50
รายงานวิชาการ ฉบับทีกธส 6/2551 การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM + เพื่อศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล บริเวณอําเภอตะกั่วปา และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา กองธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี

ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

รายงานวิชาการ

ฉบับที่ กธส 6/2551

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+

เพ่ือศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล บริเวณอําเภอตะก่ัวปา

และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

กองธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี

Page 2: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

รายงานวิชาการ

ฉบับที่ กธส 6/2551

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+

เพ่ือศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล บริเวณอําเภอตะก่ัวปา

และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

วีระชาติ วิเวกวิน สุรศักดิ์ บุญลือ

กองธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี

Page 3: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี นายอภิชัย ชวเจริญพันธ ผูอํานวยการกองธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม นายอดิชาติ สุรินทรคํา หัวหนาฝายธรณีพิบัติภัย นายสุวิทย โคสุวรรณ จัดพิมพโดย กองธรณีวทิยาส่ิงแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี

ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0 2621 9802 โทรสาร 0 2621 9795

พิมพคร้ังที่ 1 สิงหาคม 2551

จํานวน 5 เลม

ขอมูลการลงรายการบรรณานุกรม

วีระชาติ วิเวกวิน และสุรศักดิ์ บญุลือ

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ เพ่ือศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

บริเวณอําเภอทายเหมือง และอําเภอตะก่ัวปา จังหวัดพังงา / โดย วีระชาต ิวิเวกวิน และ

สุรศักดิ ์บุญลือ.-- กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม กรมทรัพยากรธรณี, 2551.

40 หนา : ภาพประกอบ : แผนท่ี

รายงานวิชาการ ฉบบัท่ี กธส 6/2551.

Page 4: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

สารบัญ

หนา

สารบัญรูป III

บทคัดยอ V

คําขอบคุณ VI

บทท่ี 1 บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล 1

1.2 วัตถุประสงค 1

1.3 ขอบเขตการศึกษา 1

1.4 พ้ืนที่สํารวจ 1

1.5 ผูปฏิบัติงาน 3

1.6 ลักษณะภมิูประเทศ 3

1.7 ลักษณะภมิูอากาศ 3

1.8 ธรณีวิทยาท่ัวไป 3

1.9 งานเกาท่ีเคยทําแลว 6

บทท่ี 2 วรรณกรรมปริทัศน

2.1 หลักการและทฤษฎีของการรับรูระยะไกล 9

2.1.1 หลักการและความหมาย 9

2.1.2 ขอมูลภาพดาวเทียม Landsat 7 12

2.2 หลักการแปลความหมายขอมูลภาพจากดาวเทียม 12

2.2.1 ข้ันตอนการแปลความหมายขอมูลจากขอมูลภาพ

ดาวเทียม

12

2.2.2 หลักการแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลจากภาพ

ดาวเทียม

13

2.2.2.1การแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลจาก

ขอมูลภาพดาวเทียมดวยสายตา

13

2.2.2.2 การแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลจาก

ขอมูลภาพจากดาวเทียมดวยคอมพิวเตอร

14

บทท่ี 3 วิธีการศึกษา

3.1 วัสดุอุปกรณท่ีใชในการสํารวจ 16

3.1.1 อุปกรณสําหรับสํานักงาน 16

3.1.2 อุปกรณสําหรับงานภาคสนาม 16

3.2ข้ันตอนการศึกษาและวิธกีารศึกษา 16

Page 5: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

II

3.2.1 ข้ันตอนการรวบรวมขอมูลเบื้องตน 18

3.2.2 ข้ันตอนการวิเคราะหและแปลความหมาย 19

3.3 ผลการแปลความหมาย 25

3.4 ข้ันตอนการตรวจสอบภาคสนาม 27

บทท่ี 4 ผลการศึกษา

บทท่ี 5 สรุปและขอเสนอแนะ

5.1 ผลการศึกษา 38

5.2 ขอเสนอแนะ 39

เอกสารอางอิง

Page 6: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

III

สารบัญรูป

หนา

รูปท่ี 1.1 แผนท่ีภูมิประเทศของพ้ืนที่ศึกษา 2 รูปท่ี 1.2 แผนท่ีธรณีวิทยาของพื้นท่ีศกึษาในมาตราสวน 1:250,000 5

รูปท่ี 1.3 แผนท่ีธรณีสัณฐานของชายฝงทะเล ตําบลตะก่ัวปา 7

รูปท่ี 1.4 แผนท่ีธรณีสัณฐานของชายฝงทะเล อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา 8

รูปท่ี 2.1 หลักการทํางานของการรับรูระยะไกล 10

รูปท่ี 2.2 หลักการทํางานระบบการบนัทึกขอมูลดวยวิธี Passive remote sensing

system และ Active remote sensing system

10

รูปท่ี 2.3 ชวงคล่ืนแมเหล็กไฟฟาที่เปนพลังงานสะทอนกลับหรือแผออกมาจากวัตถุ

ในธรรมชาติซึง่ถูกบันทึกอยูในชวงคล่ืน (Band) ท่ีตางกัน

11

รูปท่ี 2.4 กราฟแสดงลักษณะการสะทอนพลังงานของวัตถุ(Spectral reflectance

curve)

11

รูปท่ี 2.5 แผนผังข้ันตอนการแปลความหมายจากภาพดาวเทียม 15

รูปท่ี 3.1 ข้ันตอนการเลือกขอมูลตัวอยาง (Training Areas) เพ่ือนําไปใชในการจัด

จําแนกกลุม

18

รูปท่ี 3.2 ข้ันตอนการเลือกหนาตางการแปลความหมายดวยคอมพิวเตอรโดยวธิี

Maximum likelihood Classification มาใชงาน

19

รูปท่ี 3.3 การเลือกFile และการใสพารามิเตอรสําหรับท่ีใชในการแปลความหมาย

ดวยวิธี Maximum likelihood Classification

19

รูปท่ี 3.4 ผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification 20

รูปท่ี 3.5 ผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification

และชนิดและจํานวนกลุมขอมูลท่ีไดจากการแปลความหมาย

20

รูปท่ี 3.6 การปรับปรุงคณุภาพขอมูลโดยการกําจดัจดุ หรือชองวาง (speckle or

holes)

21

รูปท่ี 3.7 ข้ันตอนการทํา Principle Component Analysis (PCA) 22

รูปท่ี 3.8 ข้ันตอนการทํา NDVI 23

รูปท่ี 3.9 ผลของการทําคาดัชนีปาไม(NDVI analysis) พ้ืนที่สีเขียวแสดงวามีปาไม

ปกคลุมบริเวณท่ีเปนสีขาวเปนพ้ืนท่ีปาปกคุมหรือมีปาปกคลุมนอย

23

รูปท่ี 3.10 การเปล่ียนขอมูลจากระบบ กริด (Raster Data) ไปเปนระบบเชิงเสน

(Vector Data)เพ่ือใชสําหรับการปรับแกขอมูล

27

รูปท่ี 3.11 ภาพถายดาวเทียม Landsat 7 แสดงลักษณะปรากฏของธรณีสัณฐานใน

พ้ืนที่ศึกษา

26

Page 7: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

IV

รูปท่ี 3.12 แสดงหาดทรายเกาหรือหาดทรายปราณ(1)และภาพปางกาง(2) บริเวณ

เหนือของทายเหมือง จังหวัดพังงา ขอมูลท่ีไดจากการสาํรวจ(ขอมูล

ภาพถายเม่ือวันท่ี 10 เมษายน 2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บนัทึกขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545

27

รูปท่ี 3.13 ภาพหาดทรายปจจุบัน(1,2)บริเวณแหลมประการัง อําเภอตะกั่วปา

จังหวัดพังงา ขอมูลท่ีไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเม่ือวันท่ี

10 เมษายน 2549) กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7(path/row 130/054)บันทึกขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545

28

รูปท่ี 3.14 ภาพหาดทรายใหม(1,2)บริเวณบานน้าํเค็ม อําเภอตะก่ัวปา จังหวัดพังงา

ขอมูลท่ีไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเม่ือวันท่ี 10 เมษายน

2549) กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7(path/row 130/054)บันทึกขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545

29

รูปท่ี 4.1 แผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงบริเวณอําเภอตะก่ัวปา อําเภอทายเหมือง

จังหวัดพังงา ในมาตราสวน 1: 100,000

34

รูปท่ี 4.2 ภาพหาดทรายปจจุบันบริเวณแหลมปะการัง อําเภอตะกัว่ปา จังหวัดพังงา 35 รูปท่ี 4.3 ภาพหาดทรายใหมบริเวณบานน้ําเค็ม อําเภอตะก่ัวปา จังหวัดพังงา 35

รูปท่ี 4.4 ภาพหาดทรายเกาบริเวณบานทาดินแดง อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา 36

รูปท่ี 4.5 ภาพลากูนบริเวณบานคึกคัก อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา 36 รูปท่ี 4.6 ภาพที่ลุมน้าํทวมขังบริเวณปาทางเหนือของอําเภอทายเหมือง จังหวัด

พังงา

37

รูปท่ี 4.7 ภาพที่ราบนํ้าข้ึนถึงบริเวณปาโกงกางที่บานทาดินแดง อําเภอทายเหมือง

จังหวัดพังงา

37

Page 8: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

V

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ เพ่ือศึกษา

ธรณีสัณฐานชายฝงทะเลอําเภอตะกั่วปา และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

โดย

วีระชาติ วิเวกวินและสุรศักดิ์ บุญลือ

บทคัดยอ

การประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM

+ เพ่ือศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

อําเภอตะกั่วปา และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา ซึง่มีวัตถุประสงคเพ่ือการแปลความหมายขอมูลการ

รับรูระยะไกลในการทาํแผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงทะเล โดยใชภาพถายดาวเทียม Landsat 7 แนวการ

บันทึกขอมูล Path 130/Row 054 บันทึกขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545 ทําการแปลความหมายดวย

คอมพิวเตอรดวยการจัดจาํแนกแบบ Supervised Classification โดยใชวิธี Maximum Likelihood แลวทํา

การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในภาคสนาม และนําขอมูลท่ีไดจากภาคสนามมาปรับแกขอมูลใหมี

ความถูกตอง

ผลการศึกษาพบวาธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดระนองสามารถกําหนดขอบเขต

ของมีพ้ืนท่ีศึกษาประมาณ 1128.28 ตารางกิโลเมตร สามารถแบงได 7 กลุม 1)หาดทรายปจจุบันพบ

ปรากฏอยูบริเวณท่ีติดกับน้าํทะเลมากท่ีสุด เปนบริเวณท่ีมีน้ําทะเลข้ึนลง มีลักษณะเปนหาดสันดอน มีแนว

ชายหาดยาว มีสันดอนปากอาว มีเนื้อท่ีประมาณ 18.06 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.60 ของพ้ืนท่ี

ศึกษา 2)หาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณพบอยูดานหลังของลากูน ตะกอนท่ีตกสะสมตัวในบริเวณนี้

สวนใหญเปนตะกอนทรายขนาดปานกลางถึงหยาบมีการคัดขนาดท่ีด ี พบเปลือกหอยปะปนอยูในทราย

ดวย ในพ้ืนท่ีศึกษาพบบริเวณบานบางเนยีง บานทาดนิแดง อําเภอทายเหมืองมีเนื้อท่ีประมาณ 66.26

ตารางกโิลเมตร คิดเปนรอยละ 5.87 ของพ้ืนท่ีศึกษา 3)ลากูน เปนท่ีลุมน้ําขังหลังสันดอนทราย บริเวณ

ดังกลาวจึงกลายเปนท่ีชุมน้ํามีพืชจําพวกเสม็ด และพืชชนิดท่ีเจริญเติบโตไดดบีริเวณน้ําข้ึนน้าํลงปกคลุม

มักมีผักบุงทะเลข้ึนปกคลุม มีเนื้อท่ีประมาณ 21.44 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.90 ของพ้ืนท่ีศึกษา

4)ท่ีลุมน้ําทวมขัง เปนพ้ืนท่ีน้ําทวมขังทุกปในฤดูฝนแลวพัฒนาเปนบึงมีการสะสมตัวของตะกอน ทราย

แปง ดินเหนียว มีเนื้อท่ีประมาณ 2.92 ตารางกิโลเมตร คดิเปนรอยละ 0.26 ของพ้ืนท่ีศึกษา 5)ท่ีราบเชิง

เขา และท่ีราบน้ําตะกอนน้ําพา มีเนื้อท่ีประมาณ 368.84 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 32.69 ของพ้ืนท่ี

ศึกษา 6)ภูเขาสูง กระจายตวัอยูทางทิศตะวันออก มีเนื้อท่ีประมาณ 552.09 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอย

ละ 48.93 ของพ้ืนท่ีศึกษา 7)ท่ีราบนํ้าข้ึนถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลน เปนบริเวณปากคลองมีปา

โกงกางข้ึนปกคลุม มีกระบวนการน้าํข้ึนน้ําลงของน้ําทะเลตลอดเวลา มีเนื้อท่ีประมาณ 96.00 ตาราง

กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 8.51 ของพ้ืนท่ีศึกษา

Page 9: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

VI

คําขอบคุณ

ผูปฏิบัติงานขอขอบคุณ นายสมศักดิ์ โพธิสัตย อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี นายวรวุฒิ ตันติวนิช ผูเช่ียวชาญเฉพาะดานการบริหารจัดการทรัพยากรธรณี รักษาการผูอํานวยการกองธรณีวิทยา

ส่ิงแวดลอม ไดมอบหมายใหทําการสํารวจในคร้ังนี้ ผูปฏิบัติงานขอขอบคุณนายนิรันดร ชัยมณีหัวหนาฝายธรณีวิทยาส่ิงแวดลอมชายฝงทะเล

กองธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม และนายวิสุทธิ์ โชติกเสถียร หัวหนาฝายธรณีพิบัติภัย (ในขณะนั้น) กอง

ธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม ท่ีไดมอบหมายงานและใหคําแนะนําในการศึกษาคร้ัง ไดใหคําปรึกษาพรอมท้ังชวย

ตรวจและแกไขรายงานใหมีความถูกตองความสมบูรณย่ิงข้ึน

ผูปฏิบัติงานขอขอบพระคุณตอบุคคลท่ีใหความชวยเหลือและเกี่ยวของ นายสุวิทย โคสุวรรณ

หัวหนาฝายธรณีพิบัติภัยในปจจุบัน กองธรณีวิทยาส่ิงแวดลอม ท่ีไดสนับสนุนการจัดทํารายงานนี้

นายปรีชา สายทอง นักธรณีวิทยา 6 ฝายธรณีพิบัติภัย กองธรณีวิทยาส่ิงแวดลอมท่ีชวยตรวจและแกไข

รายงานใหมีความถูกตองความสมบูรณย่ิงข้ึน นายธีระพล วงษประยูร นักธรณีวิทยา 7 และนายพิทักษ

เทียมวงษ นักธรณีวิทยา 6 สํานักธรณีวิทยา ท่ีไดใหความอนุเคราะหและใหคําแนะนําเก่ียวกับขอมูล

ธรณีวิทยาของพ้ืนท่ีศึกษา นางสุรีย ธีระรังสิกุล นักธรณีวิทยา 7 สํานักธรณีวิทยา ท่ีใหคําปรึกษาเก่ียวกับ

ขอมูลการรับรูระยะไกล

Page 10: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

1

บทที่ 1 บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล ชายฝงทะเลอันดามันของประเทศไทยมีความยาวประมาณ 937 กิโลเมตร แนวชายฝง

เร่ิมตั้งแตเขตแดนไทย-พมาที่จังหวัดระนอง ตอเนื่องลงมาทางใตจนถึงจังหวัดภูเก็ต พังงา กระบี่ ตรัง

และสตูล ซึ่งเปนเขตแดนประเทศไทยตอกับประเทศมาเลเซีย แนวของชายฝงวางตัวสัมพันธกับโครงสราง

ธรณีวิทยาที่เปนรอยเลื่อน (fault) 2 แนวใหญ คือ รอยเลื่อนระนอง และรอยเลื่อนคลองมะรุย ท่ี

เคลื่อนตัวในทิศทางตะวันออกเฉียงเหนือ-ตะวันตกเฉียงใต ทําใหพ้ืนท่ีชายฝงทะเลอันดามันวางตัวใน

แนวเกือบเหนือ-ใต ตั้งแต จังหวัดระนองถึงจังหวัดภูเก็ต และในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียง

ใต ตั้งแตจังหวัดพังงาพังงาถึงจังหวัดสตูล ซึ่งเปนแนวเดียวกับภูเขาท่ีทอดตัวอยูตามชายฝงดานนี้

จากผลการดําเนินงานรวบรวมขอมูล การเปล่ียนแปลงชายฝงทะเลฝงอันดามัน จาก

การศึกษาของสิน สินสกุลและคณะ (2546) พบวา ชายฝงดานอันดามัน ประกอบดวยพ้ืนท่ีชายฝง 6

จังหวัด ประกอบดวยชายฝงของจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรังและสตูล มีความยาว 946

กิโลเมตร มีชายฝงท่ีถูกกัดเซาะยาว 111.4 กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 11.77 ของพ้ืนท่ีชายฝงท้ังหมด

ชายฝงทะเลดานอันดามัน พ้ืนท่ีชายฝงท่ีถูกกัดเซาะสวนใหญพบท้ังในจังหวัดระนอง ตรังและพังงา

กรมทรัพยากรธรณีตระหนักถึงความสําคัญของปญหาการเปล่ียนแปลงชายฝงทะเล จึงได

ดําเนินการและติดตามการเปล่ียนแปลงชายฝงทะเล โดยประยุกตใชเทคโนโลยีการรับรูระยะไกลและระบบภูมิศาสตรสารสนเทศในการศึกษาจัดทําแผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

1.2 วัตถุประสงค เพ่ือการแปลความหมายขอมูลการรับรูระยะไกลในการทําแผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

1.3 ขอบเขตการศึกษา

1.3.1 ประยุกตใชเทคโนโลยีการรับรูระยะไกลและระบบภูมิศาสตรสารสนเทศใน

การศึกษาจัดทําแผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงทะเล

1.3.2 ศึกษาและจัดทําแผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงทะเลอําเภอตะก่ัวปา-อําเภอทายเหมือง

จังหวัดพังงา ในมาตราสวน 1: 100,000

1.4 พ้ืนที่สํารวจ

พ้ืนท่ีศึกษาอยูบริเวณภาคใตฝงตะวันตก โดยครอบคลุมชายฝงทะเลอันดามันตั้งแต

บริเวณเกาะคอเขา อําเภอตะก่ัวปา จังหวัดพังงา ลงไปทางทิศใตจนถึงบานนาแฝก ตําบลนาเตย อําเภอ

ทายเหมือง จังหวัดพังงาหรือระหวางละติจูดเหนือท่ี 8O 15" ถึง 9

O 00" และลองจิจูดตะวันออกท่ี 98

O

13" ถึง 98 O 22" (รูปท่ี 1.1) อยูในแผนท่ีภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ลําดับชุด L7018 ระวาง

Page 11: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

2

รูปท่ี 1.1 แสดงแผนท่ีภูมิประเทศของพ้ืนที่ศึกษา (กรมแผนท่ีทหาร, 2543)

Page 12: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

3

อําเภอตะก่ัวปา (4626 I) ระวางอําเภอคุระบุรี (4627 II) ระวางเขาหลัก (4626 III)

ระวางอําเภอทายเหมือง (4625 I) และระวางอําเภอกะปง (4626 II) การสํารวจในคร้ังนี้ไดดําเนินการ

เฉพาะบริเวณชายฝงและพ้ืนท่ีหางจากชายฝงเขาไปในพ้ืนดินเปนระยะทางประมาณ 3-5 กิโลเมตร

1.5 ผูปฏิบัติงาน

1.5.1 นายสุรศักดิ์ บุญลือ นักธรณีวิทยา 6

1.5.2 นายวีระชาติ วิเวกวิน นักธรณีวิทยา 4

1.6 ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดพังงามีสภาพภูมิประเทศเปนภูเขาสลับซับซอน ทอดตัวเปนแนวยาวจาก ทิศเหนือ

ไปทิศใต รูปรางเปนรูปยาวรี มีความยาวประมาณ 113 กิโลเมตร มีชายฝงทะเลยาวประมาณ 239.25

กิโลเมตร จัดวาเปนจังหวัดท่ีมีแนวชายฝงทะเลยาวท่ีสุดของประเทศ สําหรับบริเวณท่ีราบจะเอียงเทสลับ

หาดทรายจากทิศตะวันออกไปยังทิศตะวันตก ลงสูทะเลอันดามัน ตามแนวชายฝงทะเลจะมีปาชายเลน

เกือบตลอด ดานทิศตะวันตกของจังหวัดพ้ืนท่ีประกอบดวยภูเขาสลับซับซอน มีท่ีราบตามแนวชายฝงทะเล

และท่ีราบระหวางหุบเขา ภูเขามีระดับความสูงในชวง 200 – 1,200 เมตร เหนือระดับน้ําทะเลปานกลาง

ประกอบดวยเกาะท้ังส้ินประมาณ 105 เกาะ อยูในทะเลอันดามัน ซึ่งสวนใหญจะอยูทางตอนเหนือของ

จังหวัด เชน หมูเกาะสุรินทร เกาะสิมิลัน และบริเวณอาวพังงา สําหรับพ้ืนท่ีปาไมเปนปาไมประเภทไมผลัด

ใบ มีชนิดปาท่ีสําคัญ ไดแก ปาดิบเขา ปาดิบช้ืน และปาชายเลน ตลอดแนวชายฝง สวนพ้ืนท่ีทะเล หาด

ทราย ชายฝงหิน และท่ีราบนํ้าข้ึนถึงจะพบดานตะวันตกของพ้ืนท่ีศึกษา บริเวณท่ีเปนท่ีราบดานหลังของ

หาดทรายปจจุบันหรือหาดทรายใหม มักจะเปนหาดทรายโบราณ และสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 4-5

เมตร (สิน สินสกุล, 2546) มักจะเปนท่ีตั้งของชุมชน และมีส่ิงกอสรางอยูเปนจํานวนมาก

1.7 ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดพังงามีภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองรอน ไดรับอิทธพิลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและ

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ มี 2 ฤดู คอื ฤดูรอน เร่ิมตั้งแตเดือนมกราคม ถึง เมษายน ซึ่งไดรับอิทธิพล

จากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจากอาวไทย และฤดฝูน เร่ิมตั้งแตเดือนพฤษภาคม ถึง ตุลาคม เปนชวง

ท่ีไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากมหาสมุทรอินเดีย อุณหภูมิ ของท้ังสองฤดูไมแตกตางกัน

มากนัก คือ ในป พ.ศ.2542 มีอุณหภูมิต่าํสุดเฉล่ีย 23 องศาเซลเซียส และอุณหภมิูสูงสุดเฉลี่ย 31 องศา

เซลเซียส มีปริมาณน้ําฝนเฉล่ียปละประมาณ 3,654 มิลลิเมตร

1.8 ธรณีวิทยาทั่วไป

จากรายงานสํารวจธรณีวิทยาและขอมูลแผนท่ีธรณีวิทยามาตราสวน 1: 50,000 ระวาง

อําเภอตะก่ัวปา (4626 I) ระวางอําเภอคุระบุรี (4627 II) ระวางเขาหลัก (4626 III) ระวางอําเภอทาย

เหมือง (4625 I) และ ระวางอําเภอกะปง (4626 II) พบวาพ้ืนท่ีสํารวจและบริเวณใกลเคียง

ประกอบดวยหนวยหินท่ีมีอายุตั้งแตยุคคารบอนิเฟอรัสจนถึงตะกอนยุคปจจุบัน (รูปท่ี 1.2) โดยมี

รายละเอียดดังนี้

Page 13: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

4

1. กลุมหินแกงกระจาน (CPk) มีอายุคารบอนิเฟอรัสถึงชวงเพอรเมียนตอนตน

ประกอบดวย 3 หมวดหิน (เลิศชาย ขายทอง และสมเกียรติ มาระเนตร, 2542) ไดแก หมวดหินโคลน

ปนกรวด และหินทรายปนกรวด หมวดหินควอรตซิติกในหินโคลน และหมวดหินแปรสัมผัส โดยมีลําดับ

ช้ันหินเรียงจากหมวดหินท่ีมีอายุแกสุดไปออนสุด คือ

หมวดหินโคลนปนกรวด และหินทรายปนกรวด สีเทา สีเทาเขียว สีผุเปนสีน้ําตาลปน

เหลือง หินทรายมีขนาดเม็ดทรายละเอียดถึงปานกลาง เนื้อแนนและแข็ง เม็ดกรวดในหินโคลน

ประกอบดวยหินควอตซไซต หินทราย หินแกรนิต หินโคลนและหินปูน มีขนาดตั้งแต 2 มิลลิเมตรถึง 6

เซนติเมตร เม็ดกรวดมีความเหล่ียมถึงความกลมมนปานกลาง มีการคัดขนาดปานกลาง หมวดหินนี้พบ

ปรากฏอยูบนเทือกเขาบนเกาะคอเขา

หมวดหินควอรตซิติกในหินโคลน สีจางถึงสีเทา แทรกสลับกับหินโคลนชั้นบาง หินทราย

แปงปนกรวดเล็กนอย หินทรายเกรยแวก สีเทาดํา

หมวดหินแปรสัมผัสชนิดหินแอกทิโนไลต หินควอรตซ ไมกาชีสต ซึ่งมักจะปรากฏพบ

ตามบริเวณรอยสัมผัสกับหินแกรนิต บริเวณดานตะวันตกของเขาบางครก

ธีระพล วงษประยูร และเยาวพา แชมวัชระกุล (2548) ไดจัดทําแผนท่ีธรณีวิทยาพ้ืนท่ี

ตอนเหนือบริเวณเขาปากคลองบางผักเบี้ย เกาะคอเขา อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงาและรายงานวาหิน

โคลนปนกรวดดังกลาวอยูในหมวดหินเกาะเฮ กลุมหินแกงกระจาน อายุคารบอนิเฟอรัสตอนปลายถึงเพอร

เมียนตอนตน(เลิศสิน รักษาสกุลวงศ และ ธนิศร วงศวานิช,2536) และพบวาหมวดหินนี้ยังโผลปรากฏ

พบไดท่ีเขาหนายักษดานตะวันตกของฐานทัพเรือทับละมุ (พิทักษ เทียมวงษ และเกชา จําปาทอง, 2548) 2. กลุมหินราชบุรี (Pr) หินยุคเพอรเมียนตอนกลาง-ตอนบน เปนหินท่ีเกิดจากการ

สะสมตัวของตะกอนในทะเล สวนใหญเปนหินปูนมีสีเทาถึงดํา มีท้ังแสดงชั้นและไมแสดง พบซากดึกดํา

บรรพ ไดแก fusulinds, coral, algae, crinoid stem, brachiopods, ostracods sp., เปนตน มีอายุอยูในชวง

ยุคเพอรเมียนตอนกลาง-ตอนบน ลําดับช้ันจากสวนลางของกลุมหินเปนช้ันหนาแทรกสลับกันของ

หินดินดาน หินทรายเนื้อปูน และหินปูนสีเทาดําและสีเทา สีเทาถึงเทาเขม มีหินทรายและหินโคลนแทรก

เปนกะเปาะ บนสุดเปนหินปูนเนื้อสมานแนน ไมแสดงช้ัน ซากดึกดําบรรพพบมากในหินปูนท่ีแสดงช้ันหนา ความหนาของหมวดหินประมาณ 700 เมตร

3. ตะกอนเศษหินเชิงเขา (Qc) ประกอบดวยเศษหิน และกรวด ขนาดตั้งแตกรวด

ละเอียดถึงกอนหินใหญ การคัดขนาดไมดี หินท่ีผุพังอยูกับท่ี พบปรากฏอยูท่ีบริเวณเชิงเขาพรุใหญ เขา

บางครก บานบางปลิง

Page 14: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

5

รูปท่ี 1.2 แสดงแผนท่ีธรณีวิทยาของพ้ืนท่ีศึกษาในมาตราสวน 1:250,000

(ดัดแปลงจากกรมทรัพยากรธรณี, 2550)

Page 15: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

6

4. ตะกอนท่ีราบนํ้าทวมถึง (Qa) ประกอบดวยกรวด ทราย ทรายแปง และดินเหนียว พบ

บริเวณตัวอําเภอตะก่ัวปา

5. ตะกอนชายฝงทะเลเดิมโดยอิทธิพลของคล่ืน (Qms) ประกอบดวยหาดทรายเดิม และ

เนินราบสันทราย (ธีระพล วงษประยูร และเยาวพา แชมวัชระกุล, 2548) พบอยูตามท่ีราบหลังชายหาด

บริเวณเกาะพระทอง บานน้ําเค็ม บานบางเนียง ตะกอนชายฝงทะเลปจจุบันโดยอิทธิพลของคล่ืน

ประกอบดวยหาดทราย สันทราย เนินทราย และรองน้ําขนานแนวสันทราย พบตามแนวชายหาดทะเลอัน

ดามันบริเวณเกาะคอเขา หาดบานน้ําเค็ม หาดบานบางเนียง

6. ตะกอนชายฝงทะเลโดยอิทธิพลของน้ําข้ึนน้ําลง (Qmc) ประกอบดวยทรายแปง และ

ดินเหนียว สะสมตัวอยูบริเวณท่ีราบน้ําข้ึนถึงในปาโกงกาง ตะกอนชายฝงทะเลโดยอิทธิพลของน้ําข้ึนน้ําลง

มักจะมีเศษซากพืชและสัตวสะสมตัวอยูดวย พบปรากฏอยูดานตะวันตกของบริเวณอําเภอตะก่ัวปา

7. หินอัคนี (Kgr) ท่ีพบในพื้นท่ีเปนหินแกรนิตอายุครีเตเชียส เนื้อดอก ผลึกหยาบปาน

กลาง และหินลูโคเครติกแกรนิต เนื้อละเอียดถึงปานกลาง หินแกรนิตพบบริเวณเขาพรุใหญ เขาบางครก

และบริเวณเขาหลัก

1.9 งานเกาที่เคยทํามาแลว สิน สินสกุล และคณะ(2546) ไดจัดจําแนกลักษณะธรณีสัณฐานของชายฝงทะเลอันดา

มันบริเวณพ้ืนท่ีตั้งแตจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล โดยอาศัยลักษณะรูปรางของพ้ืนท่ี

กระบวนการที่ทําใหเกิดพ้ืนท่ีชายฝงชนิดตางๆ เชน น้ําข้ึนน้ําลง ลม คล่ืนและกระแสน้ํา เปนตน และ

ลักษณะของการเปล่ียนแปลงของชายฝงดวย โดยสามารถจัดจําแนกลักษณะธรณีสัณฐานไดเปน (รูปท่ี 1.3)

1. ชายฝงหิน (Rocky coast) ชายฝงชนิดนี้สวนใหญเปนหินโผล (Outcrop) อยูตาม

ชายฝงท่ีเปนหัวแหลมและหนาผา เกิดจากการกัดเซาะโดยคล่ืนกัดเซาะหินในภูเขาท่ีอยูติดกับทะเล ชายฝง

หินพบอยูในพ้ืนท่ี จังหวัดระนองจนถึงสตูล เชนบริเวณ เขาหลัก จังหวัดพังงา เปนตน

2. ท่ีราบน้ําทวมถึง (Tidal flat) เปนบริเวณท่ีมีการสะสมตัวของตะกอนทรายแปง ดิน

เหนียวและทรายเม็ดละเอียดจากกระบวนการน้ําข้ึนน้ําลง มักเกิดตามแนวแมน้ําลําคลองท่ีอยูดานในตดิกับ

แผนดิน หรือเว้ิงอาวท่ีมีกระบวนการน้ําข้ึนน้ําลง ท่ีราบนํ้าทวมถึงสามารถแบงออกเปน 3 ชนิด คือ

2.1 ท่ีราบน้ําทวมถึงอยูเหนือระดับน้ําข้ึนสูงสุด (Supratidal flat) จะอยูดานในสุดติดกับ

แผนดินอยูดานหลังของปาชายเลน เปนพ้ืนท่ีเคยถูกน้ําทวม ปจจุบันน้ําทะเลข้ึนสูงสุดก็ทวมไมถึง

2.2 ท่ีราบน้ําทวมถึงอยูระหวางระดับน้ําข้ึนสูงสุดกับน้ําลงต่ําสุด (Intertidal flat) เปน

พ้ืนท่ีถูกปกคลุมดวยปาโกงกาง และพรรณไมปาชายเลน ในชวงน้ําข้ึนจะจมนํ้าและโผลปรากฏเม่ือระดับน้ํา

ลดลง และมีการสะสมตัวของตะกอนเม็ดละเอียดจําพวก ดินเคลยและทรายแปง

2.3 ท่ีราบนํ้าข้ึนถึงท่ีอยูใตระดับน้ําลง (Subtidal flat) เปนพ้ืนท่ีอยูดานนอกสุดของท่ีราบ

น้ําข้ึนถึง และมีการจมตัวอยูใตน้ําทะเลหรือมีบางสวนท่ีโผลใหเห็นไดในชวงระดับน้ําลดลง สวนมากจะเปน

สันดอนทราย

Page 16: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

7

3. หาดทราย (Sandy beach) เปนพ้ืนท่ีท่ีมีการสะสมตัวของตะกอนทรายท่ีมีขนาดตั้งแต

เม็ดปานกลางถึงหยาบ มีกรวด เปลือกหอย และเศษปะการังปนอยูดวย โดยการพัดพามาของนํ้าทะเล

ตอมาระดับน้ําทะเลถอยออกไปจึงเกิดเปนหาดทรายขนานกับชายฝงปจจุบัน หาดทรายสามารถแบงไดเปน

2 ชนิด คือ 3.1 ชายหาดเดิม หรือชายหาดโบราณ (Old beach) เปนชายหาดท่ีอยูดานในสุดอยูติด

กับแผนดินและหางจากชายฝงปจจุบันอยูในระดับความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 4-5 เมตร

3.2 ชายหาดใหม (Young beach) เปนแนวหาดท่ีอยูดานนอกสุดอยูติดกับทะเล และ

ตอเนื่องกับชายหาดเดิมท่ีอยูดานหลัง

กรมทรัพยากรธรณี (2548) โดยภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดทําการ

วิเคราะหปจจัยทางกายภาพในทะเลที่มีผลตอความรุนแรงของคล่ืนยักษสึนามิ โดยทําการวิเคราะหสภาพ

ภูมิประเทศใตทะเล รองน้ํา และสภาพภูมิประเทศชายฝงท่ีเก่ียวของกับการทวมของน้ําทะเลจากคล่ืน

ยักษสึนามิ ดวยวิธีการสํารวจในภาคสนามและการสํารวจระยะไกล พบวา ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงของ

พ้ืนท่ีอําเภอตะก่ัวปา และอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา สามารถแบงไดเปน 6 กลุมคือ 1.ปาชายเลนหรือ

ท่ีราบนํ้าทวมถึง 2.หาดทราย และสันทราย 3.ท่ีราบลุมต่ําหลังแนวสันทราย 4.สันทรายดานใน 5.ท่ีราบ

ตะกอนน้ําพา และ6.แผนดินและภูเขา (รูปท่ี 1.4)

รูปท่ี 1.3 แผนท่ีธรณีสัณฐานของชายฝงทะเล ตาํบลตะกั่วปา (สิน สินสกุล และคณะ, 2546)

Page 17: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

8

รูปท่ี 1.4 แสดงลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงของพ้ืนท่ีอําเภอตะก่ัวปา จังหวัดพังงา (จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, 2548)

Page 18: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

9

บทที่ 2 วรรณกรรมปริทัศน

2.1 หลักการและทฤษฎีของการรับรูระยะไกล

2.1.1 หลักการและความหมาย

การรับรูระยะไกล (Remote sensing) เปนการประยุกตใชเทคโนโลยีเพ่ือใหไดมาซึ่งขอมูล

ท่ีเก่ียวกับวัตถุ (Object) พ้ืนท่ีหรือปรากฎการณ (Phenomena) ตางๆ บนพ้ืนผิวโลกจากเคร่ืองมือบันทึก

ขอมูลโดยปราศจากการสัมผัสกับวัตถุนั้นๆ ซึ่งอาศัยคุณสมบัติคล่ืนการแผ หรือสะทอนของจากวัตถุ

แมเหล็กไฟฟามาจากวัตถุ ซึ่งเปนส่ือในการไดมาของขอมูล สําหรับยานพาหนะท่ีใชในการบันทึกขอมูล

ไดแก ดาวเทียม ยานอวกาศ หรือเคร่ืองบิน ซึ่งจะมีเคร่ืองรับสัญญาณ และบันทึกขอมูลในรูปของ

ภาพถายดาวเทียม ภาพถายทางอากาศ (รูปท่ี 2.1)

การสํารวจดวยวิธีนี้ใชเวลาในการแปลความหมายคอนขางนอย แตไดขอบเขตการสํารวจ

ท่ีเปนบริเวณกวางอีกท้ังยังไดขอมูลท่ีมีความแมนยํา จึงเหมาะสําหรับงานสนามท่ีไมสามารถเขาพ้ืนท่ีได

ท้ังหมด เชน การสํารวจการใชประโยชนท่ีดิน โครงสรางทางธรณีวิทยา เปนตน

ระบบการบันทึกขอมูลโดยเฉพาะขอมูลภาพถายดาวเทียมมีอยู 2 ระบบ (รูปท่ี 2.2) คือ

1. Passive remote sensing system เปนการบันทึกคุณสมบัติคล่ืนแมเหล็กไฟฟาจากการ

สะทอนหรือแผออกมาจากวัตถุโดยธรรมชาติ เชน การสะทอนแสงดวงอาทิตยของวัตถุ

2. Active remote sensing system เปนการบันทึกคุณสมบัติคล่ืนแมเหล็กไฟฟาที่ถูกสราง

ข้ึนจากแหลงกําเนิดในเคร่ืองมือวัดเอง และสงลงมาท่ีวัตถุ แลวสะทอนกลับมาท่ีเคร่ืองวัด เชน วิธีการ

บันทึกขอมูลดวยเรดาร

คล่ืนแมเหล็กไฟฟาท่ีเปนพลังงานสะทอนกลับหรือแผออกมาจากวัตถุในธรรมชาติจะถูก

บันทึกเปนคาตัวเลข (Digital number) ท่ีแตกตางกันและอยูในชวงคล่ืน (Band) ท่ีตางกันดวย (รูปท่ี

2.3) จากคุณสมบัติดังกลาว ภาพดาวเทียม Landsat 5, Landsat 7 และดาวเทียมสวนใหญจึงถูก

พัฒนาข้ึนเพ่ือบันทึกขอมูลในชวงคล่ืนพลังงานสะทอน (Reflected energy) โดยอาศัยลักษณะการสะทอน

พลังงานของวัตถุท่ีความยาวชวงคล่ืนตางๆกัน (Spectral reflectance curve) (รูปท่ี 2.4) และแตกตางกัน

ตามชนิดของวัตถุจึงทําใหสามารถแยกชนิดของวัตถุได (สุรชัย รัตนเสริมพงษ, 2536)

Page 19: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

10

รูปท่ี 2.1 หลักการทํางานของการรับรูระยะไกล(http://maps.unomaha.edu/Peterson/gis/

notes/RS2_files/optical.gif)

รูปท่ี 2.2 หลักการทํางานระบบการบันทึกขอมูลดวยวิธี Passive remote sensing system และ

Active remote sensing system (ดัดแปลงจาก www.envi.psu.ac.th/gis/rs/images/ ac-passive.jpg)

Page 20: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

11

รูปท่ี 2.3 แสดงชวงคล่ืนแมเหล็กไฟฟาที่เปนพลังงานสะทอนกลับหรือแผออกมาจากวัตถุใน

ธรรมชาติซึ่งถกูบันทึกอยูในชวงคล่ืน (Band) ท่ีตางกัน (www.envi.psu.ac.th/ gis/rs/images/ac-passive.jpg)

รูปท่ี 2.4 กราฟแสดงลักษณะการสะทอนพลังงานของวัตถุ(Spectral reflectance curve)

(http://wwwlb.aub.edu.lb/~webeco/rs%20lectures_files/image010.jpg)

Page 21: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

12

2.1.2 ขอมูลภาพดาวเทียม Landsat 7

ระบบการบันทึกขอมูลดาวเทียม Landsat 7 คือระบบ Enhanced Thematic Mapper Plus

(ETM+) ซึ่งปรับปรุงจากระบบการบันทึกขอมูลดาวเทียม Landsat 5 TM มีการบันทึกขอมูล 7 ชวงคล่ืน

(Band) รายละเอียดเชิงตําแหนง (Resolution) 30 เมตร และมีการบันทึกภาพขาวดํา(panchromatic) ท่ีมีรายละเอียดเชิงตําแหนง (resolution) 15 เมตร สําหรับชวงคล่ืน (Band) 6 ท่ีเปนชวงคล่ืนอินฟราเรด

ความรอน (thermal band) มีรายละเอียดเชิงตําแหนง (resolution) 60 เมตร (Lillesand and Kiefer,

1994 ; 2000) มีวงรอบการบันทึกขอมูลซ้ํา 16 วัน ภาพถายดาวเทียม Landsat 7 สามารถนํามา

ประยุกตใชในงานสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ ธรณีวิทยา ปาไม และธรณีพิบัติภัย ดังรายละเอียดคุณสมบัติ

ของแตละชวงคล่ืน(Band) คือ

แบนด 1 (ชวงคล่ืนสีน้ําเงิน) มีความยาวคล่ืน 0.45-0.52 ไมครอน สามารถนํามา

ประยุกตใชในงานชายฝงทะเล ใชแยกประเภทตนไมชนิดผลัดใบและไมผลัดใบออกจากกัน และแสดง

ความแตกตางระหวางดินกับพืชได

แบนด 2 (ชวงคล่ืนสีเขียว) มีความยาวคล่ืน 0.52-0.62 ไมครอน ใหขอมูลการสะทอน

แสงสีเขียวของพืชท่ีเจริญเติบโตแลว

แบนด 3 (ชวงคล่ืนสีแดง) มีความยาวคล่ืน 0.63-0.69 ไมครอน ใชแยกความแตกตาง

ของการดูดกลืนคลอโรฟลลในพืชเพ่ือใชในการแยกชนิดของพืชพรรณ

แบนด 4 (ชวงคล่ืนอินฟราเรดใกล) มีความยาวคล่ืน 0.76-0.90 ไมครอน ชวยในการ

ตรวจวัดมวลชีวะ (biomass) ในแหลงน้ํา และแยกความแตกตางของน้ําและสวนท่ีไมใชน้ํา

แบนด 5 (ชวงคล่ืนอินฟราเรดคล่ืนส้ัน) มีความยาวคล่ืน 1.55-1.75 ไมครอน ใชตรวจ

ความช้ืนในพืชใ ชดูความแตกตางของหิมะกับเมฆ

แบนด 6 (ชวงคล่ืนอินฟราเรดความรอน) มีความยาวคล่ืน 10.40-12.50 ไมครอน

(resolution 120 เมตร) สามารถนํามาวิเคราะหหาการเห่ียวเฉาเนื่องจากความรอนในพืช ใชดูความ

แตกตางของความรอนบริเวณพ้ืนท่ีศึกษา ความแตกตางของความช้ืนของดิน

แบนด 7 (ชวงคล่ืนอินฟราเรดกลาง) มีความยาวคล่ืน 2.08-2.35 ไมครอน สามารถ

นํามาประยุกตใชในงานสํารวจธรณีวิทยา เชน การจําแนกชนิดของหิน แรธาตุและชนิดของดิน

2.2 หลักการแปลความหมายขอมูลภาพดาวเทียม

2.2.1 ขั้นตอนการแปลความหมายขอมูลภาพดาวเทียม

การนําเขาขอมูลภาพดาวเทียมสามารถนํามาใชสําหรับการแปลความหมายได 2 วิธีตาม

ลักษณะรูปแบบของขอมูล กลาวคือ ขอมูลท่ีอยูในรูปแบบเชิงตัวเลขซึ่งบรรจุอยูในเทปคอมพิวเตอร หรือ

คอมแพคดิสค (Compact Disk, CD) จะนํามาวิเคราะหขอมูลดวยคอมพิวเตอรระบบวิเคราะหภาพ

(Image analysis system) สวนขอมูลดาวเทียมท่ีอยูในรูปแบบรูปภาพพิมพ หรือฟลม สามารถนํามาใชใน

การแปลความหมายดวยสายตา (Visual interpretation)

Page 22: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

13

2.2.2 หลักการแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียม

การแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลจากขอมูลภาพดาวเทียม จําแนกได 2 วิธี คือ การ

แปลและวิเคราะหขอมูลจากขอมูลภาพดาวเทียมดวยสายตาและคอมพิวเตอร ซึ่งท้ังสองรูปแบบมี

รายละเอียดของหลักการแปลและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียม (รูปท่ี 2.5) ดังตอไปนี้ 2.2.2.1การแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียมดวยสายตา

การแปลและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียมดวยสายตา จะมีความถูกตองแมนยํามากหรือ

นอยข้ึนอยูกับสมบัติของผูแปลเปนหลัก ไดแก ความรูภูมิหลัง(Background) ความสามารถทางสายตา

(visual ability) ความสามารถทางดานการตัดสินใจ (Level of decision) และประสบการณการทํางาน

(Experiences) รูปแบบหรือลักษณะท่ีใชในการแปลความหมายดวยสายตา มีดังตอไปนี้

1) ระดับสีและชนิดของสี (Color and Tone) หมายถึง ความแตกตางของสี ระดับความ

เขมของสี ท้ังนี้เนื่องจากคาสะทอนชวงคล่ืนท่ีไมเหมือนกันของวัตถุตางๆ บนพ้ืนผิวโลกนั่นเอง คุณสมบัติ

ขอนี้จึงมีความสําคัญอยางมากตอการจําแนกประเภทขอมูลภาพดาวเทียม

2) รูปราง (Shape) หมายถึงรูปรางของวัตถุท่ีปรากฏบนภาพเปนรูปรางท่ีมองเห็นจาก

ดานบนของวัตถุนั้นๆ ซึ่งวัตถุบางอยางมีรูปรางเฉพาะทําใหสามารถจําแนกออกจากพื้นท่ีอ่ืนๆ ไดงาย จาก

ภาพจากดาวเทียมเชน ลักษณะภูมิประเทศแบบคาสทของหินปูน (Karst topography) แมน้ําท่ีมีลักษณะ

เปนเสนยาวโคงไปโคงมา เปนตน

3) ขนาด (Size) หมายถึง ขนาดของวัตถุท่ีมีความสัมพันธกับมาตราสวนท่ีใชแปล ขนาด

ชวยใหผูแปลสามารถแยกวัตถุแตละประเภทได เชน ภูเขามีความสูงใหญกวาเนินเขา นอกจากนี้ยังตอง

คํานึงถึงขนาดของจุดภาพ (Pixel) ของขอมูลท่ีใชแปลดวย เชน ดาวเทียม Landsat มีขนาดของจุดภาพ 30x30 เมตร ดังนั้นวัตถุท่ีมีขนาดเล็กกวาขนาดของจุดภาพ ทําใหไมสามารถมองเห็นไดใน

ขอมูลภาพดาวเทียม

4) ลักษณะเนื้อภาพ (Texture) หมายถึงสภาพพื้นผิวท่ีมีความสมํ่าเสมอตางกัน ท้ังนี้

ข้ึนอยูกับภูมิประเทศและส่ิงปกคลุมพ้ืนท่ีไมเหมือนกัน จนทําใหเนื้อภาพเกิดความละเอียดหรือความหยาบ

แตกตางกันได เชน พ้ืนท่ีเปนภูเขาจะมีความสม่ําเสมอนอยกวาพ้ืนท่ีราบ ทําใหเนื้อภาพบริเวณภูเขาหยาบ

กวาพ้ืนท่ีราบ เปนตน

5) รูปแบบ (Pattern) หมายถึง ลักษณะการจัดตัวหรือเรียงตัวของพ้ืนผิวประเภทตางๆ

อันเปนลักษณะเฉพาะตัว ทําใหเห็นเดนชัดแตกตางจากพื้นท่ีอ่ืนๆ เชน พ้ืนที่ดินตะกอนรูปพัด รูปแบบทาง

น้ํา เปนตน

6) เงา (Shadow) การทอดเงามักมีความสัมพันธกับทิศทางของแสงอาทิตย ทําใหเรา

เห็นรูปรางลักษณะของวัตถุนั้นๆ

7) ความสัมพันธกับตําแหนงและส่ิงแวดลอม (Location and Association) หมายถึง

ความสัมพันธระหวางวัตถุ หรือพืชพรรณกับตําแหนงท่ีอยูเฉพาะ และส่ิงแวดลอมอ่ืนๆ เชน ปาชายเลน จะ

พบเฉพาะในพ้ืนท่ีชายตามฝงทะเลท่ีมีน้ําทะเลทวมถึงเทานั้น แหลงแรมักมีความสัมพันธกับโครงสรางทาง

ธรณีวิทยา เปนตน

Page 23: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

14

2.2.2.2 การแปลความหมายและวิเคราะหขอมูลภาพดาวเทียมดวยโปรแกรม

คอมพิวเตอร

การแปลและวิเคราะหขอมูลจากขอมูลภาพจากดาวเทียมดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร

ประกอบดวย 4 ข้ันตอนหลัก ดังตอไปนี้

1) การสรางภาพและการปรับแกภาพ (Image display) เปนกระบวนการเบื้องตนท่ี

จําเปน ซึ่งทําใหเกิดความถูกตองของผลการวิเคราะหไดมากข้ึน โดยทั่วไป ประกอบดวยวิธีการตางๆ คือ

การปรับแกคาระดับสีเทา (radiometric correction) การปรับแกคาความคลาดเคล่ือนทางเรขาคณิต

(geometric correction) และเลือกชวงคล่ืน (band) และจํานวนชวงคลื่นท่ีนํามาแสดงบนจอภาพ

โดยทั่วไปเลือกไดคร้ังละ 3 ชวงคล่ืน เพ่ือใชในการทําขอมูลภาพสีผสม (color composite image)

2) การปรับปรุงคุณภาพ(Image Enhancement) เปนการปรับปรุงหรือเนนคุณภาพขอมูล

ใหเดนชัดเพื่อเพ่ิมความสะดวกและความถูกตองในการวิเคราะห โดยใชกระบวนการปรับปรุงคา

ระดับสีเทาของขอมูลเพ่ือใหเราสามารถดูภาพเหลานั้นไดชัดเจนข้ึนแตจะทําใหคาระดับสีเทาของขอมูลท่ีได

เปล่ียนแปลงไปจากเดิมอยางมาก ดังนั้นในการทําตองเลือกใชใหเหมาะสมและจะทําทีละชวงคล่ืนแยกจาก

กัน จากปรับปรุงคุณภาพของภาพมีหลายวิธีดวยกัน เชน การปรับปรุงคาความแตกตาง (contrast

enhancement) ซึ่งเปนการปรับปรุงคาความเขมของขอมูลเพ่ือใหแสดงความแตกตางกันมากข้ึน การ

ปรับปรุงขอบภาพ (Edge enhancement) ซึ่งเปนการปรับปรุงคาความเขมท่ีควรจะเปนของจุดภาพ โดย

การเปรียบเทียบกับจุดภาพขางเคียง การแปลงคาความเขมใหมดวยเทคนิคท่ีเรียกวาการกรอง (Filtering)

รวมถึงการทําภาพสีผสมตางๆ (Color Composite) และการตัดตอขอมูลภาพจากดาวเทียมดวยวิธี Digital

mosaics

3) การจําแนกประเภทของขอมูล (Image Classification)

เปนกระบวนการแปลความหมายจากขอมูลภาพดาวเทียมดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร

โดยการนําเขาขอมูลในคอมพิวเตอรหลังจากนั้น โปรแกรมคอมพิวเตอรจะจัดจําแนกหรือจัดกลุมจุดภาพ

ของขอมูลเชิงตัวเลขหรือคาสะทอนของพลังงาน (Digital number) ท่ีมีคุณสมบัติเดียวกันเปนขอมูลชุด

เดียวกัน สําหรับการจําแนกขอมูลเชิงตัวเลขสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ (Honda kiyoshi,

2003) คือ

-Unsupervised Classification คือ การจําแนกประเภทขอมูลโดยการนําขอมูลท่ีมีคา

ขอมูลดังกลาวยังมีโครงสรางหรือคุณสมบัติเหมือนเดิมกับขอมูลตั้งตน

-Supervised Classification คือ การจําแนกขอมูลโดยกําหนดพ้ืนท่ีขอมูลตัวอยาง

(Training area) ที่มีความชัดเจนของคาสะทอนของพลังงานเดียวกันใหกับคอมพิวเตอร เพ่ือใชในการ

คํานวนคาสถิติสําหรับการจําแนกประเภทกลุมขอมูล

4) การตกแตงขอมูลหลังการจําแนก (Post Classification) บางคร้ังเราพบวาขอมูลหลัง

จําแนกแลวมีความไมตอเนือ่ง หรือเราไมสามารถปรับจุดภาพขางเคียงท่ีอยูภายใตสภาวะเดียวกันใหเปน

ประเภทเดียวกันทําใหตองมีการตกแตงขอมูลหลังการจําแนก หลังจากนั้นทําการวิเคราะหความถูกตอง

ของผลลัพธ

Page 24: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

15

รูปท่ี 2.5 แผนผังข้ันตอนการแปลความหมายจากภาพดาวเทียม

Page 25: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

16

บทที่ 3

วิธีการศึกษา

การศึกษาลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณพ้ืนท่ีอําเภอตะก่ัวปา-อําเภอทายเหมือง

จังหวัดพังงาไดทําการศึกษาโดยใชเทคนิคสํารวจการรับรูระยะไกล (Remote sensing technique) ซึ่งไดนํา

ขอมูลภาพดาวเทียม Landsat 5 และ Landsat 7 มาทําการแปลความหมายดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร

และทําการสํารวจในภาคสนามเพื่อตรวจสอบความถูกตองแมนยํา วิธีการศึกษาสามารถสรุปไดดังนี้

3.1 วัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจ

3.1.1 อุปกรณสําหรับสํานักงาน

-เคร่ืองคอมพิวเตอร PC (Pentium 4) จํานวน 1 เคร่ือง

-โปรแกรมคอมพิวเตอร ENVI 4.0 สําหรับประมวลผลขอมูลภาพถายทางอากาศและ

ภาพดาวเทียม

-โปรแกรมคอมพิวเตอร ArcView 3.3 สําหรับประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศ

ภูมิศาสตร

-เคร่ืองพิมพสีเลเซอร

3.1.2 อุปกรณสําหรับงานภาคสนาม

-เคร่ืองคอมพิวเตอร Notebook (Pentium M) จํานวน 1 เคร่ือง

-กลองถายรูปดิจิตัล จํานวน 1 เคร่ือง

-เคร่ืองมือหาพิกัดตําแหนงภูมิศาสตรดวยสัญญาณดาวเทียม (GPS) จํานวน 1 เคร่ือง

3.2 ข้ันตอนการศึกษาและวิธีการศึกษา 3.2.1 ขั้นตอนการรวบรวมขอมูลเบ้ืองตน

เปนการรวบรวมเอกสารและขอมูลเดิมจากแผนท่ีธรณีวิทยา มาตราสวน 1:250,000

แผนท่ีการเปลี่ยนแปลงชายฝงภาคใตฝงตะวันตก (ทะเลอันดามัน) มาตราสวน 1:500,000 แผนที่ภูมิ

ประเทศ มาตราสวน 1:50,000 รายงานธรณีวิทยาในพื้นท่ีปฏิบัติงานและพ้ืนท่ีใกลเคียง รายงานการ

สํารวจธรณีสัณฐานท่ีเคยศึกษาในพ้ืนท่ี และรวบรวมขอมูลภาพถายดาวเทียม Landsat 7, Path 130/Row

054 บันทึกขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545 และภาพถายดาวเทียม Landsat 5, Path 130/Row 054

บันทึกขอมูลเม่ือวันท่ี 1 มีนาคม 2547

3.2.2 ขั้นตอนการวิเคราะหและแปลความหมาย ข้ันตอนการวิเคราะหและแปลความหมายภาพดาวเทียมเพื่อหาพ้ืนท่ีและขอบเขตของ

ธรณีสัณฐานชายฝงโดยใชโปรแกรม ENVI 4.0 ซึ่งเปนการแปลขอมูลจากภาพถายดาวเทียมดวยโปรแกรม

คอมพิวเตอรแบบ Maximum likelihood Classification แลวสงขอมูลท่ีไดจากการแปลความหมายมา

Page 26: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

17

จัดทําแผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงโดยใชโปรแกรม ArcView 3.3 ในระบบสารสนเทศ

ภูมิศาสตร โดยมีข้ันตอนการทํางานดังนี้

1. นําภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ แนวการบันทึกขอมูลท่ี Path 130/R0w 054

และ Landsat 5 แนวการบันทึกขอมูลเดียวกัน ท่ียังไมมีพิกัดทางภูมิศาสตรมาทําการตรึงพิกัด

(Registration) ใหเรียบรอยโดยใชคา Ground control point จากแผนท่ีภูมิประเทศของพื้นท่ีศึกษา แลวทําการเลือกพ้ืนท่ีศึกษาออกมา

2. ทําการเลือกพื้นท่ีขอมูลตัวอยาง (Training Areas) เชน พ้ืนท่ีท่ีเปนน้ํา ปาโกงกาง

ภูเขาสูงและพ้ืนท่ีขอมูลตัวอยางท่ียังไมทราบชนิดแนนอน การเลือกพ้ืนท่ีขอมูลตัวอยาง มีวัตถุประสงคเพ่ือ

นําไปใชในการจัดจําแนกกลุมตัวอยางตอไป สําหรับการทําพ้ืนที่ตัวอยาง (Training Areas) มีข้ันตอนดัง

รูปท่ี 3.1

3. ทําการแปลความหมายจากขอมูลภาพถายดาวเทียมดวยคอมพิวเตอรโดยวิธี

Maximum likelihood Classification (รูปท่ี 3.2 และรูปท่ี 3.3 )ในข้ันตอนนี้จะตองใชพ้ืนท่ีขอมูลตัวอยาง

ท่ีทําการคัดเลือกไวในขอ 2 มาใชในการประมวลผลดวย ผลท่ีไดจากการแปลความหมายจะไดลักษณะ

ธรณีสัณฐานเทากับจํานวนพ้ืนท่ีตัวอยางท่ีเลือกไวและพ้ืนท่ีท่ีไมสามารถจําแนกจากคอมพิวเตอรได แสดง (รูปท่ี 3.4 และรูปท่ี 3.5)

4. ทําการตกแตงขอมูลและปรับปรุงขอมูลเพ่ือกําจัดจุด หรือชองวาง (speckle or holes)

ท่ีเกิดข้ึนภายในพ้ืนท่ีของขอมูลหลังการแปลความหมาย โดยใชวิธี Sieve Class ข้ันตอนตอมานําขอมูลท่ี

ไดจากการ Sieve Class มาปรับปรุงขอมูลดวยวิธี Clump Class เพ่ือเปนการรวมกลุมของขอมูลท่ีอยู

ใกลเคียงใหเปนกลุมขอมูลเดียวกัน สําหรับวิธีการมีข้ันตอนดังรูปท่ี 3.6

5. ทํา Principle Component Analysis (PCA) เปนการเปล่ียนแปลงและปรับแกคาการ

สะทอนพลังงานของวัตถุ (Digital Number) โดยสมการทางคณิตศาสตร ผลลัพธท่ีไดจะทําใหคาสะทอน

พลังงานของดิน น้ําและพืชมีความชัดเจนมากข้ึน การทํา Principle Component Analysis (PCA) สามารถ

นําไปผสมสีกับแบนดตางของภาพดาวเทียม Landsat 7 ไดเพ่ือเนนพ้ืนที่ท่ีเปนดิน น้ําและตนไม หรือผสม

สีเท็จกันเองแลวนําไปเปรียบเทียบกับผลท่ีไดจากแปลความหมายดวยขอมูลภาพดาวเทียมดวย

คอมพิวเตอรโดยวิธี Maximum likelihood Classification และปรับแกขอมูลใหมีความเหมาะสมและ

ถูกตองมากข้ึนกวาเดิม ข้ันตอนการทํา PCA มีดังรูปท่ี 3.7

6. วิเคราะหคาดัชนีพืชพรรณ (NDVI analysis) เปนข้ันตอนการแยกพ้ืนท่ีท่ีเปนปาหรือ

พ้ืนท่ีท่ีมีพืชข้ึนปกคลุมออกจากพื้นท่ีโลง หรือบริเวณท่ีไมมีปาปกคลุมและบริเวณท่ีตั้งบานเรือนของ

ประชาชน โดยอาศัยคาความแตกตางในการสะทอนแสงของพืชท่ีแตกตางกันของ Band 3 กับ Band 4 ใน

Landsat 7 โดยมีข้ันตอนการทํา NDVI มีข้ันตอนดังรูปท่ี 3.8 ผลท่ีไดจากการทําคาดัชนีปาไมแสดงดังรูป

ท่ี 3.9

Page 27: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

18

1 2

3

4

5

รูปท่ี 3.1 แสดงข้ันตอนการเลือกขอมูลตัวอยาง

(Training Areas) เพ่ือนําไปใชในการจดัจําแนก

กลุม

1.ข้ันตอนการเลือกหนาตางเคร่ืองมือการเลือก

กลุมตัวอยาง

2.หนาตางเคร่ืองมือการเลือกกลุมตัวอยาง

3.การเลือกกลุมขอมูลตัวอยาง

4.ข้ันตอนการบันทึก

5.การบันทึกกลุมขอมูลตัวอยาง

Page 28: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

19

รูปท่ี 3.2 แสดงข้ันตอนการเลือกหนาตางการแปความหมายดวยคอมพิวเตอรโดยวิธี Maximum

likelihood Classification มาใชงาน

1

2

รูปท่ี 3.3 ภาพซายมือแสดงการเลือก File ท่ีใชในการแปลความหมายดวยวิธี Maximum likelihood

Classification (1) สวนภาพขวามือแสดงการใสพารามิเตอรสําหรับการแปลความหมาย (2)

Page 29: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

20

รูปท่ี 3.4 แสดงผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification

รูปท่ี 3.5 แสดงผลของการแปลความหมายโดยวิธี Maximum likelihood Classification พรอม

ดวยชนิดและจํานวนกลุมขอมูลท่ีไดจากการแปลความหมาย

Page 30: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

21

1

3

2

4

รูปท่ี 3.6 แสดงการปรับปรุงขอมูลเพ่ือกําจัดจดุ หรือชองวาง (speckle or holes)

1.แสดงการเลือกหนาตางการปรับปรุงขอมูลเพ่ือกําจัดจดุ หรือชองวาง แบบ Sieve มาใชงาน

2.เลือกกลุมตัวอยางเพ่ือใชในการปรับปรุงขอมูล

3.แสดงการเลือกหนาตางการปรับปรุงขอมูลเพ่ือกําจัดจดุ หรือชองวาง แบบ clump มาใชงาน

4.เลือกกลุมตัวอยางเพ่ือใชในการปรับปรุงขอมูล

Page 31: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

22

1

2

3

4

รูปท่ี 3.7 แสดงข้ันตอนการทํา Principle Component Analysis (PCA)

1.แสดงการเลือกหนาตาง Principle Component Analysis (PCA) เพ่ือมาใชงาน

2.เลือก file สําหรับการทํา Principle Component Analysis (PCA)

3.ข้ันตอนการใสพารามิเตอรและการบันทึกขอมูล

4.แสดงผลท่ีไดจากการทํา Principle Component Analysis (PCA)

Page 32: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

23

1

3

2

รูปท่ี 3.8 แสดงข้ันตอนการทํา NDVI

1.แสดงการเลือกหนาตาง NDVI

เพ่ือมาใชงาน

2.เลือก file สําหรับการทํา NDVI

3.ข้ันตอนการใสพารามิเตอรและการ

บันทึกขอมูล

1

2

รูปท่ี 3.9 แสดงผลของการทําคาดัชนีปาไม (NDVI analysis) พ้ืนที่สีเขียวแสดงวามีปาไมปกคลุม

บริเวณท่ีเปนสีขาวเปนพ้ืนท่ีโลงไมมีปาปกคลุมหรือมีปาปกคลุมนอย (ภาพ 1 กอนการ

วิเคราะหคาดัชนีพืชพรรณ และ ภาพ 2 หลังการวิเคราะหคาดัชนีพืชพรรณ)

7.ขอมูลท่ีไดจากการประมวลผลจากโปรแกรม ENVI 4.0 เปนขอมูลระบบกริด (Raster

Data) หากจะทําการแกไขหรือปรับปรุงขอมูลควรแปลงขอมูลใหอยูในรูปขอมูลเชิงเสน (Vector file

format) และทําการปรับปรุงขอมูลดวยโปรแกรม ArcView 3.3 ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร แลวจัดทํา

แผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝง มีข้ันตอนดังรูปท่ี 3.10

Page 33: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

24

1

2

3

4

5

รูปท่ี 3.10 แสดงการเปล่ียนขอมูลจากระบบ กริด

(Raster Data) ไปเปนระบบเชิงเสน(Vector Data)

เพ่ือใชสําหรับการปรับแกขอมูล

1.การเลือกหนาตางการเปลี่ยนระบบขอมูล

2.เลือก file ท่ีไดจากการกาํจัดจดุแลวเพ่ือใชใน

การเปล่ียนระบบขอมูล

3.การบันทึกกลุมขอมูลใหอยูในระบบเชิงเสน

4.หนาตางแสดงรายละเอียดของขอมูลเชิงเสน

5.แสดงการเปล่ียนขอมูลใหอยูในรูปของ

นามสกุล shape file สําหรับนําไปปรับแกขอมูลใน

ระบบสารสนเทศภูมิศาตร

Page 34: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

25

3.3 ผลการแปลความหมาย

หลังจากท่ีทําการวิเคราะหและแปลความหมายจากภาพดาวเทียม Landsat 7 ETM+ แนวการ

บันทึกขอมูลท่ี Path 130 R0w 054 แลวพบวามีลักษณะท่ีปรากฏในภาพดาวเทียมมีความแตกตางกันใน

รูปแบบ สี ชนิดของสี ตลอดจนโครงสราง มีความแตกตางกัน สามารถนํามาใชในการจัดจําแนกชนิดของ

วัตถุหรือลักษณะธรณีสัณฐาน ดังนี้

1) ภูเขาสูง มีรูปแบบ และโครงสรางเปนรูปวงกลม หรือยาวรีท่ียาวตอเนื่อง มีสี และลักษณะ

เนื้อท่ีปรากฏแตกตางกันข้ึนอยูกับความหนาแนนของปาไมท่ีปกคลุม มีลักษณะท่ีแตกตางกันข้ึนอยูกับชนิด

ของหินท่ีรองรับ เชน หินปูน ก็จะมีลักษณะที่ปรากฏเปนตะปุมตะปา ของลักษณะภูมิประเทศแบบคาสตร

(Karst Topography) วางตัวยาวรี หรือตั้งอยูโดด หินตะกอน จะมีลักษณะโครงสรางการวางตัวของช้ันหิน

มีทางน้ําท่ีหนาแนนมากกวาหินปูน (รูปท่ี 3.11) สวนหินอัคนี มักจะมีรูปรางท่ีเปนทรงโดม หรือเปนรูป

กรวย มีทางน้ําท่ีเปนแบบรัศมี (รูปท่ี 3.11)

2) ลักษณะธรณีสัณฐานชายฝงทะเล เชน บริเวณชายหาด ท่ีราบน้ําทวมถึง (Tidal flat ) ท่ีมี

รูปแบบเปนชายหาดยาวรี และมีตําแหนงอยูใกลกับทะเล มีสีท่ีปรากฏแตกตางกันข้ึนอยูกับลักษณะ

ธรณีวิทยา และส่ิงปกคลุม เชน ชายหาดปจจุบันจะมีสีขาวฟา เพราะมีตะกอนทรายปกคลุม จึงสะทอนแสง

ไดดีมาก (รูปท่ี 3.11) สวนชายหาดเกามักจะมีพืชพรรณปกคลุมบาง เชน ผักบุง หรือตนมะพราว ทําให

ลักษณะปรากฏมีความแตกตางจากหาดทรายปจจุบัน เนื่องจากบริเวณน้ีไมไดรับอิทธิพลจากการ

เปล่ียนแปลงของน้ําข้ึนน้ําลง สวนท่ีราบนํ้าทวมถึงหรือปาโกงกาง เปนพ้ืนท่ีท่ีมีปาโกงกางข้ึนหนาแนนมาก

ทําใหเห็นเปนสีน้ําตาลแดง เนื้อละเอียด เพราะปาโกงกางมีครอโรฟลลท่ีสะทอนแสงชวงสีเขียว และ

สะทอนชวงอินฟราเรดไดดีกวาน้ําและดินมาก (รูปท่ี 3.11)

3) ลักษณะธรณีสัณฐานอ่ืนๆ เชน ที่ราบเชิงเขา (Colluviam Deposit) ที่ราบนํ้าตะกอนนํ้า

พา (Alluvial Deposit) มักเปนท่ีราบอยูใกลกับภูเขา เปนเนินเขาเตี้ยๆ บางพื้นท่ีเปนท่ีตั้งบานเรือนของ

ประชาชน สวนใหญจะเปนสวนยางพารา และสวนผลไม มีสีน้ําตาลออน เนื่องจากการปกคลุมของ

ยางพาราและพืชสวนท่ีมีความหนาแนนนอยกวาบนภูเขา มีรูปแบบเปนส่ีเหล่ียมเนื่องจากรูปแบบการทําไร

เปนแปลง มีสีท่ีจางกวาภูเขาสูงเนื่องจากปาไมท่ีปกคลุมนอยกวา (รูปท่ี 3.11)

4) ชุมชนเมือง เปนชุมชนท่ีตั้งของตวัเมืองท่ีมีขนาดใหญ เชน บริเวณท่ีตั้งอําเภอ มีอาคาร

คอนกรีตและสิ่งกอสรางหนาแนน มีการสะทอนสัญญาณสูง มีความหนาแนนของพืชพันธุนอย ขอมูลท่ี

ปรากฏใหเนื้อภาพหยาบปานกลาง โดยมากมีสีขาว เทาอมฟา (รูปท่ี 3.11)

5) ชุมชนหมูบาน ชุมชนหมูบานเปนชุมชนท่ีมีความหนาแนนของครัวเรือนนอยกวาชุมชนเมือง

เปนบริเวณท่ีมีการสะทอนสัญญาณปานกลาง เนื่องจากมีอาคารและส่ิงกอสรางและมีความหนาแนนของ

พืชพันธุปานกลาง แสดงเนื้อภาพหยาบปานกลาง สีเทาฟาและสีสมแทรกอยูในบริเวณชุมชนซ่ึงเปนการ

สะทอนสัญญาณของเรือนยอดของตนไมรวมดวย มักพบกระจายอยูท่ัวไปตามท่ีราบลุมน้ําทวมถึง ท่ีราบ

เชิงเขา หรือตามแนวลําน้ํา และถนน (รูปท่ี 3.11)

Page 35: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

26

สัญลักษณ

ภูเขาหินตะกอน

ภูเขาหินอัคน ี

ชายหาด

ท่ีลุมน้ําทวมถึงหรือปาโกงกาง

ท่ีราบเชิงเขา

ชุมชนเมือง

หมูบาน

รูปท่ี 3.11 ภาพดาวเทียม Landsat 7 แสดงลักษณะปรากฏของธรณีสัณฐานในพ้ืนท่ีศึกษา

Page 36: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

27

3.4 ข้ันตอนการตรวจสอบภาคสนาม

ข้ันตอนนี้เปนการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในภาคสนาม โดยทําการเขาสํารวจใน

พ้ืนท่ีจริงพรอมท้ังถายรูปบริเวณท่ีทําการศึกษา เชน หาดทรายเกา (Old beach) พ้ืนท่ีปาโกงกาง

(Mangrove Areas) และบันทึกตําแหนงทางภูมิศาสตรดวยเคร่ือง GPS (รูปท่ี 3.12 ถึงรูปท่ี 3.15) เพ่ือ

เปรียบเทียบกับผลการแปลความหมายจากคอมพิวเตอร ขอมูลท่ีไดสามารถนํามาปรับแกขอมูลเพ่ือให

ขอมูลมีความถูกตองมากย่ิงข้ึน

1

2

รูปท่ี 3.12 แสดงภาพหาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณ(1)และภาพปาโกงกาง(2)บริเวณตอนเหนือ

ของอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา ขอมูลท่ีไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเม่ือ

วันท่ี 10 เมษายน 2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึก

ขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545

Page 37: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

28

1

2

รูปท่ี 3.13 แสดงภาพหาดทรายปจจุบนั(1,2) บริเวณแหลมประการัง อําเภอตะกัว่ปา จังหวัด

พังงา ขอมูลท่ีไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเม่ือวันท่ี 10 เมษายน

2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึกขอมูลเม่ือวันท่ี

4 มีนาคม 2545

Page 38: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

29

1

2

รูปท่ี 3.14 แสดงภาพหาดทรายใหม (1,2) บริเวณบานน้ําเค็ม อําเภอตะกั่วปา จงัหวัดพังงา

ขอมูลท่ีไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเม่ือวันท่ี 10 เมษายน 2549)กับ

ภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึกขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม

2545

Page 39: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

30

1

2

รูปท่ี 3.15 แสดงภาพลากูน(1)และหาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณ(2)บริเวณบานคึกคัก

อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา ขอมูลท่ีไดจากการสํารวจภาคสนาม(ขอมูลภาพถายเม่ือวันท่ี

10 เมษายน 2549)กับภาพถายดาวเทียม Landsat 7 (path/row 130/054) บันทึก

ขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545

Page 40: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

31

บทที่ 4

ผลการศึกษา

ผลการแปลความหมายดวยภาพถายดาวเทียม Landsat 7 พบวาพ้ืนท่ีชายฝงทะเลอันดา

มันบริเวณอําเภอตะก่ัวปา-ทายเหมือง จงัหวัดพังงา มีลักษณะธรณีสัณฐานของชายฝงแบงไดเปน 7 กลุม

ดังแสดงในแผนท่ีแสดงธรณีสัณฐานชายฝงบริเวณอําเภอตะก่ัวปา-ทายเหมือง จังหวัดพังงา (รูปท่ี 4.1) มี

เนื้อท่ีของพ้ืนท่ีศึกษาประมาณ 1128.28 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยหาดทรายใหม และหาดทราย

ปจจุบนั หาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณ ลากูน ท่ีราบเชิงเขา ภูเขาสูง และท่ีราบนํ้าข้ึนถึงหรือปาโกงกาง

โดยมีรายละเอียดดังนี ้

1. หาดทรายปจจุบนั (beach) และหาดทรายใหม (Young beach)

หาดทรายปจจุบันและหาดทรายใหมพบอยูบริเวณท่ีติดกับทะเลอันดามันมากท่ีสุด เปน

บริเวณท่ีมีน้ําทะเลข้ึนลง มีลักษณะเปนหาดสันดอน มีแนวชายหาดยาว มีสันดอนปากอาวไมมีพืชข้ึนปก

คลุมมีทรายสะสมตัวบริเวณหนาหาด มีกรวด เปลือกหอย และปะการังปนอยูดวยทําใหมีการสะทอนแสง

สูงมากทําใหเห็นในภาพถายดาวเทียมท่ีมีการผสมสีเท็จเปนสีขาว (Band 4, 5, 7) หาดทรายปจจุบันและ

หาดทรายใหมมีเนื้อท่ีประมาณ 18.06 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.60 ของพ้ืนท่ีศึกษา หาดทราย

พบอยูตามชายหาดเกาะคอเขา บานน้าํเคม็ บานบางเนยีง โดยเฉพาะแหลมประการัง รูปท่ี 4.2

หาดทรายใหมและหาดทรายใหม เกิดจากการสะสมตัวของตะกอนทรายท่ีมีอายุอยูในชวง

2,000 ปจนถึงไมก่ีรอยปท่ีผานมา (สิน สินสกุล, 2546) และเกิดการสะสมตัวจากกระบวนการพัดพาของ

คล่ืนน้าํทะเลเขาฝงในอดตี เม่ือน้ําทะเลลดถอยออกไปจึงทําใหเกิดเปนหาดทรายขนานกับชายฝง ตะกอน

สวนใหญเปนทรายขนาดเม็ดปานกลางถึงหยาบ มีกรวด ปะการัง และเปลือกหอยสะสมตัว ชายหาดนี้อยู

ติดกับชายหาดท่ีมีน้ําข้ึนน้ําลง ดานหลงัของหาดทรายใหมจะตอเนือ่งเปนชหาดทรายเกาหรือบางบริเวณ

อาจเปนลากูน (lagoon) หรือพ้ืนท่ีชุมน้ํา มีแนวระดบัความสูงประมาณ 1-2 เมตรจากระดับน้ําทะเล จาก

การผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวาชายหาดใหมและชายหาดปจจุบนัมักจะเปนสี

ขาว และบางพ้ืนท่ีมีสีน้ําตาลออน สีเทาปนอยูในสีน้ําตาล มักมีรูปรางยาวขนานกับชายฝงท้ังนี้เนื่องจาก

บริเวณดังกลาวรองรับดวยตะกอนทรายและมีพืชสวน เชน มะพราว และหญาบางชนิดข้ึนปกคลุม บริเวณ

บานน้ําเค็ม บานบางเนียง (รูปท่ี 4.3)

2.หาดทรายเกา หรือหาดทรายโบราณ (Old beach) มีกระบวนการเกิดแบบเดียวกันกับ

ชายหาดปจจบุันแตมีอายุมากกวา โดยปกติตะกอนทรายนี้จะมีอายุอยูในชวง 6,000 ปท่ีผานมา (สิน สิน

สกุล, 2546 ) ตะกอนท่ีตกสะสมตัวในบริเวณนี้สวนใหญเปนตะกอนทรายขนาดปานกลางถึงหยาบมีการ

คัดขนาดท่ีด ี พบเปลือกหอยปะปนอยูในทรายดวย ชายหาดนี้สวนใหญจะพบอยูดานหลังของลากูน

(lagoon) แนวชายหาดอยูท่ีระดับความสูงประมาณ 3-5 เมตรจากระดับน้ําทะเล เปนชายหาดท่ีอยูหาง

จากทะเลปจจบุันและเปนทีต่ั้งของบานเรือนของประชาชน เนื่องจากชายหาดเกาถูกรองรับดวยทราย

บานเรือนประชาชน บางบริเวณมีการสะสมตัวของแรดีบุก จึงปรากฏใหเห็นเปนขุมเหมืองเกา เม่ือผสมสี

เท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวาบริเวณท่ีเปนท่ีโลงจะมีสีขาว สีฟาออน สวนบริเวณท่ีมี

Page 41: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

32

พืชปกคลุมบางจะเปนสีน้าํตาลออน ปนสีเทา บริเวณท่ีตั้งของบานเรือนประชาชนหรือ

ชุมชนจะมีสีฟาออนแตมีความแตกตางจากท่ีโลงคือชุมชนจะมีรูปรางท่ีเปนแบบแผน รวมเปนกลุม สวน

บริเวณท่ีเปนขุมเหมืองเการูปรางท่ีปรากฏสวนใหญเปนพ้ืนท่ีวงกลมและ ส่ีเหล่ียมของขุมเหมืองเกาท่ีมีน้ํา

ขังจึงมีสีดําเพราะน้ําดดูซับแสง หาดทรายโบราณพบปรากฏในพ้ืนท่ีศกึษาคือบริเวณบานบางเนียง บานทา

ดินแดง อําเภอทายเหมือง รูปท่ี 4.4 จากการศึกษาพบวาหาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณในพื้นท่ีศึกษา

มีเนื้อท่ีประมาณ 66.26 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 5.87 ของพ้ืนท่ีศึกษา

3.ลากูน (lagoon) มีกระบวนการเกิดจากมีน้าํทะเลไหลเขาทวมขังบริเวณหนาชายหาด

และท่ีลุมหลังชายหด ตอมามีสันดอนทรายงอกในทะเลปดทับทางน้าํไหลออกจึงมีการพัฒนาเปนท่ีลุมน้ําขัง

หลังสันดอนทราย บริเวณดงักลาวจึงกลายเปนท่ีชุมน้ํามีพืชจําพวกเสม็ด และพืชชอบนํ้าข้ึนปกคลุม บาง

บริเวณท่ีไมมีน้ําทวมขังแลวมักปรากฏพบผักบุงทะเลข้ึนปกคลุม ลากูนในพ้ืนท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ

21.44 ตารางกิโลเมตร คดิเปนรอยละ 1.90 ของพ้ืนท่ีศึกษา จากการผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม

(band 4, 5, 7) จะพบวาบริเวณท่ีเปนลากูนจะมีสีฟาออนปนสีเทา สวนใหญพบอยูระหวางชายหาด

ปจจุบนักับชายหาดโบราณ รูปท่ี 4.5

4.ท่ีลุมน้ําทวมขัง (Back Swamp) มีกระบวนการเกิดคลายกับการเกิดของลากูน แตท่ี

แตกตางคือบริเวณท่ีลุมน้ําทวมขัง จะเกิดจากการทวมของน้ําจืดแลวมีพัฒนาเปนบึงมีพืชน้ําจดือาศัยอยู

และมีการสะสมตัวของตะกอนขนาดเล็ก เชน ทรายแปง ดินเหนียว ท่ีลุมน้ําทวมขังในพ้ืนท่ีศึกษามีเนื้อท่ี

ประมาณ 2.92 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.26 ของพ้ืนท่ีศึกษา จากการผสมสีเท็จของภาพถาย

ดาวเทียม (band 4, 5, 7) จะพบวาบริเวณท่ีเปนท่ีลุมน้ําทวมขังจะมีสีเทา มีสีน้าํตาลปนสมเล็กนอย ใน

การแปลความหมายจากคอมพิวเตอรมีลักษณะคลายกับลากูนมาก แตสามารถแยกออกจากกันโดยการ

จําแนกพืชท่ีข้ึนปกคลุมในสนาม กลาวคือพืชท่ีข้ึนในบริเวณท่ีลุมน้ําทวมขังมักเปนพืชน้ําจืด ท่ีลุมน้ําทวมขัง

พบในพ้ืนท่ีศกึษาอยูท่ีทางเหนือของอําเภอทายเหมือง ดังรูปท่ี 4.6

5.ท่ีราบเชิงเขา (Colluviam Deposit) ท่ีราบนํ้าตะกอนน้ําพา (Alluvial Deposit) เปน

พ้ืนท่ีสะสมตัวของตะกอนทราย ทรายแปง และตะกอนเชิงเขา มักเปนท่ีราบอยูใกลกับภูเขา บางพื้นที่เปน

ท่ีตั้งบานเรือนของประชาชน สวนใหญจะเปนสวนยางพารา และสวนผลไม ท่ีราบเชิงเขาและท่ีราบตะกอน

น้ําพาในพ้ืนท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ 368.84 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 32.69 ของพ้ืนท่ีศึกษา จาก

การผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวาพ้ืนท่ีบริเวณดังกลาวมีมีสีน้ําตาลออน

เนื่องจากการปกคลุมของ ยางพาราและพืชสวนท่ีมีความหนาแนนนอยกวาบนภูเขา มีรูปแบบเปนส่ีเหล่ียม

เนื่องจากรูปแบบการทําไรเปนแปลง ลักษณะเนื้อภาพ (Texture) ท่ีมีความละเอยีดสูงกวาพ้ืนท่ีเปนภูเขา

และมีส่ีท่ีจางกวาเนื่องจากปาไมท่ีปกคลุมไมหนาแนนเทากับพ้ืนท่ีภูเขาสูง

6.ภูเขาสูง (Mountain areas) เปนพ้ืนท่ีท่ีรองรับดวยหินแข็งมีการกระจายตัวอยูทางทิศ

ตะวันออกของพ้ืนท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ 552.09 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 48.93 ของพ้ืนท่ี

ศึกษา จากการผสมสีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) พบวามีสีน้ําตาลปนสม เนื่องจากมีปาไม

ปกคลุมหนาแนน มีรูปรางหรือรูปแบบท่ีชัดเจนคือเม่ือมองจากดานบนจะเหน็เปนรูปทรงกลม หรือยาวรีท่ี

ยาวตอเนื่องสามารถบงบอกไดวาเปนภูเขาสูง

Page 42: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

33

7.ท่ีราบนํ้าข้ึนถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลน (Mangrove areas) เปนบริเวณปาก

คลองมีปาโกงกางข้ึนปกคลุม มีกระบวนการน้ําข้ึนน้ําลงของนํ้าทะเล จึงมีการสะสมตัวของตะกอนพวกดิน

เหนียว และเศษซากพืชและสัตวในบริเวณน้ีเปนจาํนวนมาก ท่ีราบน้ําข้ึนถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชาย

เลนในพ้ืนท่ีศกึษามีเนื้อท่ีประมาณ 96.00 ตารางกโิลเมตร คิดเปนรอยละ 8.51 ของพื้นท่ีศึกษา เม่ือผสม

สีเท็จของภาพถายดาวเทียม (band 4, 5, 7) บริเวณนี้จึงเปนสีน้าํตาลแดง สมํ่าเสมอ บริเวณปาโกงกาง

พบอยูท่ีดานทิศตะวันตกของอําเภอตะก่ัวปา และทางดานทิศใต และตะวันออกเฉียงใตของฐานทัพเรือทับ

ละมุ อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา รูปท่ี 4.7

ในพ้ืนท่ีศึกษาพบวามีแหลงน้ําจดื หรืออางเก็บน้าํ ซึ่งมีเนื้อท่ีประมาณ 2.66 ตาราง

กิโลเมตร คดิเปนรอยละ 0.24 ของพ้ืนท่ีศึกษา และไมไดจดัแบงใหเปนลักษณะธรณีสัณฐานชายฝง แต

นํามาคิดคํานวณรอยละของพ้ืนท่ีดวย

Page 43: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

34

รูปท่ี 4.1 แผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงบริเวณอําเภอตะก่ัวปา อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา ใน

มาตราสวน 1: 100,000

Page 44: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

35

รูปท่ี 4.2 ภาพหาดทรายปจจุบันบริเวณแหลมปะการัง อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา

รูปท่ี 4.3 ภาพหาดทรายใหมบริเวณบานน้ําเค็ม อําเภอตะกั่วปา จงัหวัดพังงา

Page 45: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

36

รูปท่ี 4.4 ภาพหาดทรายเกาบริเวณบานทาดนิแดง อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

รูปท่ี 4.5 ภาพลากูนบริเวณบานคึกคัก อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา

Page 46: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

37

รูปท่ี 4.6 ภาพท่ีลุมน้ําทวมขังบริเวณปาทางเหนือของอําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

รูปท่ี 4.7 ภาพท่ีราบน้าํข้ึนถึงบริเวณปาโกงกางที่บานทาดนิแดง อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

Page 47: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

38

บทที่ 5 สรุปและขอเสนอแนะ

5.1 ผลการศึกษา

การประยุกตใชภาพดาวเทียม เพ่ือศึกษาธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณอําเภอตะก่ัวปา

จังหวัดพังงา โดยใชภาพถายดาวเทียม Landsat 7 แนวการบันทึกขอมูล Path 130/Row 054 บันทึก

ขอมูลเม่ือวันท่ี 4 มีนาคม 2545 ทําการแปลความหมายดวยคอมพิวเตอรดวยการจัดจําแนกแบบ

Supervised Classification โดยใชวิธี Maximum Likelihood แลวทําการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล

ในภาคสนาม และนําขอมูลท่ีไดจากภาคสนามมาปรับแกขอมูลใหมีความถูกตอง จากการศึกษาพบวาธรณีสัณฐานชายฝงทะเลบริเวณจังหวัดระนอง พังงา และภูเก็ต โดยมี

พ้ืนท่ีศึกษาประมาณ 1128.28 ตารางกิโลเมตร สามารถแบงได 7 กลุม และ ดังนี้

1. หาดทรายปจจุบัน (beach) และหาดทรายใหม (Young beach)

หาดทรายปจจุบัน(beach) และหาดทรายใหม (Young beach) พบปรากฏอยูบริเวณท่ี

ติดกับน้ําทะเลมากท่ีสุด เปนบริเวณท่ีมีน้ําทะเลข้ึนลง มีลักษณะเปนหาดสันดอน มีแนวชายหาดยาว มีสัน

ดอนปากอาวไมมีพืชข้ึนปกคลุมมีทรายสะสมตัวบริเวณหนาหาด มีกรวด เปลือกหอย และปะการังปนอยู

ดวย

หาดทรายปจจุบัน(beach) และหาดทรายใหม (Young beach) เปนชายหาดขนานกับ

ชายฝง ตะกอนสวนใหญเปนทรายขนาดเม็ดปานกลางถึงหยาบ มีกรวด ปะการัง และเปลือกหอยสะสมตัว

ชายหาดนี้อยูติดกับชายหาดท่ีมีน้ําข้ึนน้ําลง ดานหลังของชายหาดใหมจะตอเนื่องเปนชายหาดเกาหรือบาง

บริเวณอาจเปนลากูน (lagoon) หรือพ้ืนท่ีชุมน้ํา มีแนวระดับความสูงประมาณ 1-2 เมตรจาก

ระดับน้ําทะเลหาดทรายปจจุบัน(beach) และหาดทรายใหม (Young beach) มีเนื้อท่ีประมาณ 18.06

ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.60 ของพ้ืนท่ีศึกษา

2.หาดทรายเกา หรือหาดทรายโบราณ (Old beach) ตะกอนท่ีตกสะสมตัวในบริเวณน้ี

สวนใหญเปนตะกอนทรายขนาดปานกลางถึงหยาบมีการคัดขนาดท่ีดี พบเปลือกหอยปะปนอยูในทราย

ดวย ชายหาดนี้สวนใหญจะพบอยูดานหลังของลากูน (lagoon) แนวชายหาดอยูท่ีระดับความสูงประมาณ

3-5 เมตรจากระดับน้ําทะเล ในพ้ืนที่ศึกษาพบบริเวณบานบางเนียง บานทาดินแดง อําเภอทายเหมือง

หาดทรายเกาหรือหาดทรายโบราณในพื้นท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ 66.26 ตาราง

กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 5.87 ของพ้ืนท่ีศึกษา

3.ลากูน (lagoon) เปนท่ีลุมน้ําขังหลังสันดอนทราย บริเวณดังกลาวจึงกลายเปนท่ีชุมน้ํามี

พืชจําพวกเสม็ด และพืชชอบน้ําข้ึนปกคลุม บางบริเวณท่ีไมมีน้ําทวมขังแลวมักมีผักบุงทะเลข้ึนปกคลุม

สวนใหญพบอยูระหวางชายหาดปจจุบันกับชายหาดโบราณ เชนบริเวณทิศตะวันตกเฉียงใตของบานคึกคัก

ลากูนในพ้ืนท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ 21.44 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 1.90 ของ

พ้ืนท่ีศึกษา

Page 48: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

39

4.ท่ีลุมน้ําทวมขัง (Back Swamp) มีกระบวนการเกิดคลายกับการเกิดของลากูน แตท่ี

แตกตางคือบริเวณท่ีลุมน้ําทวมขัง จะเกิดจากการทวมของน้ําจืดแลวมีพัฒนาเปนบึงมีพืชน้ําจืดอาศัยอยู

และมีการสะสมตัวของตะกอนขนาดเล็ก เชน ทรายแปง ดินเหนียว พบบริเวณทางเหนือ

ของอําเภอทายเหมือง

ท่ีลุมน้ําทวมขังในพ้ืนท่ีศึกษามีเนื้อที่ประมาณ 2.92 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 0.26

ของพ้ืนท่ีศึกษา

5.ท่ีราบเชิงเขา (Colluviam Deposit) และท่ีราบนํ้าตะกอนน้ําพา (Alluvial Deposit) มัก

เปนท่ีราบอยูใกลกับภูเขา บางพ้ืนท่ีเปนท่ีตั้งบานเรือนของประชาชน สวนใหญจะเปนสวนยางพารา และ

สวนผลไม มีลักษณะของรูปแบบท่ีแตกตางจากภูเขาสูงคือ ลักษณะเนื้อภาพ (Texture) ท่ีมีความละเอียด

สูงกวาพื้นท่ีเปนภูเขา และมีสีท่ีจางกวาเนื่องจากปาไมท่ีปกคลุมไมหนาแนนเทาภูเขา

ท่ีราบเชิงเขาและท่ีราบตะกอนน้ําพาในพื้นท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ 368.84 ตาราง

กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 32.69 ของพ้ืนท่ีศึกษา

6.ภูเขาสูง (Mountain areas) เปนพ้ืนท่ีท่ีรองรับดวยหินแข็งมีการกระจายตัวอยูทางทิศ

ตะวันออกของพื้นท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ 552.09 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 48.93 ของพ้ืนท่ี

ศึกษา

7.ท่ีราบนํ้าข้ึนถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลน (Mangrove areas) เปนบริเวณปาก

คลองมีปาโกงกางขึ้นปกคลุม มีกระบวนการน้ําข้ึนน้ําลงของน้ําทะเลตลอดเวลา จึงมีการสะสมตัวของ

ตะกอนพวกดินเหนียว และเศษซากพืชและสัตวในบริเวณนี้เปนจํานวนมาก บริเวณปาโกงกางพบปรากฏ

อยูท่ีดานทิศตะวันตกของอําเภอตะก่ัวปา และทางดานทิศใต และตะวันออกเฉียงใตของฐานทัพเรือทับละมุ

อําเภอทายเหมือง จังหวัดพังงา

ท่ีราบน้ําข้ึนถึงบริเวณปาโกงกางหรือปาชายเลนในพ้ืนท่ีศึกษามีเนื้อท่ีประมาณ 96.00

ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 8.51 ของพ้ืนท่ีศึกษา

5.2 ขอเสนอแนะ 1.การศึกษาและจัดทําแผนท่ีธรณีสัณฐานชายฝงทะเล บริเวณอําเภอตะก่ัวปา อําเภอ

ทายเหมือง จังหวัดพังงา เปนการประยุกตใชภาพดาวเทียม Landsat 7 มีรายละเอียดเชิงตําแหนง

(Resolution) 30 เมตร ในกรณีท่ีตองการศึกษาข้ันรายละเอียดเชิงตําแหนงสูง ควรใชขอมูลภาพดาวเทียม

ที่มีรายละเอียดเชิงตําแหนงสูง เชน IKONOS หรือ Quickbird แทน 2.ในการสํารวจภาคสนามเพ่ือความถูกตองของชุดขอมูล ควรทําการเจาะสํารวจช้ัน

ตะกอนในพ้ืนท่ีนั้นๆ ดวย เพ่ือนําลักษณะความแตกตางของลักษณะตะกอน (Lithology) มาใชแยกชนิด

ของธรณีสัณฐาน เชน การแยกพ้ืนท่ีบริเวณท่ีลุมน้ําทวมขังกับลากูน

Page 49: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

40

เอกสารอางอิง

กรมทรัพยากรธรณี, 2550, แผนท่ีธรณีวิทยามาตราสวน 1: 250,000 (ขอมูลเชิงตัวเลข), สํานัก

ธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี

กรมแผนท่ีทหาร, 2543, แผนท่ีภูมิประเทศมาตราสวน 1:50,000 ระวางอําเภอกะปง (4626

II) ระวางเขาหลัก (4626 III) ระวางอําเภอคุระบุรี (4627 II) ระวางอําเภอตะก่ัวปา

(4626 I) ระวางอําเภอทายเหมือง (4625 I), กรมแผนท่ีทหาร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548, โครงการ สํารวจ วิจัย และศึกษาเพ่ือฟนฟูบูรณะ

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม กิจกรรมท่ี 9 การศึกษาและประเมินความเส่ียงอัน

เกิดจากพิบัติภัยคล่ืนยักษสึนามิ และใหขอเสนอแนะเก่ียวกับระบบติดตามและระบบ

ปองกันภัยสึนามิ, รางรายงานฉบับสมบูรณ เสนอตอกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดลอม

ธีระพล วงษประยูร และเยาวพา แชมวัชระกุล, 2549, ธรณีวิทยาระวางอําเภอคุระบุรี 4627 II

ระวางอําเภอคีรีรัฐนิคม 4727 II และระวางเขาพัง 4727 III, รายงานการสํารวจ

ธรณีวิทยาฉบับท่ี สธว 2/2549, สํานักธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี, 114 หนา

บริษัทอินโฟรรีเสิรช จํากัด, 2543, คูมือการใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลดาวเทียม ENVI 3.2

พิทักษ เทียมวงษ และเกชา จําปาทอง, 2548, ธรณีวิทยาระวางอําเภอทายเหมือง (4625 I)

ระวางบานเขาหลัก (4626 III) และระวางบานหญาปลอง (4726 IV), รายงานการสํารวจธรณีวิทยาฉบับท่ี สธว. 3/2548, สํานักธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี, 73 หนา

เลิศชาย ขายทอง และสมเกียรติ มาระเนตร, 2542, แผนท่ีธรณีวิทยาระวางอําเภอตะกั่วปา ระวาง

4626 I มาตราสวน 1:50,000, กองธรณีวิทยา, กรมทรัพยากรธรณี สมศักดิ์ สุขจันทร, 2544, การทําแผนท่ีดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยใชขอมูล

Landsat-5 TM, วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาทรัพยากร

การเกษตรและส่ิงแวดลอม, มหาวิทยาลัยขอนแกน, หนา 9-16

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2540, คําบรรยายเร่ืองการสํารวจจากระยะไกล,

กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว, 298 หนา

สิน สินสกุล, สุวัฒน ติยะไพรัช, นิรันดร ชัยมณีและบรรเจิด อรามประยูร, 2546, ร า ย ง า น

วิชาการการเปล่ียนแปลงพ้ืนท่ีชายฝงดานทะเลอันดามัน, พิมพคร้ังท่ี 3, กรุงเทพฯ: กรม

ทรัพยากรธรณี, 58 หนา

สุรชัย รัตนเสริมพงษ, 2536, ระบบสนเทศภูมิศาสตร, ขาวสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

33, 361 (ก.ค. 35), หนา 15-17

สุรศักดิ์ บุญลือ, วีระชาติ วิเวกวิน และประดิษฐ นูเล, 2551, รายงานวิชาการสํารวจและศึกษา

พ้ืนที่ชายฝงทะเลจังหวัดระนองท่ีเปล่ียนแปลงจากเหตุการณพิบัติภัยคล่ืนสึนามิ,พิมพคร้ัง

ท่ี 2,กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรธรณี, 48 หนา

Page 50: ปก2library.dmr.go.th/Document/DMR_Technical_Reports/2551/... · 2009-09-02 · บทที่วิธี 3 ึการศกษา 3.1 วัุอุสด ที่ปกรณ

41

Gupta, Ravi P. 2002, Remote sensing geology, 2nd Ed, Berlin: Springer, 655 p.

Kiyoshi H.,Ines Amor V.M.,and Ninsawat S., 2003, Advance Remote Sensing for

Department of Mineral Resources of Thailand, Training Course.

Kuehn F., 2003, Remote Sensing Training: Fundamental, Data Processing, Applications. Lillesand, T.M., and Kiefer, R.W., 1994, Remote Sensing and Image Interpretation, 3

rd

ed, USA: John Wiley & Sons,Inc. Lillesand T. M., and Kiefer R. W., 2000, Remote Sensing and Image Interpretation, 4

th

ed, John Wiley and Sons, New York, NY., 724 pp.

Raksaskulwong, L. and Wongwanich, T., 1994, Stratigraphy of Keang Krachan Group in

Peninsular and Western Thailand, Annual Technical Meeting of Geological

Division, September 19-20, p.106-115(in Thai)

Teerarangsikul S., Thonnarat P., Kuehn F.,and Margane A., 2001, Environmental Geology

for Regional Planning, Technical Report No.37,Technical Cooperation Project

No.93.2080.5, 74 p.

Website http://earthquake.usgs.gov/eqcenter/eqarchives/year/mag8/magnitude8_1900_date.php http://maps.unomaha.edu/Peterson/gis/notes/RS2_files/optical.gif

http://www.gis2me.com/rs/index.htm

http://www.gisthai.org/about-gis/sensor.html

http://www.lb.aub.edu.lb/~webeco/rs%20lectures_files/image010.jpg

www.envi.psu.ac.th/gis/rs/images

www.envi.psu.ac.th/gis/rs/images/ac-passive.jpg