว็บเพ่ือการศึกษา (Web Programming for Education) ผู้จัดทาจะต้องขอขอบคุณท่าน อ.ปวริศ สารมะโน ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา เพ่ือน ๆ ทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ทุก ๆ ท่าน

คณะผู้จัดทา 3 สิงหาคม 2556

Page 23: หนังงสือเล่มเล็ก

23

สารบัญ เรื่อง หน้า ความหมายของเว็บไซต์ (Web site) 1 ประเภทของเว็บไซต์ 1 องค์ประกอบที่สาคัญในการออกแบบเว็บไซต์ 3 ส่วนประกอบของเว็บไซต์ 5 การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ 8 การออกแบบเว็บไซต์ 10 การพัฒนาเว็บไซต์ 16 การประเมินเว็บไซต์ 18 การโปรเมทเว็บไซต์ 19 บรรณาณุกรม

Page 24: หนังงสือเล่มเล็ก

24

ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์ 1.หลักการและทฤษฎีการสื่อสาร การสื่อสาร การสื่อสารนี้เกิดจากแนวความคิดที่ว่า การสื่อสารเป็นกระบวนการ หรือการแลกเปลี่ยนโดยมีสาระส าคัญที่ว่า ผู้สื่อสารท าหน้าที่ทั้งผู้ส่งและผู้รับข่าวในขณะเดียวกันไม่อาจระบุว่าการสื่อสารเริ่มต้นและสิ้นสุดที่จุดใด เพราะถือว่า การสื่อสารมีลักษณะเป็นวงกลมและไม่มีที่สิ้นสุดชีวิตเป็นเรื่องของการเรียนรู้และสิ่งหนึ่งที่ส าคัญและต้องมีการเรียนรู้คือ ความสัมพันธ์ หรือ มนุษย์สัมพันธ์ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้มักเป็นบทเรียนของกันและกัน ถ้าไม่ใส่ใจเรียนรู้ซึ่งกันและกันก็จะอยู่ในโลกนี้ด้วยความยากล าบาก เพราะชีวิตจะมีคุณค่าและรู้สึกมีความสุขเมื่อได้แสดงออกอย่างที่รู้สึก มีโอกาสเรียนรู้เรื่องราวและสิ่งใหม่ๆตามท่ีเราต้องการ ความหมายของการสื่อสาร

นักวิชาการหลายท่านให้ความหมายของการสื่อสารไว้ในหลายแง่มุม เช่น โรเจอร์ (Rogers, 1976) ได้ให้ความหมายของการติดต่อสื่อสารว่าเป็นการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนข้อเท็จจริง ความรู้สึก ความคิด หรือการกระท าต่าง ๆ โดยมีเจตนาที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล พฤติกรรมในที่นี้ หมายถึง การเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่แสดงออกโดยเปิดเผย แบลโลว์ กิลสัน และโอดิออร์น (Ballow, Gilson and Odiorne, 1962) ได้กล่าวว่าการติดต่อสื่อสารในองค์การหมายถึง

Page 25: หนังงสือเล่มเล็ก

25

การแลกเปลี่ยนค าพูด อักษร สัญลักษณ์ หรือข่าวสาร เพ่ือให้สมาชิกในองค์การหนึ่งได้เข้าใจความหมายและสามารถเข้าใจฝ่ายอ่ืน ได้ ซึ่งถ้าพิจารณาในทางการบริหารองค์การอาจจะกล่าวให้ชัดเจนขึ้นได้ว่า การติดต่อสื่อสารคือ การกระจายหรือสื่อความหมายเกี่ยวกับนโยบาย และค าสั่งลงไปยังเบื้องล่าง พร้อมกับรับข้อเสนอแนะความเห็นและความรู้สึกต่าง ๆ กลับมา ธร สุนทรายุทธ (ม.ป.ป.) ได้กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารเป็นปัจจัยส าคัญในองค์การ ที่จะท าให้การด าเนินงานเป็นไปได้ด้วยความร่วมมือ ประสานงานกับทุกฝ่าย ปัจจัยของการอยู่ร่วมกันและความร่วมมือร่วมใจของสมาชิกที่จะช่วยกันท างาน อย่างไรก็ตามสิ่งที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานราบรื่นท าให้การประสานงานกันเป็นอย่างดีก็คือ การติดต่อสื่อสารของสมาชิกในองค์การนั่นเอง ชรามม์ (Schramm, 1973) ได้พยายามอธิบายถึงกระบวนกาติดต่อสื่อสารเป็นวงจรในการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคคล 2 คน ซึ่งกระบวนการสื่อสารจะเริ่มตั้งแต่การแปลความหมายการถ่ายทอดข่าวสารซึ่งกันและกันเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นซ้ ากันไปเรื่อย จนกว่าทั้งสองฝ่ายจะเข้าใจซึ่งกันและกัน สรุปไม่มีค าจ ากัดความของการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งที่จะน าไปใช้กับพฤติกรรมการสื่อสารได้ทุกรูปแบบ แต่ละค าจ ากัดความจะมีวัตถุประสงค์ และผลที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน จึงท าให้ความหมายของการสื่อสารกว้าง และน าไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ การพิจารณาความหมายของการสื่อสารจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกิจกรรมสื่อสารเป็นเรื่อง ๆ ไป ดังนั้น

Page 26: หนังงสือเล่มเล็ก

26

การสื่อสารต้องเกี่ยวกับองค์ประกอบส าคัญ ๆ 3 ประการ อันได้แก่ ผู้ส่งข่าวสาร(Sender)ผู้รับข่าวสาร (Receiver) และตัวข่าวสาร (Message) เมื่อน ามารวมกันจะเรียกว่าเป็นการสื่อสารการสื่อสารเป็นกิจกรรมที่ไม่อยู่นิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีความยุ่งยากสลับซับซ้อน การเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ ของการสื่อสารนั้นมีเหตุผล 4 ประการ คือ 1.ช่วยให้มีโอกาสที่จะเลือกกระบวนการของการสื่อสาร และปัจจัยต่าง ๆ เพ่ือน าไปใช้กับกิจกรรมทางการสื่อสารที่เกิดขึ้นจริง ทั้งนี้เพราะว่าไม่มีรูปแบบการสื่อสารอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงชนิดเดียวที่สามารถน าเอาไปใช้กับข้อมูลต่าง ๆ ทางการสื่อสารได้โดยสมบูรณ์ 2.ช่วยให้ค้นพบความจริงใหม่ ๆ เกี่ยวกับการสื่อสาร เพราะการสื่อสารแต่ละรูปแบบย่อมก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ กัน 3.ช่วยให้เกิดการคาดคะเนล่วงหน้า เกี่ยวกับการสื่อสารขึ้นและรูปแบบเหล่านี้จะช่วยให้คาดคะเนได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นในแต่ละสภาพของการสื่อสาร ซึ่งการคาดคะเนเหล่านี้จะช่วยให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพ 4.ช่วยให้สามารถหาวิธีมาวัดปัจจัย และกระบวนการในการสื่อสารต่าง ๆ ได ้เพราะรูปแบบ รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร

การที่จะติดต่อสื่อสารที่จะช่วยให้ข่าวสารไปยังผู้ รับข่าวสาร โดยอาศัยช่องทางไปสู่ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การมองเห็น การสัมผัส การได้ยิน การได้กลิ่น การลิ้มรส โดยใช้ช่องทางคือ การบันทึกข้อความ ค าสั่งเป็นลายลักษณ์อักษร การพูด

Page 27: หนังงสือเล่มเล็ก

27

การสื่อสารความหมายที่มีประสิทธิภาพ ควรใช้ช่องทางหลาย ๆ ช่องทาง ช่องทางการติดต่อสื่อสารมีความส าคัญมากในการติดต่อสื่อสาร ช่องทางที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา ได้แก่ การพูด (การสั่งงาน กาประชุม การติดต่อสื่อสารกันทางโทรศัพท์การส่งข่าว การส่งข่าวทางอินเตอร์เน็ท ลายลักษณ์อักษรหรืสิ่งพิมพ์ (จดหมาย หนังสือเวียนประกาศต่าง ๆ วารสารภายใน) โสตทัศนูปกรณ์ (เสียงตามสาย) สามารถแบ่งประเภทตามวิธีการต่าง ๆ ดังนี้คือ การติดต่อสื่อสารทางลายลักษณ์อักษร การติดต่อสื่อสารทางวาจา และการติดต่อสื่อสารที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี 1. การติดต่อสื่อสารทางลายลักษณ์อักษร (Written Communicatioหมายถึงการติดต่อสื่อสารที่แสดงออกโดยการเขียน ซึ่งอาจเป็นตัวอักษร หรือตัวเลขแสดงจ านวนก็ได้ เช่นหนังสือเวียน และบันทึกโต้ตอบ (Circulation - Notes - Letters - Memo) ป้าย ประกาศ บันทึกข้อความ รายงานประจ าปี แผงข่าวสาร แผ่นปลิว สิ่งตีพิมพ์จดหมายข่าว และวารสาร คู่มือการปฏิบัติงาน เป็นต้น ส่วนมากผู้บริหารต้องการข่าวสารที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร แต่บางครั้งการขาดการพิจารณาข้อความของข่าวสารที่ส่งมาให้โดยรอบคอบก็อาจจะเกิดผลกระทบที่เสียหายต่อองค์การได้ (Timm, 1995) โดยมากมักจะพบว่า การสื่อสารด้วยการเขียนยากกว่าการพูด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะบุคคลนั้นมีความสามารถทางภาษาน้อย เช่น ถ้าเขาท าหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร เขาอาจไม่แน่ใจในค าสะกด อีกประการหนึ่ง การติดต่อสื่อสารที่อาศัยการเขียนนั้นมักจะมีลักษณะของการติดต่อสื่อสารทางเดียว

Page 28: หนังงสือเล่มเล็ก

28

2.การติดต่อสื่อสารทางวาจา(Oral Communication) หมายถึง การติดต่อสื่อสารที่แสดงออกโดย การพูด เช่น การประชุมกลุ่ม (Group Meeting) การร้องทุกข์โดยวาจา การปรึกษาหารือ (Counseling) การสัมภาษณ์พนักงานที่ออก (Exit Interview) การอบรม การสัมมนาการพบปะตัวต่อตัว การสนทนาเผชิญหน้า การพูดโทรศัพท์ การฝากบอกต่อ และข่าวลือซึ่ง สร้อยตระกูล อรรถมานะ (2541) กล่าวว่า การติดต่อสื่อสารด้วยค าพูด เป็นวิธีการที่ใช้กันมากที่สุดในการน าเสนอข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะนักบริหารก็มักจะพบว่าตนนั้นอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยค าพูด แต่ก็ยังพบปัญหาเกี่ยวกับวิธีการใช้ภาษาพูด หรือปัญหาเกี่ยวกับการใช้ค าที่ใช้เฉพาะวงการหนึ่ง ๆ หรือใช้เฉพาะในกลุ่มคน หรือค าย่อ รหัส ที่ใช้ในองค์การใดองค์การหนึ่ง 3.การติดต่อสื่อสารที่ต้องใช้เทคโนโลยี (Technologies Communication) เทคโนโลยีการสื่อสาร เป็นเครื่องมือทางเทคนิค ที่มีประโยชน์เป็นส่วนย่อยกลุ่มหนึ่งขอเทคโนโลยีในสังคมมนุษย์ ซึ่งแต่ละชนิดจะมีคุณลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างกันตามแนวคิดและวัตถุประสงค์ในการใช้แต่ก็มีคุณสมบัติประการหนึ่งที่คล้ายคลึงกันคือ การเอาชนะขีดจ ากัดความสามารถตามธรรมชาติ และเพ่ิมประสิทธิภาพในการสื่อสาร เช่น การบันทึกและเผยแพร่ข่าวสาร

Page 29: หนังงสือเล่มเล็ก

29

องค์ประกอบของการสื่อสาร (สมิต สัชฌุกร, 2547) 1. ผู้ส่งสาร (Source) คือ ผู้ตั้งต้นท าการสื่อสารกับบุคคล

หรือกลุ่มบุคคลอ่ืน ผู้ส่งสารอาจเป็นบุคคลเดียว หรืออาจจะมีมากกว่าหนึ่งคนก็ได้ องค์การหรือหน่วยงานที่เป็นผู้เริ่มกระท า การให้เกิดการสื่อสารก็ถือได้ว่าเป็นผู้ส่งสาร 2. สาร (Message) คือ สาระ เรื่องราว ข่าวสาร ที่ผู้ส่งสารต้องการส่งออกไปสู่บุคคล หรือกลุ่มบุคคลอ่ืน สารอาจเป็นสิ่งที่มีตัวตน เช่น ตัวหนังสือ ตัวเลข รูปภาพ วัตถุต่าง ๆ หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่สามารถให้ความหมายเป็นที่เข้าใจได้ 3. ช่องทางที่จะส่งสาร หรือสื่อ(Channel or Medium) คือ เครื่องมือ หรือช่องทางที่ผู้ส่งสารจะใช้ เพ่ือให้สารนั้นไปถึงบุคคล หรือกลุ่มบุคคลรับ ช่องที่จะส่งสาร หรือสื่อต่าง ๆ ที่จะน าสารไปยังผู้รับสารตามที่ผู้ส่งสารมุ่งหมาย อาจจะเป็นสื่อธรรมชาติ เช่น อากาศ เป็นช่องทางที่คลื่นเสียงผ่านไปยังผู้ฟังเสียง หรืออาจจะเป็นสื่อที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น เช่น วิทยุ โทรทัศน์ โทรศัพท์ ฯลฯ 4. ผู้รับสาร (Receiver) คือ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่สามารถรับทราบสารของผู้ส่งสารได้ผู้รับสารเป็นจุดหมายปลายทางของข่าวสารเป็นบุคคลส าคัญในการชี้ขาดว่า การสื่อสารเป็นผลหรือไม ่

Page 30: หนังงสือเล่มเล็ก

30

หลักส าคัญในการสื่อสาร วิจิตร อาวะกุล (2525) ได้กล่าวถึง การสื่อสารที่มี

ประสิทธิผลต้องมีองค์ประกอบ7 ประการ คือ 1. ความน่าเชื่อถือ (Credibility) การสื่อสารจะได้ผลนั้น ต้องมีความเชื่อถือของในเรื่องของผู้ให้ข่าวสาร แหล่งข่าว เพ่ือให้เกิดความม่ันใจ หรือเต็มใจรับฟังข่าวสารนั้น 2.ความเหมาะสม (Context) การสื่อสารที่ดีต้องมีความเหมาะสมกลมกลืนกับวัฒนธรรมของสังคม เครื่องมือสื่อสารนั้นเป็นเพียงสิ่งประกอบ แต่ความส าคัญอยู่ที่ท่าที ท่าทางภาษา ค าพูดที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมสังคม หมู่ชน หรือสภาพแวดล้อมนั้น ๆ การยกมือไหว้ส าหรับสังคมไทยย่อมเหมาะสมกว่าการจับมือ หรือการจับมือของฝรั่งย่อมเหมาะสมกว่าการไหว้เป็นต้น 3.เนื้อหาสาระ (Content) ข่าวสารที่ดีจะต้องมีความหมายส าหรับผู้รับ มีสาระ ประโยชน์แก่กลุ่มชน หรือมีสิ่งที่เขาจะได้ผลประโยชน์ จึงน่าสนใจ บางครั้งสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มชนกลุ่มหนึ่ง แต่อาจจะไม่มีสาระส าหรับคนบางกลุ่ม ในเรื่องนี้จึงต้องใช้การพิจารณากลุ่มชนเป้าหมายด้วย 4.บ่อยและสม่ าเสมอต่อเนื่องกัน (Continuity and Consistency) การสื่อข่าวสารจะได้ผลต้องส่งบ่อย ๆ ติดต่อกัน หรือมีการย้ าหรือซ้ า เพ่ือเตือนความทรงจ า หรือเปลี่ยนทัศนคติ และมีความสม่ าเสมอ เสมอต้นเสมอปลาย มิใช่ส่งข่าวสารชนิดขาด ๆ หาย ๆ ไม่เที่ยงตรงแน่นอน 5.ช่องทางข่าวสาร (Channels) ข่าวสารจะเผยแพร่ได้ดีนั้นจะต้องส่งให้ถูช่องทางของการสื่อสารนั้น ๆ โดยมองหาช่องทาง

Page 31: หนังงสือเล่มเล็ก

31

ที่เปิดรับข่าวสารที่เราจะส่ง และส่งถูกสายงาน กรม กองหน่วย หรือโดยวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ส่งถึงตัวบุคคลโดยตรง จะรวดเร็วกว่า หรือส่งที ่บ้านได้รับเร็วกว่าการส่งไปให้ที่ท างาน เราควรเลือกช่องทางที่ได้ผลเร็วที่สุด 6.ความสามารถของผู้รับข่าวสาร (Capability of Audience) การสื่อสารที่ถือว่าได้ผลนั้นต้องใช้ความพยายาม หรือแรงงานน้อยที่สุด การสื่อสารจะง่ายสะดวกก็ขึ้นอยู่กับความสามารถในการรับของผู้รับ ซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น สถานที่ โอกาสอ านวย นิสัย ความรู้ พ้ืนฐานที่จะช่วยให้เข้าใจ เป็นต้น 7.ความแจ่มแจ้งของข่าวสาร (Clarity) ข่าวสารต้องง่าย ใช้ภาษาที่ผู้รับเข้าใจ คือใช้ภาษาของเขา ศัพท์ที่ยากและสูงไม่มีประโยชน์ควรตัดออกให้หมดให้ชัดเจน เข้าใจง่าย มีความมุ่งหมายเดียว อย่าให้คลุมเครือ หรือมีความหมายหลายแง่ หรือตกหล่นข้อความบางตอนที่ส าคัญไป

Page 32: หนังงสือเล่มเล็ก

32

ทฤษฎีการและสื่อสาร ทฤษฎี คือ ข้อความเกี่ยวกับการท างานของสิ่งต่าง ๆ หรือข้อความที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทฤษฎีการสื่อสารมีอยู่ 4 แบบ คือ (1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม (2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส (3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ (4) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปริบททางสังคม (1) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงระบบพฤติกรรม มีลักษณะดังนี้ (1.1) เป็นการมองการสื่อสารทั้งระบบ คล้ายเครื่องจักรกล ระบบการรับส่งข้อมูลข่าวสารจะเกิดขึ้นได้ ต่อเมื่อมีแหล่งข่าวสาร (ผู้ส่ง) ส่งสัญญาณผ่านช่องทางการสื่อสารไปยังจุดหมายปลายทาง (ผู้รับสาร) (1.2) เป็นการสื่อสารแบบตัวต่อตัว ที่เห็นหน้าตาของผู้รับและผู้ส่งได ้ (1.3) มีการกระท าสะท้อนกลับ (Feed back) (1.4) มีสภาพแวดล้อมทางสังคม จิตวิทยา กาลเวลา สถานที่ เป็นปัจจัยในการสื่อสาร และประกอบค าอธิบาย และให้เหตุผล (1.5) เป็นการสื่อสารแบบต่อเนื่อง (เป็นวงกลม) (1.6) เป็นการสื่อสารเรื่องใหม่ ๆ (1.7) ผู้สื่อสาร เป็นผู้ก าหนดความหมาย และเจตนารมณ์ของสารที่ส่งไป

Page 33: หนังงสือเล่มเล็ก

33

(2) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงพฤติกรรมการเข้าและถอดรหัส มีลักษณะดังนี้ (2.1) ถือว่าการเข้ารหัสและการถอดรหัสเป็นหัวใจของการสื่อสาร (2.2) กระบวนการเข้ารหัส และถอดรหัส คือ รูปแบบของการควบคุม ตรวจสอบ หรือมีอ านาจเหนือสิ่งแวดล้อม (2.3) อธิบายกิจกรรมของการเข้ารหัส และถอดรหัส 3 ประการ (2.3.1) การรับรหัส -ถอดรหัส (Perception or Decoding) (2.3.2) การคิด-ตีความ (Cognition or Interpretation) (2.3.3) การตอบสนอง-การเข้ารหัส (Response or Encoding) (3) ทฤษฎีการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ์ ทฤษฎีนี้วางหลักเกณฑ์ ไว้ว่า (3.1) การสื่อสาร หรือ ปัจจัยทางการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการสร้างปฏิสัมพันธ์ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาข่าวสาร กับบุคคล (3.2) ปฏิสัมพันธ์แสดงออกมาทางพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้รับสาร ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหลายจึงเกิดจากพฤติกรรมทางการสื่อสารทั้งสิ้น ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ท าให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ไม่เหมือนกัน มี 3 ประการ คือ

Page 34: หนังงสือเล่มเล็ก

34

(3.2.1) ปัจจัยด้านผู้ส่งสาร บุคลิกภาพของผู้ส่งสาร ความน่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร ทัศนคติของผู้ส่งสาร ความคิด อิทธิพลของข่าวสาร (3.2.2) ปัจจัยผู้รับสาร ความรู้สึกของผู้รับสารต่อข่าวสาร บุคลิกภาพเป็นตัวก าหนดปฏิกิริยาตอบเนื้อหาข่าวสาร (3.2.3) ปฏิกิริยาต่อเนื้อสารเดียวกัน จะแตกต่างกันไปตามอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดบุคลิกภาพของผู้รับสารที่แตกต่างกัน ตัวแปรทางการสื่อสาร ที่ท าให้เกิดปฏิสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน มี 4 ประการ คือ (3.2.3.1) ปัจจัยผู้ส่งสาร (3.2.3.2) ปัจจัยผู้รับสาร (3.2.3.3) ปัจจัยทางด้านสังคม หมายถึงอิทธิพลทางสังคม เพราะ คนเราต้องปรับตัวให้เข้ากับสังคม เพ่ือให้สังคมยอมรับ (3.2.3.4) ลักษณะของเนื้อหาข่าวสาร ลักษณะของเนื้อหาข่าวสารสร้างปฏิกิริยาของผู้รับสารได้แตกต่างกัน ที่ส าคัญคือ รูปแบบการเรียบเรียงเนื้อหา การจัดล าดับภาษาที่ใช้ การเลือกประเด็น การจัด sequence ของเนื้อหา (4) ทฤษฎีเชิงเปรียบปริบททางสังคม ทฤษฏีนี้อธิบายว่า (4.1) กระบวนการสื่อสาร เป็นปรากฏการณ์ที่ เกิดขึ้น ภายใต้อิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรม (4.2) สภาพแวดล้อมทางสังคมมีอิทธิพลอย่างส าคัญที่ท าให้การสื่อสารเกิดขึ้นได้ ดังนั้น สังคมเป็นปัจจัยที่ควบคุมแหล่งข่าวสาร

Page 35: หนังงสือเล่มเล็ก

35

(4.3) สังคมเป็นปัจจัยการไหลของข่าวสาร และผลของข่าวสาร ท าให้การไหลของข่าวสารเปลี่ยนแปลงได้ทุกครั้งทุกเม่ือ 2. การประชาสัมพันธ์ ความหมายของการประชาสัมพันธ์

กา ร ปร ะช า สั ม พัน ธ์ หม า ยถึ ง ก า ร สื่ อ ส า รค ว า มคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่างๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว ามสั ม พัน ธ์ แ ล ะคว าม เ ข้ า ใ จ อันดี ร ะห ว่ า งหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้อง เพ่ือหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ท าให้ประชาชน เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและก าจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพ่ือสร้างความส าเร็จในการด าเนินงานของหน่วยงานนั้น องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ องค์ประกอบของการประชาสัมพันธ์ หากพิจารณาจากกระบวนการสื่อสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์แล้ว ก็สามารถจ าแนกอ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ส า คั ญ ข อ ง ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ออกเป็น 4 ประการ คือ (1) องค์กร สถาบันหรือหน่วยงาน ได้แก่ กิจการที่บุคคลหรือคณะบุคคลได้จัดท าขึ้น เป็นแหล่งข่าว แหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะด าเนินการใด ๆ ให้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดี กิจการเหล่านี้อาจจะเป็นกิจการของรัฐบาล

Page 36: หนังงสือเล่มเล็ก

36

รัฐวิสาหกิจ องค์การสาธารณกุศล ธุรกิจเอกชน เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม หน่วยราชการหรือหน่วยรัฐวิสาหกิจต่าง ๆ มูลนิธิ บริษัทห้างร้าน ธนาคารพาณิชย์ และ เป็นต้น (2) ข่าวสารประชาสัมพันธ์ เป็นข้อมูลข่าวสารที่องค์กร สถาบันหรือหน่วยงานต้องการเผยแพร่ได้แก่ เรื่องราวที่ เป็นเนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย ที่สามารถสื่อสารความเข้าใจได้ (3) สื่อประชาสัมพันธ์ได้แก่เนื้อหา สาระ รูปภาพ สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมาย อาจจะเป็น (4) กลุ่มประชาชนเป้าหมายในการประชาสัมพันธ์ ได้แก่ กลุ่มบุคคลหรือประชาชนที่เป็นเป้าหมายในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ครั้งนั้น ๆ ดังนี้ (4.1) กลุ่มประชาชนภายใน หมายถึง กลุ่มบุคลากร เจ้าหน้าที่ พนักงาน ขององค์กร สถาบันความหมายของการประชาสัมพันธ์

ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ห ม า ย ถึ ง ก า ร สื่ อ ส า ร ค ว า มคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเ ส ริ ม ส ร้ า ง ค ว ามสั ม พัน ธ์ แ ล ะคว าม เ ข้ า ใ จ อันดี ร ะห ว่ า งหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้อง เพ่ือหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ท าให้ประชาชน เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อหน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและก าจัด

Page 37: หนังงสือเล่มเล็ก

37

แหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพ่ือสร้างความส าเร็จในการด าเนินงานของหน่วยงานนั้น 3. การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) Www เป็นบริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เริ่มเข้ามาเป็น ที่ รู้จักในวงการศึกษาในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามีบทบาทส าคัญทางการศึกษาและ กลายเป็นคลังแห่งความรู้ที่ไร้พรมแดน ซึ่งผู้สอนได้ใช้เป็นทางเลือกใหม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือเปิดประตูการศึกษาจากห้องเรียนไปสู่โลกแห่งการเรียนรู้อันกว้างใหญ่ รวมทั้งการน าการศึกษาไปสู่ผู้ที่ขาดโอกาสด้วย ข้อจ ากัดทางด้านเวลาและสถานที่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) เป็นการผสมผสานกันระหว่างเทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจ ากัดทางด้านสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ ไวด์ เว็บ ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้

Page 38: หนังงสือเล่มเล็ก

38

ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บ การใช้เว็บเพ่ือการเรียนการสอน เป็นการน าเอาคุณสมบัติของอินเทอร์เน็ต มาออกแบบเพ่ือใช้ในการศึกษา การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction) มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช่นการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ(Web-Based Instruction) เว็บการเรียน(Web-Based Learning) เว็บฝึกอบรม (Web-Based Training) อินเทอร์เน็ตฝึกอบรม (Internet-Based Training) อินเทอร์เน็ตช่วยสอน(Internet-Based Instruction) เวิลด์ไวด์เว็บฝึกอบรม (WWW-Based Training) และเวิลด์ไวด์เว็บช่วยสอน (WWW-Based Instruction) (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2545) ทั้งนี้มีผู้นิยามและให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บเอาไว้หลายนิยาม ได้แก่ ข่าน (Khan,1997 อ้างถึงใน กิดานันท์ มลิทอง , 2543) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง โปรแกรม การเรียนการสอนในรูปแบบของไฮเปอร์มีเดีย (Hypermedia) ทีน าคุณลักษณะและทรัพยากรต่างๆ มาใช้ในการเรียนรู้ รีแลนและกิลลานิ (Ralan and Gillami, 1997 อ้างถึงใน กิดานันท์ มลิทอง , 2543) ให้ความหมายว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บ เป็นการประยุกต์ที่แท้จริงของการใช้วิธีการต่างๆ มากมายโดยการใช้เว็บเป็นทรัพยากรเพ่ือการสื่ อสารและใช้เป็นโครงสร้างส าหรับการแพร่กระจายทางการศึกษา ดริสคอลล์ (Driscoll, 1997 อ้างถึงใน สุกรี แวววรรณจิตร , 2545) ได้ให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าเป็นการ

Page 39: หนังงสือเล่มเล็ก

39

ใช้ ทักษะหรือความรู้ต่างๆ ถ่ายโยงไปสู่ที่ใดที่ใดที่หนึ่งโดยการใช้เวิลด์ไวด์เว็บ เป็นช่องทางในการเผยแพร่ ความรู้ ส าหรับประโยชน์ทางการศึกษาแก่ผู้เรียนภายในประเทศไทย การเรียนการสอนผ่านเว็บถือเป็นรูปแบบใหม่ของการเรียนการสอนที่เริ่มน าเข้ามาใช้ ทั้งนี้นักการศึกษาหลายท่านให้ความหมายของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ ดังนี้ กิดานันท์ มลิทอง (2543) ให้ความหมายว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการใช้เว็บในการเรียนการสอนโดยอาจใช้เว็บเพ่ือน าเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิติของวิชาทั้งหมดตามหลักสูตร หรือใช้เพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพ่ือประกอบการสอนก็ได้ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากคุณลักษณะต่างๆของการสื่อสารที่มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การเขียนโต้ตอบกันทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์และการพูดคุยสดด้วยข้อความและเสียงมาใช้ประกอบด้วยเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ใจทิพย์ ณ สงขลา (2542) ได้ให้ความหมายการเรียนการสอนผ่านเว็บว่าหมายถึง การผนวก คุณสมบัติไฮเปอร์มีเดียเข้ากับคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ เพ่ือสร้างสิ่งแวดล้อมแห่งการเรียนในมิติท่ีไม่มีขอบเขตจ ากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกันของผู้เรียน (Learning without Boundary) วิชุดา รัตนเพียร (2542) กล่าวว่าการเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการน าเสนอโปรแกรมบทเรียนบนเว็บเพจโดยน าเสนอผ่านบริการเวิลด์ไวด์เว็บในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งผู้ออกแบบและสร้างโปรแกรมการสอนผ่านเว็บจะต้องค านึงถึงความสามารถและ

Page 40: หนังงสือเล่มเล็ก

40

บริการที่หลากหลายของอินเทอร์เน็ต และน าคุณสมบัติต่างๆเหล่านั้นมาใช้เพ่ือประโยชน์ในการเรียนการสอนให้มากที่สุด จากนิยามและความคิดเห็นของนักวิชาการและนักการศึกษา ทั้งในต่างประเทศและภายใน ประเทศไทยดังที่กล่าวมาแล้วนั้นสามารถสรุปได้ว่า การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการ หรือน ามาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานที่และเวลาอีกด้วย ประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ นักวิชาการหลายท่าน ได้จัดประเภทของบทเรียนผ่านเว็บ ไว้ดังนี้ มนต์ชัย เทียนทอง (2544: 74) ได้จ าแนกบทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ประเภทตามระดับความยากง่าย ดังนี้ 1. บทเรียนแบบทั่วไป (Embedded WBI) เป็นบทเรียนที่น าเสนอด้วยข้อความและกราฟิกเป็นหลัก จัดว่าเป็นบทเรียนขั้นพ้ืนฐานที่พัฒนามาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นด้วยภาษา HTML (Hypertext markup language) 2. บทเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive WBI: IWBI) เป็นบทเรียนที่พัฒนาขึ้นจากบทเรียนประเภทแรก โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์สัมพันธ์กับผู้ใช้เป็นหลัก นอกจากจะน าเสนอด้วยสื่อ

Page 41: หนังงสือเล่มเล็ก

41

ต่างๆ ทั้งข้อความ กราฟิก และภาพเคลื่อนไหวแล้ว การพัฒนาบทเรียนระดับนี้จึงต้องใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ใน 3. บทเรียนแบบปฏิสัมพันธ์สื่อประสม (Interactive Multimedia WBI:IMMWBI) เป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเว็บที่น าเสนอโดยยึดคุณสมบัติทั้ง 5 ด้านของมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว การปฏิสัมพันธ์ และเสียง จัดว่าเป็นระดับสูงสุด เนื่องจากการปฏิสัมพันธ์เพ่ือการจัดการทางด้านภาพเคลื่อนไหวและเสียงของบทเรียนโดยใช้เว็บบราว์เซอร์นั้นมีความยุ่งยากมากกว่าบทเรียนที่น าเสนอแบบใช้งานเพียงล าพัง ผู้พัฒนาบทเรียนจะต้องใช้เทคนิคต่างๆ เข้าช่วย เพ่ือให้บทเรียนจากการมีปฏิสัมพันธ์เป็นไปด้วยความรวดเร็วและราบรื่น เช่นการเขียนคุกกี้ (Cookies) ช่วยสื่อสารข้อมูลระหว่างเว็บเซิร์ฟเวอร์กับตัวบทเรียนที่อยู่ในไคลแอนท์ตัวอย่างของภาษาที่ใช้พัฒนาบทเรียนระดับนี้ได้แก่ Java, JSP, ASPและ PHP เป็นต้น พาร์สัน (Parson. 1997: Online) ได้จ าแนกบทเรียนผ่านเว็บออกเป็น 3 ลักษณะตามการน าไปใช้ในทางการศึกษา คือ 1.เว็บรายวิชา (Stand-alone courses) เป็นเว็บที่บรรจุเนื้อหาหรือเอกสารในรายวิชา เพ่ือการสอนเพียงอย่างเดียว มีเครื่องมือและแหล่งที่เข้าไปถึงได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งการสอนผ่านเว็บลักษณะนี้จะเป็นการสอนทั่วทั้งมหาวิทยาลัยที่มีนักศึกษาจ านวนมากเข้ามาใช้งานจริง แต่มีลักษณะการสื่อสารส่งข้อมูลทางไกล ซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียว โดยอาจใช้เว็บช่วยสอนเป็นกิจกรรมหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอน

Page 42: หนังงสือเล่มเล็ก

42

2.เว็บสนับสนุนรายวิชา (Web support courses) เป็นเว็บที่มีลักษณะเป็นการสื่อสารสองทางที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน และมีแหล่งทรัพยากรทางการศึกษาให้มากมาย มีการก าหนดงานให้ท าบนเว็บ การร่วมกันอภิปราย การตอบค าถาม และมีการสื่อสารอ่ืนๆผ่านระบบคอมพิวเตอร์ มีกิจกรรมต่างๆ ที่ให้ท าในรายวิชา มีการเชื่อมโยงไปยังแหล่งทรัพยากรอ่ืนๆ เป็นต้น 3.เว็บทรัพยากรการศึกษา (Web pedagogical resources) เป็นเว็บที่มีรายละเอียดทางการศึกษา เครื่องมือ วัตถุดิบ และรวมรายวิชาต่างๆ ที่มีอยู่ในสถาบันการศึกษาเข้าไว้ด้วยกัน และยังรวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันการศึกษาไว้บริการ เป็นแหล่งสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาต่างๆ ทั้งทางด้านวิชาการและไม่ใช่วิชาการ โดยการใช้สื่อที่หลากหลายรวมถึงการสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นการใช้เว็บในการเรียนการสอนทั้งระบบ กล่าวคือ การใช้บทเรียนผ่านเว็บเป็นทั้งระบบการเรียนการสอนหลักให้ผู้สอนและผู้เรียนด าเนินกิจกรรม เช่น การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านเว็บ เป็นต้นซึ่งทั้งนี้ในกระบวนการเรียนการสอนจะถือว่าประเภทที่ 1 และประเภทที่ 2 เป็นการสอนผ่านเว็บที่มีแนวคิดที่ช่วยในการเรียนการสอนในรายวิชา แต่ในขณะที่ประเภทที่ 3 เป็นรูปแบบของการให้บริการ การบริหารจัดการ และสนับสนุนกิจกรรมการเรียนการสอนของสถาบันโดยมองภาพของการจัดการทั้งสถาบันเป็นหลัก

Page 43: หนังงสือเล่มเล็ก

43

รูปแบบต่างๆ ของบทเรียนผ่านเว็บ โอลิเวอร์ได้จัดแบ่งโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บ (WBI)

ออกเป็น 4 รูปแบบตามมิติการใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอน คือ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2545: 9-10) 1. Information access เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มุ่งประโยชน์ในการน าเสนอข้อมูลข่าวสารในการเรียนการสอน เช่น ประมวลรายวิชา (Course syllabus) ก าหนดการเรียนการสอน เนื้อหา เอกสารประกอบการสอน การบ้าน เป็นต้น 2. Interactive learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่น าเสนอบทเรียนโดยออกแบบให้บทเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน มีการให้แรงจูงใจ มีการให้ข้อมูลย้อนกลับในขั้นตอนต่างๆ ที่ผู้ใช้บทเรียนด าเนินกิจกรรมตามบทเรียนไป ซึ่งเป็นลักษณะเดียวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพียงแต่น าเสนอในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3.Networked learning เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่เพ่ิมมิติของการสื่อสารปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ระหว่างผู้เรียนผู้สอน ระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองตลอดกิจกรรมการเรียนการสอน 4. Material development เป็นโมเดลของบทเรียนผ่านเว็บที่มีมิติของการให้ผู้เรียนใช้เว็บเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล จัดโครงสร้าง และเป็นสื่อในการน าเสนอความรู้ที่ได้จากการเรียนทั้ง 4 โมเดลแสดงให้เห็นถึงมิติต่างๆ ในการจัดการเรียนการสอนของบทเรียนผ่านเว็บซึ่งสรุปได้ว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีหลากหลายรูปแบบ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับการออกแบบและการน ามาใช้

Page 44: หนังงสือเล่มเล็ก

44

งาน เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่ด าเนินกิจกรรมผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและบริการของเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดังนั้นจึงรองรับการจัดการเรียนการสอนใช้ทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นในเวลาเดียวกัน คนละเวลา คนละสถานที่และขนาดผู้เรียนกลุ่มใหญ่ หรือรายบุคคล

ข้อดีของบทเรียนผ่านเว็บ ข้อดีของบทเรียนผ่านเว็บ มีดังนี้ (จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย. 2545: 9-10) 1.รองรับยุทธศาสตร์การสอน (Instructional strategy) ได้หลากหลายและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเป็นสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนที่ครอบคลุมทั้งเทคโนโลยี และบุคคล(Technology based and human based) เป็นสื่อที่น าเสนอได้ทั้งข้อความธรรมดาและสื่อประสมมีเครื่องมือช่วยการสื่อสารระหว่างการเรียนการสอนทั้งแบบระหว่างบุคคล และระหว่างบุคคลกับกลุ่ม ทั้งการสื่อสารในเวลาเดียวกัน และต่างเวลากัน ตัวอย่างยุทธศาสตร์ที่ใช้ คือ Resource based learning, Self-paced learning, Collaborative/Cooperative learning, Individualized instruction 2. ลดเวลาในการบริหารจัดการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นระบบการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ มีระบบคอมพิวเตอร์ ระบบฐานข้อมูลรองรับการพัฒนาโปรแกรมเพ่ิมเติม ดังนั้นผู้พัฒนาสามารถพัฒนาให้บทเรียนผ่านเว็บช่วยในการลดภาระการบริหารจัดการเรียนการสอน เช่น ช่วยบันทึกเวลา ความถี่

Page 45: หนังงสือเล่มเล็ก

45

ในการเข้าใช้บทเรียน เก็บคะแนน สรุปคะแนนหาค่าสถิติต่างๆ บริหารคลังข้อสอบ เป็นต้น ข้อดีที่เป็นผลจากการใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการทดสอบ ผู้สอนสามารถออกแบบให้บทเรียนผ่านเว็บให้ข้อมูลป้อนกลับมายังผู้เรียนอย่างทันทีท าให้ผู้เรียนไดร้ับแรงจูงใจจากการเรียนหรือท ากิจกรรมผ่านเว็บ 3.บทเรียนผ่านเว็บที่อยู่ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงกับแหล่งข้อมูลมากมายที่ค่อนข้างเป็นปัจจุบัน (Updated) หรือเปิดโอกาสให้ ข้อจ ากัดของบทเรียนผ่านเว็บ

แม้ว่าบทเรียนผ่านเว็บจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยอ านวยความสะดวกในเรื่องการเรียนการสอน แต่ในขณะเดียวกันยังมีข้อจ ากัดหากขาดความพร้อมเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ในด้าน เทคโนโลยีดังนี้ 1.ผู้สอนและผู้เรียนจะต้องคุ้นเคยกับเทคโนโลยี โดยเฉพาะการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เนื่องจากการเข้าร่วมกิจกรรมบทเรียนผ่านเว็บต้องกระท าผ่านเครื่องมือเหล่านี้ 2.บทเรียนผ่านเว็บต้องพ่ึงพาเทคโนโลยี หากมีปัญหาทางเทคนิคจะท าให้การเรียนการสอนชะงักได้ ต่างจากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน ซึ่งสามารถด าเนินไปได้โดยไม่ขึ้นกับเทคโนโลยี 3.ผู้เรียนและผู้สอนต้องเข้าใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ที่เป็นสื่อกลางในบทเรียนผ่านเว็บได้ทุกเวลา หากมีข้อจ ากัดที่จ านวน

Page 46: หนังงสือเล่มเล็ก

46

เครื่องที่ใช้ หรือต้องคอยเวลาไม่สามารถเข้าใช้ได้อย่างสะดวก จะเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนได้ 4.ผู้สอนต้องใช้เวลามากขึ้นในกระบวนการเรียนการสอน เนื่องจากผู้เรียนทุกคนสามารถสอบถามได้ตลอดเวลา ไม่จ ากัดเพียงเวลาในชั้นเรียนหรือเวลาท างานของผู้สอน อีกทั้งผู้สอนจ าเป็นต้องติดตามการด าเนินไปของกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างใกล้ชิด หากต้องการทราบปัญหาของการเรียนการสอนหรือต้องการปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดีขึ้น 5. ผู้เรียนต้องใช้เวลามากขึ้น เนื่องจากรูปแบบการเรียนการสอนจะเปลี่ยนเป็นการเรียนแบบใฝ่รู้ (Active learning) การสื่อสารด้วยการเขียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จ าเป็นต้องผ่านกระบวนการคิดและการแปลงเป็นข้อความ ต้องเรียบเรียงซึ่งใช้เวลามากกว่าการพูด ขณะเดียวกันแหล่งข้อมูลและความรู้ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมีมากและมีการเชื่อมโยงต่อเนื่องกัน ท าให้การติดตามอ่านเพ่ือน ามาร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนต้องใช้เวลามาก 6.บทเรียนผ่านเว็บแบบเต็มรูปแบบ เป็นระบบที่มีการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ตอย่างเดียว ผู้เรียนและผู้สอนจะขาดการปฏิสัมพันธ์แบบเห็นหน้า (Face to faceinteraction) ซึ่งอาจจะเพ่ิมความคลาดเคลื่อนในการสื่อสาร ขาดความรู้สึกจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลไป 7. หากผู้สอนและผู้เรียนยังไม่คุ้นเคยกับการสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอน

Page 47: หนังงสือเล่มเล็ก

47

8. บทเรียนผ่านเว็บอาจมีผลข้างเคียงต่อผู้เรียนในการรบกวนการท ากิจกรรมการเรียนการสอนได้ เช่น การเข้าสู่ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เว็บอื่นจะเป็นสิ่งเร้า ดึงให้ผู้เรียนหลงไปนอกบทเรียน เป็นต้น ประโยชน์ของบทเรียนผ่านเว็บ ประโยชน์ของบทเรียนผ่านเว็บในการเรียนการสอนมีดังนี้ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง.2544: 88-89; สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2544: 95; ธวัชชัย อดิเทพสถิต. 2545: 18) 1.แก้ปัญหาเกี่ยวกับข้อจ ากัดด้านเวลาและสถานที่ศึกษาของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล หรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชั้นเรียนได้เรียนในเวลาและสถานที่ๆต้องการ ซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ท างานหรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียนสามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งการที่ผู้เรียนไม่จ าเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่ก าหนดไว้ จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษา เช่น ผู้เรียนที่ศึกษาอยู่ในส่วนภูมิภาคสามารถที่จะศึกษา อภิปรายกับอาจารย์ ครูผู้สอนซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในเขตนครหลวงได้ เป็นต้น 3.ส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเป็นแหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา และยังเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้เรียน

Page 48: หนังงสือเล่มเล็ก

48

ที่มีความใฝ่รู้ รวมทั้งมีทักษะในการตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Metacognitive skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งสารนิเทศต่างๆ ได้สะดวกและมีประสิทธิภาพ และสนับสนุนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปัญหาที่พบในความเป็นจริง โดยเน้นใ ห้ เ กิ ด ก า ร เ รี ย น รู้ ต า ม บ ริ บ ท ใ น โ ล ก แ ห่ ง ค ว า ม เ ป็ นจริง’(Contextualization)และการเรียนรู้จากปัญหา (Problem-based learning) 5.เป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เนื่องจากเว็บได้กลายเป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม่ และครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม่จ ากัดภาษา และยังช่วยแก้ปัญหาเรื่องข้อจ ากัดของแหล่งสารสนเทศแบบเดิมจากห้องสมุดอันได้แก ่ปัญหาทรัพยากร-สารสนเทศที่มีอยู่อย่างจ ากัด และเวลาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บมีข้อมูลที่หลากหลายและเป็นจ านวนมาก รวมทั้งการที่เว็บใช้การเชื่อมโยงในลักษณะของสื่อหลายมิติ (Hypermedia)ซึ่งท าให้การค้นหาท าได้สะดวกและง่ายกว่าการค้นหาข้อมูลแบบเดิม 6.ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น ทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของเว็บที่เอ้ืออ านวยให้เกิดการศึกษาในลักษณะที่ผู้เรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อยู่ตลอดเวลาโดยไม่จ าเป็นต้องเปิดเผยตัวเอง 7. เอ้ือให้เกิดการมีปฏิสัมพันธ์ ซึ่งการมีปฏิสัมพันธ์ท าได้ 2 รูปแบบ คือ การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกัน และ/หรือกับผู้สอน และการมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอน ซึ่ง

Page 49: หนังงสือเล่มเล็ก

49

ลักษณะแรกจะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุย พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน ส่วนในลักษณะหลังจะอยู่ในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบที่ผู้สอนได้จัดหาไว้ให้แก่ผู้เรียน 8. เปิดโอกาสส าหรับผู้เรียนในการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ทั้งในและนอกสถาบัน จากในประเทศและต่างประเทศ โดยผู้เรียนสามารถติดต่อสอบถามปัญหาต่างๆ จากผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งไม่สามารถท าได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ยังประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เมื่อเปรียบเทียบกับการติดต่อสื่อสารในลักษณะเดิมอีกด้วย 9.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตนสู่คน อ่ืนๆดังนั้นจึงถือว่าเป็นเป็นการสร้างแรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย่างหนึ่งส าหรับผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพ่ือไม่ให้เสียชื่อเสียงตนเอง นอกจากนี้ผู้เรียนยังมีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อื่นเพ่ือน ามาพัฒนางานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น 10. เปิดโอกาสให้ผู้สอนปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรให้ทันสมัย ได้อย่างสะดวกสบายเนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัต (Dynamic) ดังนั้นผู้สอนจึงสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตรให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้สื่อสารและแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ท าให้เนื้อหาการเรียนการสอนมีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม และเปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของผู้เรียนเป็นส าคัญ 11.ส า ม า ร ถ น า เ นื้ อ ห า ใ น รู ป ข อ ง สื่ อ ห ล า ย มิ ติ (Multimedia) ได้แก่ ข้อความกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว เสียง วดี

Page 50: หนังงสือเล่มเล็ก

50

ทัศน์ ภาพสามมิติ เป็นต้น โดยผู้สอนและผู้เรียนสามารถเลือกรูปแบบของการน าเสนอเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน 4. ความหมายของเว็บไซต์ ความรู้เกี่ยวกับเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ ค าว่า “เว็บไซต์ (Web site)” มีผู้ให้ความหมาย ดังนี้ เอเบอร์โซล (Ebersole. 2000 : Online) กล่าวว่า เว็บไซต์ หมายถึง สื่อประสมการเชื่อมต่อและน าเสนอข้อมูลข่าวสาร และแหล่งความบันเทิงต่างๆ ไปยังกลุ่มผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยปัจจัยหนึ่งที่ท าให้เว็บไซต์เติบโตอย่างรวดเร็ว ก็คือ ความง่ายในการใช้งานและการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ซึ่งคนที่ดูแลเนื้อหาของเว็บเองก็คอยจะน าเสนอบริการใหม่ ๆ เพ่ิมขึ้นด้วย ในความเป็นจริงแล้วองค์ประกอบที่สลับซับซ้อนของเว็บไซต์อยู่ที่ความเป็นพลวัต และความสามารถในการรวมตัวกับคุณสมบัติของสื่ออ่ืน หรือเปลี่ยนแปลงไปเป็นสิ่งอ่ืน ๆได้โดยในแต่ละเดือนที่ผ่านไปได้น ามาซึ่งเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพ่ือการพัฒนาและขยายขอบข่ายของเว็บไซต์ และประสบการณ์ที่ผู้รับสารจะได้รับผ่านเว็บไซต์ และในปัจจุบันได้มีการน าเว็บไซต์มาใช้เพ่ือการศึกษาของโรงเรียนต่าง ๆ เพ่ิมมากขึ้นอีกที กิดานันท์ มลิทอง (2542 : 7) ได้ให้ความหมายค าว่า “เว็บไซต์” ไว้ว่าคือแหล่งที่รวบรวมหน้าเว็บจ านวนมากมายหลายหน้าในเรื่องเดียวกันมารวมอยู่ด้วยกัน แต่สิ่งหนึ่งในการเสนอเรื่องราวที่อยู่บนเว็บไซต์ที่แตกต่างไปจากโปรแกรมโทรทัศน์ เนื้อหานิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์คือ การท างานบนเว็บไม่มีสิ้นสุดลง

Page 51: หนังงสือเล่มเล็ก

51

พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร,ประชา พฤกษ์ประเสริฐ์ และปิยะ นากบังก์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ (Web site) เป็นที่เก็บเว็บเพจ เมื่อใดที่เราต้องการเปิดดูเว็บเพจ เราต้องใช้บราวเซอร์ดึง ข้อมูล โดยบราวเซอร์จะท าการติดต่อกับเว็บไซต์นั้นเพ่ือให้มีการโอนย้ายข้อมูลมาแสดงที่เครื่องของเรา ดังตัวอย่างการโอนย้ายเว็บเพจจากเว็บไซต์ ABCNEWS มาแสดงที่เครื่องของเรา (เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการเผยแพร่เว็บไซต์ เรียกว่า เว็บเซิฟเวอร์ : Web server) วันชัย แซ่เตีย และสิทธิชัย ประสานวงศ์ (2542 : 5) กล่าวว่า เว็บไซต์ เป็นเครื่องที่ใช้ในการจัดเก็บเว็บเพจแต่ละองค์กรที่จะน าเสนอข้อมูลของตนในรูปของเว็บมักจะมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง และมักใช้ชื่อองค์กรเป็นชื่อเว็บไซต์เพ่ือให้ผู้ที่สนใจสามารถจดจ าได้ง่าย สรุปได้ว่าเว็บไซต์ คือ แหล่งรวมโฮมเพจ เว็บเพจทั้งหมดขององค์กร และน าเสนอผ่านอินเทอร์เน็ตผ่าน httpโดยผู้ใช้สามารถเปิดดูด้วย Browser เช่น IE หรือ Netscape เป็นต้น ข้อมูลในเว็บไซต์สามารถเป็นได้ทั้งตัวอักษร ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหวได้

Page 52: หนังงสือเล่มเล็ก

52

5. การออกแบบและขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์อย่างมีหลักการ ด าเนินการตามขั้นตอนที่ชัดเจน จะท าให้ผู้สร้าง เว็บไซต์สามารถใส่ใจรายละเอียดที่จ าเป็นในแต่ละขั้นตอนของการออกแบบ ซึ่งจะช่วยป้องกัน ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และลดความเสี่ยงที่จะท าให้เว็บประสบความล้มเหลว ให้ผู้สร้างได้เว็บไซต์ ที่ตรงกับเป้าหมายตามต้องการ มีประโยชน์ และให้ความสะดวกแก่ผู้ที่เข้ามาใช้บริการ การสร้าง เว็บไซต์ที่ดีนั้นต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสมหลักการออกแบบมีดังนี้ (1) ก าหนดเป้าหมายและวางแผน การพัฒนาเว็บไซต์ควรก าหนดเป้าหมายและวางแผน ไว้ล่วงหน้า เพ่ือให้การท างานในขั้นต่อไปมีแนวทางที่ ชัดเจน เรื่องหลักๆที่ควรท าในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย (1.1) ก าหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพ่ือให้ผู้ใช้เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้ต้องการ น าเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไร (1.2) ก าหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย เพ่ือจะได้รู้ว่าผู้ใช้หลักคือใคร และออกแบบเว็บไซต์ ให้ตอบสนองความต้องการผู้ใช้กลุ่มนั้นให้มากที่สุด (1.3) เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระส าคัญที่แท้จริงของเว็บไซต์ ต้องรู้ว่าข้อมูลที่จ าเป็นต้องใช้มาจากแหล่งใดบ้าง เช่น ถ้าเป็นเว็บข่าวสาร ข่าวนั้นจะมาจากแหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่ เป็นต้น

Page 53: หนังงสือเล่มเล็ก

53

(1.4) เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลายด้าน เช่น ในการเตรียมเนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรม และการดูแลเครื่องบริการ เป็นต้น ซึ่งถ้าเป็น เว็บไซต์ขนาดใหญ่อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจ านวนมาก แต่ส าหรับเว็บไซต์เล็กๆ ที่สามารถดูแล ได้โดยบุคลากรเพียงคนเดียวก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆ เพ่ือเตรียมพร้อม (1.5) เตรียมทรัพยากรต่างๆ ที่จ าเป็น เช่น โปรแกรมส า ห รั บ ส ร้ า ง เ ว็ บ ไ ซ ต์ โ ป ร แ ก ร ม ส า ห รั บ ส ร้ า ง ก ร า ฟิ ก ภาพเคลื่อนไหวและสื่อประสม โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities) อ่ืน ๆ ที่จะต้องใช้ เป็นต้น

(2) วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล เป็นการน าข้อมูลต่างๆ ที่รวบรวมได้จากขั้นแรก น ามาประเมิน วิเคราะห์และจัดระบบ เพ่ือให้ได้โครงสร้างข้อมูลและข้อก าหนด ซึ่งจะใช้เป็นกรอบ ส าหรับการออกแบบและด าเนินการในขั้นต่อไป ผลที่ได้รับจากข้ันนี้ประกอบไปด้วย (2.1) แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ สารบัญ ล าดับการน าเสนอหรือผังงาน

(2.2) ระบบน าทาง ซึ่งผู้ใช้จะใช้ส าหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆ ของเว็บไซต์ เช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนู เป็นต้น (2.3) องค์ประกอบต่างๆ ที่จะน ามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว เสียง วดีทัศน์ สื่อประสม แบบฟอร์ม ฯลฯ อะไรบ้างที่ โปรแกรมค้นดูของผู้ ใช้ สนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริม (2.4) ข้อก าหนดเกี่ยวกับลักษณะและรูปแบบของเว็บเพจ

Page 54: หนังงสือเล่มเล็ก

54

(2.5) ข้อก าหนดของโปรแกรมภาษาสคริปต์ หรือโปรแกรมประยุกต์ส าหรับเว็บ (Web application) และฐานข้อมูลที่ใช้ในเว็บไซต์ (2.6) คุณสมบัติของเครื่องบริการเว็บ รวมถึงข้อจ ากัด และบริการเสริม ต่าง ๆ ที่มีให ้ (3) ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล เป็นขั้นตอนการออกแบบเค้าโครงและลักษณะ ด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจ เพ่ือให้ผู้ ใช้ เกิดอารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่ผู้ สร้ างต้องการ นอกจากนี้ ยั ง รวมไปถึ งการก าหนดสี สันและรูปแบบของส่วนประกอบต่างๆ ที่ไม่ใช่กราฟิก เช่น ชนิด ตัวอักษร ขนาด และสีข้อความ สีพ้ืนบริเวณท่ีว่าง เป็นต้น ในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการ น าเนื้อหาที่เลือกไว้มาปรับแก้และตรวจทานความถูกต้อง เพ่ือให้พร้อมส าหรับจะน าไปใส่เว็บเพจ แต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป (4) ลงมือสร้างและทดสอบ เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างข้ึนทีละหน้าโดยอาศัย เค้าโครงและองค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆ จะถูกน ามาใส่และจัดรูปแบบจุดเชื่อมโยงและมีระบบน าทางไปสู่หน้าเว็บต่างๆ เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่ จะน าออกเผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความถูกต้องของเนื้อหา การท างานของจุดเชื่อมโยงและระบบ น าทาง ตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมภาษาสคริปต์และฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่ เหมือนกับของกลุ่มเป้าหมาย เช่น รุ่นของโปรแกรมค้นดู ความละเอียดของ

Page 55: หนังงสือเล่มเล็ก

55

จอภาพ เพ่ือดูว่าผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายสามารถชมเว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่ (5) เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก โดยทั่วไปการน าเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บน อินเทอร์เน็ตจะท าด้วยการอัพโหลด (Upload) แฟ้มข้อมูลทั้งหมด คือ เอชทีเอ็มแอลและแฟ้มข้อมูล อ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องขึ้นไปเก็บบนเครื่องบริการที่เปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์อาจท าด้วย โปรแกรมสร้างเว็บไซต์หรืออาจใช้โปรแกรมอรรถประโยชน์ประเภทโปรแกรมถ่ายโอนข้อมูล (FTP) หรือใช้เครื่องมืออ่ืนบนเครื่องบริการเว็บ หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการทดสอบอีกครั้ง เพ่ือตรวจหาปัญหาบางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบบนคอมพิวเตอร์ของผู้สร้างเอง เช่น การเชื่อมโยง ของเว็บเพจกับเว็บไซต์อ่ืน และการท างานของโปรแกรมค้นดูกับฐานข้อมูล ซึ่งอาจท าไม่ได้ บนเครื่องของผู้สร้างเว็บ หรือบนเครื่องบริการเว็บอาจมีสภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป เว็บไซต์ที่จะ ประสบความส าเร็จ นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้างการออกแบบที่เหมาะสมแล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักในผู้ใช้กลุ่มเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีก ด้วย การส่งเสริมนี้มีกลยุทธ์ที่ท าได้หลายวิธี ซึ่งไม่จ าเป็นต้องใช้งบประมาณจ านวนมากเสมอไป โดยสามารถท าได้ตั้งแต่แบบง่ายๆ คือ การแลกเปลี่ยนที่อยู่เว็บ ประกาศบนเว็บบอร์ด (Web board) การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Email) เพ่ิมข้อมูลในโปรแกรมค้นหาหรือสารบนเว็บ (Web directory) จนถึงแบบที่ใช้งบประมาณมากข้ึน เช่น การจัดงานเปิดตัว การลงโฆษณา บนเว็บไซต์อ่ืน ในสิ่งพิมพ์ หรือในวิทยุและโทรทัศน์ เป็นต้น

Page 56: หนังงสือเล่มเล็ก

56

(6) ดูแลและปรับปรุงต่อเนื่อง เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้ว ควรดูแลโดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมตั้งแต่การตรวจสอบเครื่องบริการเว็บว่าไม่หยุดท างานบ่อย จุดเชื่อมโยงไปยัง ภายนอกยังคงใช้งานได้หรือไม่ คอยตอบอีเมล์หรือค าถามที่มีผู้ฝากไว้บนเว็บเพจ ถ้าเป็นข่าวสาร ก็ต้องปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยตลอดเวลา ถ้ามีการใช้ฐานข้อมูลก็ต้องส ารองข้อมูลอย่างสม่ําเสมอ นอกจากนี้ควรตรวจสอบสถิติของการเข้าใช้เป็นระยะๆ หลังจากที่เว็บไซต์ได้รับการเผยแพร่ไประยะ หนึ่ง ควรปรับปรุงเพ่ือให้ผู้ใช้รู้สึกว่ามีความเปลี่ยนแปลง มีความใหม่ ทันสมัย หลักการออกแบบและน าเสนอด้วยเว็บไซต์ให้น่าสนใจ และดึงดูดผู้คนให้เข้ามาชม จ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทราบถึงหลักการและวิธีการในการออกแบบและการน าเสนอเว็บไซต์ เพราะถ้าหากท าไปโดยปราศจากการออกแบบหรือการน าเสนอที่ดีแล้ว ผู้ใช้อาจจะไม่สนใจและใส่ใจ ที่จะเข้ามาใช้ ท าให้การน าเสนอในครั้งนั้นสูญเปล่าได้ ดังนั้นจึงควรเรียนรู้และเข้าใจถึงกระบวนการ ของการน าเสนอก่อน ซึ่งสามารถท าได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลและความชอบ ของผู้ พัฒนา ตลอดจนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการน าเสนอ ทั้งนี้นักวิชาการหลายท่านได้เสนอข้อแนะน าส าหรับการออกแบบเว็บไซต์ อย่างมีประสิทธิภาพไว้ดังนี้ (จิตเกษม พัฒนาศิริ.2539; ธวัชชัย ศรีสุเทพ. 2544: 16; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 184)

Page 57: หนังงสือเล่มเล็ก

57

การพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์ เป็นการก าหนดโครงสร้างหลักที่ใช้ใน

การพัฒนาเว็บไซต์ ที่ประกอบด้วยข้อความ เสียง ภาพนิ่ง ภาพวดีทัศน์ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเชื่อมโยงหรือลิงค์ไปยังแบนเนอร์(Banner) แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ด้านศิลปวัฒนธรรม กระดานสนทนา (Web board) และสมุดเยี่ยม (Guestbook)ในเครือข่ายซึ่งประกอบด้วยการเชื่อมโยงภายในเว็บเพจเดียวกัน การเชื่อมโยงกับเว็บเพจอ่ืนที่อยู่ภายในเว็บไซต์เดียวกัน การเชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์อ่ืนๆ ในส่วนของเสียง และวีดิทัศน์ใช้โปรแกรมเรียลเพล-เยอร์ในการเปิดฟังหรือชมโดยมีข้ันตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ ดังนี้ 1.การก าหนดแหล่งเก็บข้อมูล ส าหรับเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นผู้วิจัยก าหนดให้จัดเก็บไว้ที่ตัวบริการเว็บ 2.การก าหนดโฟล์เดอร์ (Folder) ส าหรับจัดเก็บข้อมูล และก าหนดประเภทแฟ้มข้อมูล (File) ที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ 3. การก าหนดรูปแบบของค าสั่งหลักที่ใช้ในการพัฒนาเว็บไซต์ ได้แก่ 3.1 อินคลูด (Includes) ใช้ในการจัดการกับเมนูหลัก เมนูย่อย และส่วนท้าย (Footer)ของทุกๆ เว็บเพจซึ่งมีข้อดีคือ ช่วยให้การบริหารจัดการเว็บไซต์ง่ายและสะดวก ลดการซ้ าซ้อนในการท างานลดความผิดพลาดในการเขียนค าสั่ง การแก้ไขสามารถท าได้ง่ายและรวดเร็ว (รุจกา สุภาพันธ์ 2543 : 71) 3.2 แผ่นแบบ (Cascading style sheets หรือ CSS) ใช้ในการก าหนดการแสดงผลของตัวอักษรให้มีรูปแบบ และขนาดเหมือนๆ กัน ซึ่งมีข้อดีคือ ผู้ดูแลเว็บไซต์สามารถควบคุมรูปแบบ

Page 58: หนังงสือเล่มเล็ก

58

ของตัวอักษรให้เป็นมาตรฐาน เดียวกันทั้งเว็บไซต์ ท าให้ไม่ต้องเสียเวลาในการดาวน์โหลดเว็บเพจนาน และสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลภายในเว็บเพจได้ตามที่ออกแบบไว้ (อติพงศ์ จุลโพธิ 2545 : 156-157) 4.โปรแกรมในการพัฒนาเว็บเพจ เป็นการสร้างเว็บเพจหน้าต่างๆ โดยการน าเนื้อหาที่ท าการศึกษาและรวบรวม มาสร้างเว็บเพจตามรูปแบบที่ก าหนดด้วยโปรแกรมแมโครมีเดีย ดรีมวีพเวอร์(Macromedia Dreamweaver) และโปรแกรมแมโครมีเดียแฟลช (Macromedia flash) 6.การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์

การออกแบบเว็บไซต์โดยไม่มีแนวทางในการวางแผนการด าเนินงาน ย่อมท าให้เว็บไซต์ประสบความส าเร็จได้ยาก ดังนั้น กระบวนการในการออกแบบเว็บไซต์หรืออาจเรียกว่า วิธีการน าเสนอเว็บไซต์นั้นจึงเป็นสิ่งส าคัญที่จะท าให้การออกแบบเว็บไซต์ส าเร็จสมดังวัตถุประสงค์ ซึ่งม ีกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้ กิดานันท์ มลิทอง (2542 : 8) ได้เสนอแนะหลักการในการเริ่มต้นที่ดีในการออกแบบเว็บไซต์ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 5 ข้อ ดังนี้ 1. การวางแผนล่วงหน้าการออกเว็บไซต์ ควรมีการสร้างเค้าโครงบนกระดาษก่อนเพ่ือช่วยให้สามารถจัดระเบียบโครงสร้างต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย และควรมีการเก็บรวบรวมวัสดุอัน ได้แก่ แฟ้มเนื้อหา แฟ้มภาพ แฟ้มเสียง หรือ

Page 59: หนังงสือเล่มเล็ก

59

ภาพถ่าย เป็นต้น โดยควรไว้ในลักษณะของแฟ้มต้นฉบับ (Source files) 2.รวบรวมจัดระเบียบหลัง จากที่ผู้ออกแบบได้รวบรวมวัสดุในลักษณะของแฟ้มแล้วควรมีการจัดเก็บรวมกันไว้ในโฟล์เดอร์ที่ชัดเจน ในกรณีที่เว็บไซต์มีขนาดใหญ่ ควรจัดระเบียบแฟ้มให้เหมาะสมโดยการสร้างโฟลเดอร์ย่อย ๆ ซึ่งอาจมีหลายระดับก็ได้ หลังจากรวบรวมจัดระเบียบแฟ้มแล้ว ควรแบ่งเว็บไซต์ออกเป็นส่วน ๆ ให้เหมาะสมรวมทั้งออกแบบตัวเลือกในแต่ละหน้าที่จ านวนไม่มากเกินไป ที่ส าคัญ คือ ไม่ควรให้เว็บไซต์มีการเชื่อมโยงที่ลึกมากเกินไป กฎก็คือ “ผู้อ่านไม่ควรคลิกผ่านไปเกินกว่า 5 หน้าจึงจะถึงเนื้อหาที่ต้องการ” 3. การน าทางการสร้างเครื่องมือ น าทางควรค านึงถึงความรวดเร็วในการเข้าถึงสารสนเทศของผู้อ่านเป็นหลัก มีค าที่เรียกใช้เครื่องมือน าทางอยู่หลายค าที่นิยมใช้ คือ แถบเครื่องมือ (Toolbar)หรือเมนู (Menu) ซึ่งสามารถออกแบบเครื่องมือน าทางไว้ในลักษณะที่ผู้ใช้สามารถไปสู่ส่วนต่าง ๆได้โดยไม่จ าเป็นต้องย้อนกลับมาที่หน้าโฮมเพจส าหรับสารบัญทุกครั้ง หลักก็คือ หากเป็นเว็บไซต์ไม่ใหญ่นักและมีเนื้อหาส่วนต่าง ๆ ไม่มากควรใช้เครื่องมือน าทางในลักษณะกราฟิก หากเป็นเว็บไซต์ค่อนข้างใหญ่มีส่วนต่าง ๆ ให้เลือกมากควรให้เครื่องมือน าทางในลักษณะที่เป็นข้อความนอกจากนี้ไม่ควรออกแบบแถบเครื่องมือให้ใหญ่เกินไปเพราะจะท าให้กินเนื้อท่ีของหน้าเว็บ และยังท าให้การโหลดช้าด้วย 4. เกณฑ์มาตรฐานเป็นสิ่งส าคัญที่ในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี เพราะจะช่วยให้ผู้ใช้เกณฑ์ที่ส าคัญ ๆ ได้แก่ การออกแบบโดย

Page 60: หนังงสือเล่มเล็ก

60

ค านึงถึงความคงตัว (Consistency)การออกแบบเส้นแนวในการแบ่งส่วนเนื้อหาที่ต่างกันออกจากกัน และควรค านึงถึงการก าหนดความกว้างยาวมาตรฐานก่อนที่จะเริ่มออกแบบ 5. ผู้อ่านหลักการข้อสุดท้ายที่ส าคัญอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การค านึงถึงผู้ใช้เว็บไซต์โดยควรมีการออกแบบให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ควรพิจารณาถึงอุปกรณ์ในการเข้าถึงเว็บไซต์ของผู้ใช้และช่องทางในการให้ผู้ใช้มีโอกาสส่งข้อมูลป้อนกลับมายังผู้ออกแบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของการสื่อสารแบบเวลาเดียวกัน (Synchronous mode) เช่น การสนทนาหรือในลักษณะของการสื่อสารต่างเวลา (Asynchronous mode) เช่น อีเมล์ หรือ เว็บบอร์ด และควรมีการส ารวจความคิดเห็นของผู้ใช้ได้ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมาก ธวัชชัย ศรีสุเทพ (2544 : 16) กล่าวว่าองค์ประกอบที่ส าคัญของแนวทางในการออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพ มีดังนี ้ 1. ความเรียบง่าย เว็บไซต์บริษัทใหญ่ ๆ มักจะออกแบบให้มีรูปแบบที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อนและใช้งานได้สะดวก ถึงแม้ว่าจะมีข้อมูลในเว็บไซต์มากมายแต่จะไม่มีกราฟิกหรือตัวอักษร ที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา ซึ่งจะสร้างความรบกวนต่อสายตา หรือสร้างความร าคาญต่อผู้เข้าชม นอกจากนั้น ยังใช้ชนิดและสีของตัวอักษรไม่มากเกินไปจนวุ่นวาย ในส่วนเนื้อหาที่ใช้ตัวอักษรสีด าบนพ้ืนหลังสีขาวตามปกติและไม่มีการเปลี่ยนแปลงสีของลิงค์ให้สับสน ดังนั้นหลักส าคัญของความเรียบง่าย คือ การสื่อสารเนื้อหาถึงผู้ชมโดยจ ากัดองค์ประกอบเสริมที่เกี่ยวกับการน าเสนอให้เหลือเฉพาะสิ่งที่จ าเป็นเท่านั้น

Page 61: หนังงสือเล่มเล็ก

61

2. ความสม่ าเสมอ นักออกแบบสามารถสร้างความสม่ าเสมอให้กับเว็บไซต์ได้ โดยใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เนื่องจากผู้ชมจะรู้สึกว่าเว็บไซต์เป็นเสมือนสถานที่จริง ถ้าลักษณะของแต่ละหน้าในเว็บไซต์เดียวกันนั้นแตกต่างกันมาก ผู้ชมจะเกิดความสับสนและไม่แน่ใจว่าก าลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่ ดังนั้น รูปแบบของหน้าสไตล์ของกราฟิกระบบเนวิเกชั่นและโทนสีที่ใช้ควรจะมีความคล้ายคลึงกันตลอดท้ังเว็บไซต์ 3. ความเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบต้องค านึงถึงลักษณะขององค์กร เนื่องจากรูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ขององค์กรนั้นได้ การใช้ชุดสีชนิดตัวอักษร รูปภาพและกราฟิกจะมีผลรูปแบบของเว็บไซต์อย่างมาก ผู้ออกแบบจึงต้องเลือกใช้องค์ประกอบเหล่านี้ 4. เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาถือเป็นสิ่งส าคัญที่สุดมในเว็บไซต์ ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ชมต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ โดยมีการปรับปรุงและเพ่ิมเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาที่ส าคัญท่ีสุด คือ เนื้อท่ีสร้างข้ึนมาเองโดยทีมงาน และต้องไม่ซ้ ากับเว็บไซต์อ่ืน 5. มีระบบเนวิเกชั้นที่ใช้งานง่าย ระบบเนวิเกชั่นเน้นองค์ประกอบที่ส าคัญมากของเว็บไซต์ จึงควรออกแบบให้ผู้ชมเข้าใจได้ง่ายและใช้งานสะดวก โดยใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับค าอธิบายที่ชัดเจน รวมทั้งมีรูปแบบและล าดับของรายการที่สม่ าเสมอ เช่น วางเอาไว้ในต าแหน่งเดียวกันของทุก ๆ หน้า เพ่ือช่วยอ านวยความสะดวกให้กับผู้ที่ส่งให้บราวเซอร์ไม่แสดงรูปกราฟิกเพ่ือความรวดเร็วในการดู

Page 62: หนังงสือเล่มเล็ก

62

6. มีลักษณะที่น่าสนใจ ความน่าสนใจในแต่ละเว็บไซต์ขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตาม หน้าตาของเว็บไซต์จะมีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ ไม่มีร่องรอยของความเสียหายเป็นจุดด่างหรือมีขอบเป็นขั้นบันไดให้เห็นการใช้ชนิดตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา และการใช้โทนสีที่เข้ากันอย่างสวยงาม เป็นต้น 7. การใช้งานอย่างไม่จ ากัด โดยไม่บังคับให้ผู้ชมเข้าชมต้องติดตั้งโปรแกรมใหม่ หรือบราวเซอร์เพิ่มจะรองรับผู้ใช้บริการจ านวนมากหรือกลุ่มเป้าหมายที่มีความหลากหลายได้ดีข้ึน 8. คุณภาพในการออกแบบ ควรให้ความส าคัญกับการออกแบบเว็บไซต์อย่างมากเช่นเดียวกับการออกแบบสื่อประเภทอ่ืน ๆ ที่ต้องออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบเว็บไซต์ที่จัดท าขึ้นอย่างลวก ๆ โดยไม่มีมาตรฐานการออกแบบและการจัดระบบข้อมูลนั้น เมื่อมีมูลเพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ จะเกิดปัญหาและไม่สามารถสร้างความน่าเชื่อถือจากผู้ชมได้ 9. ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง ระบบการท างานต่าง ๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและท าหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง เช่น หากเว็บไซต์มีฟอร์มให้ผู้ชมกรอกข้อมูลจะต้องแน่ใจว่าฟอร์มนั้นสามารถใช้งานได้จริง หรือลิงค์ต่าง ๆ ที่มีอยู่นั้นจะต้องเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีปรากฏอยู่จริงและถูกต้องด้วย ดังนั้นจึงต้องท าให้ระบบเหล่านั้นใช้

Page 63: หนังงสือเล่มเล็ก

63

7.ส่วนประกอบของเว็บไซต์ ในระยะเครือข่ ายเวิลด์ ไวด์ เว็บจะประกอบไปด้วย

ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ส าหรับให้บริการข้อมูลเรียกว่า Host server หรือ Web server หรือเรียกว่า Web siteกับเครื่องรับข้อมูลหรือWeb client หรือ Client machine ผู้ให้บริการมีทั้งที่เป็นหน่วยงานองค์กรต่าง ๆ ตลอดจนตัวบุคคลที่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลส่วนเครื่องที่ใช้เข้าไปติดต่อใช้ประโยชน์จากข้อมูลคือ เครื่องที่เป็น Web clientรังสิมา เพชรเม็ดใหญ่ (2542 : ออนไลน์) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของเวิลด์ไวด์เว็บว่าประกอบด้วย องค์ประกอบ 4 ส่วน ดังนี้ 1. ตัวบริการ WWW (WWW Server)WWW Server คือ โปรแกรมที่ท าหน้าที่ให้บริการด้านเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ดังนั้น คอมพิวเตอร์เครื่องใดที่ให้บริการได้จะต้องมีการติดตั้งโปรแกรม WWW Serverซึ่งโปรแกรม WWW Server จะใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อหรือโปรโตคอลที่เรียกว่า HTTP(Hypertext transfer protocol) 2. ตัวค้น WWW (WWW Browser)WWW Browser คือ โปรแกรมท่ีใช้ส าหรับอ่านข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์ใน WWWามารถแบ่งบราวเซอร์ (Browser) ได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 2.1 Text mode browser ซึ่งเป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้นดูข้อมูลใน WWW ที่มีลักษณะเป็นตัวอักษรเท่านั้น ตัวอย่างของบราวเซอร์ประเภทนี้ ได้แก่ โปรแกรม Lynx ซึ่งสามารถท างานได้ทั้งในระบบดอส (DOS) และยูนิกส ์(UNIX)

Page 64: หนังงสือเล่มเล็ก

64

2.2 Graphics mode browser เป็นบราวเซอร์ซึ่งสามารถค้นดูข้อความและข้อมูลที่เป็นภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รวมทั้งข้อมูลเสียงได้ ถ้าติดตั้งอุปกรณ์เสริมซึ่งเป็นลักษณะของสื่อประสม (Hypermedia) โปรแกรมที่ได้รับความนิยมมากที่สุดขณะนี้ คือ โปรแกรม Netscape โปรแกรม Mosaic หรือโปรแกรม Internet Explorer เป็นต้น 3. HTLM (Hypertext markup language) เนื่องจาก WWW ก าหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปแบบเอกสารที่สามารถเชื่อมโยงถึงกันในแบบไฮเปอร์เท็กซ์ ดังนั้นข้อมูลหรือเอกสารจะต้องเขียนให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐานเดียวกันที่เรียกว่า HTLM เพ่ือเชื่อมโยงข้อความ รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวเข้าด้วยกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. URL (Uniform resource locator) URL เป็นมาตรฐานของการระบุต าแหน่งของข้อมูล (หรือไฟล์) ในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต มีรูปแบบ ดังนี้ชื่อโปรโตคอล://ชื่อเครื่อง/ชื่อไดชื่อเครื่องหรือชื่อโดเมน มีรายละเอียดที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้สามารถคาดเดา URL โดยให้การแปลชื่อโดเมนจากขวาไปซ้าย Edu. หมายถึง สถาบันการศึกษา Com. หมายถึง องค์กรที่ท าธุรกิจการค้า Org .หมายถึง องค์กรที่ไม่ค้าก าไร Gov. หมายถึง องค์การทางด้านรัฐบาล

Page 65: หนังงสือเล่มเล็ก

65

8. กระบวนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศแบบ SDLC

การพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นการสร้างระบบงานใหม่หรือปรับเปลี่ยนระบบงานเดิมที่มีอยู่แล้วให้สามารถท างานเพ่ือแก้ปัญหาการด าเนินงานทางธุรกิจได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน โดยอาจน าคอมพิวเตอร์มาช่วยในการน าข้อมูลเข้าสู่ระบบเพ่ือประมวลผล เรียบเรียงและจัดเก็บท าให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ซึ่งการที่จะท าให้ระบบที่ต้องการพัฒนามีความเป็นไปได้สูงสุดที่จะท าได้ส าเร็จและใช้งานได้นานที่สุดนั้น จะต้องด าเนินการตามวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle : SDLC) มีขั้นตอนโดยสังเขปดังนี้ (กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และ พนิดา พานิชกุล, 2546) 1.ก า ร ค้ น ห า แ ล ะ เ ลื อ ก ส ร ร โ ค ร ง ก า ร (Project Identification and Selection) เนื่องจากบุคลากรในองค์กร อาจต้องการพัฒนาระบบภายในองค์กรขึ้นมาหลากหลายโครงการที่ล้วนแต่เป็นการพัฒนาประสิทธิภาพในการด าเนินงานขององค์กร แต่การด าเนินการพัฒนาระบบในทุก ๆ โครงการพร้อมกันอาจเป็นไปไม่ได้เนื่องจากมีข้อจ ากัดเรื่องของต้นทุนที่ใช้ในการพัฒนา การพัฒนาระบบงานสารสนเทศในขั้นตอนแรกของวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) เป็นต้นขั้นตอนที่อธิบายถึงการค้นหาโครงการของระบบงานที่ต้องการพัฒนา และพิจารณาเลือกโครงการที่จะท าให้องค์กรได้รับผลตอบแทนมากที่สุด 2. การเริ่มต้นและวางแผนโครงการ (Project Initiating and planning) เมื่อพิจารณาเลือกโครงการพัฒนาระบบได้แล้ว

Page 66: หนังงสือเล่มเล็ก

66

ขั้นตอนนี้จะรวบรวมข้อมูลเพ่ิมเติมเพ่ือเริ่มต้นจัดท าโครการที่ได้รับอนุมัติโดยเริ่มจากการจัดตั้งทีมงาน เพ่ือเตรียมการด าเนินงาน จากนั้นทีมงานดังกล่าวร่วมกันค้นหา สร้างแนวทาง และเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในการน าระบบใหม่มาใช้งาน เมื่อได้ทางเลือกที่ดีและเหมาะสมที่ดีและเหมาะสมที่สุดแล้ว ทีมงานจึงเริ่มวางแผนด าเนินงานโครงการ โดยศึกษาความเป็นไปได้ ก าหนดระยะเวลาด าเนินงานแต่ละขั้นตอนและกิจกรรม เพ่ือน าเสนอต่อผู้บริหารพิจารณาอนุมัติให้ด าเนินการในขั้นตอนต่อไป 3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ศึกษาขั้นตอนการด าเนินของระบบเดิมเพ่ือหาปัญหาที่เกิดขึ้น รวบรวมความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบแล้วน าความต้องการเหล่านั้นมาศึกษาและวิเคราะห์เพ่ือแก้ปัญหาดังกล่าว ด้วยการใช้แบบจ าลองต่าง ๆ ช่วยในการวิเคราะห์ 4. การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) เป็นขั้นตอนในการออกแบบลักษณะการท างานของระบบ โดยการออกแบบในเชิงตรรกะนี้ยังไม่ได้มีการระบุถึงคุณลักษณะของอุปกรณ์ที่จะน ามาใช้ เพียงแต่ก าหนดถึงลักษณะของรูปแบบรายงานที่เกิดจากการท างานของระบบ ลักษณะของการน าข้อมูลเข้าสู่ระบบและผลลัพธ์ที่ได้จากระบบ 5. ขั้นตอนการออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) เป็นขั้นตอนท่ีระบุถึงลักษณะการท างานของระบบทางกายภาพหรือทางเทคนิค โดยระบุถึงคุณลักษณะของอุปกรณ์ที่จะน ามาใช้ เทคโนโลยี โปรแกรมภาษาที่จะน ามาเขียนโปรแกรม ฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการ และระบบเครือข่ายที่เหมาะสมกับระบบ สิ่งที่ได้

Page 67: หนังงสือเล่มเล็ก

67

จากขั้นตอนการออกแบบทางกายภาพนี้จะเป็นข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ (System design Specification) เพ่ือส่งมอบให้กับโปรแกรมเมอร์เพ่ือใช้เขียนโปรแกรมตามลักษณะการท างานของระบบที่ได้ออกแบบและก าหนดไว้ 6. การพัฒนาและติดตั้ งระบบ (System Implementation) เป็นขั้นตอนในการน าข้อมูลเฉพาะของการแบบมาท าการเขียนโปรแกรมเพ่ือให้เป็นไปตามคุณลักษณะและรูปแบบต่าง ๆ ที่ได้ก าหนดแล้ว หลังจากเขียนโปรแกรมเรียบร้อยแล้ว นักวิเคราะห์จะต้องท าการทดสอบโปรแกรม ตรวจสอบหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาและสุดท้ายคือการติดตั้งระบบไม่ว่าจะเป็นระบบใหม่หรือเป็นการพัฒนาระบบเดิมที่มีอยู่แล้วโดยท าการติดตั้งตัวโปรแกรม ติดตั้งอุปกรณ์ พร้อมทั้งจัดท าคู่มือและจัดเตรียมหลักสูตรอบรมให้แก่ผู้ใช้งานที่เก่ียวข้อง 7. ขั้นตอนการซ่อมบ ารุงระบบ (System Maintenance) เป็นขั้นตอนสุดท้ายของวงจรพัฒนาระบบ (SDLC) หลังจากระบบใหม่ได้เริ่มด าเนินการ ผู้ใช้ระบบอาจจะพบกับปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากความไม่คุ้นเคยกับระบบใหม่ และค้นพบวิธีการแก้ไขปัญหานั้นเพ่ือให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้เอง ดังนั้นนักวิ เ คราะห์ ระบบและโปรแกรม เมอร์ จะต้ องคอยแก้ ไปเปลี่ยนแปลงระบบที่ท าการพัฒนาขึ้นจนกว่าจะเป็นที่พอใจของผู้ใช้ระบบมากที่สุด ปัญหาที่ผู้ใช้ระบบค้นหาพบระหว่างการด าเนินงานนั้นเป็นผลดีในการท าให้ระบบใหม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากผู้ใช้ระบบเป็นผู้ที่เข้าใจในการท างานทางธุรกิจเป็นอย่างดี

Page 68: หนังงสือเล่มเล็ก

68

9. ประเภทของเว็บไซต์ เว็บไซต์ที่มีอยู่ในปัจจุบันมีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่าง

กัน โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์ แต่ละเว็บไซต์จะมีวัตถุประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน ดังนั้นการออกแบบจึงต้องค านึงถึงความสะดวกในการใช้งาน การที่จะสามารถใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้นั้นจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจถึงลักษณะของเว็บไซต์และจ าแนกแยกแยะได้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีความแตกต่างหรือเหมือนกันประการใด รวมถึงมีหน้าที่หลัก เฉพาะตัวอย่างไรบ้าง ประเภทของเว็บไซต์แบ่งตามลักษณะการใช้งานสามารถแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 3; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 184) (1) เว็บไซต์เพ่ือการประชาสัมพันธ์ เป็นเว็บไซต์ที่จัดท าโดยองค์กรต่างๆ เว็บไซต์ เหล่านี้เทียบได้กับแผ่นพับหรือจดหมายข่าว เพียงแต่เว็บไซต์อาจมีข้อมูลเพ่ิมเติมมากกว่า เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิดและภารกิจขององค์กร หรืออ่ืนๆ เป็นต้น ปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .org (2) เว็บไซต์เพ่ือธุรกิจและการตลาด เป็นเว็บไซต์ที่จัดท าโดยบริษัทธุรกิจต่างๆ โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือขายหรือโฆษณาสินค้าและบริการต่างๆ ในบางครั้งอาจมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เชื่อถือได้ และให้ใช้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย แต่ในที่สุดก็มักจะถูกขอให้ซื้อสินค้าบางอย่าง ในการใช้ข้อมูล เหล่านี้ควรวิเคราะห์ด้วยความรอบคอบก่อน เนื่องจากธุรกิจการค้าต่างๆ มักจะมีความล าเอียง ปกติ ที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .com

Page 69: หนังงสือเล่มเล็ก

69

(3) เว็บไซต์เพ่ือข่าวสาร เป็นเว็บไซต์ที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือเสนอข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และเพ่ือแลกเปลี่ยนผลการวิจัย ข้อมูลบางอย่างมีลักษณะคล้ายจุลสารที่มักพบได้ตามหน่วยงาน ต่างๆ ซึ่งมีประโยชน์ส าหรับเป็นข้อมูลพ้ืนฐาน แต่เนื้อหามักจะขาดความลุ่มลึก ปกติท่ีอยู่ของ เว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้ายด้วย .Gov. (4 ) เ ว็ บ ไซต์ ข่ า ว และ เหตุ ก า รณ์ เ ป็ น เ ว็ บ ไซต์ ที่ มีวัตถปุระสงค์หลักในการให้ข่าวสารที่เป็นปัจจุบันที่สุดในฐานะที่เป็นบริการสาธารณะ อย่างไรก็ตามเว็บไซต์เหล่านี้มักจะมีบริษัทหรือ องค์กรต่างๆ เป็นผู้ให้การสนับสนุน ดังนั้นจึงมักพบโฆษณาปรากฏบนเว็บไซต์ ผู้ใช้พึงระมัดระวัง ในเรื่องของความล าเอียงที่อาจปรากฏในข่าวที่น าเสนอด้วย ปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้าย ด้วย .com (5) เว็บไซต์ส่วนบุคคล เป็นเว็บไซต์ของบุคคลเพ่ือเสนอแนวคิดหรือเพ่ือประชาสัมพันธ์ ตัวเองในด้านต่างๆ ส่วนใหญ่มักเป็นงานที่ไม่ค่อยมีสาระ ปกติที่อยู่ของเว็บไซต์เหล่านี้อาจลงท้าย ด้วย .com และมักจะมีเครื่องหมาย ปรากฏในที่อยู่ด้วย การสร้างเว็บไซต์มีความจ าเป็นอย่างมากในการก าหนดกรอบและทิศทางของเว็บไซต์ นั้นๆ ให้อยู่ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดข้างต้น เพ่ือให้การใช้งานที่จะเกิดขึ้นระหว่างเว็บไซต์ และผู้เยี่ยมชมเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

Page 70: หนังงสือเล่มเล็ก

70

10. การประเมินเว็บไซต์ เนื่องจากเว็บไซต์ได้กลายเป็นเครื่องมืออีกชนิดหนึ่งที่ใช้ส าหรับการค้นหาสารสนเทศ ปัจจุบันแนวโน้มในการค้นหาสารสนเทศบนเว็บได้เพ่ิมทวีมากขึ้น และผู้ใช้จ านวนไม่น้อยที่เริ่มต้น การค้นสารสนเทศจากเว็บก่อนเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นจึงค่อยค้นหาจากแหล่งสารสนเทศอ่ืน เช่น สิ่งพิมพ์ เป็นต้น ส าหรับสารสนเทศที่ปรากฏบนเว็บนั้น เนื่องจากทุกคนสามารถสร้างเว็บขึ้นเองได้ แม้บางเว็บจะสร้างขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ แต่ก็มีเว็บอีกจ านวนมาก ที่สร้าง ขึ้นโดยผู้ที่ไม่ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นแต่อย่างใด และพบว่าบ่อยครั้งที่มีการน าเสนอ สารสนเทศโดยไม่ระบุแหล่งที่มาอย่างชัดเจน นอกจากนี้สารสนเทศที่น าเสนอบนเว็บยังไม่ได้มีผู้ใด ประเมินคุณภาพหรือความถูกต้อง หรือถ้ามีก็ปรากฏในระดับที่น้อยมาก ผู้ใช้จึงมักมีข้อสงสัยในเรื่องของความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของสารสนเทศ ด้วยเหตุที่เว็บมีทั้งจุดอ่อน และจุดแข็งดังกล่าว ดังนั้นการประเมินสารสนเทศที่พบบนเว็บจึงเป็นกิจกรรมส าคัญส าหรับผู้ที่ต้องการใช้สารสนเทศ จากเว็บเพื่อการศึกษาค้นคว้าและวิจัย ในการประเมินเว็บไซต์ ควรประเมินเว็บไซต์ตามหัวข้อดังต่อไปนี้ (สมาน ลอยฟ้า. 2544: 4 ; วิเศษศักดิ์ โครตอาษา. 2542: 185) (1) จุดมุ่งหมายและกลุ่มผู้ใช้ ได้แก่ วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์นั้นคืออะไร มีความชัดเจน หรือไม่ เช่น เพ่ือข่าวสารข้อมูล เพ่ือการศึกษา เพ่ือความบันเทิง เพ่ือการชักจูงใจ เพ่ือสถาบัน เพ่ือการค้า หรือเพ่ือส่วนบุคคล เป็นต้น สารสนเทศที่น าเสนอ

Page 71: หนังงสือเล่มเล็ก

71

สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่ จุดมุ่งหมายสอดคล้องกับกลุ่มผู้ใช้หรือไม่ กลุ่มเป้าหมายของเว็บไซต์คือใคร และเอกสารนั้น น าเสนอไว้ที่ใด และสารสนเทศที่น าเสนอเป็นที่พึงพอใจกับความต้องการของผู้ใช้หรือไม่ (2) ขอบข่าย ได้แก่ (2.1) ความกว้าง เช่น ครอบคลุมเนื้อหาอะไรบ้าง จุดเน้นของการน าเสนอ สารสนเทศคืออะไร ขอบเขตของเนื้อหาเน้นเฉพาะเนื้อหาของเรื่องนั้นหรือรวมถึงเนื้อหาอ่ืนที่เกี่ยวข้องด้วย เป็นต้น (2.2) ความลุ่มลึก เช่น เนื้อหามีความลุ่มลึกเพียงใด ระดับของรายละเอียดของ เนื้อหาที่น าเสนอเป็นอย่างไร มีความสัมพันธ์กับระดับของผู้ใช้หรือไม่ เป็นต้น (2.3) ช่วงเวลา เช่น สารสนเทศที่น าเสนอได้จ ากัดช่วงเวลาไว้แน่นอนหรือไม่ เป็นต้น (2.4) รูปแบบ เช่น ถ้ามีการเชื่อมโยงไปยังแหล่งสารสนเทศอ่ืนๆ ได้ก าหนดขอบเขต การเชื่อมโยงไว้อย่างไร และมีรูปแบบใดบ้าง เป็นต้น (3) เนื้อหา องค์ประกอบส าคัญที่เก่ียวกับเนื้อหามี ดังนี้ (4) กราฟิกและการออกแบบด้านสื่อประสม เช่น มีจุดสนใจหรือไม่ การน าเสนอ มีลักษณะเป็นมืออาชีพหรือไม่ สิ่งที่น าเสนอเป็นภาพล้วนๆ หรือมีความสมดุลระหว่างข้อความ และภาพหรือไม่ สารสนเทศท่ีน าเสนอเป็นไปตามหลักการออกแบบด้านกราฟิกที่ดีเพียงใด มีองค์ประกอบด้านความคิดสร้างสรรค์หรือไม่ กราฟิกที่น าเสนอมีส่วนช่วยให้เนื้อหาดูดีขึ้นหรือท าให้ ด้อยลง

Page 72: หนังงสือเล่มเล็ก

72

หรือไม่ การมีกราฟิก ภาพ และเสียงประกอบเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการน าเสนอนั้น หรือไม่ หรือเป็นเพียงการตกแต่งเว็บให้สวยงามเท่านั้น เป็นต้น (5) ความสามารถในการท างาน ประเด็นในการพิจารณา ได้แก่ (5.1) ด้านความสะดวกในการใช้งาน เช่น สามารถใช้ได้ง่ายและใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ หน้าโฮมเพจมีการจัดแยกเนื้อหาไว้ชัดเจนหรือไม่ มีการให้ความช่วยเหลือ หรือไม่ การออกแบบหน้าจอเป็นอย่างไร มีการเชื่อมโยงที่เพียงพอหรือไม่ในการได้รับข้อมูลที่ต้องการ ผู้ใช้จะต้องคลิกผ่านการเชื่อมโยงกี่ครั้ง เป็นต้น (5.2) ด้านสภาพแวดล้อมเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่ต้องการ เช่น ต้องมีรหัสผ่านในการ เข้าถึงข้อมูลหรือไม่ เป็นต้น (5.3) ด้านการสืบค้น เช่น การสืบค้นข้อมูลมีประสิทธิภาพเพียงใด มีการจัดโปรแกรม ค้นหาที่มีประโยชน์ไว้ให้หรือไม่ มีความสามารถในการจัดเรียงสารสนเทศที่สืบค้นได้หรือไม่ เป็นต้น (5.4) ด้านความสามารถในการเรียกดูข้อมูล เช่น มีการจัดระบบเพ่ืออ านวย ความสะดวกในการค้นหาสารสนเทศหรือไม่ รูปแบบการจัดระบบเหมาะสมหรือไม่ เป็นต้น (5.5) ด้านการท างานเชิงโต้ตอบ เช่น ลักษณะของการโต้ตอบจัดไว้ที่ ไหน สามารถ ท างานได้ดีหรือไม่ ผู้ ใช้สามารถติดต่อสื่ อสารกับผู้ เขียนสารสนเทศหรือกับผู้ อ่ืนได้หรื อไม่ ปฏิสัมพันธ์มีความเหมาะสมเพียงใด และเป็นการเพ่ิมคุณค่าให้แก่เว็บไซต์หรือไม่ เป็นต้น

Page 73: หนังงสือเล่มเล็ก

73

(6) ความสามารถในการเข้าถึง เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญ เพราะหากไม่สามารถเข้าถึง เว็บไซต์นั้นได้ก็ไม่สามารถประเมินสารสนเทศบนเว็บได้ ประเด็นในการพิจารณา ได้แก่ สามารถ เข้าถึงเว็บนั้นได้หรือไม่ การเข้าถึงเว็บไซต์มีความเชื่อมั่นได้เพียงใด ความเร็วในการเข้าถึงเว็บ เป็นอย่างไร การเปลี่ยนหรือเชื่อมโยงไปยังส่วนต่างๆ ภายในเว็บกระท าได้ง่ายหรือไม่ ไม่สามารถ ไปหรือกลับมาหน้าเว็บเดิมหรือไม่ เว็บยังคงมีอยู่และสามารถเข้าถึงในครั้งต่อไปได้หรือไม่ เป็นต้น (7) การวิจารณ์เว็บโดยผู้อ่ืน กล่าวคือมีผู้วิจารณ์และพูดถึงเว็บไซต์นั้นเป็นอย่างไร (8) ค่าใช้จ่าย เป็นองค์ประกอบที่ใช้ในการประเมินน้อยกว่าองค์ประกอบอ่ืนๆ เนื่องจาก ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตได้เพ่ิมโอกาสในการให้บริการแก่ผู้ ใช้ โดยไม่ต้อง เสียค่า ใช้จ่ ายในการใช้ สารสนเทศ อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายต่างๆ ยังคงมีอยู่ เช่น การใช้สารสนเทศจากแหล่งที่ต้องเสีย ค่าบริการ ซึ่งเป็นค่าใช้ จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา หรือค่าใช้จ่ายในการ ติดต่อสื่อสารกับแหล่งสารสนเทศ เป็นต้น ดังนั้น จะเห็นได้ว่า การประเมินเว็บไซต์เป็นสิ่งจ าเป็นในการออกแบบเว็บไซต์อันจะท าให้ทราบว่าเว็บไซต์ใดเหมาะสมและเป็นประโยชน์ ผู้ใช้บริการเว็บและผู้ออกแบบเว็บ ก็จะได้ประโยชน์ด้วยกันทุกฝ่าย เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นก็จะมีคุณภาพและเป็นเว็บที่ดีบนอินเทอร์เน็ต ต่อไป

Page 74: หนังงสือเล่มเล็ก

74

11. การโปเมทเว็บไซต์ (Promote wed) ความหมายของการโปรเมทเว็บไซต์ การโปรโมทเว็บไซต์ (Promote wed) คือ การโฆษณาเผยแพร่เว็บไซต์ที่เราสร้างข้ึนให้เป็นที่รู้จักอย่างทั่วถึง โดยเฉพาะให้เป็นที่รู้จักของผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ต ถือเป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งส าหรับใช้แจ้งข่าวสาร เพ่ือเชิญชวนให้นักทองเว็บได้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของตน เครื่องมือที่ใช้ในการโปรเมทเว็บไซต์ โดยทั่วไปแล้วนักท่องเว็บมักจะท าการค้นหาข้อมูลของเว็บไซต์ผ่านทางเครื่องมือประเภทต่าง ๆ ที่สามารถน ามาใช้เป็นช่องทางในการโปรโมทเว็บไซต์และท่ีได้รับความนิยม คือ (1) การโปรโมทเว็บไซต์แบบออฟไลน์ เป็นการโฆษณาผ่านทางสื่อหนังสือพิมพ์โดยการลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ทั่ว ๆ ไปเ พ่ื อ ใ ห้ ค น รู้ จั ก แ ล ะ เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ มี ด้ ว ย กั น ห ล า ย วิ ธี (1.1) โฆษณาผ่านทางบิลบอร์ดตามแหล่งชุมชน ถนนใหญ่ๆ หรือแหล่งที่มีคนผ่านในแต่ละวันเป็นจ านวนมาก (1.2) โฆษณาผ่านสื่อรถยนต์ เช่น โฆษณาด้วยการติดแบนเนอร์หรือชื่อเว็บไซต์ข้างรถยนต์ของตัวเองหรือรถยนต์ประจ าทาง ( รถเมล์ ) (1.3) ผ่านนามบัตร โดยการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์หรือ URL ลงบนนามบัตร ซึ่งถือว่าเป็นอีกช่องทางหนึ่ง

Page 75: หนังงสือเล่มเล็ก

75

(1.4) ผ่านเสื้อที่สวมใส่ โดยการพิมพ์ชื่อเว็บไซต์ลงบนเสื้อเพ่ือให้ติดตาคนที่พบเห็น (1.5) การโฆษณาผ่านถุงกระดาษ ถุงพลาสติก หรือแพคกิ้งข้างขวดหีบห่อต่างๆ

(2) การโปรโมทเว็บไซต์โดยใช้บริการเว็บไดเรกทอรี่ (web directory) มีทั้งแบบเสียค่าใช้จ่าย และไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยหากต้องการให้ผลลัพธ์ของการค้นหาปรากฏอยู่ในล าดับต้นๆ อาจต้องเสียค่าใช้จ่ายเพ่ิมขึ้นอีก ได้แก่ yahoo.com , mickinley.com และ google.com ส่วนกรณีที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายผู้ใช้บริการจะต้องเป็นผู้จัดท าหรือก าหนดหมวดหมู่ที่ต้องการขึ้นเอง โดยผลลัพธ์ที่ได้อาจไม่ปรากฏอยู่ล าดับต้นๆ โดยมีเว็บให้บริการได้แก่ sanook.com , hunsa.com , hotbot.com เป็นต้น

Page 76: หนังงสือเล่มเล็ก

76

Page 77: หนังงสือเล่มเล็ก

77

Page 78: หนังงสือเล่มเล็ก

78

Page 79: หนังงสือเล่มเล็ก

79