1
โครงการจำนำข้าว เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการต้องมีหนังสือรับรองจากกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านการทำประชาคม และต้องมีหนังสือ รับรองตนเอง พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตรและปลัดองค์กรปกครองท้องถิ่น ปลัดเทศบาลตำบล หรือผู้ได้รับ มอบหมายลงชื่อรับรองด้วย เป็นข้าวเปลือกที่เกษตรกรเพาะปลูกเองในปี55 และเป็นลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ให้องค์การคลังสินค้า (อคส.) และองค์กรตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) รับสมัครโรงสี/ตลาดกลาง เข้าร่วมโครงการ โรงสีรับฝากข้าวเปลือก และจ่ายใบประทวนให้ เกษตรกร โรงสี สีและแปรสภาพข้าวเปลือกเป็นข้าวสาร ส่งมอบเข้าโกดังกลางตามหลักเกณฑ์ และ มติของคณะอนุกรรมการกำกับดูแลการรับ จำนำข้าว ตลาดกลางเก็บรักษา ข้าวเปลือกไว้ในโกดัง ที่ อคส. และ อ.ต.ก. กำหนดเป็นโกดังกลาง 1000 เกษตรกรนำใบประทวนไปจำนำกับธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) และ ธ.ก.ส. จะจ่ายเงินให้กับเกษตรกรใน 3 วัน ทำการ สถิติปริมาณการส่งออกข้าว (ล้านตัน) หลักการ ขั้นตอนการรับจำนำ Buffer Stock (มูลภัณฑ์กันชน) คือ กลไกรักษาเสถียรภาพของราคาสินค้าบางชนิด เช่นข้าวเปลือก ยางพารา ด้วย การแทรกแซงกลไกตลาด มีหลักการคือ -หากปริมาณสินค้าล้นตลาด ราคาสินค้าจะต่ำ กองทุน(ผู้คอยรับซื้อสินค้า) จะรับซื้อสินค้านั้นๆ ไว้ เพื่อลดปริมาณสินค้า และเพื่อให้มีราคาสูงขึ้น -หากปริมาณสินค้าขาดตลาด ราคาสินค้าจะสูง กองทุนจะระบายสินค้าในสต็อกออกมาเพื่อไม่ให้ราคาสินค้าสูงเกินไป และเพื่อให้มีสินค้าเพียงพอต่อความต้องการ ซึ่งหลักการ Buffer Stock ถูกนำมาใช้ในโครงการจำนำข้าวของรัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โดยรัฐบาลคาดการณ์ ว่า การรับจำนำข้าวเพื่อให้ข้าวทุกเมล็ดมาเก็บไว้ที่โกดังกลางจะส่งผลต่อราคาข้าวในตลาด อย่างไรก็ตามด้วยการกำหนด ราคาที่สูงกว่าราคาจำนำ รวมทั้งการระบายข้าวของรัฐสู่ตลาดเป็นไปได้ยาก ส่งผลต่อการดำเนินการโครงการไปสู่การขาดทุน และขาดเงินหมุนเวียนจ่ายแก่ชาวนา ในระยะหลังของโครงการ หัวใจสำคัญของการรับ จำนำคือ การกำหนดราคา และปริมาณข้าวที่จะ รับจำนำ ช่องทางทุจริต 2 สวมสิทธิ- มีการสวมสิทธิ์ เกษตรกรที่ไม่ได้ปลูกข้าว แต่มีชื่อเป็นเจ้าของที่นา เป็นจำนวนมาก - มีการลักลอบนำเข้าข้าวราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้าน ที่เป็นข้าว สต็อกเก่า และข้าวนอกโครงการมาสวมสิทธิ์จำนำกันอย่างมากมาย เพราะรัฐกำหนดโควตาจำนำข้าวไว้สูง แต่ชาวนาผลิตได้ไม่ถึงโควตารับ จำนำสูงสุด จึงเหลือโควตาข้าวให้ผู้อื่นมาสวมสิทธิ์ได้ ช่องทางทุจริต 3 เวียนเทียนข้าว คือการนำข้าวจากโรงสีที่เคยเข้าร่วมโครงการจำนำข้าวแห่งหนึ่ง ไปจำนำกับโรงสีอีกแห่งหนึ่ง หรือนำข้าว ที่เข้าโครงการ “จำนำข้าวนาปี” เปล่ยนกระสอบใหม่แล้วจำนำใหม่เป็น “ข้าวนาปรัง” ได้เงินสองเด้ง โดยมี เจ้าหน้าที่ของรัฐรู้เห็นเป็นใจ เวลาเจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบก็ใช้วิธีจะหลอกตา หรือ วิธีล้อมกอง โดยเอาข้าว คุณภาพดีส่วนที่เหลือไว้ข้างนอก และข้าวเสิ่อมสภาพ ที่ถูกเวียนมาแล้วหลายครั้งไว้ตรงกลาง ช่องทางทุจริต 4 การโกงคุณภาพข้าวโดยเซอร์เวเยอร์ “เซอร์เวเยอร์” เป็น ผู้ตรวจสอบคุณภาพข้าว จะโกงค่าหัวคิว ก่อนนำ ข้าวเข้าโกดัง และเปิดทางให้โรงสีนำข้าวคุณภาพต่ำมา “สวมรอย” เข้า โครงการ และนำข้าวในปริมาณที่น้อยกว่าที่ระบุไว้ในบัญชีเข้ามาในคลัง เก็บ แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยนั้นมีปริมาณการส่ง ออกที่ลดลง จนประเทศอินเดียแซงหน้าไปแล้ว การที่ประเทศไทยสูญเสียตำแหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับหนึ่งของโลกให้แก่อินเดียและเวียดนามไป ส่วนหนึ่งมาจากราคาข้าวไทยที่สูงขึ้น เพราะการกักตุนข้าวไว้ขายในโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาล วอลล์ สตรีท เจอร์นัล (Wall Street Journal) วิเคราะห์ว่าการกำหนดราคารับจำนำข้าวไว้สูงกว่าราคาตลาดเป็นไปเพื่อดันราคาข้าวให้ สูงขึ้น โดยอาศัยความเป็นผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่ในตลาดโลก ซึ่งรัฐบาลคาดว่าเมื่อข้าวไทยถูกนำไปกักตุนไว้ ทำให้ปริมาณข้าวไทยขาดตลาด ผู้บริโภคและประเทศที่นำเข้าข้าวไทยก็ต้องซื้อข้าวในราคาที่รัฐบาลกำหนด เป็นการบังคับทิศทางตลาดให้เป็นไปตามที่ต้องการ เหมือนในปี 2008 ที่อินเดียและเวียดนามลดการส่งออกข้าว แตในปีนั้น ปัจจัยอื่นที่ทำให้ราคาข้าวสูงขึ้นมาจากเหตุภัยพิบัติในเฮติและฟิลิปปินส์ที่ทำให้ เกิดภาวะขาดแคลนอาหารด้วย ดังนั้น การที่ราคาข้าวสูงขึ้นในปีนั้นไม่ได้เกิดจากอินเดียและเวียดนามแต่เพียงอย่างเดียว จึงเป็นการ คาดการณ์ที่ผิดพลาดของรัฐบาล บาท/ตัน ลดลง 2.การส่งออกข้าวไทยลดลง อีกปัจจัยความล้มเหลวของโครงการรับจำนำข้าว คือการที่รัฐบาลออกโครงการผิดจังหวะ กับสถานการณ์โลก เนื่องจากตรงกับช่วงที่อินเดียหันกลับมาส่งออกข้าวพอดี ประกอบกับทีฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศผู้นำเข้าข้าวรายสำคัญหันมาผลิตข้าวบริโภคเอง ทำให้ราคาข้าวใน ตลาดโลกลดลง ช่องทางทุจริต 5 การระบายข้าว รัฐบาลอ้างว่าข้าวสารในสต็อกที่รับจำนำกว่า 12 ล้านตัน จะถูกขายเเบบรัฐ ต่อรัฐ หรือ จีทูจี หลีกเลี่ยงการประมูลข้าวในราคาสูง แล้วใช้ชื่อบริษัทจีน มา ทำสัญญาซื้อ แต่ผู้ที่มารับข้าวออกจากโกดังรัฐบาล กลับเป็นตัวแทนของ บริษัท สยามอินดิก้า ซึ่งเป็นนอมินีของบริษัท เพรซิเดนท์ อะกริ เทรดดิ้ง จำกัด ที่เคยถูก ป.ป.ช.ตรวจสอบการทุจริตในโครงการจำนำข้าวสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จากนั้นก็นำข้าวไปเวียนเทียนขายในประเทศ คือเอาข้าว ที่จำนำมาเเล้วรอบหนึ่ง กลับมาจำนำใหม่ ส่งผลให้คุณภาพข้าวเสื่อมลง เเละ รัฐบาลต้องจ่ายเงินจำนำสองรอบสำหรับข้าวชุดเดิม และเมื่อตรวจสอบข้อมูล ทางการเงิน พบว่าเช็คที่จ่ายค่าข้าวไม่ได้มาจากรัฐบาลจีน ถ้ากำหนดราคาต่ำ เกินไป เกษตรจะ ไม่นำข้าวมาจำนำ ถ้ากำหนดราคาสูงเกิน ไป เกษตรกรจะนำข้าว มาจำนำกันทุกราย ถ้ากำหนดปริมาณ น้อยเกินไป ปริมาณ ข้าวในตลาดจะไม่มี การเปลี่ยนแปลง ถ้ากำหนดปริมาณมากเกิน ไป จะทำให้ข้าวขาดตลาด และมีราคาสูงเกินไป โครงการรับจำนำข้าวสองปีการเพาะปลูกแรก (2554/55 และ2555/56 ) รัฐบาลประกาศรับจำนำข้าวทุกเมล็ด ในราคา 15,000 บาท/ตัน (ข้าวขาว) และ 20,000 บาท/ตัน (ข้าวหอมมะลิ) โดยมีคณะกรรมการนโยบายข้าว กระทรวงพาณิชย์ และองค์การคลังสินค้า (อคส.) ดำเนินการรับจำนำ อย่างไรก็ตาม การดำเนินการดังกล่าว ไม่ได้เป็นไปตามหลักการรับจำนำข้าวแต่อย่างใด เนื่องจาก 1. การรับจำนำข้าวทุกเมล็ด คือ การรับจำนำข้าวทั้งหมดในตลาด อคส.จึงเป็นผู้ครอบครองข้าวทั้งหมดในตลาด โดยที่จริงแล้ว รัฐบาล ต้องประกาศรับจำนำเพียงปริมาณหนึ่งเท่านั้น เพื่อไม่ให้ชาวนานำข้าวมาจำนำทั้งหมด ไม่แทรกแซงกลไกตลาดจนเกินไป 2. การกำหนดราคาสูงกว่าราคาตลาดร้อยละ 50 จึงทำให้เกษตรกร ไม่นำข้าวไปขายในท้องตลาด แต่นำมาจำนำกับองค์การคลังสินค้า ทั้งหมด ทั้งนี้เมื่อขึ้นชื่อว่า “รับจำนำ” จึงจำเป็นต้องมีการไถ่ถอนออกไปด้วยเช่นกัน แต่พบว่าชาวนาไม่ได้ไถ่ถอนข้าวกลับไป 3. เมื่อพ้นกำหนดการไถ่ถอน ไม่มีเกษตรกรมาไถ่ถอน เพื่อนำไปขายในท้องตลาด ดังนั้น รัฐบาลจึงกลายเป็นผู้ “ซื้อ” ข้าวจากชาวนาโดยตรงทั้งหมด และเอกชนซื้อข้าวเเข่งกับรัฐได้ยากเพราะมีราคาสูงเกินไป 1.การดำเนินการของรัฐบาลในลักษณะผูกขาด ปี ไทย อินเดีย เวียดนาม 2554 10.64 4.63 7 2556 6.9 9.5 7.8 2557 8.5 10 7.5 3.ความมั่นคง ความเสียหายต่อประเทศชาติ โครงการรับจำนำข้าวทำลายแรงจูงใจและประสิทธิภาพของ กลไกตลาด เพราะเมื่อรัฐเป็นผู้ค้าข้าวเพียงรายเดียว ส่งผลให้โรงสี ขาดแรงจูงใจในการปรับปรุงประสิทธิภาพ นโยบายจำนำข้าวเป็นการอิงพืชชนิดเดียวมากเกินไป จึงเกิดปรากฏการณ์ คนล้มสวน ไปปลูกข้าว เนื่องจากมีราคาที่สูงกว่า ทำให้ปัจจุบันความมั่นคงทางอาหารของไทยกำลัง อยู่ในภาวะสั่นคลอน เนื่องจากความมั่นคงทางอาหารต้องคำนึงถึง Food Safety/ Good Quality และความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วย นอกจากนี้ โครงการจำนำ ข้าวจะส่งผลกระทบโดยต่อคุณภาพข้าวไทย ความเสี่ยงมีการทุจริตในการดำเนินการมีสูง เนื่องจากรัฐบาลจ้างเอกชนให้เป็นผู้ดำเนินการแทน ตั้งแต่ขั้น ตอนการซื้อข้าวไปจนถึงการจัดเก็บ และรัฐสามารถตรวจสอบ ได้น้อย จึงมีช่องว่างให้เกิดการทุจริตได้ทุกขั้นตอน 5.ต้นทุนและการขาดทุน 4.ทำไมรัฐบาลไม่มีเงินจ่ายชาวนา? รายการตัวเลขขาดทุน จำนวนเงิน(ล้านบาท) ขาดทุน(12 ล้านตัน x ขาดทุนเฉลี่ย 17,723 บาท/ตัน) 212,676 ขาดทุน (14 ล้านตัน x ขาดทุนเฉลี่ย 17,723 บาท/ตัน) 284,122 รวมขาดทุนทั้งหมด (ข้าว 26 ล้านตัน) 496,798 รัฐบาลได้รับจำนำข้าวเปลือก 2 ปีการผลิต (54/55 และ 55/56) ทั้งหมด 43.42 ล้านตัน ซึ่งนำไปสีเป็นข้าวสารได้ 26.75 ล้านตัน ในข้าวสารจำนวนนี้ ขายข้าวได้แล้ว 12 ล้านตัน (129,000 ล้านบาท) และ เหลือข้าวในสต๊อกอีก 14 ล้านตัน ซึ่งจาก 12 ล้านตันแรกที่ขายไป คำนวณแล้วขาดทุนทั้งหมด 212,676 ล้านบาท คำนวณได้ดังนีอ้างอิง วิธีการคำนวณจาก ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยและอดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลพล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ 2.ความมั่นคงทางอาหาร ได้แก่ ช่องทางทุจริต 1 โกงใบประทวน โดยโกงน้ำหนัก โกงสิ่งปลอมปน โกงความชื้น เมื่อชาวนานำข้าวไปเข้า โครงการจำนำกับโรงสี จะถูกกดราคาโดยอ้างปัญหาสารพัด ทั้งค่าความชื้นที่สูงกว่า 15% และสิ่งเจือปนที่สูง เพื่อ กดราคารับซื้อจาก 15000 เหลือเพียง9,000-11,000 บาทต่อตัน ซึ่งเป็นการร่วมมือกับรัฐเพื่อกินส่วนต่าง 1000 *หมายเหตุ ในกรณีที่หาก รัฐบาลขายข้าวอีก 14 ล้านตัน ได้ในราคาเดิม 1.ความมั่นคงทางการคลัง ได้แก่ โครงการรับจำนำข้าวให้ความช่วยเหลือแก่ชาวนาทุกคนโดยไม่คำนึงถึงความ จำเป็นของชาวนาแต่ละกลุ่ม และการกำหนดตัวเลขผลผลิต/ไร่ไว้สูง ทำให้ ชาวนาที่ยากจนหรือปลูกข้าวไว้กินเอง ที่มีข้าวปริมาณน้อย ตกเป็นกลุ่มชาวนาที่ไมได้ประโยชน์จากโครงการ เพราะจะถูกบีบให้ขายข้าวทั้งหมดไปและซื้อข้าวกินแทน โครงการรับจำนำข้าวใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง และมีแนวโน้มขาดทุน สูง กลายเป็นภาระทางการคลัง รวมถึงโครงการมีแรงจูงใจสูงด้วยราคารับจำนำทีสูง หากยกเลิกก็จะมีการคัดค้านจากชาวนาที่เป็นฐานเสียงจำนวนมาก ความเข้มแข็งทางเครือข่ายทางสังคมของเกษตรกรลดลง จากที่เคยพึ่งพากันกลับ กลายเป็นพึ่งพารัฐเพียงผู้เดียว ส่วนกลุ่มสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน โรงสี หรือโกดัง ที่ไม่ได้อยู่ใน โครงการก็จะถูกลดบทบาทลง หรือมีเกษตรกรมาใช้บริการน้อยลง ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมข้าวไทยลดลง เนื่องจากผู้ส่งออก หรือบริษัทถุงข้าวต้องประมูลข้าวจากรัฐบาลเท่านั้น รวมทั้งมีความเสี่ยงว่าจะได้ข้าวที่มี คุณภาพ ในราคาและปริมาณที่กลุ่มลูกค้าต้องการหรือไม่ นโยบายข้าว 1.เสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชาติ 2.เสิรมสร้างความมั่นคงทางอาหาร 3.ยกระดับรายได้เกษตรกร เนื่องจากเกษตรกรจะเน้นการปลูกเพื่อให้ได้ปริมาณ แต่ไม่คำนึงถึง คุณภาพของข้าว เพราะไม่ว่าข้าวจะมีคุณภาพสูงหรือต่ำ ข้าวก็ยังได้ ราคาเดียวกันหมดเพียงแต่ต้องดูแลความชื้นให้ไม่เกิน 15% เท่านั้น จึงส่งผลต่อเนื่องไปถึงกลุ่มเกษตรกรอินทรียที่ต้องตั้งราคาข้าวสูง ขึ้นจนแข่งขันกับต่างชาติไม่ได้ ทำให้ธุรกิจที่กำลังขยายตัวต้องหยุดลง *หมายเหตุ ต้นทุนข้าวสารเฉลี่ยตันละ 28,473 บาท ราคาที่ขายได้ตันละ 10,750 บาท ขาดทุนตันละ 17,723 บาท *หมายเหตุ ข้าวเปลือก 1.5 ตันนำไปสีเป็นข้าวสารได้ 1 ตัน รัฐบาลขายข้าว 12 ล้านตันแรกได้ในราคาเฉลี่ย 10,750 บาท/ตัน เท่ากับว่าขาดทุนเฉลี่ย 17,723 บาท/ตัน (ต้นทุนเฉลี่ย 28,473 บาท/ตัน - ราคาขาย 10,750 บาท/ตัน) และหากขายข้าวที่เหลือได้ในราคาเดิม ก็จะขาดทุน ตามนีรายการ จำนวนเงิน ใช้เงินรับจำนำ (ราคา15,000 บาท/ตัน x ข้าวเปลือก 43.42 ล้านตัน) 651,300 ล้านบาท ค่าดำเนินการ 2 ปี (สีข้าว/เช่าโกดัง ฯลฯ) 89,000 ล้านบาท รวมต้นทุน (เงินรับจำนำ + ค่าดำเนินการ 2 ปี) 704,300 ล้านบาท ต้นทุนเฉลี่ย/ตัน [(เงินรับจำนำ + ค่าดำเนินการ)/ข้าวสาร26 ล้านตัน] 28,473 บาท ต้นทุน 1. การดำเนินการของรัฐผิดพลาด ได้แก่ กำหนดราคารับจำนำไว้สูงเกินไป ชาวนาไม่สามารถไถ่ถอนข้าวได้ และพ่อค้า ไม่สามารถประมูลข้าวออกไปขายได้ 2. เกิดช่องทางการทุจริตตลอดกระบวนการรับจำนำข้าว 3. ต้นทุนการดำเนินการสูง รวมทั้งการสูญเสียงบประมาณจากการทุจริต (เช่น จ่าย 2 ครั้งเพื่อการจำนำข้าวล็อต เดิม) ทำให้การดำเนินการนำไปสู่การขาดทุน ขาดเงินหมุนเวียนเพื่อจ่ายชาวนา 4. รัฐบาลยุบสภา ขาดอำนาจเต็มในการดำเนินการ และก่อนยุบสภาก็ขาดการดำเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ (ให้ ธกส.ออกพันธบัตร และกระทรวงพาณิชย์ขายข้าวให้หมด)

นโยบายของรัฐ_จำนำข้าว

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศไทยในช่วงปี พ.ศ.2556-2557 ซึ่งมีประเด็นหลักอยู่ที่นโยบายของรัฐบาล นักเรียนชั้น ม.6 โรงเรียนรุ่งอรุณ อยากรู้ว่านโยบายรัฐต่างๆ ที่วิพากษ์วิจารณ์กันอยู่นั้น ดีหรือไม่ดีอย่างไร จึงนำไปสู่การศึกษาโครงงานเรื่องนโยบายของรัฐบาล ด้วยกระบวนการตั้งคำถาม หาข้อมูล ทำความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ แล้วนำเสนอในรูปแบบ Infographic หัวข้อที่นักเรียนเลือกศึกษา 1.กองทุนหมู่บ้าน 2.จำนำข้าว 3.ปตท. 4.การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 5.รถคันแรก 6.รถไฟความเร็วสูง 2 ล้านล้านบาท 7.การเลือกตั้ง 8.อำนาจอธิปไตยในระบอบประชาธิปไตย

Citation preview

Page 1: นโยบายของรัฐ_จำนำข้าว

โครงการจำ�นำ�ข้าว

เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการต้องมีหนังสือรับรองจากกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านการทำ ประชาคม และต้องมีหนังสือรับรองตนเอง พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตรและปลัดองค์กรปกครองท้องถิ่น ปลัดเทศบาลตำ บล หรือผู้ได้รับมอบหมายลงชื่อรับรองด้วย เป็นข้าวเปลือกที่เกษตรกรเพาะปลูกเองในปี55 และเป็นลูกค้าธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ให้องค์การคลังสินค้า (อคส.) และองค์กรตลาดเพื่อเกษตรกร (อ.ต.ก.) รับสมัครโรงสี/ตลาดกลาง เข้าร่วมโครงการ

โรงสีรับฝากข้าวเปลือกและจ่ายใบประทวนให้เกษตรกร

โรงสี สีและแปรสภาพข้าวเปลือกเป็นข้าวสาร ส่งมอบเข้าโกดังกลางตามหลักเกณฑ์ และมติของคณะอนุกรรมการกำ กับดูแลการรับจำ นำ ข้าว

ตลาดกลางเก็บรักษาข้าวเปลือกไว้ในโกดังที่ อคส. และ อ.ต.ก. กำ หนดเป็นโกดังกลาง

1000

เกษตรกรนำ ใบประทวนไปจำ นำ กับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) และ ธ.ก.ส. จะจ่ายเงินให้กับเกษตรกรใน 3 วันทำ การ สถิติปริมาณการส่งออกข้าว (ล้านตัน)

หลักการ

ขั้นตอนการรับจำ นำ

Buffer Stock (มูลภัณฑ์กันชน) คือ กลไกรักษาเสถียรภาพของราคาสินค้าบางชนิด เช่นข้าวเปลือก ยางพารา ด้วยการแทรกแซงกลไกตลาด มีหลักการคือ-หากปริมาณสินค้าล้นตลาด ราคาสินค้าจะต่ำ กองทุน(ผู้คอยรับซื้อสินค้า) จะรับซื้อสินค้านั้นๆ ไว้ เพื่อลดปริมาณสินค้า และเพื่อให้มีราคาสูงขึ้น-หากปริมาณสินค้าขาดตลาด ราคาสินค้าจะสูง กองทุนจะระบายสินค้าในสต็อกออกมาเพื่อไม่ให้ราคาสินค้าสูงเกินไป และเพื่อให้มีสินค้าเพียงพอต่อความต้องการ

ซึ่งหลักการ Buffer Stock ถูกนำ มาใช้ในโครงการจำ นำ ข้าวของรัฐบาลนายกฯ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โดยรัฐบาลคาดการณ์ว่า การรับจำ นำ ข้าวเพื่อให้ข้าวทุกเมล็ดมาเก็บไว้ที่โกดังกลางจะส่งผลต่อราคาข้าวในตลาด อย่างไรก็ตามด้วยการกำ หนดราคาที่สูงกว่าราคาจำ นำ รวมทั้งการระบายข้าวของรัฐสู่ตลาดเป็นไปได้ยาก ส่งผลต่อการดำ เนินการโครงการไปสู่การขาดทุนและขาดเงินหมุนเวียนจ่ายแก่ชาวนา ในระยะหลังของโครงการ

หัวใจสำ คัญของการรับจำ นำ คือ การกำ หนดราคา

และปริมาณข้าวที่จะรับจำ นำ

ช่องทางทุจริต 2 สวมสิทธิ์- มีการสวมสิทธิ์ เกษตรกรที่ไม่ได้ปลูกข้าว แต่มีชื่อเป็นเจ้าของที่นาเป็นจำ นวนมาก - มีการลักลอบนำ เข้าข้าวราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้าน ที่เป็นข้าวสต็อกเก่า และข้าวนอกโครงการมาสวมสิทธิ์จำ นำ กันอย่างมากมาย เพราะรัฐกำ หนดโควตาจำ นำ ข้าวไว้สูง แต่ชาวนาผลิตได้ไม่ถึงโควตารับจำ นำ สูงสุด จึงเหลือโควตาข้าวให้ผู้อื่นมาสวมสิทธิ์ได้

ช่องทางทุจริต 3 เวียนเทียนข้าวคือการนำ ข้าวจากโรงสีที่เคยเข้าร่วมโครงการจำ นำ ข้าวแห่งหนึ่ง ไปจำ นำ กับโรงสีอีกแห่งหนึ่ง หรือนำ ข้าวที่เข้าโครงการ “จำ นำ ข้าวนาปี” เปลี่ยนกระสอบใหม่แล้วจำ นำ ใหม่เป็น “ข้าวนาปรัง” ได้เงินสองเด้ง โดยมีเจ้าหน้าที่ของรัฐรู้เห็นเป็นใจ เวลาเจ้าหน้าที่ไปตรวจสอบก็ใช้วิธีจะหลอกตา หรือ วิธีล้อมกอง โดยเอาข้าวคุณภาพดีส่วนที่เหลือไว้ข้างนอก และข้าวเสิ่อมสภาพ ที่ถูกเวียนมาแล้วหลายครั้งไว้ตรงกลาง

ช่องทางทุจริต 4 การโกงคุณภาพข้าวโดยเซอร์เวเยอร์“เซอร์เวเยอร์” เป็น ผู้ตรวจสอบคุณภาพข้าว จะโกงค่าหัวคิว ก่อนนำ ข้าวเข้าโกดัง และเปิดทางให้โรงสีนำ ข้าวคุณภาพต่ำ มา “สวมรอย” เข้าโครงการ และนำ ข้าวในปริมาณที่น้อยกว่าที่ระบุไว้ในบัญชีเข้ามาในคลังเก็บ

แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยนั้นมีปริมาณการส่งออกที่ลดลง จนประเทศอินเดียแซงหน้าไปแล้ว

การที่ประเทศไทยสูญเสียตำ แหน่งผู้ส่งออกข้าวอันดับหนึ่งของโลกให้แก่อินเดียและเวียดนามไป ส่วนหนึ่งมาจากราคาข้าวไทยที่สูงขึ้น เพราะการกักตุนข้าวไว้ขายในโครงการรับจำ นำ ข้าวของรัฐบาลวอลล์ สตรีท เจอร์นัล (Wall Street Journal) วิเคราะห์ว่าการกำ หนดราคารับจำ นำ ข้าวไว้สูงกว่าราคาตลาดเป็นไปเพื่อดันราคาข้าวให้สูงขึ้น โดยอาศัยความเป็นผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่ในตลาดโลก ซึ่งรัฐบาลคาดว่าเมื่อข้าวไทยถูกนำ ไปกักตุนไว้ ทำ ให้ปริมาณข้าวไทยขาดตลาด ผู้บริโภคและประเทศที่นำ เข้าข้าวไทยก็ต้องซื้อข้าวในราคาที่รัฐบาลกำ หนด เป็นการบังคับทิศทางตลาดให้เป็นไปตามที่ต้องการ เหมือนในปี 2008 ที่อินเดียและเวียดนามลดการส่งออกข้าว แตในปีนั้น ปัจจัยอื่นที่ทำ ให้ราคาข้าวสูงขึ้นมาจากเหตุภัยพิบัติในเฮติและฟิลิปปินส์ที่ทำ ให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารด้วย ดังนั้น การที่ราคาข้าวสูงขึ้นในปีนั้นไม่ได้เกิดจากอินเดียและเวียดนามแต่เพียงอย่างเดียว จึงเป็นการคาดการณ์ที่ผิดพลาดของรัฐบาล

บาท/ตัน ลดลง

2.การส่งออกข้าวไทยลดลง

อีกปัจจัยความล้มเหลวของโครงการรับจำ นำ ข้าว คือการที่รัฐบาลออกโครงการผิดจังหวะกับสถานการณ์โลก เนื่องจากตรงกับช่วงที่อินเดียหันกลับมาส่งออกข้าวพอดี ประกอบกับที่ฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในประเทศผู้นำ เข้าข้าวรายสำ คัญหันมาผลิตข้าวบริโภคเอง ทำ ให้ราคาข้าวในตลาดโลกลดลง

ช่องทางทุจริต 5 การระบายข้าวรัฐบาลอ้างว่าข้าวสารในสต็อกที่รับจำ นำ กว่า 12 ล้านตัน จะถูกขายเเบบรัฐต่อรัฐ หรือ จีทูจี หลีกเลี่ยงการประมูลข้าวในราคาสูง แล้วใช้ชื่อบริษัทจีน มาทำ สัญญาซื้อ แต่ผู้ที่มารับข้าวออกจากโกดังรัฐบาล กลับเป็นตัวแทนของบริษัท สยามอินดิก้า ซึ่งเป็นนอมินีของบริษัท เพรซิเดนท์ อะกริ เทรดดิ้ง จำ กัด ที่เคยถูก ป.ป.ช.ตรวจสอบการทุจริตในโครงการจำ นำ ข้าวสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จากนั้นก็นำ ข้าวไปเวียนเทียนขายในประเทศ คือเอาข้าวที่จำ นำ มาเเล้วรอบหนึ่ง กลับมาจำ นำ ใหม่ ส่งผลให้คุณภาพข้าวเสื่อมลง เเละ รัฐบาลต้องจ่ายเงินจำ นำ สองรอบสำ หรับข้าวชุดเดิม และเมื่อตรวจสอบข้อมูลทางการเงิน พบว่าเช็คที่จ่ายค่าข้าวไม่ได้มาจากรัฐบาลจีน

ถ้ากำ หนดราคาต่ำ เกินไป เกษตรจะไม่นำ ข้าวมาจำ นำ

ถ้ากำ หนดราคาสูงเกินไป เกษตรกรจะนำ ข้าวมาจำ นำ กันทุกราย

ถ้ากำ หนดปริมาณน้อยเกินไป ปริมาณข้าวในตลาดจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง

ถ้ากำ หนดปริมาณมากเกินไป จะทำ ให้ข้าวขาดตลาด

และมีราคาสูงเกินไป

โครงการรับจำ นำ ข้าวสองปีการเพาะปลูกแรก (2554/55 และ2555/56 ) รัฐบาลประกาศรับจำ นำ ข้าวทุกเมล็ด ในราคา 15,000 บาท/ตัน (ข้าวขาว) และ 20,000 บาท/ตัน (ข้าวหอมมะลิ) โดยมีคณะกรรมการนโยบายข้าว กระทรวงพาณิชย์ และองค์การคลังสินค้า (อคส.) ดำ เนินการรับจำ นำ อย่างไรก็ตาม การดำ เนินการดังกล่าว ไม่ได้เป็นไปตามหลักการรับจำ นำ ข้าวแต่อย่างใด เนื่องจาก1. การรับจำ นำ ข้าวทุกเมล็ด คือ การรับจำ นำ ข้าวทั้งหมดในตลาด อคส.จึงเป็นผู้ครอบครองข้าวทั้งหมดในตลาด โดยที่จริงแล้ว รัฐบาลต้องประกาศรับจำ นำ เพียงปริมาณหนึ่งเท่านั้น เพื่อไม่ให้ชาวนานำ ข้าวมาจำ นำ ทั้งหมด ไม่แทรกแซงกลไกตลาดจนเกินไป2. การกำ หนดราคาสูงกว่าราคาตลาดร้อยละ 50 จึงทำ ให้เกษตรกร ไม่นำ ข้าวไปขายในท้องตลาด แต่นำ มาจำ นำ กับองค์การคลังสินค้าทั้งหมด ทั้งนี้เมื่อขึ้นชื่อว่า “รับจำ นำ ” จึงจำ เป็นต้องมีการไถ่ถอนออกไปด้วยเช่นกัน แต่พบว่าชาวนาไม่ได้ไถ่ถอนข้าวกลับไป3. เมื่อพ้นกำ หนดการไถ่ถอน ไม่มีเกษตรกรมาไถ่ถอน เพื่อนำ ไปขายในท้องตลาด ดังนั้น รัฐบาลจึงกลายเป็นผู้ “ซื้อ” ข้าวจากชาวนาโดยตรงทั้งหมด และเอกชนซื้อข้าวเเข่งกับรัฐได้ยากเพราะมีราคาสูงเกินไป

1.การดำ เนินการของรัฐบาลในลักษณะผูกขาด

ปี ไทย อินเดีย เวียดนาม2554 10.64 4.63 72556 6.9 9.5 7.82557 8.5 10 7.5

3.ความมัน่คง

ความเสียหายต่อประเทศชาติ โครงการรับจำ นำ ข้าวทำ ลายแรงจูงใจและประสิทธิภาพของกลไกตลาด เพราะเมื่อรัฐเป็นผู้ค้าข้าวเพียงรายเดียว ส่งผลให้โรงสีขาดแรงจูงใจในการปรับปรุงประสิทธิภาพ

นโยบายจำ นำ ข้าวเป็นการอิงพืชชนิดเดียวมากเกินไป จึงเกิดปรากฏการณ์คนล้มสวนไปปลูกข้าว เนื่องจากมีราคาที่สูงกว่า ทำ ให้ปัจจุบันความมั่นคงทางอาหารของไทยกำ ลังอยู่ในภาวะสั่นคลอน เนื่องจากความมั่นคงทางอาหารต้องคำ นึงถึง Food Safety/ Good Quality และความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วย นอกจากนี้ โครงการจำ นำ ข้าวจะส่งผลกระทบโดยต่อคุณภาพข้าวไทย

ความเสี่ยงมีการทุจริตในการดำ เนินการมีสูง เนื่องจากรัฐบาลจ้างเอกชนให้เป็นผู้ดำ เนินการแทน ตั้งแต่ขั้นตอนการซื้อข้าวไปจนถึงการจัดเก็บ และรัฐสามารถตรวจสอบได้น้อย จึงมีช่องว่างให้เกิดการทุจริตได้ทุกขั้นตอน

5.ต้นทุนและการขาดทุน

4.ทำ ไมรัฐบาลไม่มีเงินจ่ายชาวนา?

รายการตัวเลขขาดทุน จำ นวนเงิน(ล้านบาท)ขาดทุน(12 ล้านตัน x ขาดทุนเฉลี่ย 17,723 บาท/ตัน) 212,676ขาดทุน (14 ล้านตัน x ขาดทุนเฉลี่ย 17,723 บาท/ตัน) 284,122รวมขาดทุนทั้งหมด (ข้าว 26 ล้านตัน) 496,798

รัฐบาลได้รับจำ นำ ข้าวเปลือก 2 ปีการผลิต (54/55 และ 55/56) ทั้งหมด 43.42 ล้านตัน ซึ่งนำ ไปสีเป็นข้าวสารได้ 26.75 ล้านตัน ในข้าวสารจำ นวนนี้ ขายข้าวได้แล้ว 12 ล้านตัน (129,000 ล้านบาท) และเหลือข้าวในสต๊อกอีก 14 ล้านตัน ซึ่งจาก 12 ล้านตันแรกที่ขายไป คำ นวณแล้วขาดทุนทั้งหมด 212,676 ล้านบาท คำ นวณได้ดังนี้

อ้างอิง วิธีการคำ นวณจาก ม.ร.ว. ปรีดิยาธร เทวกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยและอดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังในรัฐบาลพล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์

2.ความมั่นคงทางอาหาร ได้แก่

ช่องทางทุจริต 1 โกงใบประทวน โดยโกงน้ำ หนัก โกงสิ่งปลอมปน โกงความชื้น เมื่อชาวนานำ ข้าวไปเข้าโครงการจำ นำ กับโรงสี จะถูกกดราคาโดยอ้างปัญหาสารพัด ทั้งค่าความชื้นที่สูงกว่า 15% และสิ่งเจือปนที่สูง เพื่อกดราคารับซื้อจาก 15000 เหลือเพียง9,000-11,000 บาทต่อตัน ซึ่งเป็นการร่วมมือกับรัฐเพ่ือกินส่วนต่าง

1000

*หมายเหตุ ในกรณีที่หากรัฐบาลขายข้าวอีก 14 ล้านตันได้ในราคาเดิม

1.ความมั่นคงทางการคลัง ได้แก่ โครงการรับจำ นำ ข้าวให้ความช่วยเหลือแก่ชาวนาทุกคนโดยไม่คำ นึงถึงความจำ เป็นของชาวนาแต่ละกลุ่ม และการกำ หนดตัวเลขผลผลิต/ไร่ไว้สูง ทำ ให้ชาวนาที่ยากจนหรือปลูกข้าวไว้กินเอง ที่มีข้าวปริมาณน้อย ตกเป็นกลุ่มชาวนาที่ไม่ได้ประโยชน์จากโครงการ เพราะจะถูกบีบให้ขายข้าวทั้งหมดไปและซื้อข้าวกินแทน โครงการรับจำ นำ ข้าวใช้งบประมาณในการดำ เนินการสูง และมีแนวโน้มขาดทุนสูง กลายเป็นภาระทางการคลัง รวมถึงโครงการมีแรงจูงใจสูงด้วยราคารับจำ นำ ที่สูง หากยกเลิกก็จะมีการคัดค้านจากชาวนาที่เป็นฐานเสียงจำ นวนมาก

ความเข้มแข็งทางเครือข่ายทางสังคมของเกษตรกรลดลง จากที่เคยพึ่งพากันกลับกลายเป็นพึ่งพารัฐเพียงผู้เดียว ส่วนกลุ่มสหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน โรงสี หรือโกดัง ที่ไม่ได้อยู่ในโครงการก็จะถูกลดบทบาทลง หรือมีเกษตรกรมาใช้บริการน้อยลง

ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมข้าวไทยลดลง เนื่องจากผู้ส่งออกหรือบริษัทถุงข้าวต้องประมูลข้าวจากรัฐบาลเท่านั้น รวมทั้งมีความเสี่ยงว่าจะได้ข้าวที่มีคุณภาพ ในราคาและปริมาณที่กลุ่มลูกค้าต้องการหรือไม่

นโยบายข้าว 1.เสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชาติ 2.เสิรมสร้างความมั่นคงทางอาหาร 3.ยกระดับรายได้เกษตรกร

เนื่องจากเกษตรกรจะเน้นการปลูกเพื่อให้ได้ปริมาณ แต่ไม่คำ นึงถึงคุณภาพของข้าว เพราะไม่ว่าข้าวจะมีคุณภาพสูงหรือต่ำ ข้าวก็ยังได้ราคาเดียวกันหมดเพียงแต่ต้องดูแลความชื้นให้ไม่เกิน 15% เท่านั้น จึงส่งผลต่อเนื่องไปถึงกลุ่มเกษตรกรอินทรีย์ ที่ต้องตั้งราคาข้าวสูงขึ้นจนแข่งขันกับต่างชาติไม่ได้ ทำ ให้ธุรกิจที่กำ ลังขยายตัวต้องหยุดลง

*หมายเหตุ ต้นทุนข้าวสารเฉลี่ยตันละ 28,473 บาทราคาที่ขายได้ตันละ 10,750 บาทขาดทุนตันละ 17,723 บาท

*หมายเหตุ ข้าวเปลือก 1.5 ตันนำ ไปสีเป็นข้าวสารได้ 1 ตัน

รัฐบาลขายข้าว 12 ล้านตันแรกได้ในราคาเฉลี่ย 10,750 บาท/ตัน เท่ากับว่าขาดทุนเฉลี่ย 17,723 บาท/ตัน (ต้นทุนเฉลี่ย 28,473 บาท/ตัน - ราคาขาย 10,750 บาท/ตัน) และหากขายข้าวที่เหลือได้ในราคาเดิม ก็จะขาดทุนตามนี้

รายการ จำ นวนเงินใช้เงินรับจำ นำ (ราคา15,000 บาท/ตัน x ข้าวเปลือก 43.42 ล้านตัน) 651,300 ล้านบาทค่าดำ เนินการ 2 ปี (สีข้าว/เช่าโกดัง ฯลฯ) 89,000 ล้านบาทรวมต้นทุน (เงินรับจำ นำ + ค่าดำ เนินการ 2 ปี) 704,300 ล้านบาทต้นทุนเฉลี่ย/ตัน [(เงินรับจำ นำ + ค่าดำ เนินการ)/ข้าวสาร26 ล้านตัน] 28,473 บาท

ต้นทุน

1. การดำ เนินการของรัฐผิดพลาด ได้แก่ กำ หนดราคารับจำ นำ ไว้สูงเกินไป ชาวนาไม่สามารถไถ่ถอนข้าวได้ และพ่อค้าไม่สามารถประมูลข้าวออกไปขายได้ 2. เกิดช่องทางการทุจริตตลอดกระบวนการรับจำ นำ ข้าว 3. ต้นทุนการดำ เนินการสูง รวมทั้งการสูญเสียงบประมาณจากการทุจริต (เช่น จ่าย 2 ครั้งเพื่อการจำ นำ ข้าวล็อตเดิม) ทำ ให้การดำ เนินการนำ ไปสู่การขาดทุน ขาดเงินหมุนเวียนเพื่อจ่ายชาวนา 4. รัฐบาลยุบสภา ขาดอำ นาจเต็มในการดำ เนินการ และก่อนยุบสภาก็ขาดการดำ เนินงานตามแผนงานที่วางไว้ (ให้ธกส.ออกพันธบัตร และกระทรวงพาณิชย์ขายข้าวให้หมด)