72
กลยุทธเพิ่มประสิทธิภาพสํานักตรวจสอบภายใน บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) วรนุช งามสัตยวณิช การศึกษาคนควาดวยตนเองเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปการศึกษา 2550 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการคาไทย ลิขสิทธิ์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย Copyright@by UTCC All rights reserved

7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

  • Upload
    hanhi

  • View
    217

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

กลยุทธเพิม่ประสิทธิภาพสํานักตรวจสอบภายใน บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน)

วรนุช งามสัตยวณิช

การศึกษาคนควาดวยตนเองเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ปการศึกษา 2550

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยหอการคาไทย

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 2: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

i-' ~ i-' i-'i-'\'id'iJ fJnT';)~lnit1~,",~d1~d £J<Pt'"'tfJ\) n ~ rJ'Yl1hVhJtld~~'Ylfilll~~1,:rn!ild1~~tlUlll rJ'l '\.1.

q

~fJ~~nit1cu

U~';'Yl ~~~m~tld~n'\.1.llrJ lijln!il (:JJVll"lf'\.1.)

'\.1.1"~111d'\.1."lf"1:JJi!ilrJ1rn"lfq

tI~nJnJ1'" '" U~VlldTIdn~:JJVllUm~!iIq

A

~1'iJ1d~1

6' ..t I::!/fJ1 ~1 "i £J 't1 1.1"in it1

iln1"i~nit1

"" ..d~UU~ld~'\.1.L 'Yl~'Yll"nlduru"lf'"

6' ""

tI1~ldrJml!ilrJ1 !i11UL~"lfd

2550

um~ !ill'Ylm~ rJ :JJVll1'Ylm~ rJVltlmd~l L'YlrJtI'\.1.iT~'l~,:rumd~nMl~'\.1.flll~1 rJ!iI'\.1.LtI"LU'\.1.q ,,d "" "" "" "" """" ""

~1'\.1.VI'\.1.""1.1tI" nld~n Ml!i1l:JJVI~n ~!ildUdVlldTIdn~:JJVllU m6VI!il ~1"1.1l1"lfld~UU ~ld~'\.1.L'Yl~'IJ q"" ..

'Yll"nlduru"lf'"

~ m .r~1U1"m11'1.n~m'0" 0 ,' 0 0" 0'" 0'" 'IJ

(tll~ld6 !ild.vh~,,'; vH;~)'IJ

'j:zQ; 'V\ ~"'" VlI> [5 ..0" i.::5'''''''''''''' ~tI1'\.1.1rJnld~1"1.1l

6'"" 6'

(dtl"~l~!ildl~ldrJ'\.1.rJ~!i11 "lfmVl1"~)q

~ i-' i-' i-'~ m~n"i"i3J n1"i~fJ1J n1"i~1 n it1 ~,",~d1~d £J<Pt'"'tfJ\)

~ ~.'. .IV) ~.~.. ~P.(.? Ih:1f1"nmm16'"" 6'

(dtl"~l~!ildl~ldrJ'\.1.rJ~!i11 "lfmVl1"~)q

.ctB.;3:/le!~!?#y ~~Ji\TI~m1

(~"1i1rJ~1~!ildl~ld6a~61"lf{11~'\.1.1)'IJ

Q.-::.oo~ tI1~ld6~mnMl0.."""

6' ""

(tI1~ldrJml!i1rJ1 !illUL~"lfd)

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 3: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

หัวขอการศึกษาคนควาดวยตนเอง กลยุทธเพ่ิมประสิทธิภาพสาํนักตรวจสอบภายใน

บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน)

ชื่อนักศึกษา นางสาววรนุช งามสัตยวณิช

ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

สาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางการบญัชี

อาจารยที่ปรึกษา อาจารยกฤตยิา ดาบเพชร

ปการศึกษา 2550

บทคัดยอ

การศึกษาคนควาดวยตนเอง เร่ือง กลยุทธเพ่ิมประสิทธิภาพสํานักตรวจสอบภายใน บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) เปนการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยทําการรวบรวมขอมูลปฐมภูมิและขอมูลทุติยภูมิในป 2549 และ 2550 เพ่ือกําหนดกลยุทธการเพิ่มประสิทธิภาพสํานักตรวจสอบภายในใหดีขึ้นอันจะนํามาซึ่งการพัฒนาองคกรอยางตอเน่ือง การศึกษาคนควาดวยตนเองมีวัตถุประสงค คือ ศึกษากระบวนการตรวจสอบภายในตั้งแตการวางแผนการตรวจสอบจนถึงการติดตามผลการตรวจสอบ วิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการตรวจสอบภายในที่สงผลใหการปฏิบัติงานขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งกําหนดกลยุทธในการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานของสํานักตรวจสอบภายใน

จากการศึกษาพบวา กลยุทธที่เหมาะสม คือ ประชาสัมพันธเพ่ือใหความรูทางดานการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และเปนชองทางการติดตอสื่อสารกับสวนงานตางๆ ผานระบบ Intranet วางแผนการฝกอบรมเจาหนาที่ตรวจสอบภายในเกี่ยวกับเร่ืองการควบคุมภายในเพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการดําเนินงาน จัดทําการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ปละ 1 ครั้งรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรเพื่อลดคาใชจายในการดําเนินงาน เม่ือไดผลการประเมินนํามาจัดลําดับความเสี่ยงเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบกอน และกําหนดระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบใหม รวมทั้งทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงานเพื่อใหมีความทันสมัย และเปนแนวทางในการดําเนินงานของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายใน ขณะที่เร่ืองของขอมูลที่ใชในการตรวจสอบจะใหสายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลให โดยทางสํานักตรวจสอบภายในดําเนินการขอขอมูลลวงหนา 2-4 สัปดาห

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 4: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาคนควาดวยตนเองสําเร็จลุลวงเปนอยางดีดวยความกรุณาอยางสูงจากอาจารยกฤติยา ดาบเพชร อาจารยที่ปรึกษาที่ไดใหคําแนะนํา ตรวจตรา และแกไขเนื้อหา ตลอดจนเปนกําลังใจสําคัญ รองศาสตราจารยนิยะดา ชุณหวงศ ผูอํานวยการสาขาระบบสารสนเทศทางการบัญชีหลักสูตร CEO MBA ที่กรุณารับเปนประธาน และผูชวยศาสตราจารยอิสรีย โชววิวัฒนา ที่กรุณารับเปนกรรมการ รวมทั้งอาจารยทุกทานที่ไดสอนและใหความรูแกขาพเจาเพื่อนํามาประกอบการจัดทํารายงานการศึกษาคนควาดวยตนเอง และบุคคลตางๆ ที่ใหโอกาสเพื่อเขาทําการสัมภาษณ ขอขอบคุณครอบครัวของขาพเจาที่เปนกําลังใจสําคัญในการศึกษาคนควาดวยตนเอง เจาหนาที่บัณฑิตวิทยาลัยที่ชวยเหลือตลอดระยะเวลาที่ไดศึกษาอยูในมหาวิทยาลัย และพ่ีๆ เพ่ือนๆ นักศึกษาปริญญาโททุกทานที่ชวยเหลือมาโดยตลอด

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 5: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

สารบัญ

หนา บทคัดยอ …………………………… ………………………………………………….. ง กติติกรรมประกาศ …………………………………………… ………………………….. จ สารบัญ ……………………………………… ……………………………………………. ฉ สารบัญตาราง …………………………………… ……………………………………….. ซ สารบัญภาพ …………………………………………………………..……………….. ญ บทที ่ 1. บทนํา ……………………………………………………………………………… 1 ชื่อองคกรและลักษณะธุรกิจขององคกร …… ……………………………….. 1 ปญหาและสภาพความสําคญัของปญหา ……………………………………. 9 วัตถุประสงคของการศึกษา ………………………………………………….. 11 นิยามศัพทเฉพาะ ………… …………………………………………………. 11 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ …………………………………………………... 12

2. แนวคิดและทฤษฎีทีเ่ก่ียวของ ……………… ……………………...................... 13 ความหมายของการตรวจสอบภายใน ………………………………………. 13 วตัถุประสงคของการตรวจสอบภายใน ……………………………………... 13 แนวทางการปฏิบัตขิองกรมการประกันภัยเรื่องการตรวจสอบภายในของ บริษัทประกันภัย …………………………………………………………….. 13 ความหมายของการควบคมุภายใน ………………………………………… 15 แนวทางการปฏิบัตขิองกรมการประกันภัยเรื่องการควบคุมภายในของ บริษัทประกันภัย …………………………………………………………….. 16 มาตรฐานสากลการปฏิบตัิงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน ………………. 19 การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค ………………………….. 20

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 6: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

สารบัญ (ตอ)

หนา 3. ระเบียบวธิีการศึกษาและผลการศึกษา ………………………………………….. 21 แนวทางการศกึษา วิธีการศกึษา ……………………………………………. 21 การวิเคราะหขอมูล …………………………………………………………... 23 แนวทางการแกไขปญหา ………………………………… …………………. 40 การตัดสินใจเลือกแนวทางการแกไขปญหา ………………………………… 45 4. บทสรุปและขอเสนอแนะ …………………………………………………………. 49 สรุปผลการศกึษา …………………………………………………………….. 49 ขอจํากัดของการศึกษา ………………………………………………………. 50 ขอเสนอแนะการศึกษา ………………………………………………………. 50

บรรณานุกรม ………………………………………………………………. …………….. 52 ภาคผนวก …………………………………………………………………………………. 53

ประวตัิผูศึกษา ……………………………………………………………………………... 63

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 7: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

สารบัญตาราง ตารางที ่ หนา 1. สวนแบงตลาดเบี้ยประกันภัยรบัโดยตรงของบริษัทประกันวินาศภัยเดือน มกราคม - มีนาคม 2550 …………………………………………….......... …. 5 2. การคาดการณเบี้ยประกันวินาศภัยป 2550 …………..…………………… …. 6 3. ระยะเวลาทีใ่ชในการประเมนิประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงาน ตามแนวทาง COSO เปรียบเทียบระหวางแผนการตรวจสอบประจําป 2550 กับการปฏิบตังิานจริง …..……………………………………………… ……… 9 4. สรุปคะแนนการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตาม แนวทาง COSO ….………………………………………………………......... 10 5. การเปรียบเทยีบระยะเวลาตามแผนการตรวจสอบประจําปกับการปฏิบัต ิ งานจริงของงานตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 (บางสวน) …………….. 11 6. ผลการสัมภาษณขอมูลทัว่ไปของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและ เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน …………………………………………… ………. 24

7. ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ขอมูลการประเมินประสิทธภิาพการควบคุมภายใน ระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและ เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ………………………………………… …………. 25 8. ผลการสัมภาษณขอมูลการประเมินประสทิธิภาพการควบคุมภายในระดับ

สวนงานตามแนวทาง COSO ของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและ เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ……………………………………… ……………. 26

9. ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ขอมูลการปรบัเปลี่ยนการปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการของหัวหนาสวนตรวจสอบ

ภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ......................................................... 27 10. ผลการสัมภาษณขอมูลการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนก เปนการตรวจสอบตามกระบวนการของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและ เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ……………………………………………………. 28 11. ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ขอมูลการเปรยีบเทียบผลดผีลเสียระหวางการนํา ขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลให กับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเองของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและ เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ……………………………………… ……………. 29

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 8: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที ่ หนา 12. ผลการสัมภาษณขอมูลการเปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลใน ระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับ การนําขอมูลออกมาใชดวยตนเองของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและ เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน …………………………………. ………………… 29

13. ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ของผูบริหารสวนงานที่ไดรบัการประเมิน ประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ……….. 31

14. ผลการสัมภาษณของผูบรหิารสวนงานที่ไดรับการประเมินประสิทธภิาพ การควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ………………………. 31

15. จํานวนครั้งที่ไดรับการตรวจสอบของผูบรหิารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบ ทั้งในป 2549 และ 2550 …………………………………….............………… 33

16. ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ของผูบริหารสวนงานที่ไดรบัการตรวจสอบ ทั้งในป 2549 และ 2550 ………………………………………… ……………. 33

17. ผลการสัมภาษณของผูบรหิารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550 ………………………………………………… ……………………. 33

18. การเปรียบเทยีบระยะเวลาตามแผนการตรวจสอบประจําปกับการปฏิบัต ิ งานจริงของงานตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 ………… ……………… 35 19. ระยะเวลาทีใ่ชในการจัดเตรียมขอมูลของป 2549 และ 2550 ………………... 36 20. ผลการเลือกแนวทางการแกไขปญหากรณีการประเมินผลประสทิธภิาพ

การควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ………………………… …………… 47 21. ผลการเลือกแนวทางการแกไขปญหากรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการ

ตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ ……………… .…… 47 22. ผลการเลือกแนวทางการแกไขปญหากรณีเปรียบเทยีบผลดีผลเสียระหวาง

การนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยจัีดหา ขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง …………………………. ……. 47

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 9: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1. SWOT Analysis Model ………………………………………………………. 20

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 10: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

บทที่ 1 บทนํา

ชื่อองคกรและลักษณะธุรกิจขององคกร

ชื่อองคกร บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) Pattana Insurance Public Company Limited

ภาพรวมขององคกร บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) เปดดําเนินกิจการเกี่ยวกับการรับประกัน

วินาศภัยตั้งแตป พ.ศ.2475 โดยจัดตั้งอยูในรูปบริษัทจํากัดดวยทุนจดทะเบียน 250,000 บาท การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญเกิดขึ้นในป พ.ศ.2522 เม่ือบริษัทเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ดวยทุนจดทะเบียนที่เรียกชําระแลวจํานวน 200,000,000 บาท ตลอด 75 ปที่บริษัทดําเนินกิจการมา บริษัทมุงหวังที่จะเปนองคกรที่ลูกคาใหความไววางใจ รวมทั้งใหผลตอบแทนสม่ําเสมอแกผูถือหุน เปนองคกรที่ม่ันคงสําหรับพนักงานและชวยเหลือสังคม

ทั้งน้ีบริษัทมีรายไดหลักมาจากการดําเนินธุรกิจดานการรับประกันวินาศภัย 4 ประเภท คือ อัคคีภัย, การขนสงทางทะเล, เบ็ดเตล็ดและรถยนตตาม พ.ร.บ. (ภาคบังคับ) นอกจากนั้นแลวยังมีการนําเบี้ยประกันภัยไปลงทุนในตลาดเงินตลาดทุน เชน หุนกู, หุนทุนและอ่ืนๆ

วิสัยทัศน คือ บริษัทประกันวินาศภัยในใจคุณ ภารกิจ คือ รับประกันวินาศภัยอยางมืออาชีพดวยความใสใจ บริษัทมีการวางเปาหมายทางธุรกิจในการเพิ่มความสามารถในการแขงขัน ไมวาจะเปน

การมุงเนนลูกคารายยอยตามชองทางการขายใหมๆ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑที่สามารถตอบสนองลูกคาเฉพาะกลุม พัฒนาและปรับปรุงการดําเนินงานตลอดจนการพัฒนาศักยภาพของพนักงานอยางตอเน่ืองเพ่ือสรางความพรอมในการดําเนินธุรกิจ

เปาหมายระยะสั้น จะเนนการกําหนดแผนเพื่อสนับสนุนเปาหมาย โดยเริ่มจากการสรางภาพลักษณดานการบริการ มุงที่การบริการกอนและหลังการขาย การพัฒนาผลิตภัณฑเพ่ือใหเกิดความแตกตาง ปรับปรุงเทคโนโลยีใหมีประสิทธิภาพไมวาจะเปน Hardware, Software และ Database รวมทั้งการปรับปรุงระบบการติดตอสื่อสารผานทางโทรศัพทใหทันสมัยเพ่ือสรางความสะดวกในการติดตอกับลูกคา

เปาหมายระยะยาว เนนการสรางองคความรูภายในองคกรเพ่ือพัฒนาบุคลากร สรางและปรับปรุงการวิจัยดานการรับประกันภัยเพื่อนํามาประยุกตกับบริษัทอยางมีประสิทธิภาพ

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 11: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

2

แผนผังองคกร

คณะกรรมการบริษัท

ประธานเจาหนาที่บรหิาร

รองประธานเจาหนาที่บรหิาร

กรรมการผูจัดการ

สํานักบริหาร

สํานักตรวจสอบภายใน

สํานักกฏหมายและนิติการ

คณะกรรมการสินไหม

คณะกรรมการการลงทุน

คณะกรรมการพัฒนาการตลาด

คณะกรรมการนโยบาย

คณะกรรมการพัฒนาองคกร

สายงานประกันภัย

สายงานบริหารธุรกิจ

สายงานเทคโนโลย ี

สายงานบัญชีและการเงิน

สายงานลูกคาสัมพันธ สายงานตลาด

ฝายประกันอัคคีภัยและทรัพยสิน

ฝายประกันภัยทั่วไป

ฝายประกันภัยตอ

ฝายดําเนินงานสินไหม

ฝายบริหารทรัพยากรบุคคล

ฝายบริหารงานธุรการ

ฝายบริหารทรัพยสินและ

พัสดุ

ฝายพัฒนาธุรกิจ

สํานักผูชํานาญการ

ฝายการบัญชี

ฝายการเงิน

ฝายการลงทุน

ฝายลูกคาสัมพันธ ฝายบริหารงานตลาด

ฝายขายลูกคาสถาบัน

ฝายขายลูกคาทั่วไป 1

ฝายขายลูกคาทั่วไป 2

2

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 12: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

3

รูปแบบสินคาขององคกร บริษัทดําเนินธุรกิจดานการรับประกันวินาศภัย โดยมีสํานักงานอยูที่กรุงเทพมหานคร

และมีสํานักงานตัวแทนใน 8 จังหวัด คือ เชียงใหม นครสวรรค เชียงราย ราชบุรี อุบลราชธานี เพชรบูรณ นครศรีธรรมราชและภูเก็ต

บริษัทมีผลิตภัณฑตางๆ ดังนี้ 1. การรับประกันอัคคีภัยและทรัพยสิน แบงเปน

1.1 อัคคีภัย 1.2 อัคคีภัยสําหรับที่อยูอาศัย 1.3 การเสี่ยงภัยทรัพยสิน 1.4 ธุรกิจหยดุชะงัก 1.5 สิทธิการเชา 1.6 ประกันภัยการกอการราย (สําหรับบานอยูอาศัยและธุรกิจขนาดเล็ก)

2. การรับประกันภัยทางทะเลและขนสง แบงเปน 2.1 ประกันภัยตัวเรือ 2.2 ประกันภัยการขนสงสินคาทางทะเลและทางอากาศ 2.3 ประกันภัยการขนสงสินคาภายในประเทศ

3. การรับประกันภัยเบ็ดเตล็ด แบงเปน 3.1 การประกันภัยวิศวกรรม

3.1.1 ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิดของผูรับเหมากอสราง 3.1.2 ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิดของผูรับเหมาติดตั้งเครื่องจักร 3.1.3 ประกันภัยหมอกําเนิดไอน้ําและถังความดันระเบิด 3.1.4 ประกันภัยเครื่องจักร 3.1.5 ประกันภัยเครื่องจักรกลที่ใชในการกอสราง 3.1.6 ประกันภัยอุปกรณอิเล็กทรอนิกส

3.2 ความรับผิดตามกฎหมายและอื่นๆ 3.2.1 ประกันการเสี่ยงภัยทุกชนิด 3.2.2 ประกันภัยโจรกรรม 3.2.3 ประกันภัยสําหรับเงิน 3.2.4 ประกันภัยปายโฆษณา 3.2.5 ประกันภัยสําหรับผูโดยสารเรือ 3.2.6 ประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายตอสาธารณชน 3.2.7 ประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากผลิตภัณฑ 3.2.8 ประกันภัยความรับผิดของกรรมการและเจาหนาที่บริหารของบริษัท

3

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 13: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

4

3.2.9 ประกันภัยความรับผิดตามกฎหมายอันเกิดจากวิชาชีพ 3.2.10 ประกันภัยสินเชื่อทางการคา

3.3 การประกันภัยบุคคล 3.3.1 ประกันภัยอุบัติเหตุสวนบุคคล (ขยายความคุมครองภัยกอการราย) 3.3.2 ประกันภัยอุบัติเหตุเดินทาง (ขยายความคุมครองภัยกอการราย)

3.4 ผลิตภัณฑสําเร็จรูป 3.4.1 แผนประกันภัยอุบัติเหตุสวนบุคคลและสําหรับผูบริหาร 3.4.2 แผนประกันภัยสําหรับผูเลนกอลฟ 3.4.3 แผนประกันภัยโรคมะเร็ง 3.4.4 แผนประกันภัยสําหรับบานอยูอาศัย 3.4.5 แผนประกันภัยสําหรับรานคา 3.4.6 แผนประกันภัยเดินทางตางประเทศ 3.4.7 แผนประกันภัยชดเชยรายได 3.4.8 แผนประกันภัยโจรกรรม 3.4.9 แผนประกันภัยสินเชื่อธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม 3.4.10 แผนประกันภัยสําหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม

4. การรับประกันภัยรถยนตเฉพาะภาคบังคับตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ

5. การรับประกันภัยตอจากบริษัทรับประกันภัยทั้งในประเทศและตางประเทศ

ข้ันตอนการรับประกันภัย 1. ลูกคาติดตอแจงความประสงคขอทําประกันภัย โดยทําการติดตอกับบริษัทผาน

พนักงานขาย หรือตัวแทนและทําการสงขอมูลหรือเอกสารที่จําเปนเพ่ือใชประกอบการพิจารณารับประกันภัย

2. บริษัทพิจารณาความเสี่ยงภัยจากขอมูลพ้ืนฐานที่ไดรับ หากจําเปนบริษัทจะออกสํารวจสินทรัพยที่นํามาประกันภัยกอนจะทําการนําเสนอความคุมครองและเงื่อนไขที่เหมาะสมโดยเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ทั้งน้ีบริษัทมีเกณฑในการมอบอํานาจการอนุมัติตามประเภทการประกันภัยและทุนประกันใหแกเจาหนาที่แตละระดับสามารถพิจารณารับประกันภัยไดหากเปนไปตามเกณฑการรับประกันภัยและอยูภายใตอํานาจการอนุมัติของตน หากไมสามารถรับประกันภัยไดไมวาจะกรณีใดๆ บริษัทจะดําเนินการแจงใหลูกคาทราบ พรอมทั้งชี้แจงเหตุผลโดยเร็ว

3. หากสามารถทําการรับประกันภัยไดและลูกคายอมรับขอเสนอ บริษัทจะดําเนินการออกกรมธรรมและนําสงกรมธรรมใหลูกคาตอไป

4

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 14: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

5

กลุมลูกคาหลักและสวนแบงทางการตลาดขององคกร ลักษณะลูกคาของบริษัท เปนทั้งนิติบุคคล โรงงาน หางราน สถาบันการศึกษา

หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ บุคคลธรรมดาทั่วราชอาณาจักร สวนแบงทางการตลาดของบริษัทอยูในลําดับที่ 31 ของธุรกิจประกันวินาศภัย แต

เน่ืองจากทางบริษัทมีความเชี่ยวชาญในเรื่องการรับประกันอัคคีภัยและเบ็ดเตล็ด ทําใหบริษัทมีสวนแบงทางตลาดการประกันอัคคีภัยอยูในลําดับที่ 3 หรือ 7.88% และสวนแบงทางการตลาดการประกันภัยเบ็ดเตล็ดอยูในลําดับที่ 9 หรือ 3.18%

ตารางที่ 1 สวนแบงตลาดเบี้ยประกันภัยรับโดยตรงของบริษัทประกันวินาศภัยเดือนมกราคม – มีนาคม 2550

การประกันอัคคีภัย การประกันภัยเบ็ดเตล็ด

ลําดับ บริษัท สวนแบงตลาด บริษัท สวนแบงตลาด

1 กรุงเทพประกันภัย 12.44 ทิพยประกันภัย 19.79 2 นิวแฮมเชอรอินชัวรันส 9.14 กรุงเทพประกันภัย 8.73 3 พัฒนะประกันภัย 7.88 เอช อินชัวรันซ 8.01

4 ทิพยประกันภัย 7.02 บูพา ประกันสุขภาพ 4.87 5 อาคเนยประกันภัย 5.99 นิวแฮมเชอรอินชัวรันส 4.75 6 ศรีอยุธยาประกันภัย 5.79 ไทยพาณิชยสามัคคี 4.60 7 ไทยพาณิชยสามัคคี 4.73 เทเวศประกันภัย 4.52 8 นวกิจประกันภัย 4.16 กรุงไทยพานิช 3.89 9 กรุงไทยพานิช 3.81 พัฒนะประกันภัย 3.18

ที่มา : กรมการประกันภัย

อุตสาหกรรมที่เก่ียวของกับองคกร พันธมิตรทางธุรกิจ คือ ธนาคาร KK จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนผูประสานงานเกี่ยวกับการ

ขายประกันภัยผานทาง Bank assurance, บริษัท MM ประกันชีวิตและประกันภัย จํากัด ซึ่งเปนพันธมิตรในการดําเนินธุรกิจการประกันภัยรวมกัน

5

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 15: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

6

สภาพการแขงขันและคูแขงหลักขององคกร ในป 2549 ตลาดประกันภัยไทยมีอัตราการขยายตัวของเบี้ยรับประกันภัยตรงลดลงเมื่อ

เทียบกับป 2548 โดยมีการขยายตัวเพียงรอยละ 8

ตารางที่ 2 การคาดการณเบี้ยประกันวินาศภัยป 2550

อัตราการเจริญเติบโตของเบี้ยรับประกันภัยตรงธุรกิจรับประกันวินาศภัย (รอยละ)

ประเภทการรับประกันภัย 2545 2546 2547 2548 2549

อัคคีภัย 8.39 (17.40) 5.29 5.34 2.20 ทะเลและการขนสง 6.90 17.06 19.60 1.32 3.70 รถยนต(ภาคบังคับ) 8.52 19.88 13.26 11.61 8.90 เบ็ดเตล็ด 32.06 15.77 8.38 17.23 9.30

รวม 13.87 13.63 11.42 12.04 8.21 ที่มา : บริษัท ไทยรับประกันภัยตอ จํากัด (มหาชน) และกรมการประกันภัย

การประกันอัคคีภัยมีอัตราการเจริญเติบโตที่ต่ําลงในปพ.ศ.2549 และในภาพรวมของการรับประกันภัยทั้ง 4 ประเภทขางตนน้ันถือวาลดลงพอสมควร เน่ืองจากในชวง 2-3 ปที่ผานมาเกิดเหตุการณความไมแนนอนทางการเมือง การเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย ความผันผวนของราคาน้ํามันโลกที่สงผลกระทบตอการลงทุนและการสงออก การแข็งคาของเงินบาท นอกจากนั้นแลวยังมีเหตุการณความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตซึ่งมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ กอใหเกิดการชะลอตัวของเศรษฐกิจ จนมาถึงป 2550 การรับประกันภัยในภาพรวมจะมีอัตราการขยายตัวดีขึ้นเล็กนอย โดยมีการขยายตัวอยูระหวางรอยละ 9-11 เม่ือเทียบกับป 2549 (บริษัท ไทยรับประกันภัยตอ จํากัด (มหาชน), สรุปผลประมาณการเบี้ยประกันวินาศภัยป 2550, หนา 6) บริษัทประกันวินาศภัยตางๆ นั้นตองมีการปรับเปลี่ยนกลยุทธการดําเนินงานเพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลง ซึ่งทําใหเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง และเพ่ิมการขายในชองทางตางๆ เชน การขายผานสาขาของธนาคาร หรือที่เรียกวา แบงกแอสชัวรันส หรือการขายผานทางโทรศัพท หรือที่เรียกวา เทเลมารเก็ตติ้ง ซึ่งบริษัทประกันวินาศภัยลวนตองพัฒนาขึ้นมาเพื่อที่จะสามารถแขงขันในตลาดไดโดยคูแขงหลักของบริษัท คือ บริษัทประกันวินาศภัยทั่วไป

6

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 16: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

7

หนวยงานตรวจสอบภายในขององคกร บริษัทมีการจัดตั้งสํานักตรวจสอบภายในขึ้น เพ่ือชวยในการประเมินผลการดําเนินงาน

ของบริษัทอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งชวยใหผูปฏิบัติงานสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงคของบริษัท สํานักตรวจสอบภายในนั้นจะรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) โดยมีโครงสรางสํานักตรวจสอบภายใน ดังนี้

ผูบริหารสํานัก ตรวจสอบภายใน

หัวหนาสวนสํานักตรวจสอบภายใน

เจาหนาที่ประจาํสํานักตรวจสอบภายใน

เจาหนาที่ประจาํสํานักตรวจสอบภายใน

เจาหนาที่ประจาํสํานักตรวจสอบภายใน

สํานักตรวจสอบภายใน ประกอบดวย ผูบริหารสํานักตรวจสอบภายใน 1 คน หัวหนาสวนสํานักตรวจสอบภายใน 1 คน และเจาหนาที่ประจําสํานักตรวจสอบภายใน 3 คน รวมทั้งสิ้น 5 คน โดยแตละตําแหนงมีหนาที่ความรับผิดชอบ ดังนี้

ผูบริหารสํานักตรวจสอบภายใน มีหนาที่กําหนดแผนงานการตรวจสอบ พิจารณาคัดเลือกกระบวนงานตรวจสอบ ทบทวนการควบคุมภายใน พิจารณาอนุมัติรายงานการตรวจสอบ ประเมินการตรวจสอบและสรุปรายงานตางๆ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรภายในสวนงานใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเปนไปตามเปาหมายและนโยบายของบริษัท

หัวหนาสวนสํานักตรวจสอบภายใน มีหนาที่ พิจารณาการตรวจสอบแตละกระบวนงาน ติดตามและควบคุมการตรวจสอบ พิจารณาการประเมินระบบการควบคุมภายในของหนวยงานที่รับการตรวจสอบ ทบทวนผลการตรวจสอบและสรุปรายงานการตรวจสอบ

เจาหนาที่ประจําสํานักตรวจสอบภายใน มีหนาที่เตรียมการตรวจสอบ ดําเนินการประเมินการควบคุมภายในและการตรวจสอบ สรุปผลการตรวจสอบ จัดทํารายงานการตรวจสอบ และติดตามผลการตรวจสอบ

สํานักตรวจสอบภายในมุงที่การใหความเชื่อม่ันและใหคําปรึกษาในการเพิ่มมูลคาแกบริษัท โดยในชวงตนปจะมีการวางแผนการตรวจสอบ และมีการดําเนินการตรวจสอบตามระยะเวลาที่กําหนดขึ้น ซึ่งมีขั้นตอนการตรวจสอบ ดังนี้

7

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 17: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

8

กระบวนงานตรวจสอบภายใน

หัวหนาสํานัก ตรวจสอบภายใน

หัวหนาทีม / ผูตรวจสอบ

หนวยงานผูรับ การตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบและ

กรรมการผูจัดการ

เสนออนุมัติ

เร่ิมตน

1.วางแผนการตรวจสอบประจําป

ทบทวน/อนุมัติแผนตรวจสอบ

2. เตรียมการสําหรับงานตรวจสอบ

3.สํารวจการดําเนินงานเบื้องตน

4.สอบทานระบบควบคุม

5.ทดสอบสาระสําคัญและเร่ืองท่ีตรวจสอบพบ

6.จัดทํารายงานสรุปส่ิงท่ีตรวจพบและขอเสนอแนะ

พิจารณารายงานตรวจสอบสําหรับคณะกรรมการตรวจสอบและ

กรรมการผูจัดการ

7.รายงานผลการตรวจสอบ

รับรายงานตรวจสอบและพิจารณาดําเนินงาน

ปรับปรุงตามคําส่ังของกรรมการผูจัดการ

8.ติดตามผลการตรวจสอบ

9.ประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบ

อนุมัติปรับปรุงแผน

8

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 18: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

9

ปญหาและสภาพความสําคัญของปญหา

1. การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ไมมีประสิทธิภาพ

2. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการทําใหการปฏิบัติงานไมมีประสิทธิภาพ

3. สํานักตรวจสอบภายในไมสามารถจัดเตรียมขอมูลสารสนเทศเพื่อใชในการตรวจสอบได

ในป 2550 สํานักตรวจสอบภายในมีการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO เพ่ือประเมินวาสวนงานภายในองคกรมีการควบคุมภายในอยูในระดับใด และจัดลําดับความเสี่ยงในการเขาทําการตรวจสอบ รวมทั้งมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการซึ่งในแตละกระบวนการเกี่ยวของกับสวนงานมากกวา 1 สวนงานและมีขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มากขึ้น นอกจากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องการเขาถึงขอมูลที่ใชในการตรวจสอบจากที่ตองรองขอขอมูลจากทางฝายเทคโนโลยี มาเปนการที่สํานักตรวจสอบภายในไดรับสิทธิในการเขาถึงขอมูลไดดวยตนเอง การเปลี่ยนแปลงดังกลาวกอใหเกิดปญหาดังนี้

1. การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ไมมีประสิทธิภาพ เน่ืองจาก 1.1 สํานักตรวจสอบภายในไดรับผลการประเมินกลับมาเพียง 34 สวนงาน จากการ

ประเมินทั้งสิ้น 56 สวนงานคิดเปน 60.71% 1.2 การดําเนินการประเมินประสิทธิภาพลาชากวากําหนดโดยใชเวลา 70 วันทําการ

จากที่กําหนดไว 35 วันทําการ

ตารางที่ 3 ระยะเวลาที่ใชในการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO เปรียบเทียบระหวางแผนการตรวจสอบประจําป 2550 กับการปฏิบัติงานจริง

งานตรวจสอบ แผนการตรวจสอบประจําป 2550

การปฏิบัติงานจริง

สอบทานระบบควบคุมภายในระบบองคกร 5 วัน - เตรียมงานสอบทานระบบควบคุมภายในระดับสวนงาน 5 วัน 5 วัน สอบทานระบบควบคุมภายในระดับสวนงาน 15 วัน 45 วัน สรุปรายงานระบบควบคุมภายใน 10 วัน 20 วัน

9

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 19: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

10

1.3 ผูรับการประเมินทุกสวนงานใหคะแนนการควบคุมภายในสวนงานตนในระดับดีถึงดีมาก (3-4 คะแนน) โดยไดคะแนนเฉลี่ยทั้ง 34 สวนงาน เทากับ 3.39 ซึ่งเปนคะแนนในระดับดี ทําใหไมสามารถวิเคราะหผลเพื่อนํามาวางแผนการตรวจสอบได

ตารางที่ 4 สรุปคะแนนการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO

คะแนนการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงาน (คะแนนเต็ม 4 คะแนน)

สวนงาน คะแนนเฉลี่ย สวนงาน คะแนนเฉลี่ย

บริหารหนี้ 3.11 ประกันภัยวิศวกรรม 3.43 ดําเนินงานขอมูลกรมธรรม 3.18 ประกันภัยตอ 1 3.43 วิภัชประกันภัย 3.21 ตลาดเงินตลาดทุน 3.43 กฎหมาย 3.25 ดํารงรักษาลูกคา 3.43 บริหารงานตัวแทน 3.29 ขายลูกคาตามสัญญา 1 3.43 เก็บรักษาเอกสาร 3.29 ทีมขาย 22 3.43 ศูนยคอมพิวเตอร 3.29 ทีมขาย 25 3.43 ดําเนินงานสินเชื่อ 3.32 ดําเนินงานการเงิน 3.46 บรรษัทประกันภัย 3.32 บริหารงานสิ่งพิมพ 3.46 ศูนยพัฒนากระบวนงานฯ 3.32 พัสดุและครุภัณฑ 3.46 ดูแลลูกคารายใหม 3.32 ประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพ 3.46 ประกันภัยตอ 2 3.36 ทีมขาย 12 3.46 ศูนยบริการเทคโนโลยีผูใช 3.36 ผลิตภัณฑพิเศษ 3.50 บริหารงานนายหนา 3.39 สงเสริมการตลาด 3.50 พัฒนะบริการ 3.39 ประชาสัมพันธ 3.54 ประกันอัคคีภัย 2 3.43 ประกันอัคคีภัย 1 3.57 ประกันภัยทรัพยสิน 1 3.43 พัฒนาผลิตภัณฑ 3.57

คะแนนเฉลี่ยทั้ง 34 สวนงาน 3.39 หมายเหตุ : สวนงานวิภัชประกันภัยดูแลผูเอาประกันภัยที่มีการติดตอเขามาโดยตรงและตัวแทนภายในบริษัท

2. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบตามแผนกมาเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ ทําใหใชเวลาในการตรวจสอบเกินกวาแผนการตรวจสอบประจําปที่กําหนดไว สงผลใหบางกระบวนการไมไดรับการตรวจในระยะเวลาที่เหมาะสม

10

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 20: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

11

ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบระยะเวลาตามแผนการตรวจสอบประจําปกับการปฏิบัติงานจริงของงานตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 (บางสวน)

การเปรียบเทียบงานตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 (บางสวน)

งานตรวจสอบป 2549 (ใชวิธีการตรวจสอบตามแผนก)

แผนการตรวจสอบประจําป

การปฏิบัติงาน

จริง

งานตรวจสอบป 2550 (ใชวิธีการตรวจสอบตามกระบวนการ)

แผนการตรวจสอบประจําป

การปฏิบัติงาน

จริง

การรับประกันภัย 20 วัน 27 วัน กระบวนการรับประกันภัย

45 วัน 49 วัน

การรับประกันตอ 20 วัน 20 วัน กระบวนการรับประกันตอ

25 วัน 35 วัน

การปฏิบัติการชดใชคาสินไหม

15 วัน 12 วัน กระบวนการชดใชสินไหม

20 วัน 46 วัน

3. สํานักตรวจสอบภายในไดรับสิทธิในการเขาถึงฐานขอมูลในระบบสารสนเทศของหนวยงานที่รับการตรวจสอบจากเดิมที่ตองรองขอใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลให แตเจาหนาที่ตรวจสอบภายในกลับไมทราบถึงการเชื่อมโยงขอมูลของระบบงานตางๆ ทําใหไมสามารถนําขอมูลที่ถูกตองมาใชงานได

วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพ่ือศึกษากระบวนการตรวจสอบภายในตั้งแตการวางแผนการตรวจสอบจนถึงการติดตามผลการตรวจสอบ

2. เพ่ือวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการตรวจสอบภายในที่สงผลใหการปฏิบัติงานขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผล

3. เพ่ือกําหนดกลยุทธในการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงานของสํานักตรวจสอบภายใน

นิยามศัพทเฉพาะ

สํานักตรวจสอบภายใน หมายถึง สวนงานหนึ่งภายในองคกร โดยอยูภายใตการบังคับบัญชาของคณะกรรมการตรวจสอบ และทําหนาที่ตรวจสอบกระบวนการตางๆ ภายในองคกร เชน กระบวนการรับประกันภัย กระบวนการชดใชสินไหม เปนตน

ผูตรวจสอบภายใน หมายถึง หัวหนาสวนและเจาหนาที่ประจําสํานักตรวจสอบภายใน

11

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 21: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

12

หนวยงานผูรับการตรวจสอบ หมายถึง สวนงานตางๆ ภายในองคกรที่ทําหนาที่เพ่ือนําพาองคกรใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ตั้งไว

คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) หมายถึง กรรมการจํานวน 4 ทานซึ่งไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัท โดยคัดเลือกผูที่ มีความรูความสามารถและประสบการณในดานการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบจะทําหนาที่ในการดูแลกระบวนการจัดทําและเปดเผยขอมูลงบการเงิน กํากับดูแลใหมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม ดูแลใหบริษัทปฏิบัติตามขอกําหนด กฎหมายที่เกี่ยวของ และภารกิจอ่ืนๆ ที่กฎหมายกําหนด

การตรวจสอบตามแผนก หมายถึง แผนการตรวจสอบประจําปจะระบุสวนงานที่จะทําการตรวจสอบ เม่ือถึงกําหนดเวลาการตรวจสอบจะเริ่มจากการสํารวจขอมูลเบื้องตน จัดทําแนวทางการตรวจสอบ ตรวจสอบและสรุปผลการตรวจสอบ รายงานผลการตรวจสอบใหผูรับการตรวจสอบทราบ เสนอรายงานการตรวจสอบตอกรรมการผูจัดการและคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee)

การตรวจสอบตามกระบวนการ หมายถึง แผนการตรวจสอบประจําปจะกําหนดกระบวนงานที่จะทําการตรวจสอบ ซึ่งแตละกระบวนงานนั้นจะมีสวนงานที่เกี่ยวของเพ่ือทําการตรวจสอบมากกวา 1 สวนงาน เม่ือถึงกําหนดเวลาการตรวจสอบจะเริ่มจากการสํารวจขอมูลเบื้องตน ประเมินการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO จัดลําดับความเสี่ยงของกิจกรรมการควบคุมสวนงานที่รับการตรวจสอบ หลังจากนั้นก็จะทําการตรวจสอบและสรุปผลการตรวจสอบ รายงานผลการตรวจสอบใหผูรับการตรวจสอบทราบ เสนอรายงานการตรวจสอบตอกรรมการผูจัดการและคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee)

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. เพ่ือใหผูบริหารทราบถึงสาเหตุที่ทําใหเกิดความลาชาในการปฏิบัติงานของสํานักตรวจสอบภายใน และสามารถจัดลําดับความสําคัญของแตละปญหาเพื่อทําการแกไขไดอยางทันทวงที

2. เพ่ือลดความเสี่ยงจากการปฏิบัติงานตรวจสอบ (Audit Risk) และสรางความมั่นใจใหผูบริหารในเรื่องประสิทธิภาพการตรวจสอบภายใน

3. เพ่ือเปนแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบภายในใหดียิ่งขึ้น 4. เพ่ือพัฒนาแนวทางการตรวจสอบมาตรฐาน (Standard Audit Program)

12

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 22: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

บทที่ 2 แนวคิด และทฤษฎีทีเ่ก่ียวของ

ความหมายของการตรวจสอบภายใน

สมาคมผูตรวจสอบภายใน หรือ The Institute of Internal Auditors (IIA) แหงประเทศสหรัฐอเมริกา ไดใหความหมายของการตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) วาการตรวจสอบภายใน คือ การใหความเชื่อม่ันและการใหคําปรึกษาอยางเที่ยงธรรมและเปนอิสระ เพ่ือเพิ่มคุณคาและปรับปรุงการดําเนินงานขององคกร การตรวจสอบภายในชวยใหองคกรบรรลุเปาหมายดวยการประเมินและปรับปรุงประสิทธิผลของกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและการกํากับดูแลอยางเปนระบบและเปนระเบียบ โดยผูตรวจสอบภายในขององคกรจะเปนผูที่ทําหนาที่วิเคราะหเสนอแนะ และใหคําปรึกษาจากกระบวนการตรวจสอบภายในนั้น (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย , แนวทางการตรวจสอบภายใน , หนา 13-14)

วัตถุประสงคของการตรวจสอบภายใน

วัตถุประสงคของการตรวจสอบภายใน คือ การประเมินการควบคุมขององคกรเพ่ือใหม่ันใจวาองคกรสามารถบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของกิจการไดอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ภายใตคาใชจายและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม โดยความเสี่ยงของกิจกรรมตางๆ ภายในองคกรจะเปนปจจัยสําคัญที่กําหนดทิศทางการทํางานของกิจกรรมการตรวจสอบภายในเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของการตรวจสอบภายใน ซึ่งหมายถึง การจัดแผนงานตรวจสอบภายในจากขอมูลของการวิเคราะหความเสี่ยงขององคกร (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย , แนวทางการตรวจสอบภายใน,หนา14)

แนวทางการปฏิบัติของกรมการประกันภัยเรื่องการตรวจสอบภายในของบริษัทประกันภัย

กรมการประกันภัยกําหนดใหบริษัทประกันภัยควรจัดใหมีการตรวจสอบภายใน เพ่ือใหมีการประเมินผลการดําเนินงานของบริษัทอยางอิสระ เพ่ือชวยใหผูปฏิบัติงานในองคกรทํางานในหนาที่ความรับผิดชอบของแตละคนอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงคขององคกร จึงกําหนดใหมีการปฏิบัติงานเกี่ยวของกับการตรวจสอบภายใน ดังนี้

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 23: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

14

1. การจัดทําคูมือการตรวจสอบภายใน เปนเอกสารที่ผูอํานวยการหนวยงานตรวจสอบภายในจัดทําขึ้นเพ่ืออธิบาย แนะนําและใหความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตรวจสอบ ซึ่งควรสอดคลองและอางอิงกับนโยบายโดยรวมขององคกร วัตถุประสงค และขอบเขตการตรวจสอบที่กําหนดขึ้น โดยสาระสําคัญในคูมือการตรวจสอบแบงเปน 3 สวน ดังนี้ 1.1 ดานเทคนิคการตรวจสอบ เพ่ือใหม่ันใจวาการปฏิบัติงานตรวจสอบเปนไปตาม

มาตรฐานการประกอบวิชาชีพตรวจสอบภายใน 1.2 ดานการบริหาร เพ่ือใหม่ันใจในการบริหารหนวยงาน การบริหารงานบุคคล การ

บริหารงานตรวจสอบ และการจัดทํารายงานตางๆ 1.3 ดานการปฏิบัติงานอ่ืน เพ่ือใหผูตรวจสอบภายในไดรับทราบกฎหมาย ขอบังคับ และ

ระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวของ นอกเหนือจากที่กําหนดไวในดานเทคนิคการตรวจสอบและดานการบริหาร

2. การวางแผนการตรวจสอบ ในการปฏิบัติงานตรวจสอบของหนวยงานตรวจสอบภายใน ควรมีการวางแผนการตรวจสอบเพื่อใหการตรวจสอบเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 แผนการตรวจสอบระยะยาว เปนแผนการตรวจสอบที่กําหนดลวงหนา 3-5 ป ซึ่งตอง

สอดคลองกับนโยบาย เปาหมาย และวัตถุประสงคขององคกร 2.2 แผนการตรวจสอบระยะสั้น หรือแผนการตรวจสอบประจําป ซึ่งตองสอดคลองกับ

แผนการตรวจสอบระยะยาว และตองมีการประเมินความเสี่ยงและจัดลําดับกอนหลังของกิจกรรมที่จะทําการตรวจสอบ เพ่ือใหแนใจวากิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูงจะตองทําการตรวจสอบกอน และทุกกิจกรรมตองไดรับการตรวจสอบตามแผน

3. กระบวนการตรวจสอบ ผูตรวจสอบภายในควรปฏิบัติงานตามขั้นตอนของกระบวนการตรวจสอบ และนําเทคนิคในการตรวจสอบมาประยุกตใช เพ่ือใหสามารถปฏิบัติงานตรวจสอบไดอยางมีคุณภาพ โดยมีขั้นตอนกระบวนการตรวจสอบ ดังนี้ 3.1 การสํารวจขั้นตน เพ่ือใหผูตรวจสอบภายในเรียนรูเกี่ยวกับงานของหนวยงานที่จะทํา

การตรวจสอบ ซึ่งจะทําใหสามารถประเมินความเสี่ยงกอนเลือกงานมาทําการตรวจสอบไดอยางเปนระบบ

3.2 การประเมินความเสี่ยง เพ่ือใชในการจัดลําดับความสําคัญของกิจกรรมที่เขาทําการตรวจสอบ เพ่ือใหผูบริหารไดประโยชนจากผลการตรวจสอบภายใน และสามารถนํามาปรับปรุงแกไขเรื่องสําคัญๆ ไดทันเวลา

3.3 การจัดทําแนวทางการตรวจสอบภายใน ผูตรวจสอบตองวางแผนงานตรวจสอบ โดยมีขั้นตอนตางๆ เร่ิมตั้งแต การกําหนดวัตถุประสงคและขอบเขตงาน การสํารวจขอมูลเบื้องตน การเขียนแนวทางการตรวจสอบ รวมทั้งการจัดทํารายงานผลการ

14

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 24: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

15

ตรวจสอบ ในการวางแผนการตรวจสอบผูตรวจสอบภายในตองมีการเตรียมการอยางเปนระบบ สิ่งสําคัญที่ผูตรวจสอบทุกคนตองจัดทํา คือ แนวทางการตรวจสอบ (Audit Program) เพ่ือใหการปฏิบัติงานทําไดอยางมีประสิทธิภาพและตรงตามเปาหมายที่ตองการ

3.4 การปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม 3.5 การจัดทํารายงานและติดตามผล รายงานผลการตรวจสอบที่เสนอตอผูบริหารและผู

ที่เกี่ยวของ ตองมีความถูกตอง ครบถวน เชื่อถือไดและมีความชัดเจนเพียงพอที่จะใหผูอานรายงานเขาใจถึงขอเท็จจริงหรือขอบกพรองที่เกิดขึ้น พรอมทั้งขอเสนอแนะในการแกไขปรับปรุงเพ่ือพิจารณาสั่งการไดอยางรวดเร็วและทันเวลา

ความหมายของการควบคุมภายใน

ในป 2535 Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) ไดออก COSO Internal Control – Integrated Framework โดยใหคําจํากัดความของการควบคุมภายในวา คือ กระบวนการหรือขั้นตอนการทํางานที่เปนผลมาจากการออกแบบโดยคณะกรรมการ ผูบริหาร หรือบุคลากรอื่นๆ ขององคกร เพ่ือกอใหเกิดความมั่นใจไดอยางสมเหตุสมผลวา องคกรจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคดังตอไปน้ี คือ ความมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดําเนินงาน ความเชื่อถือไดของรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบายที่ใชบังคับองคกรนั้นๆ (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, แนวทางการตรวจสอบภายใน, หนา 28)

องคประกอบของการควบคุมภายใน แบงออกเปน 5 องคประกอบ ดังน้ี (ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ, แนวทางการตรวจสอบภายใน, หนา 29-31) 1. สภาพแวดลอมการควบคุม (Control Environment) เปนรากฐานที่มีผลตอองคประกอบ

อ่ืนๆ ของการควบคุมภายในใหอยูไดอยางมั่นคง ทําใหเกิดระเบียบวินัยซึ่งบุคคลตองยอมรับและนําไปปฏิบัติ รวมทั้งกอใหเกิดโครงสรางของการควบคุมที่จะตามมา

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นมีปจจัยมาจากภายในและภายนอก จึงจําเปนที่องคกรตองมีกระบวนการประเมินความเสี่ยงเพื่อใหทราบระดับความเสี่ยงและกําหนดมาตรการหรือวิธีการควบคุมที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล เพ่ือจัดการความเสี่ยงเหลานั้น

3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) นโยบาย มาตรการ และวิธีการตางๆ ที่ฝายบริหารนํามาใชเพ่ือกอใหเกิดความเชื่อม่ันไดวาคําสั่งหรือวิธีการปฏิบัติตางๆ ที่ฝายบริหาร

15

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 25: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

16

กําหนดขึ้นไดมีการปฏิบัติตาม และมีมาตรการตางๆ ที่จําเปนในการจัดการกับความเสี่ยงไดอยางเหมาะสม เพ่ือใหสามารถบรรลุวัตถุประสงคขององคกรได

4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) สารสนเทศมีความสําคัญตอการปฏิบัติงานของบุคลากรในทุกระดับ องคกรตองระบุสารสนเทศที่จําเปนตองใช และสื่อสารในรูปแบบและชวงเวลาที่เหมาะสม

5. การเฝาติดตามประเมิน (Monitoring) เปนกระบวนการประเมินระบบการควบคุมภายในในชวงเวลาหน่ึงๆ ซึ่งอาจกระทําโดยการประเมินกิจกรรมอยางตอเน่ืองหรือแยกประเมินเปนครั้งคราว หรืออาจรวมทั้งสองแบบเขาดวยกัน

แนวทางการปฏิบัติของกรมการประกันภัยเรื่องการควบคุมภายในของบริษัทประกันภัย

บริษัทประกันภัยประสบกับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะทางเศรษฐกิจและการดําเนินธุรกิจอยูตลอดเวลา ซึ่งมีผลกระทบตอความเสี่ยงโดยรวมของบริษัท (Risk Profile) การเปลี่ยนแปลงอาจเกิดขึ้นจากปจจัยภายในและปจจัยภายนอก รวมถึงเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม กฎหมาย กฎระเบียบ และการเปลี่ยนแปลงการดําเนินงานของบริษัท บริษัทประกันภัยจึงมีความจําเปนตองกําหนดใหมีนโยบาย วิธีการปฏิบัติและการควบคุมที่เหมาะสมเพื่อใหสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงสําคัญที่เกี่ยวของกับการดําเนินธุรกิจของบริษัทได

กรมการประกันภัยไดกําหนดการควบคุมภายในขั้นต่ําที่บริษัทประกันภัยจําเปนตองมีและถือปฏิบัติ คือ สภาพแวดลอมของการควบคุมตองไดรับการออกแบบเพื่อใหบริษัทเชื่อม่ันไดวาการดําเนินงานของบริษัทเปนไปดวยความระมัดระวังและเหมาะสม การกําหนดใหมีและคงไวซึ่งการควบคุมภายในที่มีประสิทธิผลภายใตสภาพแวดลอมของการควบคุมที่เขมแข็งเปนปจจัยพ้ืนฐานของการบริหารจัดการที่ดี หนาที่อยางหนึ่งของบริษัทที่มีตอผูถือกรมธรรม ผูถือหุน เจาหนี้ และหนวยงานกํากับดูแล คือ การสรางความเชื่อม่ันวาบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และความเสี่ยงจะไดรับการบริหารจัดการดวยความระมัดระวังและเหมาะสม

การควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและกระบวนการซึ่งออกแบบขึ้น และนํามาปฏิบัติเพ่ือใหความเชื่อม่ันอยางมีเหตุผลวาจะบรรลุการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล รายงานการเงินมีความเชื่อถือได และการปฏิบัติงานเปนไปตามกฎหมาย กฎระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวของ

16

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 26: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

17

องคประกอบของระบบการควบคุมภายใน มี 5 องคประกอบ ดังนี้ 1. สภาพแวดลอมของการควบคุม (Control Environment) หมายถึง ขอบเขตของระบบการ

ควบคุมภายใน ไมวาจะเปนการจัดองคกร การพัฒนาระบบ การนําเอาระบบมาใชและการติดตามการทํางานของระบบการควบคุมภายใน สภาพแวดลอมการควบคุมประกอบดวยปจจัย ดังน้ี 1.1 คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดีและมี

ความรูความเขาใจในหนาที่ของตนในการจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

1.2 ผูบริหารบริษัท ซึ่งบริหารการดําเนินธุรกิจของบริษัทดวยความระมัดระวังและเหมาะสม

1.3 การควบคุมทางดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงาน ซึ่งตองอาศัยระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิผลเพ่ือใหการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทเปนไปอยางเหมาะสม

1.4 การตรวจสอบอยางอิสระ เพ่ือติดตามประสิทธิผลของการควบคุมทางดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงาน

2. การประเมินและการบริหารความเสี่ยง (Risk Assessments) บริษัทประกันภัยจําเปนตองกําหนดใหมีนโยบายและวิธีการที่เหมาะสมในการประเมินและบริหารความเสี่ยงที่บริษัทกําลังเผชิญอยู โดยจัดใหมีกระบวนการเพื่อ 2.1 ระบุและประเมินความเสี่ยงที่บริษัทกําลังเผชิญอยูและอาจมีผลกระทบอยางมี

สาระสําคัญตอบริษัทเปนประจําอยางตอเน่ือง 2.2 ควบคุมดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงานใหสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได

อยางเหมาะสมดวยความระมัดระวัง 2.3 สอบทานการควบคุมดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ เพ่ือใหแนใจ

วาการควบคุมดังกลาวยังคงสามารถบริหารจัดการความเสี่ยงไดอยางมีประสิทธิผลและเหมาะสมกับสถานการณในปจจุบัน

2.4 ใหแนใจวาบริษัทมีวิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิผลในการวางแผน การอนุมัติ การดําเนินธุรกรรมประเภทใหมๆ การวัดความเสี่ยงที่เกี่ยวของและการกําหนดการควบคุมดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงานที่จําเปนในการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการกําหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดและนโยบายในการบริหารความเสี่ยง

2.5 ใหแนใจวาความเสี่ยงโดยรวมของบริษัทอยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได 2.6 จัดใหมีระบบการรายงานเพื่อใหแนใจวาผูบริหารจะไดรับขอมูลเกี่ยวกับความเสี่ยง

สําคัญที่บริษัทกําลังประสบหรือเกี่ยวของกับธุรกรรมของบริษัท เพ่ือใหผูบริหาร

17

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 27: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

18

สามารถกําหนดหรือปรับเปลี่ยนนโยบายและกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสมและทันทวงที

3. การควบคุมทางดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงาน (Control Activities) เปนสิ่งจําเปนที่จะชวยใหการบริหารงานและการควบคุมทั้งการดําเนินงานและธุรกรรมของบริษัทเปนไปอยางเหมาะสม โดยขอบเขตของการควบคุมทางดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงานจะแตกตางกันไปในแตละบริษัทขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ เชน ลักษณะและความหลากหลายของธุรกิจ ปริมาณธุรกรรม ขนาดและความซับซอนของธุรกรรม ระดับความเสี่ยงในแตละสวนงาน ระดับของการรวมอํานาจและการกระจายอํานาจ รวมทั้งความมีประสิทธิผลของระบบสารสนเทศของบริษัท 3.1 การควบคุมดานโครงสราง ประกอบดวย

3.1.1 การจัดทําขอพึงปฏิบัติของบริษัท (Code of Conduct) เปนลายลักษณอักษรและนํามาใชปฏิบัติ

3.1.2 การจัดทําแผนการดําเนินธุรกิจโดยรวมของบริษัทอยางนอยปละครั้ง 3.1.3 การกําหนดนโยบายและกระบวนการดานบุคลากรของบริษัทและการนํามาถือ

ปฏิบัติไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิผล 3.2 การควบคุมดานวิธีการปฏิบัติงาน ประกอบดวย

3.2.1 คูมือหรือเอกสารอยางเปนทางการที่แสดงถึงรายละเอียดของการควบคุมดานโครงสรางและวิธีการปฏิบัติงานของบริษัทอยางชัดเจน

3.2.2 ระดับของอํานาจในการอนุมัติที่ชัดเจน 3.2.3 การแบงแยกหนาที่และความรับผิดชอบที่เหมาะสมภายในบริษัท 3.2.4 การควบคุมดานบัญชีและการบันทึกขอมูลทางบัญชีที่เหมาะสม 3.2.5 ระบบการบริหารการเก็บรักษาและควบคุมสินทรัพยและหนี้สินอยางเหมาะสม

และมีประสิทธิผล (ทั้งรายการที่อยูในและนอกงบการเงิน) 3.2.6 นโยบายและวิธีการประเมินราคาสินทรัพยและหนี้สินโดยใชหลักความ

ระมัดระวัง 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) บริษัทตองจัดให

มีระบบสารสนเทศที่สามารถใหขอมูลที่เพียงพอเพ่ือใชในการตัดสินใจทางธุรกิจไดทันตอเหตุการณ สนับสนุนใหการบริหาร การดําเนินงาน และการควบคุมภายในเปนไปอยางมีประสิทธิผลและใชในการจัดทํารายงานตอบุคคลภายนอก ดังนั้นบริษัทประกันภัยตองพัฒนาระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิผลและใหขอมูลอยางเพียงพอเปนปจจุบัน และเปนประโยชนในการบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัท

5. ระบบการติดตาม (Monitoring)

18

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 28: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

19

มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน

สมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย แบงมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน ออกเปน 3 ดาน ดังน้ี (สมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย, มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายใน, หนา 1-20) 1. มาตรฐานดานคุณสมบัติ (Attribute Standards) คือ มาตรฐานที่เกี่ยวกับลักษณะของ

องคกร และบุคลากรที่ทําหนาที่ตรวจสอบภายใน 1.1 วัตถุประสงค อํานาจหนาที่ และความรับผิดชอบ ควรกําหนดใหชัดเจนไวในกฎ

บัตรของการตรวจสอบภายใน ทั้งนี้ควรสอดคลองกับมาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการตรวจสอบภายในและตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการขององคกร

1.2 ความเปนอิสระและความเที่ยงธรรม การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในควรมีความอิสระ ในขณะที่ผูตรวจสอบภายในควรปฏิบัติงานดวยความเที่ยงธรรม

1.3 ความเชี่ยวชาญและความระมัดระวังเยี่ยงวิชาชีพ ผูตรวจสอบภายในควรมีความรู ทักษะความสามารถอื่นๆ ที่จําเปนตอการปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย และควรปฏิบัติหนาที่ดวยความระมัดระวังรวมทั้งตองมีการพัฒนาวิชาชีพอยางตอเน่ือง

1.4 โครงการประกันและปรับปรุงคุณภาพ ผูบริหารหนวยงานตรวจสอบภายในควรพัฒนาการตรวจสอบใหครอบคลุมทุกกิจกรรมพรอมทั้งติดตามประสิทธิผลอยางตอเน่ือง เพ่ือเพ่ิมคุณคาและปรับปรุงการดําเนินงานขององคกรเพ่ือใหม่ันใจวาสอดคลองกับมาตรฐานและประมวลจรรยาบรรณของการตรวจสอบภายใน

2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standards) คือ มาตรฐานที่เกี่ยวกับลักษณะของกิจกรรมการตรวจสอบภายใน และการกําหนดบรรทัดฐานทางคุณภาพที่สามารถนําไปใชประเมินผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน 2.1 การจัดการกิจการตรวจสอบภายใน เพ่ือใหเกิดความมั่นใจวาการตรวจสอบภายใน

เปนการเพิ่มคุณคาใหแกองคกร ตั้งแตการวางแผน การนําเสนอและอนุมัติแผนงานตรวจสอบ การจัดการทรัพยากร นโยบายและวิธีการปฏิบัติงาน การประสานงาน การรายงานตอคณะกรรมการและผูบริหารระดับสูง

2.2 ลักษณะของงาน กิจกรรมการตรวจสอบภายในควรสามารถประเมินและชวยสนับสนุนใหมีการปรับปรุงระบบการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และการกํากับดูแล โดยใชวิธีการที่เปนระบบและเปนระเบียบ

2.3 การวางแผนภารกิจ ผูตรวจสอบภายในควรจัดทําและบันทึกรายละเอียด โดยแสดงถึงขอบเขต วัตถุประสงค เวลา และการใชทรัพยากร

19

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 29: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

20

2.4 การปฏิบัติภารกิจ ผูตรวจสอบภายในควรระบุ การวิเคราะห การประเมินและการบันทึกขอมูลใหเพียงพอตอการปฏิบัติงานใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไว

2.5 การรายงานผลการปฏิบัติภารกิจ ควรมีการรายงานผลการปฏิบัติภารกิจโดยไมชักชา

2.6 การติดตามผลการตรวจสอบ ผูบริหารหนวยงานตรวจสอบภายใน ควรสรางและรักษาไวซึ่งระบบการติดตาม

2.7 ขอยุติการยอมรับความเสี่ยงของฝายจัดการ เม่ือผูบริหารหนวยงานตรวจสอบภายในเห็นวาความเสี่ยงที่ฝายจัดการยอมรับน้ัน อาจไมอยูในระดับที่องคกรยอมรับได ผูบริหารหนวยงานตรวจสอบภายในและผูบริหารระดับสูงควรรวมกันเสนอตอคณะกรรมการขององคกรเพื่อพิจารณาหาขอยุติ

3. มาตรฐานการนําไปปฏิบัติ (Implementation Standards) นําไปใชกับภารกิจบางกรณี โดยแบงเปนมาตรฐานการนําไปปฏิบัติสําหรับการใหความเชื่อม่ัน และมาตรฐานการนําไปปฏิบัติสําหรับการใหคําปรึกษา

การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis)

SWOT Analysis เปนเครื่องมือพ้ืนฐานที่ใชสําหรับการวิเคราะห และประเมินสถานการณ ผลการวิเคราะหจะถูกนําไปใชเปนฐานขอมูลในการกําหนดทิศทางการดําเนินงานหรือวิสัยทัศน ตลอดจนกลยุทธในการดําเนินธุรกิจขององคกรตอไป ดังน้ันการวิเคราะหภายในหรือจุดแข็ง จุดออนจะตองวิเคราะหตามสภาพความเปนจริงที่ เปนอยูขององคกร และตองประเมินสถานการณภายนอกหรือโอกาส อุปสรรคอยางถูกตองแมนยําเทานั้น จึงจะไดขอมูลที่ถูกตองและสามารถนําไปใชประโยชนไดจริง (สุวัฒน ศิรินิรันดรและภาวนา สายชู , MBA HANDBOOK , หนา 339 – 340)

ภาพที่ 1 SWOT Analysis Model

ปจจัยสถานการณภายใน

(จุดออน จุดแข็ง)

ปจจัยสถานการณภายนอก

(โอกาส อุปสรรค)

ความสามารถหลัก

ปจจัยความสําเร็จ

หวงโซแหงคุณคา

7 องคประกอบ

แรงกดดันทั้ง 5

คูแขงทางธุรกิจ

สภาพแวดลอม

20

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 30: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

บทที่ 3 ระเบียบวิธีการศึกษาและผลการศึกษา

ในการศึกษาเรื่อง กลยุทธเพ่ิมประสิทธิภาพสํานักตรวจสอบภายใน บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) มีการกําหนดแนวทางการศึกษา วิธีการศึกษา การวิเคราะหขอมูล แนวทางการแกไขปญหา และการตัดสินใจเลือกแนวทางการแกไขปญหา ดังนี้

แนวทางการศึกษา วิธีการศึกษา

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร ประกอบดวย 1. ผูบริหารและเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายใน จํานวนทั้งสิ้น 5 คน 2. ผูบริหารสวนงานอื่นภายในบริษัท จํานวนทั้งสิ้น 56 สวนงาน กลุมตัวอยาง ประกอบดวย 1. หัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน จํานวน 4 คน 2. ผูบริหารสวนงานอื่นที่รับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงาน

ตามแนวทาง COSO จํานวน 34 คน 3. ผูบริหารสวนงานอื่นที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และป 2550 จํานวน 9 คน

ไดแก สวนปฏิบัติการสินไหม สวนพัฒนาองคกร สวนประกันอัคคีภัย 1 สวนประกันอัคคีภัย 2 สวนการประกันภัยตอ 2 สวนประกันภัยทรัพยสิน 1 สวนประกันภัยทรัพยสิน 2 สวนบริหารหนี้ และสวนดําเนินงานการเงิน

การเก็บรวบรวมขอมูล

ขอมูลการศึกษา แบงเปน ขอมูลปฐมภูมิและขอมูลทุติยภูมิ โดยมีขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้

ขอมูลปฐมภูมิ 1. กําหนดประเด็นในการสัมภาษณใหสอดคลองกับปญหาและวัตถุประสงคของ

การศึกษา 2. ตั้งคําถามในการสัมภาษณหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบ

ภายใน ตั้งแตขั้นตอนการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงาน

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 31: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

22

ตามแนวทาง COSO ผลดีและผลเสียในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ การเปรียบเทียบผลดีและผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง และการวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคที่เกิดขึ้นภายในสํานักตรวจสอบภายใน

3. สัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO จํานวน 34 สวนงาน ถึงความมีประสิทธิภาพในการประชาสัมพันธใหทราบเกี่ยวกับการประเมิน ขั้นตอนการประเมิน รวมทั้งการสรุปผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO

4. สัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550 จํานวน 9 สวนงาน ตั้งแตจํานวนครั้งในการเขาทําการตรวจสอบ ความแตกตางของแนวทางการตรวจสอบ รวมทั้งความพึงพอใจของสวนงานตอการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบ

5. สรุปผลการสัมภาษณ ขอมูลทุติยภูมิ 1. เปรียบเทียบแผนการตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 2. เปรียบเทียบระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบแตละแผนกในป 2549 และระยะเวลาใน

การตรวจสอบแตละกระบวนการในป 2550 ตามแผนการตรวจสอบประจําปกับการปฏิบัติงานจริง

3. เปรียบเทียบระยะเวลาที่ใชในการรองขอขอมูลจากสายงานเทคโนโลยีในป 2549 กับการจัดเตรียมขอมูลเองในป 2550

4. ศึกษาความทันสมัยของคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual) 5. เก็บรวบรวมขอมูลประสบการณทํางาน และหลักสูตรการอบรมของหัวหนาสวน

ตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

การประมวลผลขอมูล

นําผลการสัมภาษณและขอมูลทุติยภูมิมาทําการรวบรวม และวิเคราะหโดยจัดทําเปนสรุปรายงานตามประเด็นที่มีการกําหนดไว ดังนี้

1. วิเคราะหสาเหตุที่ทําใหการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ไมมีประสิทธิภาพทั้งที่เกิดจากปจจัยภายในและปจจัยภายนอก

22

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 32: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

23

2. นําแผนการตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบตามแผนกมาเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ มาทําการวิเคราะหหลักเกณฑในการคัดเลือกกระบวนการ รวมทั้งการกําหนดระยะเวลาการตรวจสอบในแผนการตรวจสอบประจําป 2550

3. วิเคราะหถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบตามแผนกมาเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

4. พิจารณาประสบการณและการอบรมของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในป 2549-2550 วาเจาหนาที่มีประสบการณเหมาะสมกับงานที่ไดรับมอบหมาย และมีการพัฒนาความรูใหกับเจาหนาที่อยางเพียงพอหรือไม

5. วิเคราะหประสิทธิภาพในการดําเนินงานตรวจสอบภายในโดยเปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

6. วิเคราะหประสิทธิภาพในการดําเนินงานตรวจสอบภายในโดยเปรียบเทียบการปฏิบัติงานจริงกับคูมือการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน (Audit Manual) และพิจารณาถึงความทันสมัยของคูมือการปฏิบัติงาน

7. วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) ของสํานักตรวจสอบภายใน

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลปฐมภูมิ การวิเคราะหขอมูลปฐมภูมิที่ไดมาจากการสัมภาษณหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและ

เจาหนาที่ตรวจสอบภายใน ผูบริหารสวนงานอื่นที่ไดรับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO และผูบริหารสวนงานอื่นที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และป 2550 นั้นไดขอสรุป ดังนี้

23

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 33: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

24

1. ผลการสัมภาษณหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน จํานวน 4 คน แบบสัมภาษณหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายในไดทํา

การแบงหัวขอออกเปน 5 หัวขอหลัก คือ ขอมูลทั่วไป การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO การปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคของสํานักตรวจสอบภายใน โดยไดผลการสัมภาษณดังนี้

ขอมูลทั่วไป

ตารางที่ 6 ผลการสัมภาษณขอมูลทั่วไปของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

รายละเอียด หัวหนาสวน เจาหนาท่ี เจาหนาท่ี เจาหนาท่ี

ตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามโครงสรางองคกร

หัวหนาสวน เจาหนาที่ เจาหนาที่ เจาหนาที่

ตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามการปฏิบัติงานจริง

หัวหนาทีม เจาหนาที่ หัวหนาทีม เจาหนาที่

ประสบการณทํางาน ( เฉพาะการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน)

7 ป 4 เดือน 3 ป 8 เดือน 3 ป 6 เดือน 1 ป 9 เดือน

หัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน มีประสบการณในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในอยูในชวง 1-7 ป ซึ่งพบวา บุคลากรสวนใหญมีประสบการณคอนขางนอย จึงควรจะจัดใหมีการฝกอบรมหลักสูตรตางๆ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางาน

24

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 34: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

25

การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO

ตารางที่ 7 ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ขอมูลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

รายละเอียด นอย ปานกลาง

ดี/มาก ดีมาก/มากที่สุด

กอนการประเมินทานมีความรูเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO อยูในระดับใด

50%

25%

25%

-

ทานมีสวนรวมในการจัดทําแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงาน

25%

50%

-

25%

ทานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับคําถามในแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในมากนอยเพียงใด

50%

25%

25%

-

การสื่อสารกับสวนงานตางๆ เกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO นั้นสวนงานมีความเขาใจมากนอยเพียงใด

75%

25%

-

-

การใหความรวมมือของสวนงานตางๆ เกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน

75%

-

25%

-

ความเพียงพอของระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ตามแผนการตรวจสอบประจําป

100%

-

-

-

ทานคิดวาผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานอยูในระดับใด

-

-

100%

-

การนําผลไปเพื่อใชในการจัดลําดับความเสี่ยงเพ่ือประกอบการจัดทําแผนการตรวจสอบประจําป

75%

25%

-

-

หลังการประเมินทานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO อยูในระดับใด

-

50%

25%

25%

25

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 35: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

26

ตารางที่ 8 ผลการสัมภาษณขอมูลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

รายละเอียด ผลการสัมภาษณ

กระบวนการใดที่สงผลใหเกิดความลาชาในการดําเนินงาน กระบวนการสรุปรายงาน เน่ืองจาก ไมมีการกําหนดรูปแบบของรายงานที่ชัดเจน รวมทั้งเจาหนาที่สรุปรายงานไมเปนไปตามเกณฑมาตรฐานเดียวกัน

ทานคิดวาควรประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานอีกหรือไม

ควรมีการประเมินผลอีก เน่ืองจาก กระบวนการควบคุมบางกระบวนการยังไมมีการปฏิบัติอยางจริงจัง แตอยางไรก็ตามเจาหนาที่ควรมีความเชี่ยวชาญรวมทั้งผูรับการประเมินตองมีความเขาใจมากขึ้นกอนทําการประเมินครั้งถัดไป

ทานคิดวาควรประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ปละกี่ครั้ง

ควรมีการประเมินปละ 1 ครั้ง คิดเปน 75% เน่ืองจาก ในการประเมินแตละครั้งใชเวลาประมาณ 2-3 เดือน

ขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน

1. เจาหนาที่ควรมีการพัฒนาความรูใหมีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน

2. ปรับปรุงรูปแบบคําถามใหมีความชัดเจนและตรงประเด็น

3. กําหนดรูปแบบการสรุปรายงานที่เปนมาตรฐาน

กอนการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO หัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีความรูความเขาใจอยูในระดับนอย เน่ืองจาก เพ่ิงผานการอบรมเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยงตามแนวทาง COSO และอยูในชวงการนํามาประยุกตใชในการจัดทําแนวทางการตรวจสอบ หากนํามาเปรียบเทียบกับหลังการประเมินจะพบวามีความรูความเขาใจเพิ่มมากขึ้นอยูในระดับปานกลาง เนื่องจาก ในชวงที่ทําการประเมินไดมีการศึกษาเพิ่มเติม รวมทั้งไดพบปญหาและอุปสรรคจึงนํามาพัฒนาปรับปรุงใหดีขึ้น ในสวนของแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มีการประชุมรวมกันภายในสํานักตรวจสอบภายในเพื่อจัดทําแบบประเมินแตเจาหนาที่มีความเขาใจในคําถามแตละขออยูในระดับนอย โดยสาเหตุสวนใหญนั้นมากจากคําถามมีความซ้ําซอน อานแลวเขาใจยาก นอกจากนั้นแมจะมีการสื่อสารกับสวนงานลวงหนากอนเขาทําการสัมภาษณแตเน่ืองจากการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO เปนเรื่องใหมสําหรับสวนงานสงผลใหไดรับความรวมมือใน

26

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 36: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

27

การสัมภาษณอยูในระดับนอย รวมทั้งในชวงที่ทําการประเมินทีมบริหารความเสี่ยงของบริษัทก็ไดจัดสงแบบสอบถามเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยงใหสวนงานตางๆ ทําเชนกัน

จากเหตุการณขางตนสงผลใหการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ใชเวลาในการดําเนินงานคอนขางนานไมเปนไปตามแผนการตรวจสอบที่มีการวางไว เน่ืองจากบางขั้นตอนในการดําเนินงานสงผลใหเกิดความลาชา เชน ขั้นตอนการสรุปรายงานนั้นไมมีการกําหนดรูปแบบรายงานที่ชัดเจน ความเขาใจของเจาหนาที่ในการใหคะแนนไมตรงกัน และมีการเลื่อนกําหนดการสัมภาษณอยูเสมอ ในสวนของคะแนนที่ไดหลังจากการประเมินผล พบวา คะแนนสวนใหญอยูในระดับดีถึงดีมาก ทําใหไมสามารถนําผลจากการประเมินมาใชในการวางแผนการตรวจสอบประจําป แตอยางไรก็ตามการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในนั้นเปนเครื่องมือดานการควบคุมที่จะผลักดันในสวนงานพัฒนาการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น หัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายในเห็นวาควรจัดใหมีการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในอยางนอยปละ 1 ครั้ง โดยในชวงกอนการประเมินครั้งตอไป ควรมีการจัดการอบรมเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง

COSO เพ่ือใหม่ันใจวาทั้งผูประเมินและผูรับการประเมินมีความรูอยางเพียงพอ รวมทั้งตองทําการปรับคําถามในแบบประเมินใหมีความชัดเจน และกําหนดรูปแบบของรายงานใหเปนมาตรฐานเพื่อใชเปนแนวทางในการสรุปรายงานของสวนงานตางๆ

การปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

ตารางที่ 9 ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ขอมูลการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

รายละเอียด นอย ปานกลาง

ดี/มาก ดมีาก/มากที่สุด

กระบวนการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําป 2550 มีความเหมาะสมมากนอยเพียงใด

100%

-

-

-

ระยะเวลาการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําป 2550 มีความสอดคลองกับการปฏิบัติงานจริงหรือไม

100%

-

-

-

ทานคิดวามีการจัดสรรงานการตรวจสอบเหมาะสมกับความรูความสามารถของทีมตรวจสอบภายในเพียงใด

25%

75%

-

-

การปรับเปล่ียนแนวทางการตรวจสอบสงผลดีตอขั้นตอนการตรวจสอบมากนอยเพียงใด

-

50%

50%

-

27

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 37: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

28

ตารางที่ 10 ผลการสัมภาษณขอมูลการการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

รายละเอียด ผลการสัมภาษณ

ขั้นตอนการตรวจสอบภายในขั้นตอนใดไดรับผลกระทบมากที่สุด

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง เน่ืองจากเพิ่งเริ่มปฏิบัติงานในป 2550 โดยตองสรุปขั้นตอนการปฏิบัติงาน สํารวจขอมูลเบ้ืองตนเพ่ือหาจุดควบคุมที่สําคัญมาทําการตรวจสอบ เปนตน

ส่ิงที่สงผลกระทบทําใหการตรวจสอบภายในเกิดความลาชา

เจาหนาที่ขาดความรูความเขาใจในกระบวนการของงานที่เขาตรวจสอบ

ขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนการตรวจสอบประจําป 1. จัดใหมีการประเมินความเสี่ยงเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบ

2. ขยายระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบใหมีความเหมาะสม

3. ควรมีการประเมินการปฏิบัติงานของเจาหนาที่อยางสม่ําเสมอเพื่อเปนการผลักดันใหมีการพัฒนาการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง

หัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายในเห็นวากระบวนการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําป 2550 นั้นมีความเหมาะสมอยูในระดับนอย เน่ืองจาก มีการตรวจสอบกระบวนการตางๆ ตาม Business Flow ของบริษัทเกือบทุกกระบวนการ ซึ่งทําใหไมสามารถทําการตรวจสอบไดครบภายใตระยะเวลาที่จํากัด จึงเกิดความไมม่ันใจวากระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงถูกนํามาตรวจในชวงเวลาที่เหมาะสม โดยในการวางแผนการตรวจสอบใชเพียงการประเมินความเสี่ยงในอดีตและผลการตรวจสอบในป 2549 ประกอบการพิจารณา นอกจากนั้นระยะเวลาที่กําหนดตามแผนการตรวจสอบประจําปไมสอดคลองกับระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบจริง เน่ืองจากใชการประมาณการเวลาจากการตรวจสอบตามแผนกในป 2549 ในขณะที่การจัดสรรหนาที่ความรับผิดชอบของทีมตรวจสอบที่ระบุในแผนการตรวจสอบอยูในระดับปานกลาง เน่ืองจากการตรวจสอบบางกระบวนการตองใชผูเชี่ยวชาญโดยเฉพาะในการตรวจสอบ หรือใชผูที่เคยทําการตรวจสอบมากอนเพ่ือความสะดวกในการปฏิบัติงาน สวนผลของการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบสงผลตอขั้นตอนการปฏิบัติงานในระดับปานกลางถึงในระดับมาก เนื่องจากมีการเพิ่มขั้นตอนในสวนของการประเมินความเสี่ยงเพ่ือหาจุดควบคุม ซึ่งเจาหนาที่สวนใหญยังไมมีความเชี่ยวชาญเพียงพอสงผลใหตองใชเวลา

28

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 38: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

29

มากขึ้น รวมทั้งเจาหนาที่ขาดความรูความเขาใจในกระบวนการของงานที่เขาตรวจสอบ และบางครั้งขอมูลที่ใชในการตรวจสอบนั้นก็ลาชาไมทันตอการตรวจสอบ แตอยางไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงแนวทางการตรวจสอบทําใหไดทําการตรวจสอบหลายสวนงานมากขึ้นรวมทั้งไดตรวจสอบสวนงานที่ไมเคยไดรับการตรวจสอบเลย แตยังคงตองทําการปรับปรุงแกไขในบางขั้นตอน เชน ควรทําการคัดเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบกอน ปรับระยะเวลาในการตรวจสอบใหเหมาะสม และควรมีการประเมินเจาหนาที่ตรวจสอบอยางสม่ําเสมอเพื่อใหมีการพัฒนาปรับปรุงอยางตอเน่ือง

เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

ตารางที่ 11 ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ขอมูลการเปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเองของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

รายละเอียด นอย ปานกลาง

ดี/มาก ดีมาก/มากที่สุด

ระยะเวลาที่ใชในการรองขอขอมูลจากสายงานเทคโนโลยีกอนการไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล

-

-

25%

75%

ระยะเวลาที่ใชในการจัดเตรียมขอมูลเพ่ือใชในการตรวจสอบหลังจากไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล

-

-

25%

75%

ตารางที่ 12 ผลการสัมภาษณขอมูลการเปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเองของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

รายละเอียด ผลการสัมภาษณ

อุปสรรคที่เกิดขึ้นหลังจากการไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล

เจาหนาที่ตรวจสอบภายในขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับฐานขอมูลและการเชื่อมโยงของฐานขอมูลตางๆ

ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาท่ีเกิดขึ้น 1. ทางสายงานเทคโนโลยีควรใหความรูเกี่ยวกับการเชื่อมโยงของฐานขอมูล

2. รองขอขอมูลการเชื่อมโยง โดยทําการขอลวงหนาการตรวจสอบ 2-4 สัปดาห

29

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 39: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

30

กอนการไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูลระยะเวลาที่ใชในการรองขอขอมูลจากสายงานเทคโนโลยีคอนขางนานสวนใหญใชเวลามากกวา 20 วันทําการขึ้นไป ในขณะที่เม่ือสามารถเขาถึงฐานขอมูลไดเองใชเวลาประมาณ 46 วันทําการ โดยขอมูลที่นํามาใชตองมีการตรวจสอบความถูกตองหลายครั้ง หรือบางครั้งก็ไมสามารถดึงขอมูลที่ตองการมาใชในการตรวจสอบไดตองทําการตรวจสอบแบบ Manual แทน เน่ืองจากไมทราบถึงความสัมพันธของฐานขอมูลตางๆ การแกไขอาจทําไดดวยการขอใหทางสายงานเทคโนโลยีใหความรูเกี่ยวกับการเชื่อมโยงฐานขอมูลตางๆ หรือหากสํานักตรวจสอบภายในตองการใหทางสายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลเพ่ือใชในการตรวจสอบใหก็จะตองมีการวางแผนลวงหนาโดยใหเวลาในการเตรียมขอมูล 2-4 สัปดาห

การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรคของสํานักตรวจสอบภายใน

จุดแข็งของสํานักตรวจสอบภายใน 1. เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีมนุษยสัมพันธและสัมพันธภาพที่ดีกับเจาหนาที่

สวนงานตางๆ สงผลใหไดรับความรวมมือในการทํางานเปนอยางดี 2. สํานักตรวจสอบภายในมีการนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ

ในการทํางานที่มากขึ้น เชน โปรแกรม ACL โปรแกรมการวัดผล Balance Scorecard เปนตน จุดออนของสํานักตรวจสอบภายใน

1. เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีประสบการณในการทํางานคอนขางนอย ทําใหขาดความเชี่ยวชาญในการดําเนินงานตรวจสอบ

2. เจาหนาที่ขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการที่จะทําการตรวจสอบ 3. สํานักตรวจสอบภายในยังไมมีเจาหนาที่ที่ผานการทดสอบ Certified Internal Audit

โอกาสของสํานักตรวจสอบภายใน 1. ไดรับโอกาสในการเขาศึกษากระบวนการทํางานของสวนงานตางๆ ตามที่ไดทํา

การรองขอ 2. ไดเขารวมโครงการตางๆ ของบริษัทอยางสมํ่าเสมอเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ

ดําเนินงานของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายใน อุปสรรคของสํานักตรวจสอบภายใน

1. ขอจํากัดในการเขาถึงขอมูลที่จําเปนเพื่อการประเมินความเสี่ยง 2. บางสวนงานมองวาการตรวจสอบเปนการเพิ่มภาระและไมไดสรางคุณคาใหกับ

สวนงานเทาที่ควร

30

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 40: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

31

2. ผลการสัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO จํานวนทั้งสิ้น 34 คน

การเขาสัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ไดผลดังนี้

ตารางที่ 13 ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ของผูบริหารสวนงานที่ไดรับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO

รายละเอียด นอย ปานกลาง

ดี/มาก ดมีาก/มากที่สุด

สวนงานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด

91%

9%

-

-

สวนงานมีความเขาใจเกี่ยวกับคําถามในแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด

3%

47%

50%

-

สวนงานมีความเขาใจเกี่ยวกับระดับคะแนนในแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด

9%

59%

32%

-

สวนงานคิดวาแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มีประโยชนตอสวนงานมากนอยเพียงใด

9%

59%

32%

-

สํานักตรวจสอบภายในมีการประชาสัมพันธใหทราบและเขาใจกอนการเขาทําการจัดสงแบบประเมินพรอมสัมภาษณ

-

12%

88%

-

เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีความรูความเขาใจอยางเพียงพอในการอธิบายเกี่ยวกับแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด

-

24%

76%

-

ตารางที่ 14 ผลการสัมภาษณของผูบริหารสวนงานที่ไดรับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO

รายละเอียด ผลการสัมภาษณ

สวนงานคิดวาแบบประเมินนั้นมีความซ้ําซอนกับการประเมินความเสี่ยงของสวนงานพัฒนาองคกร

มีความซ้ําซอน 50% ไมมีความซ้ําซอน 50%

สวนงานคิดวาเปนการเพิ่มภาระใหกับสวนงาน เปนการเพิ่มภาระ 3% ไมเปนการเพิ่มภาระ 97%

31

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 41: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

32

จากการเขาทําการสัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO พบวา ผูบริหารสวนงานตางๆ มีความรูเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO คอนขางนอยรวมทั้งผูบริหารบางทานเห็นวาการควบคุมภายในนาจะดีแลว เพราะปจจุบันมีการปฏิบัติงานเปนไปตามระบบคุณภาพ ISO นอกจากนั้นชวงที่สํานักตรวจสอบภายในประเมินเปนชวงเวลาเดียวกับที่สวนงานพัฒนาองคกรประเมินความเสี่ยงเชนกันสงผลใหสวนงานเห็นวามีความซ้ําซอนในการประเมินถึง 50% แตก็ใหความรวมมือในการประเมินเปนอยางดีเพราะเห็นวาไมไดเปนการเพิ่มภาระใหกับสวนงานมากนัก สวนความเขาใจคําถามในแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO

อยูในระดับดี เน่ืองจาก ในการเขาสัมภาษณสํานักตรวจสอบภายในไดจัดสงเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถในการอธิบายคําถามและระดับคะแนนตางๆ อยางชัดเจน ในขณะที่สวนงานยังเห็นถึงประโยชนที่ไดรับจากแบบประเมินอยูในระดับปานกลาง เพราะกระบวนงานสวนใหญมีการวางจุดควบคุมที่ดีเพียงพอแลว

ขอดีของสํานักตรวจสอบภายใน 1. เจาหนาที่มีปฏิสัมพันธที่ดี ยิ้มแยม แจมใส ในการเขาสัมภาษณ 2. มีความพยายามในการปรับปรุงกระบวนการทํางานเพื่อใหมีประสิทธิภาพที่ดี 3. เจาหนาที่มีความสามารถในการถายทอดเปนอยางดี 4. มีความพยายามผลักดันใหมีการวัดผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล 5. มีความกระตือรือรนในการปฏิบัติงาน

ขอเสียของสํานักตรวจสอบภายใน 1. คําถามของแบบประเมินอานแลวเขาใจยาก 2. ระยะเวลาที่ใชในการสัมภาษณคอนขางนาน 3. แบบประเมินไมเหมาะที่จะใชกบับางสวนงาน (สวนงานตลาด)

ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการการจัดสงแบบประเมินไปพรอมกับการแจงนัดหมายเพื่อใหอานทํา

ความเขาใจลวงหนา 2. ควรตัดคําถามที่มีความซ้ําซอนออก 3. ควรมีการทําประเมินรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรของบริษัท 4. ควรจัดใหมีการอบรมเพื่อใหความรูกับสวนงานตางๆ อยางสม่ําเสมอ 5. ควรมีการประชาสัมพันธเกี่ยวกับการควบคุมภายในอยางสม่ําเสมอ

32

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 42: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

33

3. ผลการสัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550 จํานวนทั้งสิ้น 9 คน

การเขาสัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550 ไดผลดังนี้

ตารางที่ 15 จํานวนครั้งที่ ไดรับการตรวจสอบของผูบริหารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550

จํานวนคร้ังท่ีไดรับการตรวจสอบ รายละเอียด

1 2 3 4

สวนงานไดรับการตรวจสอบในป 2549 56% 44% - - สวนงานไดรับการตรวจสอบในป 2550 78% - 22% -

ตารางที่ 16 ผลการสัมภาษณ (รอยละ) ของผูบริหารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550

รายละเอียด นอย ปานกลาง

ดี/มาก ดีมาก/มากที่สุด

สวนงานมีความพึงพอใจกับการเปลี่ยนแปลงแนวทางการตรวจสอบในป 2550

22%

56%

22%

-

ตารางที่ 17 ผลการสัมภาษณของผูบริหารสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550

รายละเอียด ผลการสัมภาษณ

สวนงานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการตรวจสอบที่เปล่ียนแปลงไปหรือไม

มีความเขาใจ เน่ืองจาก เจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในไดทําการอธิบายทุกครั้งเมื่อเขาทําการตรวจสอบ

การปรับเปลี่ยนกระบวนการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการสงผลใหมีการตรวจสอบบางสวนงานซ้ําหลายครั้ง และไดเขาทําการตรวจสอบหนวยงานที่ไมเคยเขาทําการตรวจสอบ ซึ่งบางครั้งไดมีการเขาตรวจสอบสวนงานที่ไมมีความเสี่ยง ทําใหสิ้นเปลืองเวลาและตนทุนในการดําเนินงาน สวนใหญความพึงพอใจของสวนงานอยูในระดับปานกลาง เน่ืองจากบางครั้งมีการเขามาสอบถามเรื่องซ้ําๆ กันเพราะมีการเปลี่ยนแปลงทีมตรวจสอบ ในขณะที่สวนงานมีความเขาใจตอการเปลี่ยนแปลงแนวทางการตรวจสอบ

33

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 43: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

34

เน่ืองจากในการเขาตรวจสอบทุกครั้งเจาหนาที่ตรวจสอบภายในจะมีการอธิบายใหผูบริหารเขาใจถึงการตรวจสอบที่มีการเปลี่ยนแปลงและเหตุผลที่เขามาทําการตรวจสอบหลายครั้ง

ขอดีของสํานักตรวจสอบภายใน 1. เจาหนาที่มีมนุษยสัมพันธและมีการสื่อสารที่ดี 2. มีการทําความเขาใจกับสวนงานกอนเขาทําการตรวจสอบเสมอ 3. ไดรับโอกาสจากผูบริหารเพื่อใหเขามาปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานใหดีขึ้น 4. ไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูลที่ใชในการตรวจสอบ

ขอเสียของสํานักตรวจสอบภายใน 1. เขามาทําการตรวจสอบในชวงที่ทางสวนงานไมสะดวก 2. เจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในไมคอยเขาใจกระบวนการที่เขามาตรวจสอบ 3. มีการเปลี่ยนแปลงทีมตรวจสอบทําใหตองมีการอธิบายเรื่องเดิมซํ้าเสมอ

ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการสอบถามชวงเวลาที่เหมาะสมในการเขาทําการตรวจสอบ 2. กรณีที่มีการตรวจสอบหลายสวนงานควรมีการแยกรายงานตามสวนงาน 3. ควรเขาตรวจสอบปละไมเกิน 2 ครั้ง 4. ควรแจงหลักฐานที่ตองใชกอนตั้งแตชวงวันที่นัดหมาย 5. ควรศึกษากระบวนงานที่ตองทําการตรวจสอบอยางชัดแจงกอนเขาตรวจสอบ

การวิเคราะหขอมูลทุติยภูมิ การวิเคราะหขอมูลทุติยภูมินั้นไดขอสรุป ดังนี้

1. การเปรียบเทียบแผนการตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 แผนการตรวจสอบประจําป 2549 เปนการตรวจสอบตามแผนก โดยกอนการจัดทําแผนการตรวจสอบ ผูบริหารสํานักตรวจสอบภายในใชขอมูลการประเมินความเสี่ยงในป 2546 ผลจากรายงานการตรวจสอบในป 2548 ขอมูลการดําเนินงานของบริษัทและขอกําหนดตางๆ ของกรมการประกันภัยเพ่ือประกอบการพิจารณา นอกจากนั้นในการวางแผนการตรวจสอบจะมีการกําหนดเจาหนาที่ที่รับผิดชอบ ระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบอยางชัดเจน รวมทั้งมีการเสนอตอกรรมการผูจัดการและคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) เพ่ือพิจารณาอนุมัติกอนที่จะนํามาดําเนินการ แผนการตรวจสอบประจําป 2550 เปนการตรวจสอบตามกระบวนการ โดยกอนการจัดทําแผนการตรวจสอบผูบริหารสํานักตรวจสอบภายในและหัวหนาสวนสํานักตรวจสอบภายในไดทําการพิจารณากระบวนการที่จะนํามาใชในการตรวจสอบ จากรายงานการตรวจสอบในป 2549 และจัดทําเปนแผนการตรวจสอบโดยในชวงตนปมีการประเมินประสิทธิภาพการควบคุม

34

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 44: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

35

ภายในตามแนวทาง COSO หลังจากนั้นจึงเร่ิมกระบวนการตรวจสอบทั้งหมด 14 กระบวนการ รวมทั้งการตรวจสอบระบบงานกลางอีก 3 ระบบ เม่ือเปรียบเทียบแผนการตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 จะพบวา ในป 2549 ไดมีการประเมินความเสี่ยงและประเมินระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบ จากการตรวจสอบในครั้งกอนๆ ในขณะที่แผนการตรวจสอบในป 2550 ไมไดมีการประเมินความเสี่ยงจึงวางแผนใหมีการตรวจสอบทุกกระบวนการของ Business Flow ของบริษัท รวมทั้งมีการกําหนดระยะเวลาการตรวจสอบเทากับในป 2549 ทั้งที่กระบวนการในการดําเนินการตรวจสอบในป 2550 มีขั้นตอนที่มากขึ้นสงผลใหการปฏิบัติงานโดยสวนใหญไมเปนไปตามระยะเวลาที่มีการกําหนดไว

2. การเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําปกับการปฏิบัติงานจริง

เม่ือแผนการตรวจสอบประจําปไดรับการอนุมัติจากกรรมการผู จัดการและคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) แลว จะมีการดําเนินการตามแผนที่กําหนดไว การเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบตามแผนกับการปฏิบัติงานจริง เปนดังนี้

ตารางที่ 18 การเปรียบเทียบระยะเวลาตามแผนการตรวจสอบประจําปกับการปฏิบัติงานจริงของงานตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550

การเปรียบเทียบงานตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550

งานตรวจสอบป 2549 (ใชวิธีการตรวจสอบตามแผนก)

แผนการตรวจสอบประจําป

การปฏิบัติงาน

จริง

งานตรวจสอบป 2550 (ใชวิธีการตรวจสอบตามกระบวนการ)

แผนการตรวจสอบประจําป

การปฏิบัติงาน

จริง

การชดใชคาสินไหม 15 วัน 12 วัน กระบวนการชดใชสินไหม

20 วัน 46 วัน

การรับประกันภัย 20 วัน 27 วัน กระบวนการรับประกันภัย

45 วัน 49 วัน

การประกันภัยตอ 20 วัน 20 วัน กระบวนการประกันภัยตอ

25 วัน 35 วัน

การลงทุน 15 วัน 16 วัน กระบวนการลงทุน 20 วัน 54 วัน การบริหารหนี้ 15 วัน ไมไดออก

รายงาน กระบวนการบริหารหนี้ 20 วัน 89 วัน

การดูแลรักษาเงิน 15 วัน 33 วัน กระบวนการเบิกจายเงิน 20 วัน ยังไมไดปดรายงาน

35

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 45: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

36

จากการเปลี่ยนแปลงแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ พบวาการดําเนินการตรวจสอบตามแผนกนั้นสามารถทําการตรวจสอบไดใกลเคียงแผนการตรวจสอบประจําปที่วางไว ในขณะที่การตรวจสอบตามกระบวนการนั้นไมสามารถทําการตรวจสอบไดตามระยะเวลาที่กําหนด เน่ืองจากมีการเพิ่มขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง และการจัดทําวิธีการปฏิบัติงานของสวนงานที่เขาตรวจสอบ จึงควรมีการพิจารณาปรับเปลี่ยนระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบที่ระบุในแผนการตรวจสอบประจําปใหมีความเหมาะสม

3. การเปรียบเทียบระยะเวลาที่ใชในการรองขอขอมูลจากสายงานเทคโนโลยีในป 2549 กับการจัดเตรียมขอมูลเองในป 2550 ในป 2549 สํานักตรวจสอบภายในจะทําการรองขอขอมูลเพ่ือใหทางสายงาน

เทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลเพ่ือใชในการตรวจสอบให แตเน่ืองจากการจัดเตรียมขอมูลน้ันใชเวลาคอนขางนาน ทําใหบางครั้งไมทันตอความตองการจึงไดหาแนวทางแกไขโดยในป 2550 สํานักตรวจสอบภายในไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล แตเน่ืองจากไมทราบการเชื่อมโยงของขอมูลจึงไมสามารถทําการดึงขอมูลที่ถูกตองมาใชงานได สงผลใหในป 2550 มีการดึงขอมูลมาใชงานเพียง 3 กระบวนการ นอกจากนั้นเน่ืองจากความไมม่ันใจในขอมูลที่ทําการดึงมาใชงานเอง ผูบริหารสํานักตรวจสอบภายในจึงระงับการดึงขอมูลของสํานักตรวจสอบภายในเปลี่ยนมาทําการตรวจสอบแบบ Manual แทน

ตารางที่ 19 ระยะเวลาที่ใชในการจัดเตรียมขอมูลของป 2549 และ 2550

ระยะเวลาการดําเนินงาน (วันทําการ) เร่ือง

ป 2549 ป 2550

ขอมูลรับประกันภัย 39 46 ขอมูลบริการลูกคา 39 46 ขอมูลบริหารหนี้ 37 ไมสามารถทําการดึงขอมูลได

4. การศึกษาความทันสมัยของคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual) คูมือการปฏิบัติงานของสํานักตรวจสอบภายในมีการจัดทํามานาน เน้ือหาภายใน

ประกอบดวย เปาหมายสวนงาน บทนํา การกําหนดแผนงาน การเริ่มตนตรวจสอบ การตรวจสอบและการควบคุม กระดาษทําการ การสรุปผลการตรวจสอบ การเสนอรายงาน การติดตามผลหลังการตรวจสอบ และภาคผนวก โดยเนื้อหาสวนใหญขาดความทันสมัย และไมเปนไปตามการปฏิบัติงานในปจจุบัน เน่ืองจากในชวงป 2550 มีการเปลี่ยนแปลงโดยนําเอาหลักการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มาประยุกตใช การเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบจากการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการสงผลทําใหมีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการปฏิบัติงานตรวจสอบ เชน การสํารวจขอมูลเบื้องตน

36

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 46: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

37

การประเมินความเสี่ยงและการจัดทําแนวทางการตรวจสอบ เปนตน นอกจากนั้นรูปแบบของรายงานการตรวจสอบก็ทําการปรับปรุงเพ่ิมเติมในสวนของการระบุขอสังเกต ขอเสนอแนะ และความคิดเห็นในทุกๆ วัตถุประสงคที่ทําการตรวจสอบ สงผลใหไมสามารถใชคูมือการปฏิบัติงานดังกลาวเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติงานได

5. ขอมูลประสบการณการทํางานและหลักสูตรการอบรมของหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาตรวจสอบภายใน สํานักตรวจสอบภายใน ประกอบดวย ผูบริหารสํานักตรวจสอบภายใน หัวหนาสวน

ตรวจสอบภายใน และเจาหนาที่ตรวจสอบภายในรวมทั้งสิ้น 5 คน โดยเจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีประสบการณเฉลี่ย 1-3 ป ถือวามีประสบการณในการทํางานคอนขางนอย นอกจากนั้นในป 2550 ไมมีการวางแผนการฝกอบรมทางดานการตรวจสอบภายในของสวนงานไว เน่ืองจากผูบริหารสํานักตรวจสอบภายในเห็นวาหัวหนาสวนสํานักตรวจสอบภายในและเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายใน ไดเขาศึกษาตอในระดับปริญญาโททําใหอาจไมสามารถเขารับการอบรมได แตทั้งน้ีสํานักตรวจสอบภายในไดเขาฝกอบรมตามที่สวนพัฒนาบุคลากรของบริษัทกําหนดไวครบถวน

สรุปผลการวิเคราะห 1. วิเคราะหสาเหตุที่ทําใหการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับ

สวนงานตามแนวทาง COSO ไมมีประสิทธิภาพท่ีเกิดจากปจจัยภายในและปจจัยภายนอก

ปจจัยภายใน เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ไมเพียงพอ รวมทั้งยังมีความเขาใจไมตรงกันภายในสํานักตรวจสอบภายใน เชน ความเขาใจในความหมายของคําถามบางขอแตกตางกัน มาตรฐานการใหคะแนนแตกตางกัน นอกจากนั้นยังไมมีการสรุปรูปแบบรายงานที่เปนมาตรฐานทําใหตองมีการเปลี่ยนแปลงรายงานการตรวจสอบหลายครั้ง และเกิดความลาชาในการปฏิบัติงาน ปจจัยภายนอก เน่ืองจากการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ถูกนํามาใชเปนปแรกทําใหสวนงานผูรับการตรวจสอบยังไมคอยเขาใจเทาที่ควร และในชวงที่ทําการประเมินก็ซอนกับการประเมินความเสี่ยงโดยสวนงานพัฒนาองคกรทําใหไดรับการตอบรับใหเขาสัมภาษณเพียง 34 สวนงาน ทั้งที่มีการวางแผนการประเมินทั้งสิ้นถึง 56 สวนงาน นอกจากนั้นคําถามมักเกี่ยวกับการบริหารระบบคุณภาพ ISO ทําใหไดรับคะแนนในระดับ 3 ถึง

37

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 47: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

38

4 (ดีถึงดีมาก) เปนสวนใหญ จึงไมสามารถนําผลมาประกอบการพิจารณาจัดลําดับความเสี่ยงในการเขาตรวจสอบได

2. นําแผนการตรวจสอบประจําป 2549 และ 2550 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบตามแผนกมาเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ มาทําการวิเคราะหหลักเกณฑในการคัดเลือกกระบวนการ รวมทั้งการกําหนดระยะเวลาการตรวจสอบในแผนการตรวจสอบประจําป 2550

ในการพิจารณาจัดทําแผนการตรวจสอบประจําป 2550 นั้น ผูบริหารสํานักตรวจสอบภายในไดพิจารณาผลจากการตรวจสอบในป 2549 และ Business Flow ของบริษัทโดยคาดการณวาจะนําผลจากการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในมาใชในการวางแผน แตเน่ืองจากในการทําแบบประเมินน้ันไมประสบความสําเร็จ จึงวางแผนตาม Business Flow ของบริษัท โดยมีการตรวจสอบเกือบทุกกระบวนการและมีการกําหนดระยะเวลาไวคอนขางนอย เพราะกําหนดจากการพิจารณาแผนการตรวจสอบประจําป 2549 และเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการตรวจสอบและรูปแบบเอกสารภายในทําใหไมสามารถปฏิบัติการตรวจสอบไดทันตามกําหนดการที่วางไว

3. วิเคราะหถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตรวจสอบภายในจากการตรวจสอบตามแผนกมาเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

สวนงานมีความพึงพอใจในการเปลี่ยนแปลงแนวทางการตรวจสอบ เนื่องจากการตรวจสอบตามกระบวนการสงผลใหมีการปรับปรุงกระบวนการเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ อยางไรก็ตามบางสวนงานที่ไดรับการตรวจสอบหลายครั้งเกิดความไมพอใจ เน่ืองจากมีการเปลี่ยนแปลงทีมตรวจสอบ มีการถามคําถามซ้ําๆ และทําใหสวนงานสิ้นเปลืองเวลาในการทํางาน โดยสวนงานเห็นวาควรมีการกําหนดวาจะเขาทําการตรวจสอบปละไมเกิน 2 ครั้ง

4. พิจารณาประสบการณและการอบรมของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในป 2549-2550 วาเจาหนาที่มีประสบการณเหมาะสมกับงานที่ไดรับมอบหมาย และมีการพัฒนาความรูใหกับเจาหนาที่อยางเพียงพอหรือไม หัวหนาสวนตรวจสอบภายในมีประสบการณทํางาน 7 ป ในขณะที่เจาหนาที่มี

ประสบการณระหวาง 1-3 ป ซึ่งคอนขางนอย จึงควรที่จะตองมีการอบรมดานการตรวจสอบภายในเพื่อเพิ่มศักยภาพในการทํางานมากขึ้น ในป 2549 มีการวางแผนการอบรมไวแตเจาหนาที่ไมสามารถเขาอบรมได เน่ืองจากเขาศึกษาตอในระดับปริญญาโทถึง 3 คน สงผลใหป 2550 ไมไดมีการวางแผนการอบรมไวลวงหนา จากผลการอบรมป 2550 พบวามีการอบรมที่ทางสวนพัฒนาบุคลากรของบริษัทจัดใหอยางครบถวน ในขณะที่มีการเรียนเพิ่มเติมในสวนของ

38

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 48: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

39

เทคนิคตางๆ เพ่ือมาใชในการพัฒนาการทํางาน เชน การเรียน SQL Reporting Service เพ่ือนํามาประยุกตในการจัดทํารายงานการตรวจสอบ เปนตน

5. วิเคราะหประสิทธิภาพในการดําเนินงานตรวจสอบภายในโดยเปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

การรองขอใหทางสายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลเพื่อใชในการตรวจสอบนั้นแมจะมีการใชเวลาคอนขางนานแตขอมูลมีความนาเชื่อถือในการนํามาใช ในขณะที่การจัดเตรียมขอมูลเองใชเวลานาน เน่ืองจากไมทราบการเชื่อมโยงของฐานขอมูลและขาดความม่ันใจในเรื่องความถูกตองของขอมูลและบางกรณีทําการดึงขอมูลมาแลวไมสามารถนํามาใชในการตรวจสอบได

6. วิ เคราะหประสิทธิภาพในการดําเนินงานตรวจสอบภายในโดยการเปรียบเทียบการปฏิบัติงานจริงกับคูมือการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน (Audit Manual) และพิจารณาถึงความทันสมัยของคูมือการปฏิบัติงาน

คูมือการปฏิบัติงานมีการจัดทํามานาน รูปแบบบางอยางก็มีการเปลี่ยนแปลงสงผลใหเม่ือเปรียบเทียบการปฏิบัติงานจริงกับคูมือการปฏิบัติงานแลวไมตรงกัน เชน ในเรื่องของการประเมินความเสี่ยง การจัดทําแนวทางการตรวจสอบ กระดาษทําการ และรายงานการตรวจสอบ จึงควรมีการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงานเพื่อใหเจาหนาที่มีคูมือที่ทันสมัยประกอบการทํางาน

7. วิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis) ของสํานักตรวจสอบภายใน

จุดแข็งของสํานักตรวจสอบภายใน 1. เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีมนุษยสัมพันธและสัมพันธภาพที่ดีกับเจาหนาที่

สวนงานตางๆ สงผลใหไดรับความรวมมือในการทํางานเปนอยางดี 2. สํานักตรวจสอบภายในมีการนําเอาเทคโนโลยีมาประยุกตใช เ พ่ือเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้น เชน โปรแกรม ACL โปรแกรมการวัดผล Balance Scorecard เปนตน

3. มีความพยายามผลักดันใหมีการวัดผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานสากล 4. มีความพยายามในการปรับปรุงกระบวนการทํางานเพื่อใหมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น

39

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 49: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

40

จุดออนของสํานักตรวจสอบภายใน 1. เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีประสบการณในการทํางานคอนขางนอยทําใหขาด

ความเชี่ยวชาญในการดําเนินงานตรวจสอบ 2. เจาหนาที่ขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการที่จะทําการตรวจสอบ 3. สํานักตรวจสอบภายในยังไมมีเจาหนาที่ที่ผานการทดสอบ Certified Internal Audit โอกาสของสํานักตรวจสอบภายใน 1. ไดรับโอกาสในการเขาศึกษากระบวนการทํางานของสวนงานตางๆ ตามที่ไดทํา

การรองขอ 2. ไดเขารวมโครงการตางๆ ของบริษัทอยางสมํ่าเสมอเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ

ดําเนินงานของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายใน 3. ไดรับโอกาสจากผูบริหารเพื่อใหเขามาปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานใหดีขึ้น 4. ไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงขอมูลที่ใชในการตรวจสอบ อุปสรรคของสํานักตรวจสอบภายใน 1. ขอจํากัดในการเขาถึงขอมูลที่จําเปนเพื่อการประเมินความเสี่ยง 2. บางสวนงานมองวาการตรวจสอบเปนการเพิ่มภาระและไมไดสรางคุณคาใหกับ

สวนงานเทาที่ควร

แนวทางการแกไขปญหา

จากการวิเคราะหขอมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิสามารถประมวลผลเปนทางเลือกในการแกไขปญหาได ดังนี้

1. กรณีการประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO

ทางเลือกที่ 1 สํานักตรวจสอบภายในจัดทําวารสารออนไลนผานทาง Intranet ทุกเดือน พรอมสง

เจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในเขาอบรมเกี่ยวกับการควบคุมภายในเพิ่มเติมและจัดทําการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ปละ 1 ครั้ง

รายละเอียด : สํานักตรวจสอบภายในจัดทําวารสารออนไลนผานทางระบบ Intranet เดือนละครั้งเพ่ือทําการประชาสัมพันธเกี่ยวกับความรูการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและเปนชองทางในการแจงขาวสารตางๆ ของสํานักตรวจสอบภายใน รวมทั้งวางแผนสงเจาหนาที่ตรวจสอบภายในเขารับการอบรมเกี่ยวกับการควบคุมภายในอยางนอยคนละ 2 หลักสูตรเพื่อเพ่ิมศักยภาพในการดําเนินงาน นอกจากนั้นสํานักตรวจสอบภายในตองทําการปรับปรุงแบบ

40

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 50: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

41

ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ใหเหมาะสมกับสวนงานเพื่อใหสามารถทําการคนหาความเสี่ยงได และจัดสงแบบประเมินใหสวนงานลวงหนาเม่ือทําการนัดหมายเขาทําการสัมภาษณ โดยจะจัดใหมีการประเมินปละ 1 ครั้ง ในชวงเดือนมกราคม-กุมภาพันธของทุกปเพ่ือนําผลมาประกอบการพิจารณาวางแผนการตรวจสอบประจําป ผลที่คาดวาจะไดรับ :

บุคลากรภายในบริษัทมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และขาวสารตางๆ ของสํานักตรวจสอบภายในไดสะดวกมากขึ้น รวมทั้งการสงเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในเขาอบรมเพิ่มเติม จะเปนการเสริมสรางความรูความเขาใจดานการควบคุมภายในใหสามารถนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นการปรับปรุงแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในที่ เหมาะสมจะทําใหทราบถึงความเสี่ยงของกระบวนการตางๆ ที่อาจเกิดขึ้น เพ่ือนํามาประกอบการพิจารณาจัดทําแผนการตรวจสอบประจําปและนํามาพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพขององคกร งบประมาณที่คาดวาจะเกิดขึ้น :

1. การจัดเตรียมขอมูลเพื่อลงวารสารออนไลน ไมมีคาใชจายในการดําเนินงาน 2. การอบรมของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในมีคาใชจายหลักสูตรละประมาณ

5,000 บาททั้งหมด 6 หลักสูตร คิดเปนคาใชจายทั้งหมด 30,000 บาท 3. การปรับปรุงแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานมี

คาใชจายชุดละ 10 บาททั้งหมด 56 ชุด คิดเปนคาใชจายทั้งหมด 560 บาท ขอดี :

1. เปนชองทางในการเพิ่มความรูดานการควบคุมภายในใหแกบุคลากรขององคกร 2. เพ่ือใหมีการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในที่เปนมาตรฐานสากล 3. เพ่ือใหมีการพัฒนากระบวนการดําเนินงานขององคกรใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ขอเสีย : 1. การประชาสัมพันธทาง Intranet อาจเขาถึงกลุมเปาหมายเพียงบางสวนเทานั้น 2. คาใชจายในการอบรมคอนขางสูง 3. บางสวนงานไมใหความรวมมือในการประเมิน 4. เกิดความซ้ําซอนกับการประเมินความเสี่ยงโดยสวนงานพัฒนาองคกร

ทางเลือกที่ 2 สํานักตรวจสอบภายในจัดทําวารสารออนไลนผานทาง Intranet ทุกเดือน พรอมสงเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในเขาอบรมเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO และรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรเพื่อจัดทําแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน

41

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 51: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

42

รายละเอียด : สํานักตรวจสอบภายในจัดทําวารสารออนไลนผานทางระบบ Intranet เดือนละครั้งเพ่ือทําการประชาสัมพันธความรูเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและเปนชองทางในการแจงขาวสารตางๆ รวมทั้งวางแผนสงเจาหนาที่อบรมอยางนอยคนละ 2 หลักสูตรเพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการดําเนินงาน นอกจากนั้นสํานักตรวจสอบภายในตองรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรเพ่ือจัดทําแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO เพ่ือคนหาความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ผลที่คาดวาจะไดรับ : บุคลากรภายในบริษัทมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และขาวสารตางๆ ของสํานักตรวจสอบภายในไดสะดวกมากขึ้น รวมทั้งการสงเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในเขาอบรมเพิ่มเติม เพ่ือเปนการเสริมสรางความรูความเขาใจดานการควบคุมภายในใหสามารถนํามาประยุกตใชในการปฏิบัติงาน นอกจากนั้นการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในรวมกันเพ่ือคนหาความเสี่ยง โดยปรับปรุงแบบประเมินใหสามารถตอบวัตถุประสงคของทั้งสํานักตรวจสอบภายในและสวนงานพัฒนาองคกรจะชวยลดความซ้ําซอนในการปฏิบัติงาน งบประมาณที่คาดวาจะเกิดขึ้น :

1. การจัดเตรียมขอมูลเพื่อลงวารสารออนไลน ไมมีคาใชจายในการดําเนินงาน 2. การอบรมของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในมีคาใชจายหลักสูตรละประมาณ

5,000 บาททั้งหมด 6 หลักสูตร คิดเปนคาใชจายทั้งหมด 30,000 บาท 3. การปรับปรุงแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานมี

คาใชจายชุดละ 5 บาท (เนื่องจากการปนสวนคาใชจายกับสวนงานพัฒนาองคกร) ทั้งหมด 56 ชุด คิดเปนคาใชจายทั้งหมด 280 บาท

ขอดี : 1. เปนชองทางในการเพิ่มความรูดานการควบคุมภายในใหแกบุคลากรขององคกร 2. เพ่ือใหมีการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในที่เปนมาตรฐานสากล 3. เพ่ือใหมีการพัฒนากระบวนการดําเนินงานขององคกรใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น 4. ประหยัดคาใชจายในการดําเนินการจัดทําแบบประเมิน 5. ไมเกิดความซ้ําซอนกับการประเมินความเสี่ยงโดยสวนงานพัฒนาองคกร

ขอเสีย : 1. การประชาสัมพันธทาง Intranet อาจเขาถึงกลุมเปาหมายเพียงบางสวนเทานั้น 2. คาใชจายในการอบรมคอนขางสูง 3. บางสวนงานไมใหความรวมมือในการประเมิน

42

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 52: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

43

2. กรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

ทางเลือกที่ 1 ใชวิธีการตรวจสอบตามกระบวนการ โดยนําผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในมาใชจัดลําดับความเสี่ยงเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบ จัดสรรเวลาการตรวจสอบใหมีความเหมาะสมและทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual) รายละเอียด : นําผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามสวนงานมาใชจัดลําดับความเสี่ยงพรอมพิจารณารายงานการตรวจสอบปกอนประกอบ เพ่ือใหสามารถเลือกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบกอนและประเมินระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบใหเหมาะสม รวมทั้งปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงานใหทันสมัยเพ่ือเปนแนวทางในการดําเนินงาน ผลที่คาดวาจะไดรับ : สามารถมั่นใจไดวากระบวนการที่มีความเสี่ยงสูง ไดมีการนํามาปรับปรุงแกไขเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการตรวจสอบและการปฏิบัติงานจริงเปนไปตามแผนการตรวจสอบที่มีการวางไว รวมทั้งมีคูมือการปฏิบัติงานที่เปนปจจุบัน งบประมาณที่คาดวาจะเกิดขึ้น : ไมมีคาใชจายในการดําเนินงาน ขอดี :

1. การปฏิบัติงานตรวจสอบจะเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 2. เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการดําเนินงานขององคกร

ขอเสีย : ไมมี

ทางเลือกที่ 2 ใชวิธีการตรวจสอบตามแผนกเชนที่เคยปฏิบัติมาในป 2549 และทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual) รายละเอียด :

ใชวิธีการตรวจสอบตามแผนก โดยเลือกแผนกที่มีความเสี่ยงมาทําการตรวจสอบ โดยดูผล KPI สวนงานและผลรายงานการตรวจสอบประกอบการพิจารณาและทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual) โดยระบุวิธีการปฏิบัติงานและกําหนดรูปแบบเอกสารตางๆ

43

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 53: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

44

ที่ใชในการตรวจสอบ เชน ใบแจงนัดหมาย แนวทางการตรวจสอบ กระดาษทําการและรายงานการตรวจสอบ ผลที่คาดวาจะไดรับ : เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีความเชี่ยวชาญในการตรวจสอบตามแผนก สามารถระบุจุดควบคุมของแตละแผนก ขั้นตอนการตรวจสอบไมซับซอน ทําใหสามารถลดระยะเวลาการดําเนินงานลงพรอมทั้งมีคูมือการปฏิบัติงานที่มีความทันสมัย งบประมาณที่คาดวาจะเกิดขึ้น :

ไมมีคาใชจายในการดําเนินงาน ขอดี :

1. เจาหนาที่มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน 2. ลดระยะเวลาการดําเนินการตรวจสอบ

ขอเสีย : ไดเขาตรวจสอบสวนงานตางๆ นอยกวาการตรวจสอบตามกระบวนการ

3. เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

ทางเลือกที่ 1 สายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลเพื่อใชในการตรวจสอบ โดยทางสํานักตรวจสอบภายในจะทําการขอขอมูลลวงหนา 2-4 สัปดาห รายละเอียด : ดําเนินการขอยกเลิกสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล และกลับไปทําการรองขอขอมูลเพ่ือใชในการตรวจสอบเปนกรณีๆ ไป โดยทําการตกลงเงื่อนไขกับทางสายงานเทคโนโลยีถึงระยะเวลาการจัดทําขอมูลไมเกิน 30 วันหลังจากผูบริหารสํานักตรวจสอบภายในอนุมัติ ผลที่คาดวาจะไดรับ : ทําใหม่ันใจไดวาไดรับขอมูลที่มีความถูกตองมาทําการตรวจสอบและไมเกิน 30 วัน งบประมาณที่คาดวาจะเกิดขึ้น :

ไมมีคาใชจายในการดําเนินงาน ขอดี : ไดรับขอมูลที่ถูกตองเพ่ือใชในการตรวจสอบ ขอเสีย :

ขอมูลที่ไดรับอาจไมทันตอการใชงาน

44

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 54: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

45

ทางเลือกที่ 2 สํานักตรวจสอบภายในนําขอมูลออกมาใชดวยตนเองโดยใหสายงานเทคโนโลยีอธิบายถึงการเชื่อมโยงของฐานขอมูล รายละเอียด : สายงานเทคโนโลยีอธิบายการเชื่อมโยงของฐานขอมูลเปนกรณีๆ ไป ผลที่คาดวาจะไดรับ : เจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในสามารถทําการดึงขอมูลที่ตองการมาใชในการตรวจสอบไดอยางรวดเร็ว งบประมาณที่คาดวาจะเกิดขึ้น : ไมมีคาใชจายในการดําเนินงาน ขอดี :

1. สํานักตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. ไดรับขอมูลที่รวดเร็ว ขอเสีย :

ขอมูลที่ไดรับอาจไมถูกตอง

การตัดสินใจเลือกแนวทางการแกไขปญหา กระบวนการตัดสินใจเลือกแนวทางแกไขปญหา มีดังนี้

การวิเคราะหแนวทางเลือกในการแกไขปญหา

1. กรณีการประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ทางเลือกที่ 1 มีการประชาสัมพันธผานทาง Intranet ซึ่งเปนชองทางที่ดีในการเขาถึงบุคลากรทั้งหมดของบริษัท ในขณะที่การวางแผนอบรมแกเจาหนาที่ตรวจสอบภายในเพื่อเปนการสรางความรูความเขาใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น แมวาจะมีคาใชจายในการอบรมคอนขางสูงแตความรูที่ไดนอกจากจะนํามาชวยในการทําแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในแลว ยังสามารถนํามาประยุกตเพ่ือใชในการวางแนวทางการตรวจสอบที่ดีไดดวยและจัดใหมีการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในปละ 1 ครั้ง ทางเลือกที่ 2 จัดใหมีชองทางเพื่อใหสํานักตรวจสอบภายในสามารถเขาถึงสวนงานตางๆ ของบริษัทไดดีขึ้น ในขณะที่มีการฝกอบรมเจาหนาที่ตรวจสอบภายในอยางสม่ําเสมอเพื่อพัฒนาศักยภาพการดําเนินงาน นอกจากนั้นการรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรเพื่อจัดทําการประเมินพรอมกันก็เปนทางเลือกที่ดีจะทําใหความซ้ําซอนเกิดขึ้นนอยลง รวมทั้งสงผลใหคาใชจายในการดําเนินงานนอยลง

45

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 55: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

46

2. กรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

ทางเลือกที่ 1 การผลักดันเพื่อใหเกิดแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในจะเปนแนวทางในการคนหาความเสี่ยงของแตละสวนงานออกมาเพื่อทําการพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยผลของแบบประเมินสามารถนํามาชวยในการวางแผนการตรวจสอบประจําปเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมากมาทําการตรวจสอบกอน ในขณะที่มีการประมาณการเวลาที่ใชใหมโดยประเมินเวลาที่ใชในการตรวจสอบกระบวนการตางๆ ในป 2550 เพ่ือนํามาประกอบการพิจารณากําหนดจํานวนระยะเวลาในการดําเนินการในปถัดไป นอกจากนั้นการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติใหทันสมัยทําใหม่ันใจวาเจาหนาที่มีการปฏิบัติงานอยูบนพื้นฐานเดียวกัน ทางเลือกที่ 2 ใชการตรวจสอบตามแผนกที่เคยปฏิบัติมาแลวในป 2549 เน่ืองจากเจาหนาที่มีความเชี่ยวชาญมากกวาการตรวจสอบตามกระบวนการ สามารถทําการระบุจุดควบคุมสําคัญของแผนกนั้นๆ เพ่ือทําการตรวจสอบได ขั้นตอนการตรวจสอบไมซับซอนนอกจากนั้นใชผล KPI และผลจากรายงานการตรวจสอบปกอน เพ่ือพิจารณาเลือกหนวยงานมาทําการตรวจสอบ และเอกสารคูมือการปฏิบัติงานที่ใชอยูคอนขางลาสมัยจึงทําการปรับปรุง

3. เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

ทางเลือกที่ 1 การคืนสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูลใหกับสายงานเทคโนโลยี เพ่ือใหทางสายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลที่ใชในการตรวจสอบให เพราะจะไดแนใจวาขอมูลที่นํามาใชมีความถูกตอง ทางเลือกที่ 2 การรองขอใหสายงานเทคโนโลยีทําการอธิบายการเชื่อมโยงของขอมูลน้ัน ในชวงป 2550 ไดเคยรองขอแตพบวาบางครั้งก็ไมสามารถนํามาจัดเตรียมขอมูลที่ถูกตองเพ่ือนํามาใชงานได

การตัดสินใจเลือกทางเลือกในการแกไขปญหา ทําการสัมภาษณหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายในถึง

ทางเลือกที่เหมาะสมในการนํามาปฏิบัติ ดังนี้

46

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 56: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

47

1. กรณีการประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO

ตารางที่ 20 ผลการเลือกแนวทางการแกไขปญหากรณีการประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO

ความเหมาะสมของทางเลือก

หัวหนาสวน

เจาหนาที ่ เจาหนาที ่ เจาหนาที่ คะแนนรวม

ทางเลือกที่ 1 - / - - 25% ทางเลือกที่ 2 / - / / 75%

2. กรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

ตารางที่ 21 ผลการเลือกแนวทางการแกไขปญหากรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

ความเหมาะสมของทางเลือก

หัวหนาสวน

เจาหนาที ่ เจาหนาที ่ เจาหนาที่ คะแนนรวม

ทางเลือกที่ 1 / / - / 75% ทางเลือกที่ 2 - - / - 25%

3. เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

ตารางที่ 22 ผลการเลือกแนวทางการแกไขปญหากรณีเปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

ความเหมาะสมของทางเลือก

หัวหนาสวน

เจาหนาที ่ เจาหนาที ่ เจาหนาที่ คะแนนรวม

ทางเลือกที่ 1 / / / / 100% ทางเลือกที่ 2 - - - - 0%

47

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 57: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

48

จากการสัมภาษณพบวาในกรณีการประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ทางเลือกที่ 2 มีความเหมาะสมในการนํามาดําเนินงาน เน่ืองจากมีการเพิ่มความรูแกเจาหนาที่ตรวจสอบภายในเพ่ือใหมีความเชี่ยวชาญที่เพียงพอในการนํามาปฏิบัติงาน มีชองทางในการเขาถึงบุคลากรทั้งหมดของบริษัท และการรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรทําใหลดความซ้ําซอนในการดําเนินงานลง ในขณะที่กรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ แนวทางเลือกที่ 1 มุงเนนที่การวางแผนการตรวจสอบประจําปและระยะเวลาในการดําเนินงานเปนสิ่งที่ตองทําการแกไขเพื่อใหการดําเนินงานมีประสิทธิภาพที่ ดีขึ้น และตองปรับปรุงคู มือการปฏิบัติงานใหทันสมัย นอกจากนั้นกรณีเปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง หัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีความเห็นวาทางเลือกที่ 1 เหมาะในการนํามาใชในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นมากกวาทางเลือกที่ 2 เพราะถึงแมวาจะทราบการเชื่อมโยงฐานขอมูลแตอาจไดขอมูลที่ไมถูกตองมาใชงาน

สรุปทางเลือกในการแกไขปญหา

1. กรณีการประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO เลือกทางเลือกที่ 2 สํานักตรวจสอบภายในจัดทําวารสารออนไลนผานทาง Intranet ทุกเดือน พรอมสงเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในเขาอบรมเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO และรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรเพื่อจัดทําแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน

2. กรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบแบบกระบวนการ

เลือกทางเลือกที่ 1 นําผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในมาเพื่อจัดลําดับความเสี่ยงเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบ จัดสรรเวลาการตรวจสอบใหมีความเหมาะสม และทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual)

3. เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

เลือกทางเลือกที่ 1 ใหสายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลเพ่ือใชในการตรวจสอบ โดยทางสํานักตรวจสอบภายในจะทําการขอขอมูลลวงหนา 2-4 สัปดาห

48

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 58: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

บทที่ 4 บทสรุปและขอเสนอแนะ

จากการศึกษาเรื่อง กลยุทธเพ่ิมประสิทธิภาพสํานักตรวจสอบภายใน บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) สามารถสรุปผลการศึกษา ขอจํากัดของการศึกษา และขอเสนอแนะการศึกษาได ดังนี้

สรุปผลการศึกษา

จากการศึกษาปญหาของสํานักตรวจสอบภายใน บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) สรุปปญหาและแนวทางแกไขปญหาไดดังนี้

1. สํานักตรวจสอบภายในไมสามารถนําผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO มาใชประกอบการพิจารณาจัดทําแผนการตรวจสอบประจําปไดทําใหในแผนงานตรวจสอบประจําปไมไดจัดลําดับความเสี่ยงในการเขาตรวจสอบ สงผลใหอาจเกิดความเสี่ยงจากการตรวจไมพบขอผิดพลาดอันเปนสาระสําคัญ รวมทั้งสิ้นเปลืองเวลาและเกิดตนทุนในการดําเนินงาน เนื่องจากผูรับการตรวจสอบไมเขาใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในและแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน เจาหนาที่ตรวจสอบภายในขาดความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน รวมทั้งมีการปฏิบัติงานที่ซ้ําซอนระหวางสํานักตรวจสอบภายในและสวนงานพัฒนาองคกร ปญหาดังกลาวแกไขไดโดยทําการประชาสัมพันธผานระบบ Intranet ของบริษัท โดยใหความรูทางดานการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และเปนชองทางการติดตอสื่อสารระหวางสํานักตรวจสอบภายในกับสวนงานตางๆ ภายในบริษัท วางแผนการฝกอบรมเจาหนาที่ตรวจสอบภายในเกี่ยวกับเร่ืองการควบคุมภายในเพื่อเพ่ิมศักยภาพในการดําเนินงานและเตรียมความพรอมกอนทําการประเมิน นอกจากนี้ควรนําเรื่องการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSOเขาคณะกรรมการพัฒนาองคกร โดยจัดทําการประเมินปละ 1 ครั้งรวมกับสวนงานพัฒนาองคกร เพ่ือลดความซ้ําซอนในการปฏิบัติงานและคาใชจายในการดําเนินงานลง

2. สํานักตรวจสอบภายในไมสามารถดําเนินงานตรวจสอบไดตามที่กําหนดไวในแผนการตรวจสอบประจําป ดังนั้นเม่ือพบปญหาอาจแกไขไดไมทันเวลา ทําใหเกิดความเสี่ยงดานการควบคุมภายในและเกิดความไมแนใจตอความเพียงพอของกระบวนการควบคุม

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 59: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

50

ภายในของบริษัท เหตุการณดังกลาวสงผลใหผูบริหารอาจไมม่ันใจตอการนําขอมูลไปใชในการตัดสินใจ เน่ืองจากแผนการตรวจสอบประจําปไมมีการจัดลําดับความเสี่ยงเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบ ระยะเวลาที่กําหนดไวในแผนการตรวจสอบประจําปไมเหมาะสม รวมทั้งคูมือการปฏิบัติงานคอนขางลาสมัย ปญหาดังกลาวแกไขไดโดย ทําการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน โดยเมื่อไดผลการประเมินนํามาจัดลําดับความเสี่ยงเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทาํการตรวจสอบกอน และทําการประเมินระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบใหมโดยดูจากระยะเวลาที่ใชในการตรวจสอบกระบวนการตางๆ ในป 2550 นอกจากนั้นทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual) เพ่ือใหมีความทันสมัย และเปนแนวทางในการดําเนินงานของเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายใน

3. สํานักตรวจสอบภายในไมสามารถนําขอมูลมาใชดวยตนเอง ตองรองขอใหสายงานเทคโนโลยีอธิบายถึงการเชื่อมโยงระบบฐานขอมูลที่ตองการ สงผลกระทบใหเกิดความลาชาในการตรวจสอบแตละกระบวนการ เน่ืองจากสํานักตรวจสอบภายในไมสามารถดึงขอมูลที่มีความถูกตองมาใชได ทําใหชวงหลังทางสํานักตรวจสอบภายในตองระงับการดึงขอมูลทั้งหมด ปญหาดังกลาวแกไขไดโดย ทําการคืนสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล โดยใหทางสายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลเพ่ือใชในการตรวจสอบให โดยทําการตกลงในเรื่องของระยะเวลาการจัดทําขอมูลใหไดภายใน 2-4 สัปดาหหลังจากผูบริหารสํานักตรวจสอบภายในทําการอนุมัติคํารองในการขอขอมูลเพื่อใชในการตรวจสอบ

ขอจํากัดของการศึกษา

1. หัวหนาสวนงานบางสวนใหความรวมมือในการใหขอมูลนอย 2. ระยะเวลาการศึกษามีอยางจํากัด ทําใหไมสามารถกําหนดวัตถุประสงคในการพัฒนา

กระบวนการตรวจสอบและรูปแบบเอกสารตางๆ ไดอยางเปนรูปธรรม 3. ขอมูลที่ใชในการวิเคราะหบางประการเปนความลับที่ไมสามารถนํามาเปดเผยได

ขอเสนอแนะการศึกษา

1. ผูบริหารควรใหความสําคัญตอการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในของบริษัท เพราะเปนแนวทางในการพัฒนาบริษัทใหมีการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล โดยอยูภายใตงบประมาณที่เหมาะสม

2. ผูเกี่ยวของควรสนับสนุนขอมูลเพื่อใชในการตรวจสอบอยางมีประสิทธิภาพ

50

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 60: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

51

3. ผูบริหารควรเสริมสรางความรูเกี่ยวกับการควบคุมภายใน เชน การประเมินความเสี่ยง ใหแกพนักงานทุกระดับในบริษัท เนื่องจาก พนักงานจะชวยผลักดันใหทุกๆ กระบวนการมีการพัฒนาไปสูความสําเร็จ

4. ผูสนใจอาจทําการศึกษาตอในดานผลดีผลเสียของการนําเอาเทคโนโลยีมาชวยในการตรวจสอบ

51

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 61: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

ภาคผนวก

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 62: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

54

แบบสัมภาษณหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน

ขอมูลทั่วไป

1. ตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามโครงสรางองคกร _______________________________________________________________________ 2. ตําแหนงหนาที่ความรับผิดชอบตามการปฏิบัติงานจริง _______________________________________________________________________ 3. ประสบการณทํางาน (ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน) _______________________________________________________________________

การประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO

1. กอนการประเมินทานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO อยูในระดับใด

� นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก _______________________________________________________________________ 2. ทานมีสวนรวมในการจัดทําแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงาน � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ 3. ทานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับคําถามในแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน

มากนอยเพียงใด � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ 4. การสื่อสารกับสวนงานตางๆ เกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO นั้นสวนงานมี

ความเขาใจมากนอยเพียงใด � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ 5. การใหความรวมมือของสวนงานตางๆ เกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน � นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก

_______________________________________________________________________

54

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 63: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

55

6. ความเพียงพอของระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO ตามแผนการตรวจสอบประจําป � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ 7. กระบวนการใดที่สงผลใหเกิดความลาชาในการดําเนินงาน � ขั้นตอนการจัดเตรียมแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน

� การนัดสัมภาษณสวนงานตางๆ

� สวนงานสงเอกสารการประเมินกลับมาลาชา

� เจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในประเมินผลลาชา

� กระบวนการสรุปรายงานมีความลาชา

� อ่ืนๆ ____________________________________________________________ 8. ทานคิดวาผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานอยูในระดับใด

� นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก _______________________________________________________________________ 9. การนําผลไปเพื่อใชในการจัดลําดับความเสี่ยงเพื่อประกอบการจัดทําแผนการตรวจสอบ

ประจําป � นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก

_______________________________________________________________________ 10. ทานคิดวาควรประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานอีกหรือไม � ควร � ไมควร

_______________________________________________________________________ 11. ทานคิดวาควรประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO

ปละกี่ครั้ง � 1 ครั้ง � 2 ครั้ง � 3 ครั้ง � 4 ครั้ง

_______________________________________________________________________ 12. หลังการประเมินทานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO

อยูในระดับใด

� นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด _______________________________________________________________________ 13. ขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

55

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 64: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

56

การปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบตามกระบวนการ

1. กระบวนการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําป 2550 มีความเหมาะสมมากนอยเพียงใด � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ 2. ระยะเวลาการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจําป 2550 มีความสอดคลองกับการ

ปฏิบัติงานจริงหรือไม � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ 3. ทานคิดวามีการจัดสรรงานการตรวจสอบเหมาะสมกับความรูความสามารถของทีม

ตรวจสอบภายในเพียงใด � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ 4. การปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบสงผลดีตอขั้นตอนการตรวจสอบภายในมากนอย

เพียงใด

� นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด _______________________________________________________________________ 5. ขั้นตอนการตรวจสอบภายในขั้นตอนใดที่ไดรบัผลกระทบมากที่สุด � การสํารวจขอมูลเบื้องตน � การประเมินความเสี่ยง � การเขาทําการตรวจสอบ � สรุปรายงานการตรวจสอบ � การปดรายงานการตรวจสอบ � อ่ืนๆ __________________________

6. สิ่งที่สงผลกระทบทําใหการตรวจสอบภายในเกิดความลาชา � เจาหนาที่ตรวจสอบขาดความรูความเขาใจในกระบวนการที่ทําการตรวจสอบ � เจาหนาที่ตรวจสอบขาดความรูความเขาใจทางดานการตรวจสอบภายใน

� สวนงานที่ไดรับการตรวจสอบไมใหความรวมมือในการปฏิบัติงาน

� ไมไดรับขอมูลที่ถูกตองจากสวนงานที่รับการตรวจสอบ

� ไมไดรับขอมูลที่รองขอจากสายงานเทคโนโลยี � อ่ืน ๆ ____________________________________________________________

7. ขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนการตรวจสอบประจําป _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

56

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 65: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

57

เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

1. ระยะเวลาที่ใชในการรองขอขอมูลจากสายงานเทคโนโลยีกอนการไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล

� นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 2. ระยะเวลาที่ใชในการจัดเตรียมขอมูลเพื่อใชในการตรวจสอบหลังจากไดรับสิทธิ์ในการเขาถึง

ฐานขอมูล

� นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 3. อุปสรรคที่เกิดขึ้นหลังจากการไดรับสิทธิ์ในการเขาถึงฐานขอมูล � เจาหนาที่ประจําสํานักตรวจสอบภายในไมสามารถทําการดึงขอมูลเพื่อใชในการ

ตรวจสอบได เน่ืองจากขาดความรูความเขาใจเกี่ยวกับฐานขอมูล � การที่มีขอจํากัดในการเขาถึงฐานขอมูล � อ่ืน ๆ ___________________________________________________________

_______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 4. ขอเสนอแนะในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

57

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 66: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

58

การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส และอุปสรรคของสํานักตรวจสอบภายใน

สภาพแวดลอมภายใน 1. จุดแข็ง _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 2. จุดออน _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

สภาพแวดลอมภายนอก 3. โอกาส _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 4. อุปสรรค _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

58

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 67: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

59

แบบสัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรบัการประเมนิประสิทธิภาพการควบคุมภายในระดับสวนงานตามแนวทาง COSO (จํานวน 34 สวนงาน)

� บริหารหนี้ � ดําเนินงานขอมูลกรมธรรม � วิภัชประกันภัย

� กฎหมาย � บริหารงานตัวแทน � เก็บรักษาเอกสาร

� ศูนยคอมพิวเตอร � ดําเนินงานสินเชื่อ � บรรษัทประกันภัย

� ศูนยพัฒนากระบวนงานฯ � ดูแลลูกคารายใหม � ประกันภัยตอ 2

� ศูนยบริการเทคโนโลยีผูใช � บริหารงานนายหนา � พัฒนะบริการ

� ประกันอัคคีภัย 2 � ประกันภัยทรัพยสิน 1 � ประกันภัยวิศวกรรม

� ประกันภัยตอ 1 � ตลาดเงินตลาดทุน � ดํารงรักษาลูกคา

� ขายลูกคาตามสัญญา 1 � ทีมขาย 22 � ทีมขาย 25

� ดําเนินงานการเงิน � บริหารงานสิ่งพิมพ � พัสดุและครุภัณฑ

� ประกันภัยอุบัติเหตุและสุขภาพ � ทีมขาย 12 � ผลิตภัณฑพิเศษ

� สงเสริมการตลาด � ประชาสัมพันธ � ประกันอัคคีภัย 1

� พัฒนาผลิตภัณฑ

1. สวนงานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด

� นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 2. สวนงานคิดวาแบบประเมินน้ันมีความซ้ําซอนกับการประเมินความเสี่ยงของสวนงานพัฒนา

องคกร

� มีความซ้ําซอน � ไมมีความซ้ําซอน _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 3. สวนงานคิดวาเปนการเพิ่มภาระใหกับสวนงาน

� เปนการเพิ่มภาระ � ไมเปนการเพิ่มภาระใหกับสวนงาน _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

59

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 68: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

60

4. สวนงานมีความเขาใจเกี่ยวกับคําถามในแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด � นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก

_______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 5. สวนงานมีความเขาใจเกี่ยวกับระดับคะแนนในแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายใน

ตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด � นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก

_______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 6. สวนงานคิดวาแบบประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มี

ประโยชนตอสวนงานมากนอยเพียงใด � นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก

_______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 7. สํานักตรวจสอบภายในมีการประชาสัมพันธใหทราบและเขาใจกอนการเขาทําการจัดสงแบบ

ประเมินพรอมสัมภาษณ

� นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 8. เจาหนาที่ตรวจสอบภายในมีความรูความเขาใจอยางเพียงพอในการอธิบายเกี่ยวกับแบบ

ประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO มากนอยเพียงใด

� นอย � ปานกลาง � ดี � ดีมาก _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 9. สํานักตรวจสอบภายในมีขอดี ขอเสียอยางไร พรอมทั้งขอเสนอแนะเพิ่มเติมในการนําไป

ปรับปรุงแกไข _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

60

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 69: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

61

แบบสัมภาษณผูบริหารสวนงานที่ไดรบัการตรวจสอบทั้งในป 2549 และ 2550

� สวนปฏิบัติการสินไหม � สวนพัฒนาองคกร � สวนประกันอัคคีภัย 1

� สวนประกันอัคคีภัย 2 � สวนการประกันภัยตอ 2 � สวนประกันภัยทรัพยสิน 1

� สวนประกันภัยทรัพยสิน 2 � สวนบริหารหนี้ � สวนดําเนินงานการเงิน

1. สวนงานไดรับการตรวจสอบในป 2549 จํานวนกี่ครั้ง � 1 � 2 � 3 � 4 � มากกวา 4

2. สวนงานไดรับการตรวจสอบในป 2550 จํานวนกี่ครั้ง

� 1 � 2 � 3 � 4 � มากกวา 4 3. สวนงานมีความพึงพอใจกับการเปลี่ยนแปลงแนวทางการตรวจสอบในป 2550 หรือไม

อยางไร � นอย � ปานกลาง � มาก � มากที่สุด

_______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 4. สวนงานมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการตรวจสอบที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไมอยางไร _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ 5. สํานักตรวจสอบภายในมีขอดี ขอเสียอยางไร พรอมทั้งขอเสนอแนะเพิ่มเติมในการปรับปรุง

การตรวจสอบ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________

61

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 70: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

62

แบบสัมภาษณหัวหนาสวนตรวจสอบภายในและเจาหนาที่ตรวจสอบภายใน แนวทางเลือกในการแกไขปญหา

ความเหมาะสมของทางเลือก ผลสัมภาษณ

1. กรณีการประเมินผลประสิทธิภาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO

ทางเลือกที่ 1 สํานักตรวจสอบภายในจัดทําวารสารออนไลนผานทาง Intranet ทุกเดือน พรอมสงเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในเขาอบรมเกี่ยวกบัการควบคุมภายในเพิ่มเติม และจัดทําการประเมินประสิทธภิาพการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ปละ 1 ครั้ง

ทางเลือกที่ 2 สํานักตรวจสอบภายในจัดทําวารสารออนไลนผานทาง Intranet ทุกเดือน พรอมสงเจาหนาที่สํานักตรวจสอบภายในเขาอบรมเกี่ยวกบัการควบคุมภายในตามแนวทาง COSO และรวมกับสวนงานพัฒนาองคกรเพื่อจัดทําแบบประเมินประสิทธภิาพการควบคุมภายใน

2. กรณีการปรับเปลี่ยนแนวทางการตรวจสอบตามแผนกเปนการตรวจสอบแบบกระบวนการ

ทางเลือกที่ 1 ใชวธิีการตรวจสอบตามกระบวนการ โดยนําผลการประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในมาเพื่อจัดลําดับความเสี่ยงเพ่ือเลือกกระบวนการที่มีความเสี่ยงสูงมาทําการตรวจสอบ จัดสรรเวลาการตรวจสอบใหมีความเหมาะสม และทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual)

ทางเลือกที่ 2 ใชวธิีการตรวจสอบตามแผนกเชนที่เคยปฎิบัติมาในป 2549 และทําการปรับปรุงคูมือการปฏิบัติงาน (Audit Manual)

3. เปรียบเทียบผลดีผลเสียระหวางการนําขอมูลในระบบสารสนเทศมาใชดวยการใหสายงานเทคโนโลยีจัดหาขอมูลใหกับการนําขอมูลออกมาใชดวยตนเอง

ทางเลือกที่ 1 สายงานเทคโนโลยีจัดเตรียมขอมูลเพื่อใชในการตรวจสอบ โดยทางสํานักตรวจสอบภายในจะทําการขอขอมูลลวงหนา 2-4 สัปดาห

ทางเลือกที่ 2 สํานักตรวจสอบภายในนําขอมูลออกมาใชดวยตนเองโดยให สายงานเทคโนโลยีอธิบายถึงการเชื่อมโยงของฐานขอมูล

62

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 71: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

บรรณานุกรม

กรมการประกันภัย .2549.แนวทางปฏิบัติในเรื่องการตรวจสอบภายในของบริษัทประกันภัย.

กรมการประกันภัย.2549.แนวทางปฏิบัติในเร่ืองการควบคุมภายในของบริษัทประกันภัย. เจริญ เจษฎาวัลย.2545.คูมือการตรวจสอบสําหรับผูเริ่มตน.พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร:

พอดี. ณฐพร พันธุ อุดมและคณะผูเขียน.2549.แนวทางการควบคุมภายในที่ดี.พิมพครั้งที่ 1.

กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพร้ินติ้งแอนดพับลิชชิ่ง. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย.2548.แนว

ทางการตรวจสอบภายใน.พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร: ดูมายเบส. รายงานประจําป 2549 บริษัท พัฒนะประกันภัย จํากัด (มหาชน) สมาคมผูตรวจสอบภายในแหงประเทศไทย.2547.มาตรฐานสากลการปฏิบัติงานวิชาชีพการ

ตรวจสอบภายใน. สุวัฒน ศิรินิรันดรและภาวนา สายชู.2549. MBA HANDBOOK.พิมพครั้งที่ 6.กรุงเทพมหานคร:

ซี แอนด เอ็น. อุษณา ภัทรมนตรี.2543.การตรวจสอบและการควบคุมภายใน:แนวคิดและกรณีศึกษา.

พิมพครั้งที่ 1.กรุงเทพมหานคร: ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d

Page 72: 7 & H G L J K - eprints.utcc.ac.theprints.utcc.ac.th/3919/1/207170.pdfหัวข อการศ ึนควกษาค าดวยตนเอง กลยุ ทธิ่เพ

ประวัติผูศึกษา

นางสาววรนุช งามสัตยวณิช เกิดเม่ือวันที่ 8 พฤษภาคม 2525 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต สาขาการสอบบัญชี จากมหาวิทยาลัยหอการคาไทย เม่ือปการศึกษา 2546 เขาศึกษาตอในระดับปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาระบบสารสนเทศทางการบัญชี มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เม่ือปการศึกษา 2549 และเขาทํางานในบริษัทที่ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการประกันวินาศภัยตั้งแตป 2547 จนถึงปจจุบัน

ลิขสิท

ธ์ิ มหาว

ิทยาลัย

หอการ

ค้าไท

Copy

right@

by U

TCC

All rig

hts re

serve

d