24
อำ�เภอแม่จัน จังหวัดเชียงร�ย ตำ�บลจันจว้�ใต้ รวมองค์ความรู้ จากโครงการรักษ์ป่า สร้างคน ๘๔ ตำาบล วิถีพอเพียง รู้จักตนเอง รู้รักษ์วัฒนธรรมบนฐ�นพอเพียง

ตำ บลจันจว้ ใต้ · 2013. 4. 22. · โครงการฯ ตำาบลจันจว้าใต้ทีมงานภาคสนาม ปตท

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • อำ�เภอแม่จันจังหวัดเชียงร�ยตำ�บลจันจว้�ใต้

    รวมองค์ความรู้ จากโครงการรักษ์ป่า สร้างคน ๘๔ ตำาบล วิถีพอเพียง

    รู้จักตนเอง รู้รักษ์วัฒนธรรมบนฐ�นพอเพียง

  • สารบัญ

    ๐๖ สภาพแวดล้อม๐๘ ความเป็นมา๑๖ ก้าวเดินด้วยความพอเพียง๑๘ กลไกการขับเคลื่อน๒๔ รูปธรรมความสำาเร็จในพื้นที่๓๖ แผนที่ความรู้๓๘ ลดรายจ่าย=เพิ่มรายได้๔๒ ภาคผนวก

    นิยามความพอเพียงของตําบลจันจว้าใต้“ชุมชนอยู่ดีมีสุข บนวิถีความพอเพียง”

    ๐๓๐๒

  • การสนับสนุนเครื่องมือ

    (บัญชีครัวเรือนข้อมูล ECEN)

    งบประมาณ

    องค์ความรู้

    บุคลากร(เจ้าหน้าที่

    ประจำตำบล)

    บริบทชุมชน

    พัฒนาคน กลไก(คณะทำงานโครงการรักษ์ป่าฯ)

    พัฒนาทักษะชุมชน(ศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยนความรู้)

    จัดกิจกรรมด้านทรัพยากร(ปลูกป่า สร้างฝาย ทำแนวกันไฟ)

    กิจกรรมด้านธรรมะ(เทศนาความ พอเพียง)

    การเชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้(เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูู้)

    การจัดการความรู้โดยชุมชน(ถอดความรู้ สื่อ วิดีทัศน์)

    ลดรายจ่าย-เพิ่มรายได้ประหยัด อดออมมีสุขภาพดีลดอบายมุขมีธรรมะ

    ประโยชน์ที่ได้

    กระบวนการผลลัพธ์เด่น

    ที่เกิดขึ้น

    โมเดลจันจวาใต : สูความเปนตำบลว�ถีพอเพียง

  • สภาพแวดล้อม

    ตำาบลจนัจว้าใต้อำาเภอแม่จนัจงัหวดัเชยีงรายเป็นชมุชนทีพ่ยายามสร้างวิถกีารดำารงชวิีตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงผู้คนมีจิตสำานึกและพยายามสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างเต็มประสิทธิภาพมีการสืบทอดวัฒนธรรมพื้นเมืองแบบล้านนา และดำารงรักษาระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และระบบอาวุโสทำาให้เกิดการช่วยเหลือเกื้อกูลกันและสามารถรักษาความเป็นแก่นแท้ของท้องถิ่นเอาไว้ได้ ด้วยความท่ีมีพ้ืนฐานด้านทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์อยู่แล้ว เม่ือมีการพัฒนาองค์ความรู้และมีการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นอย่างต่อเนื่อง ทำาให้จันจว้าใต้เป็นอีกชุมชนหนึ่งที่สามารถสะท้อนความเป็นตำาบลวิถีพอเพียงเพื่อสามารถเป็นตัวอย่างในการเรียนรู้ของชุมชนอื่นๆในประเทศไทย

    ปัจจุบันตำาบลจันจว้าใต้อยู ่ห่างจากตำาบลแม่จัน ๑๒ กิโลเมตร พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มแม่นำ้ามีแม่นำ้าสำาคัญ๒สายไหลผ่านคือแม่นำ้าจันและแม่นำ้าคำาชุมชนมีอาชีพหลักคือเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำานานอกจากน้ีในตำาบลยงัประกอบไปด้วยพ้ืนท่ีป่าชมุชนเพ่ือการใช้สอยทีส่ำาคญัตำาบลจนัจว้าใต้ แบ่งการปกครองออกเป็น๑๒หมูบ้่านมจีำานวนครวัเรอืน๓,๐๐๘ครวัเรอืนมปีระชากรประมาณ๘,๔๐๐คน และมีเนื้อที่ประมาณ๘๐,๐๐๐ไร่

    ๐๗๐๖

  • ความเป็นมาตำาบลจันจว้าใตผ้า่นการเปลีย่นแปลงสำาคญัในตำาบลหลายครัง้โดยเฉพาะเรือ่งการจดัการพืน้ทีท่ีเ่คย

    ประสบกบัปญัหาการรกุรานเขา้มาของกลุม่นายทนุและการไหลออกของแรงงานหนุม่สาวที่ไปทำางานในเมอืง จนสร้างผลกระทบต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน แต่ด้วยความที่มีพื้นฐานทางทรัพยากรธรรมชาติที่พร้อม

    เมือ่มกีารสง่เสรมิให้เกิดการรวมกลุม่ของชาวบา้นและมกีารสรา้งองคค์วามรูด้้านเศรษฐกจิพอเพยีงทำาให้ชมุชนเกดิความเขม้แขง็และตระหนกัถงึคณุคา่ของสิง่แวดลอ้มสงัคมและวฒันธรรมอนัเปน็พืน้ฐานสำาคญัของการพัฒนาอย่างยั่งยืนซึ่งสามารถสรุปพัฒนาการที่เกิดขึ้นของตำาบลจันจว้าใต้ได้ดังนี้

    ๐๙๐๘

  • พัฒนาการตําบล

    พ.ศ.๒๕๑๐-๒๕๒๙ยุคพืชพาณิชย์และการย้ายถิ่นของแรงงานรับจ้าง

    จันจว้าใต้ได้รับอิทธิพลจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติฉบับที่๑(พ.ศ.๒๕๐๔)โดยนับ ตั้งแต ่ช ่วง พ.ศ.๒๕๑๐ เป ็นต ้นมา วิถีชี วิต แบบเกษตรกรรมด้ังเ ดิมเริ่ม เปลี่ ยนไปตามแรงผลักดันจากภายนอก ชาวบ้านหันมาปลูกพืชเชิงพาณิชย์เป็นหลัก โดยมีพ่อค้าคนกลางจากในเมืองเข้ามารับซื้อและนำาต้นทุนทางการเกษตรเข้ามาขาย ทั้งเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง และเครื่องมือทางการเกษตรต่างๆ ทำาให้ชุมชนต้องพึ่งพาระบบตลาดและสถาบันการเงิน

    ในการทำาเกษตรเป็นหลัก นอกจากนี้ยังเกิดการบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อขยายพื้นที่ทำากินจนเกิดปัญหาอื่นๆ ตามมาทั้งวิกฤติภัยแล้งและการเจือปนของสารพิษในนำ้า

    ขณะเดียวกันก็เกิดผลกระทบทางสังคมด้วยเช่นกันคือ เกิดการไหลออกของแรงงานหนุ่มสาวเพื่อไปทำางานในเมืองมากขึ้นทำาให้ภายในชุมชน คงเหลือแต่เยาวชนและคนแก่ จากสภาพสังคม ที่เปลี่ยนไปทำาให้เกิดปัญหายาเสพติดการทะเลาะวิวาท การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และปัญหา ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง

    พ.ศ.๒๔๕๐-๒๕๐๙ยุคของการพึ่งพาทรัพยากรพื้นถิ่นเพื่อการดำารงชีพ

    ชุมชนจันจว้าใต้เกิดขึ้นจากการเข้ามาจับจองพื้นที่ทำากินของกลุ่มคนในจังหวัดลำาพูนหริภุญไชย และเชียงใหม่ ด้วยพื้นที่บริเวณนี้เป็นที่ราบลุ ่ม ปลายนำา้เและมแีหล่งนำา้ธรรมชาตอิกีหลายแห่งจงึม ีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำาเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำานานอกจากนี้ยังมีการทำาประมง เพื่อการบริโภคและการค้าขนาดเล็ก รวมถึงการ เก็บหาของป่าต่างๆช่วงเวลานี้จึงเป็นยุคที่ชาวบ้าน ดำารงชีพด ้วยการพึ่ งพาอาศัยฐานทรัพยากร ธรรมชาติในพื้นที่ทั้งดินนำ้าและป่า

    ๑๑๑๐

  • ยุคการปรับตัวของชุมชน และการเข้ามาของหน่วยงานเพื่อสังคม

    ช่วงประมาณปี พ.ศ.๒๕๓๐ ตำาบลจันจว้าใต้ ได้รบัการเข้ามาพฒันาจากโครงการR3Aทีต้่องการเปิดพื้นที่ให้เกิดการพัฒนา โดยจังหวัดเชียงราย เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการพัฒนากลุ่มประเทศ ในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ้าโขงทำาให้มีการตัดถนนผ่าน เพื่อเปิดช่องทางการค้า ทำาให้กลุ ่มนายทุนจาก กรุงเทพฯ เข ้ามากว ้านซื้อที่ดินจากชาวบ้าน แต ่ถึงแม ้ว ่ าที่ดินบางส ่วนได ้ เปลี่ยนมือจาก ชาวบ้านไปสู่นายทุนรายใหญ่ก็ไม่ได้ส่งผลกระทบ ต่อการขาดแคลนที่ดินทำากินของชาวบ้าน หรือการแย่งแหล่งนำ้าในการทำาเกษตรกรรมมากนัก แต่ขณะเดียวกันชุมชนกลับได้รับผลกระทบในเรื่องของกลิ่นและสารเคมีตกค้างตามแหล่งนำ้าต่างๆ จึงทำาให้เกิดการรวมกลุ่มของชาวบ้าน ๒ กลุ ่ม คือ กลุ ่มเกษตรปลอดสารเคมีบ ้าน ป่าสกัหลวงและโรงเรยีนชาวนาด้วยการสนบัสนนุของเทศบาลตำาบลจันจว้าใต้และมูลนิธิพัฒนา

    พ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๕๑

    ขณะเดียวกันยังมีการรวมกลุ่มเพ่ือจัดการปัญหาทางสังคม นำาโดยพระอธิการสมหมายปุญญาคโม วัดกิ่วพร้าว ได้เข้ามาทำางานร่วมกับกลุ่มเยาวชนและผู้สูงอายุมากขึ้นสนับสนุนการทำากิจกรรมเพ่ือรือ้ฟ้ืนวัฒนธรรมการพฒันาหลกัสตูรท้องถิน่การรณรงค์ทางสงัคมและการให้กำาลงัใจในสังคมเพื่อรื้อฟื้นความสัมพันธ์ขึ้นมา

    ชุมชนและเขตภูเขา โดยโรงเรียนจันจว้าวิทยาคม นำาโดยสาคร โรจน์คำาลือ โดยได้ดึงกลุ่มเด็กและเยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ป่า รวมถึง การจัดการทรัพยากรนำ้าที่มี ไพบูลย์ วงศ์ใหญ่ ผู้มีความรู้ในเรื่องระบบเหมืองฝายเป็นผู้นำา ส่งผลให้ตำาบลจันจว้าใต้เกิดการปรับตัวไปสู่รูปแบบการพัฒนาเครือข่ายลุ่มนำ้าจันและเครือข่ายสองลุ่มนำ้าในเวลาต่อมา

    ๑๓๑๒

  • ทุนตําบลตำาบลจันจว้าใต้มีต้นทุนสำาคัญในการพัฒนาจากกลุ่ม

    เหมืองฝายในพื้นที่ และการสนับสนุนของมูลนิธิพัฒนา ชมุชนและเขตภเูขา(พชภ.)ในด้านการจดัการทรพัยากรนำา้ และยังมีกลุ่มโรงเรียนท่ีเข้ามามีบทบาทในการอนุรักษ์ป่า ส ่ วนวั ด ในชุ มชน ก็มี บทบาทสำ าคัญในการจั ดการ ด้านวัฒนธรรมจนทำาให้มีการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ตามมา นอกจากนี้ชุมชนยังเห็นความสำาคัญของการทำาเกษตรกรรมปลอดสารเพื่อลดปัญหาเรื่องต้นทุนทางการเกษตร รวมถึงแก้ปัญหาเรื่องสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจากสารพิษจากการเกษตร จึงมีการก่อตั้งโรงเรียนชาวนาและกลุ่มเกษตรปลอดสารบ้านป่าสักหลวงต้นทุนการพัฒนาเหล่านี้ไดท้ำาใหเ้กดิการปรับเปลี่ยนวิถชีีวติของชมุชนไปตามแนวทางปรชัญาเศรษฐกจิพอเพยีงในทีส่ดุ

    ตำาบลจนัจว้าใต้เข้าสูโ่ครงการรกัษ์ป่าสร้างคน๘๔ตำาบล วิถีพอเพียงในปีพ.ศ.๒๕๕๒ในระยะท่ี๒โดยมูลนิธพัิฒนาชมุชนและเขตภเูขาได้หารอืร่วมกับหน่วยงานและแกนนำาในพื้นที่ทั้งเทศบาลตำาบลจันจว้าใต้โรงเรียนชาวนาและกลุ่มแกนนำาเหมอืงฝายซึง่ตัง้เป้าหมายในการเข้าร่วมโครงการฯ เพื่อต่อยอดการพัฒนาด้านการจัดการนำ้าเป็นหลัก และ ส่งผลต่อเน่ืองไปสู่การพัฒนาด้านอ่ืนๆ ท่ีชุมชนมีพ้ืนฐาน อันเข้มแข็งเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว เพ่ือให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

    ๑๕๑๔

  • ก้าวเดินด้วยความพอเพียง

    การดำาเนินงานโครงการฯ ในระยะแรกได้รับอิทธิพลและทุนเดิมจากมูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา โรงเรียนชาวนา และกลุ่มแก่เหมืองแก่ฝาย โดยคาดหวังที่จะพัฒนาให้เกิดเครือข่ายลุ่มนำ้าแม่จันและเครือข่าย ๒ ลุ่มนำ้า คือ ลุ่มนำ้าแม่จัน และลุ่มนำ้าแม่คำา แต่เน่ืองจากประเด็นการทำางานมีกรอบเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง การเคลื่อนงานด้านครัวเรือนพอเพียงอาสาและประเด็นด้านพลังงาน เพิม่เตมิเข้ามาทำาให้กลุม่แก่เหมอืงแก่ฝายเข้ามามบีทบาทเป็นหลกัในกจิกรรมด้านการจดัการทรพัยากรนำา้

    และคณะกรรมการโครงการฯต้องหันมาคิดใหม่ทำาใหม่วางบทบาทหน้าที่กันใหม่และสร้างกลไกหลัก ในการดำาเนินงาน เพื่อให้เกิดกิจกรรมกระบวนการและแผนงานที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ คณะกรรมการ โครงการฯตำาบลจันจว้าใต้ทีมงานภาคสนามปตท.และหน่วยงานภาคีพัฒนาที่เข้าร่วมขับเคลื่อนตำาบลวิถีพอเพียง

    ๑๗๑๖

  • กลไกการขับเคลื่อน

    คณะกรรมการโครงการฯ ตำาบลจันจว้าใต้

    ประธานคณะกรรมการโครงการฯนายสมัย ใจบำารุง

    คณะกรรมการฝ่ายบริหารแผนงาน/กิจกรรม

    คณะกรรมการฝ่ายการเงินและบัญชี

    คณะกรรมการฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง

    คณะกรรมการฝ่ายติดตามและประเมินผล

    พระอธิการสมหมายปุญญาคโม

    นางสาวรจนาจันทาพูน

    นางบัวแก้วจินดาธรรม

    นางบานเย็นจับใจนาย

    นางวนิดานาทะสัน

    นายณัฐพงษ์ทิพยรัตน์

    นางณัฐธิดาภิมัน

    นางจิดานันท์จันทร

    นายไพบูลย์วงศ์ใหญ่

    นายทองสาระตา

    นายต๋ากันแก้ว

    นายชาญบุญยงค์

    นางจันทร์ดีทายะนา

    นางคำาปันมูลกาศ

    นางวรรณาร้องคำา

    นางอรวรรณวงศ์ใหญ่

    นางบรรจงแสนแพทย์

    นางคำาปันปินทรายมูล

    ๑๙๑๘

  • การดำาเนนิงานทีผ่่านมาคณะกรรมการโครงการฯได้มกีารปรบัเปลีย่นแผนการดำาเนนิงานให้ มทีศิทางทีช่ดัเจนมากขึน้แต่การลดบทบาทลงของมลูนธิพิฒันาชมุชนและเขตภเูขาและโรงเรยีนชาวนา ทำาให้เกิดความกังวลและความไม่แน่ชัดระดับหนึ่งในทิศทางการทำางานของคณะกรรมการ โครงการฯ แต่ขณะเดียวกัน ก็ยังคงมีความมุ่งม่ันที่จะดำาเนินโครงการฯ ให้สำาเร็จตามที่ได้ตั้ง เป้าหมายไว้ดังที่ประธานอสม.และหนึ่งในคณะกรรมการโครงการฯกล่าวว่า “ก็ไม่ได้ท้อแท้หรือยอมแพ้ ใจยังสู้ และคิดว่าปัญหา และอุปสรรคจะท�าให้เรามีก�าลังใจในการท�างานต่อไป” เมื่อพิจารณากำาลังคนและทุนเดิมที่เหลืออยู่จึงแบ่งบทบาทการทำางานกันใหม่ดังแผนภาพ

    ทุนเดิมประเด็นงานด้านการพัฒนาครัวเรือนอาสา

    -นางอัมพรกาจุม(หมู่๑๒)

    -นางวนิดานาทะสันต์(หมู่๑)

    -นางวรรณนาร้องคำา(หมู่๓)

    -นายบิลลี่ลาดคมม์(หมู่๒)

    -นางสาวบ้านเย็นจับใจนาย(หมู่๓)

    -นางมาลัยทองแสนแพทย์(หมู่๖)

    ทุนเดิมประเด็นงานด้านวัฒนธรรม

    -พระครูประสิทธิ์ปุญญตม

    (เป็นพระธรรมทูต(บรรยาย

    ธรรมะ)ให้ข้อคิดในการ

    ครองชีพอย่างพอเพียง)

    -นางจิดานันท์จันทร(หมู่๔)

    -นายศรีไทยเสนา

    (ประธานกลุ่มผู้สูงอายุ)

    ทุนเดิมประเด็นงานด้านทรัพยากร

    -นายสาครโรจน์คำาลือ

    ครูประจำา

    โรงเรียนจันจว้าวิทยาคม

    -นายไพบูลย์วงศ์ใหญ่

    (ผู้ประสานงาน

    กลุ่มเหมืองฝาย)

    -นายคำาปันมูลกาศ

    (ประธานเหมืองฝาย)

    ทุนเดิมประเด็นงานด้านเกษตรปลอดสาร

    -นางบัวแก้วจินดาธรรม

    -นางคำาปันปินทรายมูล

    -นายสมบูรณ์ลือเลิศ

    ทุนเดิมประเด็นงานด้านพลังงานทางเลือก

    -นายปันไชยเหล็ก-พระครูประสิทธิ์ปุญญตม

    ทุนเดิมผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญในโครงการฯ ตามประเด็นงาน

    ๒๑๒๐

  • คณะกรรมการโครงการฯ ในปัจจุบัน จึงมีบทบาทในการทำาหน้าที ่รับผิดชอบแผนงานและกิจกรรมต่างๆ โดยศึกษาข้อมูลองค์ความรู ้ คนต้นแบบและนำามาขยายผลไปสู่คนในชุมชนรวมถึงสนับสนุนให้เกิดเวท ีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้คนต้นแบบ สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้ของกลุ่มคนและชุมชนมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านสื่อต่างๆและกิจกรรมสนับสนุนครัวเรือนพอเพียงอาสาที่เป็นครัวเรือนต้นแบบ เพื่อให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม

    ทีมงานภาคสนาม ปตท.ทีมงานภาคสนามปตท.ซึ่งประกอบด้วย๓ส่วนถือ

    เป็นกลไกสำาคัญในการขับเคล่ือนงานโครงการฯไปสู่เป้าหมายของความสำาเร็จ มีบทบาทในการจุดประกายความคิดสนับสนุนและสร้างความเข้าใจต่อโครงการฯประกอบด้วย

    ที่ปรึกษาภาค ทำางานในฐานะเป็นแรงหนุนให้เกิดความเข้าใจใน

    โครงการฯและสรา้งความเขา้ใจตอ่ภาคทีีเ่ขา้รว่มโครงการฯอาทิ มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา โรงเรียนจันจว้า วิทยาคมและวัดกิ่วพร้าว

    เจ้าหน้าที่ประจำาภาคมีบทบาทในการทำางานท่ีคอยประสานภาคี หนุนเสริม

    ประเมนิและตดิตามการทำางานของคณะกรรมการโครงการฯเจ้าหน้าที่ประจำาตำาบลทำาหน้าท่ีประสานงานระหว่างคณะกรรมการโครงการฯ

    และเจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง โดยได้สะท้อนแนวคิดในการทำางานว่า“พยายามใช้ทุนเดิมท่ีมใีนเรือ่งของความสมัพนัธ์กบัคณะกรรมการโครงการฯ ท�างานในลักษณะที่เป็นเนื้อเดียวกับต�าบลให้มากท่ีสดุและพยายามระลกึถงึความต้องการของชุมชนเป็นตัวตั้ง อีกทั้งต้องเรียนรู้ถึงธรรมชาติของคนในชุมชน และปรับใช้ส่วนนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการท�างานให้มากที่สุด”

    ๒๓๒๒

  • การจัดการวัฒนธรรมสู่ความพอเพียงเป็นกจิกรรมทีเ่กดิขึน้ภายใต้ การหนุนเสริมของโครงการฯ ที ่เข ้ าไปต ่อยอดกับทุนเดิม ท่ี มีใน ตำาบล โดยเน้นไปที่กิจกรรมต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนกับวัดกิ่วพร้าวโดยมีพระครูประสิทธิ์ ปุญญคม พระนักพัฒนาเป็นแกนนำาหลักในการขับเคลื่อน มีเป้าหมายหลักเพื่อการพัฒนาจิตใจคนในชุมชนให้เข้าถึงแก่นของความพอเพียงอย่างแท้จริง

    การจัดการด้านวัฒนธรรมที่มีอยู ่เดิมของชุมชนนั้น มีกิจกรรมหลากหลายและเน้นการมีส่วนร่วม ของกลุม่เยาวชนเพือ่ให้เป็นตวัเชือ่มไปสู่องค์กรและกลุ่มอื่นๆ ในชุมชนท้ังการจัดการขยะ การใช้พลังงาน ทางเลือก การดูและพัฒนาเยาวชนการป้องกันโรคเอดส์(HIV)การลดอบายมุข การแก้ปัญหายาเสพติด การเรียนรู ้และการอนุรักษ์ภาษา ล้านนา และการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น

    รูปธรรมความสําเร็จในพื้นที่ฟื้นฟูวัฒนธรรมสู่ความพอเพียง

    ๒๕๒๔

  • โครงการฯ ได้เข้าไปหนุนเสริม อาทิ การส่งเสริมการทำาบัญชีครัวเรือนซึ่งพระอธิการสมหมายได้นำาไปโยงเรื่องการงดดื่มสุราเข้ากับการลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนและต่อยอดเป็นกิจกรรม“รณรงค์งดเหล้าในงานขาว-ด�า” ของชุมชนทำาให้ชุมชนเกิดความตระหนักถึงปัญหา การสอดแทรกแนวคิด เรื่องความพอเพียง เข้ากับธรรมะและกิจกรรมธรรมชาติอาทิการปลูกป่าเป็นการ ยกระดับและพฒันาจิตใจให้สอดคล้องกบัหลักธรรมพระพทุธศาสนาและเศรษฐกิจพอเพียง

    ในด้านงานวัฒนธรรมชุมชน โครงการฯ ได้เข้าไปต่อยอด เรื่องการทำาหลักสูตรชุมชน เกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น คือกิจกรรมทำาหลักสูตรภูมิป ัญญาชาวบ้านสู ่โรงเรียนหรือครูภูมิปัญญาทั้งยังส่งเสริมให้ชาวบ้านกระจายความรู้สู ่โรงเรียนได้แก่ การสอนหลักสูตรดนตรีพื้นเมือง ภาษาล้านนา การทำาสื่อ ศาสนพิธี การสืบค้นเครื่องมือประกอบอาชีพในท้องถิ่น และ การถ่ายทอดการนวดพื้นบ้านแก่เยาวชน

    กิจกรรมเหล่านี้ ทำาให้เกิดการสืบสานความรู ้และช่วยพัฒนาจิตใจของคนในชุมชนผ่านห้องเรียน ชุมชนท่ีทุกคนสามารถเรียนรู ้ได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยมีวัดกิ่วพร้าวเป็นเสมือนศูนย ์กลางจัดการความรู ้ ในท ้องถิ่น โดยมี องค์ประกอบสำาคัญ คือ “พ่อครู แม่ครู” หรือบุคคลที่สามารถเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ในท้องถิ่น ด้านต่างๆ โดยการเรียนการสอนจะเป็นแบบ ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ คือ การเข้าไปขอเรียน กับพ่อครู แม่ครูในพื้นที่ ปฏิบัติงานจริง หรือเชิญพ่อครู แม่ครูมาเป็นวิทยากรที่วัด โดยการเรียนการสอนทุกครั้ง ผู ้เรียนจะช่วยกัน ถอดองค์วามรู ้และเทคนิควิธีที่เรียนรู ้ออกมา แล้วรวบรวมเป็นตำาราเก็บไว้ท่ีวัดเพ่ือให้คนอ่ืนๆได้มาเรียนรู้ต่อไป โดยมีเป้าหมายสำาคัญเพ่ือท่ี จะจัดทำาเป็นหลักสูตรท้องถิ่นของตำาบล

    นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมอนุรักษ์และดูแลธรรมใบลานในวัดเพื่อร่วมกันรักษาธรรมใบลานที่หาดูได้ยากไว้ให้ลูกหลานได้ศึกษาและสืบทอด คำาสอนทางพระพุทธศาสนา โดยมีวัดกิ่วพร้าวเป็นที่เก็บรวบรวมคัมภีร์ใบลานที่เขียนด้วยภาษาล้านนาไว้เป็นจำานวนมาก มีท้ังเรื่องราว ชาดกคติธรรม เวทย์มนต์ไสยศาสตร์กิจกรรมนี้ทำาให้เกิดการทำาหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่นและการอนุรักษ์ธรรมใบลาน เกิดการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่ไม่สูญหายไป

    ๒๗๒๖

  • ครัวเรือนพอเพียงอาสา

    ๒๙๒๘

  • ๑ การทำาบัญชีครัวเรือน โดยสนับสนุนกิจกรรมการอบรมประเมินติดตาม และการประชุมเก่ียวกับการทำาบัญชีครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งประโยชน์ของการทำาบัญชีครัวเรือนนั้นทำาให ้ชาวบ้านรูส้ถานะทางการเงนิของตนเองอนัจะนำาไปสูก่ารวางแผนการใช้จ่ายหรือลงทุนในอนาคต

    ๒พลังงานทางเลือกได้แก่เตาชีวมวลขี้เลื่อยเตาเผาถ่าน๒๐๐ลิตรและการทำานำ้าอุ่นด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งปัจจุบันมีครวัเรอืนพอเพยีงอาสาจำานวนหนึง่ทีห่นัมาใช้พลงังานทางเลอืกจนเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

    เดมิการทำางานครวัเรอืนพอเพยีงอาสาของตำาบลจนัจวา้ใต้มกีารสง่เสรมิใหช้าวบา้นฝกึทำาบญัชีครัวเรือนและการทำาเกษตรปลอดสารกับกลุ่มเกษตรปลอดสาร(เกษตรพื้นบ้าน)บ้านป่าสักหลวงโดยมีวัดกิ่วพร้าวโรงเรียนจันจว้าวิทยาคมเยาวชนและสาครโรจน์คำาลือรวมทั้งสถานีอนามัยตำาบลจันจว้าใต้และอสม.แห่งตำาบลจันจว้าใต้เป็นผู้มีบทบาทในการทำางานและมีมูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา(พชภ.)และโรงเรียนชาวนาคอยให้การสนับสนุน

    โครงการฯได้กำาหนดหนนุเสรมิให้มกีารพฒันาครวัเรอืนพอเพยีงอาสาด้วยการชกัชวนชาวบ้านเข้าร่วมโดยมีกรรมการหมู่บ้านของแต่ละหมู่บ้านมาเป็นประธานครัวเรือนพอเพียงอาสา ซึ่งจะต้องเป็นคนพดูเก่งมจีติใจดีและทำาตวัเป็นต้นแบบทีด่ีเพือ่นำาไปสูเ่งือ่นไขไปสูก่ารพึง่พาตนเองพยายามเติมเต็มในตำาบล อันเป็นเงื่อนไขไปสู่การพึ่งพาตนเอง หรือครองตนอย่างพอเพียงของครัวเรือน พอเพียงอาสามีอยู่๔ปัจจัยสำาคัญคือ

    ๓๑๓๐

  • ๓ กิจกรรมหนุนเสริมครัวเรือน พอเพยีงอาสาประกอบด้วยการเลีย้งปลาในบ่อซีเมนต์การทำาบ่อปุ๋ยจากขยะและการเลีย้งไก่ไข่เหล่าน้ีเป็นรปูธรรมในด้านการพึ่งพาตนเองและลดรายจ่ายให้กับครัวเรือนพอเพียงอาสา

    ๔ กองทุนครัวเรือนพอเพียงอาสาเป็นการรวมตัวกันของสมาชิกครัวเรือนพอเพียงอาสา เพ่ือสานสัมพันธ์ระหว่างกัน และมีจุดร่วมในการแบ่งปัน เฉลี่ยทุกข์สุข รวมทั้งยังคาดหวังในการระดมทุนสำารองในการจัดกิจกรรมต่างๆต่อไป

    รู ป ธรรมจากการดำ า เ นิ น ง านกิจกรรมครัวเรือนพอเพียงอาสา ทำาให้เกิดผลในการรู้ตัวรู้ตนของชาวบ้าน ในเรื่องรายรับรายจ่าย สร้างความซื่อสัตย์ ให้กับสามีภรรยาในการทำาระบบบัญชี ครวัเรอืนเป็นบนัทกึช่วยจำาและช่วยวางแผน การลงทนุในอนาคตส่วนกจิกรรมต่อยอด ทั้งการจัดการขยะ การเลี้ยงปลา และ การเลี้ยงไก่ไข่ เป็นอีกอาชีพที่สร้าง รูปธรรมของการพ่ึงพาตนเอง และลด รายจ่ายในครัวเรือน

    การจัดการทรัพยากรป่า

    ๓๓๓๒

  • เม่ือโครงการฯ เข้ามา จึงมีการต่อยอดเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

    ในพื้นที่และพัฒนาเป็นแผนปีพ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๔ที่มีเนื้อหาสาระสำาคัญได้แก่๑.การต่อยอดความรู้ด้านการจัดการทรัพยากร และการสร้างเครือข่ายตำาบลแห่งการเรียนรู ้

    เรื่องการจัดการทรัพยากรด้วยการส่งแกนนำาคณะกรรมการโครงการฯออกไปศึกษาดูงาน ตามที่ต่างๆ

    ๒.การต่อยอดการทำาค่ายปลูกป่า และการสร้างจิตสำานึกเรื่องการจัดทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้ชื่อ“กิจกรรมค่ายสร้างป่า สร้างคน”มีเป้าหมายให้เยาวชนครัวเรือนพอเพียงอาสาและลูกของครัวเรือนพอเพียงอาสามีจิตสำานึกในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งดินนำ้าและป่า

    ๓.การหนุนเสริมให้เยาวชนเรียนรู ้ เพื่อต่อยอดการทำางานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนอกจากนี้ยังมีการเขียนโครงการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติการต่อยอดการทำางานในชมุชนรวมทัง้จดัเวทแีลกเปลีย่นความรู้และจดัทำาสือ่ต่างๆ ทั้งป้ายรณรงค์และรายการวิทยุเพื่อขยายความรู้สู่ชุมชน

    ผลของการดำาเนินงานด้านการจัดการทรัพยากรป่าของโครงการฯ ทำาให้เกิดการเติบโต ของจิตสำานึกในเรื่องการอนุรักษ์ป่าและการให้ความสำาคัญต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกิดความร่วมมือจากหลายฝ่ายในชุมชนเพื่อเคลื่อนงานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร มีการเกิดและเพิ่มขึ้น ของพื้นที่ป่าชุมชนฝายนำ้าล้นและแนวกันไฟต่างๆและเกิดเครือข่ายของคณะกรรมการโครงการฯและครัวเรือนพอเพียงอาสาระหว่างจังหวัดและในภาคเหนือ

    สภาพป่าไม้ของตำาบลจันจว้าใต้ก่อนปีพ.ศ.๒๕๓๐นั้นมีพื้นที่ป่าใช้สอยชุมชนในลักษณะของ ป่าอนุรักษ์ที่จัดการโดยคณะกรรมการแต่ละหมู่บ้าน ต่อมาป่าใช้สอยชุมชนได้ถูกแผ้วถางและ ซื้อขาย ทำาให้ที่ดินกลายเป็นสินค้าและสภาพป่าใช้สอยชุมชนเริ่มหมดไป ในปี พ.ศ.๒๕๓๑ ชุมชน จึงได้มีการเคลื่อนงานการอนรุกัษ์ป่าโดยโรงเรยีนจนัจว้าวทิยาคมซึง่มีสาครโรจน์คำาลอืเป็นผู้นำาในการชักชวนเด็กและเยาวชนมาเป็นกลไกในการทำางานอนุรักษ์และปลูกป่าเป็นประจำาทุกปีนอกจากนี้ยังได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆอาทิYMCAศูนย์สิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย และคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นต้น

    ๓๕๓๔

  • ๓๗๓๖

    แผนที่ความรู้

  • ๓๙๓๘

    ล้านบาท

    แผนภูมิเปรียบเทียบข้อมูลรายจ่ายรวมระหว่างปี๒๕๕๒-๒๕๕๓

    ลดรายจ่าย=เพิ่มรายได้

    จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเศรษฐกิจและพลังงาน ในภาพรวมของตำาบลระหว่างปี ๒๕๕๒-๒๕๕๓ พบว่า รายจ่ายรวมในปี๒๕๕๓ลดลง๐.๗๙ล้านบาทคิดเป็น๓%ของรายจ่ายรวมในปี๒๕๕๒ดังแผนภูมิ

  • ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลงจากการทำากิจกรรมตลอดระยะเวลาที่เข้าร่วมโครงการฯ

    ตำาบลจันจว้าใต้ลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้๔๒,๙๙๔กิโลกรัมจากกิจกรรมปลูกต้นไม้กิจกรรมรณรงค์การประหยัดพลังงานการทำาปุ๋ยอินทรีย์และพลังงานทดแทนที่ใช้แทนแก๊สหุงต้ม

    หมายเหตุ : เก็บข้อมูลจากกลุ่มครัวเรือนพอเพียงอาสาที่เข้าร่วมโครงการฯ

    ๔๑๔๐

    kgCO

    2

  • รายชื่อคนต้นแบบ...บทสรุปความพอเพียง

    ภาคผนวก

    สาครโรจน์คําลือ การอนุรักษ์ป่าและนํ้า “เราต้องท�าให้พวกเขาดูว่าเราท�าแล้วมีความสุข คือ ต้องเริ่มตั้งแต่การร้องเพลงไปด้วย ขุดต้นไม้ไปด้วย คอื ไม่ได้รอให้ผลออกมาแล้วไปมคีวามสขุ แต่ระหว่างท�าน้ันก็ต้องมคีวามสขุไปด้วย”

    แนวคิดที่ประยุกต์มาจากแนวคิดของท่านพุทธทาสภิกขุ ทำาให้สาครซึ่งเป็นนักกิจกรรมตัวยงมาตั้งแต่สมัยเรียน โดยเฉพาะด้านการ อนุรักษ์ป่าและต้นนำ้ากลายเป็นผู้นำาท่ีทำางานด้านอนุรักษ์ป่าและต้นนำ้าให้กับ เดก็เยาวชนและชาวบ้านของชมุชนจนัจว้าใต้มายาวนานกว่า๒๐ปีนอกจากนี ้ยังนำาแนวคิดในเรื่องการปลูกป่าแบบผสมผสาน ด้วยการปลูกต้นไม้ หลากหลายชนิดในพื้นที่เดียวมาใช้ ทำาให้เกิดผลสำาเร็จในการสร้างพื้นที่ป่า ท่ีมีความอุดมสมบูรณ ์และมีความหลากหลายทางชีวภาพแก ่ชุมชน สาครยังเป็นต้นแบบที่ดีในการดำาเนินชีวิตแบบพอเพียง ด้วยมุมมองที่ว ่า “ลดรายจ่ายมองท่ีสขุภาพกายและใจเป็นส�าคญั”

    พระครปูระสทิธิ์ปญุญคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

    “หัวใจของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คือ ผู้รู้ที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ มีความสุขกับการให้ ส่วนผู้ใฝ่รู้ สืบทอดองค์ความรู้ และมีความพอใจกับการรับ”

    พระครปูระสทิธิ์หรอืทีช่าวบ้านเรยีกว่า“ตุลุ๊งหมาย”เป็นพระนกัพฒันาผู้มีความรูร้อบด้านและมบีทบาท สำาคัญในด้านการดำารงไว้ซึ่งวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนจันจว้าใต้ ทั้งงานด้านศาสนาวัฒนธรรมงานด้านการปกครองการศกึษาและกจิกรรมทางสังคมด้านอืน่ๆด้วยยดึแนวทางการทำางานเป็นทมีท่านได้เปิดโอกาสให้เดก็เยาวชนและชาวบ้านมส่ีวนร่วมกบักจิกรรมชมุชนโดยเฉพาะการแก้ปัญหา ต่างๆ และยังเป็นผู้ริเริ่มโครงการห้องเรียนชุมชนที่มีแนวคิดว่าทุกที่ในชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ และการเรียนรู้นั้นสามารถถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นทุกคนจึงเป็นได้ทั้งครูและนักเรียนที่เรียนรู้ได้อย่างไม่สิ้นสุด

    บัวแก้วจินดาธรรม เกษตรปลอดสารพิษ “ให้เอาไปปลกู อย่ากนิจนหมดเชือ้ หมายความว่า ให้เอาไปขยายพนัธุต่์อด้วย อย่าเอาไปปลกูกินอย่างเดียว” บัวแก้วเป ็นบุคคลต้นแบบในการทำาเกษตรกรรมปลอดสารพิษ ทีใ่ช้ชวีติอย่างสมถะโดยยดึแนวทางปลกูเพือ่กนิ เหลอืจากกนิจงึขาย บวัแก้ว มีประสบการณ์การทำาเกษตรท่ีล้มเหลวจากการปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยว เพ่ือขายทำาให้ต้องพ่ึงพาเครือ่งเกษตรและพ่ึงพาตลาดเป็นหลกัแต่กลบัพบว่า “ยิง่ท�า ยิง่จน”ทำาให้บวัแก้วหันมาปลกูพืชผักสวนครวัแบบผสมผสานไว้กนิเอง และเริ่มลองผิดลองถูกและไปดูงานเพ่ือเรียนรู้การจัดการเมล็ดพันธุ์ การทำา ปุ๋ยหมักเองและยาไล่แมลงจากธรรมชาตท่ีิไม่ใช้สารเคมีจนกระทัง่กลายเป็น ต้นแบบของการทำาเกษตรปลอดสารพิษของคนในชุมชน ทุกวันนี้บัวแก้ว มีชวิีตบัน้ปลายท่ีมีความสขุและ“พอเพียง”ในแบบของตน

    ๔๓๔๒

  • ๑.นายมงคลจินดาธรรม

    ๒.นางสำารวมจินดาธรรม

    ๓.นางศรีพรรณจินดาธรรม

    ๔.นายประสินทาพันธ์

    ๕.นายเอกชัยจินดาธรรม

    ๖.นางอรุณีชุ่มมงคล

    ๗.นายเกษียรชุ่มมงคล

    ๘.นางจิราพรบัวจี๋

    ๙.นายก๋องคำาเรืองศรี

    ๑๐.นางราตรีจับใจนาย

    ๑๑.นายอัศวินอุ่นเรือน

    ๑๒.นายพิชัยรินนายรักษ์

    ๑๓.นายคำาปันทายะนา

    ๑๔.นายตระกูลสุราเมย์

    ๑๕.นางผ่องศรีจินดาธรรม

    ๑๖.นายบุญทาจินดาธรรม

    ๑๗.นายกิ่งกาญจน์จินดาธรรม

    ๑๘.นายกันทาจินดาธรรม

    ๑๙.นางคำาปันปิ่นทรายมูล

    ๒๐.นางบัวแก้วจินดาธรรม

    ๒๑.นางจันทร์ดีทายะนา

    ๒๒.นางวนิดานาทะสัน

    ๒๓.นายไพบูลย์วงศ์ใหญ่

    ๒๔.นายไกรทองรินตา

    ๒๕.นายสมบูรณ์ลือเลิศ

    ๒๖.นายบุญรัตน์ลือเลิศ

    ๒๗.นายเทียมลือเลิศ

    ๒๘.นายบ่ายสันป่าแก้ว

    ๒๙.นายปันไชยเหล็ก

    ๓๐.นายอินตาจินดาธรรม

    ๓๑.นายสมัยใจบำารุง

    ๓๒.นายบิลลี่ลาดคมน์

    ๓๓.นางบัวเหลียวชัยวัน

    ๓๔.นางอุษาราวิชัย

    ๓๕.นางนิทรานิชฐเบ้าที

    ๓๖.นายสยองชัยวงศ์วัน

    ๓๗.นางลำาไพราวิชัย

    ๓๘.นายบุญเย็นปู่หล้า

    ๓๙.นางเพ็ญศรีก้อใจ

    ๔๐.นายอินแผงจับใจนาย

    ๔๑.นางพรรณีปัญญาดี

    ๔๒.นายเฉลิมชัยปิงยอง

    ๔๓.นางก๋องคำาสุภาษี

    ๔๔.นางสมนึกคำาภีระ

    ๔๕.นางอุไรจับใจนาย

    ๔๖.นางลัดดาสุยะตา

    ๔๗.นางสายคำาปิงยอง

    ๔๘.นางเกตุแก้วชุ่มมงคล

    ๔๙.นางจันทร์นวลจับใจนาย

    ๕๐.นายอำาพรต๊ะต้องใจ

    ๕๑.นายแถลงปิงยอง

    ๕๒.นางจิราภรณ์จับใจนาย

    ๕๓.นายเชาปงกันคำา

    ๕๔.นายยรรยงสมบัตใหม่

    ๕๕.นายเจริญภิระบรรณ

    ๕๖.นางบรรจงแสนแพทย์

    ๕๗.นางสาวบานเย็นจับใจนาย

    ๕๘.นางวรรณาร้องคำา

    ๕๙.นายชาญบุญยงค์

    ๖๐.นางรัชนีกรจับใจนาย

    ๖๑.นายสมหมายจับใจนาย

    ๖๒.นางณัฐธิดาพิมัน

    ๖๓.นางสวัสดิ์แปงทอน

    ๖๔.นายบุญรอดสุธรรมมา

    ๖๕.นายสมบัติปันหมู

    ๖๖.นางนงลักษณ์ทะนะเป็ก

    ๖๗.นายศรีทัยเสนา

    ๖๘.นางจิดานันท์จันทร

    ๖๙.นายต๋ากันแก้ว

    ๗๐.นายสาครโรจน์คำาลือ

    ๗๑.พระครูประสิทธิ์ปุญญคม

    ๗๒.นางดวงจิตร์แจ้งสวน

    ๗๓.นางสมจรรณปงกันคำา

    ๗๔.นายสีไวสุเตนัน

    ๗๕.นางทองเลื่อนธิน้อมธรรม

    ๗๖.นางกาบแก้วโกแสนตอ

    ๗๗.นางเกสรินกันแก้ว

    ๗๘.นางวันเพ็ญยานะ

    ๗๙.นางผ่องพรรณสาระตา

    ๘๐.นางแจ่มจันทร์เขื่อนเพชร

    ๘๑.นายอำาพลศักดิ์แสน

    ๘๒.นายสิงห์คำาปาละนันท์

    ๘๓.นางบัวเขียววงศ์ตีปีน

    ๘๔.นางมาลัยทองแสนแพทย์

    ๘๕.นางอรวรรณวงศ์ใหญ่

    ๘๖.นางสาวจิณตนาผัดใจ

    ๘๗.นางแก้วสาระตา

    ๘๘.นางอุไรเยาวธานี

    ๘๙.นางจารีจันทร์แก้ว

    ๙๐.นางกาบแก้วเตมีศักดิ์

    ๙๑.นายทองสาระตา

    ๙๒.นายจำารัสต๊ะต้องใจ

    ๙๓.นายเอนกมโนแสน

    ๙๔.นายสุขเกษมกาจุม

    ๙๕.นางจันทร์เพ็ญมูลกาศ

    ๙๖.นายคำาปันมูลกาศ

    ๙๗.นายทองศุกร์กันแก้ว

    ๙๘.นางวิลัยลักษณ์สิทธิตัน

    ๙๙.นายสว่างกันธิพร้าว

    ๑๐๐.นายบุญธรรมเรียมปวง

    ๑๐๑.นายสุทัศน์จับใจนาย

    ๑๐๒.นายจำารัสสมบัตใหม่

    ๑๐๓.นายประพัฒน์ปันกองงาม

    ๑๐๔.นายสมก้างออนตา

    ๑๐๕.นายบุญยืนจี้จุมปัน

    ๑๐๖.นายอินตาบุญมากาศ

    ๑๐๗.นางอัมพรกาจุม

    ๑๐๘.นายสนัดกันธิพร้าว

    ที่ปรึกษาภาค

    เจ้าหน้าที่ประจำาภาค

    เจ้าหน้าที่ประจำาตำาบล

    นายมงคลพนมมิตร

    นางสาวฐาวนีย์ธาตุอินจันทร์

    นางสาวศิริภรจับใจนาย

    ทีมงานภาคสนาม ปตท.

    รายชื่อครัวเรือนพอเพียงอาสา

    ๔๕๔๔

  • บริษัท ปตท. จำากัด (มหาชน)๕๕๕ ถนนวิภาวดีรังสิต จตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐โทร. ๖๖(๐)-๒๕๓๗-๒๐๐๐www.pttplc.com

    ปกหน้าสารบัญโมเดลจันจว้าใต้สภาพแวดล้อมความเป็นมาพัฒนาการตำบลทุนตำบล

    ก้าวเดินด้วยความพอเพียง กลไกการขับเคลื่อนรูปธรรมความสำเร็จในพื้นที่แผนที่ความรู้ลดรายจ่าย = เพิ่มรายได้ปริมาณการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลงจากการทำกิจกรรมตลอดระยะเวลาที่เข้าร่วมโครงการฯภาคผนวกรายชื่อครัวเรือนพอเพียงอาสาปกหลัง