47
การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ํา: กรณีศึกษาพื้นที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม | 2560 คูมือการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ํา โดยระบบเทปน้ําหยดเพื่อการเกษตรชุมชนออนใต โดย เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัยแมโจ

คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพื้นท่ีภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม | 2560

คูมือการเพ่ิมประสิทธิภาพการใชนํ้า โดยระบบเทปนํ้าหยดเพ่ือการเกษตรชุมชนออนใต

โดย เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา มหาวิทยาลัยแมโจ

Page 2: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

การวจิัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้าํ:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

คํานํา

คูมือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ําโดยระบบเทปน้ําหยดเพ่ือการ เกษตรชุมชนออนใต จัดทําข้ึนเพ่ือประโยชนในการจัดการความรูและการประยุกตใชระบบเทปน้ําหยดทางดานการเกษตร ซ่ึงไดอธิบายกระบวนการและการปฏิบัติในภาคสนามอยางเปนข้ันตอน ท้ังนี้เพ่ือใหเกษตรกรออนใต (พ้ืนท่ีวิจัย) ตลอดจนเกษตรกรผูท่ีสนใจท่ัวไป สามารถนําความรูท่ีไดจากคูมือไปปฏิบัติและขยายผลดวยตนเองไดอยางเปนรูปธรรม สําหรับเนื้อหาในคูมือครอบคลุมกระบวนการเชิงสังคมและเชิงเทคนิค รวมถึงผลลัพธท้ังทางดานเศรษฐกิจและการขยายผลท่ีเกิดข้ึนจากโครงการ เรื่อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวม เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา: กรณีศึกษาพ้ืนท่ีภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม โดยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) ประจําป 2560 คณะผูวิจัยขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ และขอขอบคุณ เกษตรกรตนแบบ บานแมผาแหน (คุณจํารัส วงษา) กลุมเกษตรกร ตลอดจนคณะผูบริหารและสมาชิกสภาเทศบาลตําบลออนใตทุกทาน ท่ีกรุณาใหความรวมมือและการมีสวนรวมจนการดําเนินงานแลวเสร็จ

คณะผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือนี้จะถูกนําไปใชประโยชนในวงกวาง เพ่ือขยายผลไปสูพ้ืนท่ีประสบภัยแลงอยางครอบคลุมในพ้ืนท่ีเทศบาลตําบลออนใตรวมถึงพ้ืนท่ีขางเคียงท่ีอาจกําลังเผชิญปญหาเชนเดียวกัน อนึ่ง หากมีขอผิดพลาดประการใดปรากฏอยูในคูมือ คณะผูวิจัยขอนอมรับไวเพ่ือการปรับปรุงในโอกาสตอไป คณะผูวิจัย (2561)

Page 3: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

การวจิัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้าํ:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

บทนํา

เทศบาลตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม เปนพ้ืนท่ีหนึ่ง ซ่ึงประชากรสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมและเลี้ยงสัตว เนื่องจากพ้ืนท่ีสวนใหญของชุมชนออนใตอยูนอกเขตชลประทาน (เข่ือนแมกวง) ดังนั้นในชวงเกือบ 10 ปท่ีผานมา ชุมชนออนใตตองเผชิญกับปญหาภัยแลงซํ้าซากอยางตอเนื่องถึงปจจุบัน ปญหาภัยแลงท่ีรุนแรงสงผลใหปริมาณน้ําตนทุนจากแหลงน้ําตางๆ ภายในชุมชนแหงขอดลง เชน อางเก็บน้ําหวยลาน อางเก็บน้ําแมผาแหน (อางเก็บน้ําโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ) อางเก็บน้ําประจําหมูบาน ลําน้ําแมออน ลําเหมือง ตลอดจนระดับน้ําบอตื้นหลายแหงของชุมชนท่ีลดต่ําลง และตองเสียคาใชจายสูงข้ึนในการสูบน้ําบาดาลมาใชประโยชน

ภัยแลง ไดสงผลกระทบตอชุมชนออนใตในหลายมิติ เชน (1) การขาดแคลนน้ําสําหรับการผลิตประปา เพ่ือใชในการอุปโภคและบริโภคในการดํารงชีวิตของภาคครัวเรือน (2) การสูญเสียงบประมาณและโอกาสในการพัฒนาทองถ่ิน เชน ในป พ.ศ. 2558 เทศบาลตําบลออนใตตองเสียงบประมาณในการจัดหาน้ํา (อุปโภคและบริโภค) รวมท้ังบริการขนสงน้ําใชใหแกคนในชุมชนบานสันปาเปางามติดตอกันนานถึง 4 เดือน เปนตน (3) การสูญเสียอาชีพ รายได และโอกาสของคนในชุมชน เนื่องจากปญหาการขาดแคลนน้ําทําใหปริมาณและคุณภาพผลผลิต ท้ังดานการเกษตรและการเลี้ยงสัตวตกต่ํา รายไดลดนอยลงแตตนทุนการผลิตกลับเพ่ิมสูงชึ้น สงผลใหคนในชุมชนท้ิงภูมิปญญาดานการเกษตร หันไปทําอาชีพรับจางเปนอาชีพเสริม หรือกรณีการทองเท่ียวเชิงนิเวศบานปงของชุมชนออนใต พบวา

Page 4: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

การวจิัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้าํ:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

ปญหาการขาดแคลนน้ํา สงผลกระทบตอศักยภาพการบริการดานการทองเท่ียวชุมชน ทําใหสูญเสียโอกาสในการนํารายไดมาใหแกคนในชุมชนออนใต เปนตน และ (4) การสูญเสียฐานทรัพยากรธรรมชาติและปญหาความขัดแยง เนื่องจากภัยแลงสงผลตอความเสื่อมโทรมของดินและสภาพปาในชุมชน นอกจากนี้ยังพบวาชุมชนเริ่มมีปญหาการแยงชิงการใชน้ําเพ่ือการเกษตรและการผลิตประปาหมูบาน เชน กรณีอางเก็บน้ําหวยลานและอางเก็บน้ําแมผาแหน เปนตน (บัญจรัตน และคณะ, 2552; บัญจรัตน และคณะ, 2557) ดังนั้น การบริหารจัดการน้ําท่ีมีประสิทธิภาพจึงเปนความทาทายอยางยิ่งตอการรับมือกับปญหาภัยแลง และการปรับตัวตอการดําเนินชีวิตของชุมชนเกษตรกรเทศบาลตําบลออนใตในปจจุบัน

ระบบชลประทานน้ําหยด (drip irrigation) เปนเทคโนโลยีใชน้ํานอยอยางมีประสิทธิภาพในดานการเกษตร ปจจุบันเทคโนโลยีเทปน้ําหยดมีตนทุนไมสูงมากนักและการใชงานไมซับซอน จึงเปนอีกหนึ่งทางเลือกท่ีนาสนใจใหแกชุมชนทองถ่ินนํามาปรับประยุกตใชภายใตวิกฤตแลง จากขอมูลเชิงประจักษ พบวา เกษตรกรไทยหลายพ้ืนท่ีโดยเฉพาะในภาคอีสานไดมีการนําเทคนิคนี้มาประยุกตใช ทําการศึกษาลองผิดลองถูก ซ่ึงไดผลดีท้ังในระดับพืชสวนและพืชไร โดยพบวาเทคนิคการใหน้ําพืชแบบประหยัด (ระบบน้ําหยดและสปริงเกอร) ใหความคุมคาตอการลงทุนสูง เนื่องจากเปนการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ จึงสามารถผลิตและเก็บเก่ียวผลผลิตไดเกือบตลอดท้ังป อยางไรก็ตาม เกษตรกรท่ีตองการนําระบบชลประทานน้ําหยดมาปรับใช จําเปนตองมีความรู ความเขาใจ และทราบขอจํากัดของการใชเทคโนโลยนี้ําหยดดังกลาวพอสมควร

Page 5: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

การวจิัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้าํ:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

จากความตระหนักถึงการปรับตัวของเกษตรกรออนใต ท่ีไดรับผลกระทบจากภัยแลง ใหสามารถเขาถึงและกลาใชเทคโนโลยีใหมดานการเกษตร เพ่ิมขีดความสามารถในการพ่ึงพาตนเอง และพัฒนาระบบการผลิต (เกษตรกรรม) ใหเปนแหลงรายไดหลักของครัวเรือน ดังนั้น คณะผูวิจัยจึงมีแนวคิดดําเนินโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยเนนการมีสวนรวมของผูใชประโยชนจากผลงานวิจัย (เกษตรกรออนใต) ในการดําเนินงาน ทดลองปฏิบัติ รวมถึงการติดตามและประเมินผลอยางเปนรูปธรรม ภายใตขอเสนอการวิจัยเรื่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา: กรณีศึกษาพ้ืนท่ีภัยแลงเทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม เพ่ือเปนทางเลือกใหเกิดการยกระดับการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการน้ําในระบบการผลิตการเกษตร ท่ีมีความรอบคอบและทันสมัยมากยิ่งข้ึน ตลอดจนเปนการสงเสริมศักยภาพใหแกเกษตรกรและเทศบาลตําบลออนใต ในการแกไขปญหาการจัดการน้ําท้ังระดับแปลงและเชิงพ้ืนท่ีตามลําดับ

คูมือ การเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ําโดยระบบเทปน้ําหยดเพ่ือการเกษตรชุมชนออนใต ประกอบดวยเนื้อหา 3 สวนหลัก ไดแก ความรูเบื้องตนเทคโนโลยีการใหน้ําอยางมีประสิทธิภาพดาน

การเกษตร กรณีศึกษาการประยุกตใชระบบเทปน้ําหยดของเกษตรกรตนแบบ การถอดบทเรียนการประยุกตใชระบบเทปน้ําหยดของเกษตรกร

ตนแบบ

Page 6: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

การวจิัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้าํ:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

สารบัญ หนา คํานํา บทนํา

♣ความรูเบื้องตนเทคโนโลยีการใหน้ําอยางมีประสิทธิภาพ 1 ดานการเกษตร

♣กรณีศึกษาการประยุกตใชระบบเทปน้ําหยด 12 ของเกษตรกรตนแบบ

♣การถอดบทเรียนการประยุกตใชระบบเทปน้ําหยด 31 ของเกษตรกรตนแบบ เอกสารอางอิง

Page 7: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ความรูเบ้ืองตนเทคโนโลยีการใหนํ้าอยางมีประสิทธิภาพดานการเกษตร

การใหน้ําพืชอยางมีประสิทธิภาพและประหยัด เชน ระบบการให

น้ําพืชแบบน้ําหยด (drip irrigation) หรือแบบพนฝอย (sprinkler irrigation) เปนเทคโนโลยีท่ีชุมชนทองถ่ินสามารถนํามาปรับประยุกตใชไดอยางเหมาะสม ระบบชลประทานแบบน้ําหยด หรือท่ีเรียกวาเทคโนโลยีระบบ micro Irrigation ประเทศอิสราเอล (1965) เปนผูคิดคนริเริ่มข้ึน ถือเปนการปฏิวัติการใชน้ําในพ้ืนท่ีขาดแคลน เพ่ือการเพาะปลูกท่ีไดประสิทธิภาพโดยสูญเสียน้ํานอยท่ีสุด น้ําท่ีผานระบบน้ําหยดจะคอยๆ ใหน้ําหยดไหลลงไปตรงรากพืชซ่ึงจะมีเวลาดูดซับน้ําไดทัน การสูญเสียน้ําจึงนอยมากหรือแทบไมมีเลยแตกลับใหผลผลิตตอไรคอนขางสูง ในอดีตระบบการใหน้ําแบบประหยัดนี้ อาจไมเปนท่ีคุนเคยของเกษตรกรในประเทศไทยและมีคาใชจายสูง อยางไรก็ตามในปจจุบันเกษตรกรหลายแหงเริ่มมีการนําเทคนิคนี้มาใชพบวาไดผลดีท้ังในระดับพืชสวนและพืชไร จึงเริ่มนิยมใชระบบชลประทานน้ําหยดในการเกษตรของประเทศอยางกวางขวาง

สําหรับเทคนิค ขอดี และขอจํากัดของการใหน้ําแบบประหยัด สรุปไดดังตารางท่ี 1 ตารางท่ี 2 แสดงปริมาณความตองการน้ําของพืชไร พืชสวน พืชผัก และตารางท่ี 3 แสดงระยะหางท่ีแนะนําในการปลูกพืชชนิดตางๆ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

1

1

Page 8: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) ตารางท่ี 1 เทคนิคการใหนํ้าแบบประหยดั ขอดี และขอจํากัด เทคนิค รายละเอียด แบบน้ําหยด ปลอยน้ําออกคราวละนอยๆ จึงใชเวลาในการใหน้ํานาน แตกําหนด

จุดที่ปลอยน้ําสูรากพืชได จึงประหยัดน้าํกวาระบบอื่น เพราะน้าํสวนใหญ จะไหลเขาสูเขตรากพืช เหมาะที่จะใสปุยลงในระบบเขาสูตนพืช หากเปนพืชตนใหญจะตองติดต้ังหลายหวั เพื่อกระจายน้ําใหทั่วถึง ขอจาํกัดของระบบน้ําหยด คือ คุณภาพน้ําจะตองมีความสะอาด มิฉะนั้นหัวน้าํหยดอาจอุดตัน บางคร้ังตองทําการกรองน้ําหลายขั้นตอน ทําใหระบบมีราคาแพง

แบบสเปรย เปนหัวปลอยน้ําแบบงาย ๆ ขนาดเล็กไมมีสวนใดเคล่ือนไหว น้ําที่จะออกจากหวัปะทะกับแผนปะทะ ที่ออกแบบตาง ๆ กัน เชน วงกลม คร่ึงวงกลม หรือ เปนแฉก ฯลฯ สามารถนําไปเลือกใชกับการปลูกพืชไดหลายชนิด ทั้งพืชผัก ไมผลยืนตน สวนหยอม โดยพิจารณาจากอัตราการไหล รัศมีการกระจายนํ้า และรูปแบบการปะทะของน้ํา

แบบมินิสปริงเกอร คือหัวสปริงเกลอรขนาดเล็ก เหวี่ยงน้ําออกรอบตัว โดยกลไกขนาดเล็ก ใชไดกับการปลูกพืชหลายชนิด ไมวาจะเปนพืชผักหรือไมผลยืนตน โดยพิจารณาจากอัตราการไหล รัศมีการกระจายน้าํ และขนาดของเม็ดน้ําที่ไมใหญ หรือเล็กเกินไป เพราะเม็ดน้ําขนาดใหญ อาจมีน้ําหนักมากทําใหสวนของพืชไดรับความเสียหาย เม็ดน้ําอาจถกูลมพัดปลิวไปตกหางจากตนพืช

แบบสปริงเกอร หัวปลอยน้ําขนาดใหญ เหวี่ยงกระจายน้าํออกรอบตัว บางรุนมีกลไกบังคับน้ําใหกระจาย ออกไปเฉพาะทิศทางที่ตองการ สวนมากนยิมใชกับพืชที่ปลูกเปนบริเวณกวาง โดยเฉพาะพืชไร หัวสปริงเกอรขนาดใหญ พนกระจายน้ําออกไปในระยะไกล จึงมีการสูญเสียน้ําเพราะการระเหยสูง และน้าํที่ตกลงมาเปนไปในลักษณะปูพรม จึงส้ินเปลืองน้ํามาก

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

2

Page 9: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) ตารางท่ี 1 เทคนิคการใหนํ้าแบบประหยดั ขอดี และขอจํากัด (ตอ) ขอดีของระบบการใหนํ้าแบบประหยดั ประสิทธิภาพใหน้ําสูงมาก เพราะสามารถควบคุมน้ําไดทุกขั้นตอน และมีการสูญเสียโดย

การระเหยนอย คาใชจายในการใหน้ํานอยเพราะใชแรงงานนอยและใชเคร่ืองสูบน้ําขนาดเล็ก สามารถใหปุยและสารเคมีอื่นๆ แกพืชพรอมๆ กับการใหน้ําโดยการผสมปุยหรือสารเคมี

เขากับน้ําทางทอดูดของเคร่ืองสูบน้ําหรือใชเคร่ืองจายปุยเขาไปในระบบ ไมมีปญหาโรคพืช หรือแมลงที่เกี่ยวเนื่องจากการเปยกชื้นของใบ ลดปญหาการแพรกระจายของวัชพืชเนือ่งจากน้ําที่ใหแกตนพืชจะเปยกผิวดินเปนบริเวณ

แคบๆ เทานั้น ไมมีปญหาเร่ืองลมแรงที่จะพัดพาน้ําไปตกที่อื่น โดยเฉพาะแบบน้าํหยด ไมตองใชระบบสงน้ําขนาดใหญหรือเคร่ืองสูบน้ําที่มีแรงมาสูง ระบบการใหน้าํแบบนีจ้ะมีระยะเวลาการใชงานที่ยาวนานยกเวนเร่ืองการอุดตันของหัวจาย

น้ํา สามารถทําการติดต้ังการใหน้ําแบบอัตโนมัติไดไมยาก เชน ใหน้ําตามกําหนดเวลาที่ต้ังไว

หรือใหน้ําเมื่อความชื้นของดินในเขตรากลดลงถึงระดับหนึ่ง เปนตน ไมมีปญหาเร่ืองการซึมของน้ําลงในดินเลยเขตรากพืช เพราะอัตราการใหน้ําจะไมมาก

พอที่จะใหดินเปยกชุมเปนบริเวณกวางเนื่องจากเปนการใหน้ําบอยๆ ในเขตรากพืช ดังนั้นจึงไมเกิดการสะสมของเกลือในเขตราก

ขอเสียของระบบการใหนํ้าแบบประหยัด มีปญหาเคร่ืองอุดตันที่หัวจายน้าํมากเนือ่งมาจากตะกอน ทราย ตะไครน้ํา หรือการสะสม

ของสารเคมีในน้ํา เนื่องจากบริเวณที่เปยกชื้นไมกวางมากนัก ความเขมขนของเกลือซ่ึงมักจะเกิดขึน้ในบริเวณ

รอบนอกของสวนที่เปยกชื้นจึงมักจะสูงและอาจจะเปนอันตรายตอพืชได การแผชยายของรากสวนใหญจํากัดอยูบริเวณที่เปยกชื้นใกลหวัจายน้ํา ดังนั้นพืชอาจขาด

น้ําไดงายถาหวัจายน้ําเกิดการอุดตัน คาลงทุนคร้ังแรกคอนขางสูงเพราะจําเปนตองมีอุปกรณหลายอยาง

ที่มา: สํานักพัฒนาคุณภาพสินคาเกษตร (2557)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

3

Page 10: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) ตารางท่ี 2 ปริมาณความตองการนํ้าของพืชไร พืชสวน พืชผัก

ชื่อพืช อายุจากวันปลูก-วันเก็บเก่ียว

ปริมาณนํ้าที่ใช (ลูกบาศกเมตร/ไร)

ขาวโพดเล้ียงสัตว 100 - 115 วัน 400 -700

ขาวฟาง 90 - 120 วัน 400 - 600

งาขาว 90 วัน 550 - 700

งาดํา 90 วัน 400 - 600

ถั่วเขียว 60 - 90 วัน 300 - 400

ถั่วดํา 100 - 120 วัน 350

ถั่วทอง 100 - 120 วัน 300

ถั่วลิสง 100 - 110 วัน 400 - 600

ถั่วเหลือง 95 - 110 วัน 400 - 450

ปอกระเจา 120 - 150 วัน 1,140

ปอแกว 120 - 150 วัน 550 - 700

ฝาย 150 - 160 วัน 500 - 800

ละหุง 8 - 12 เดือน 900 - 1,200

สับปะรด 12 - 18 เดือน 1,400

ออย 11 - 16 เดือน 1,200 - 2,000

มันสําปะหลัง 10 - 14 เดือน

กะหลํ่าดอก 100 - 120 วัน 450

กะหลํ่าปลี 100 - 110 วัน 450 - 600

คะนา 45 - 55 วัน 350

ถั่วขาว 60 - 90 วัน 400

ถั่วแขก 55 - 60 วัน 300

ถั่วฝกยาว 50 - 75 วัน 400

ถั่วพุม 90 - 120 วัน 400

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

4

Page 11: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) ตารางท่ี 2 ปริมาณความตองการนํ้าของพืชไร พืชสวน พืชผัก (ตอ)

ชื่อพืช อายุจากวันปลูก-วันเก็บเก่ียว ปริมาณนํ้าที่ใช (ลูกบาศกเมตร/ไร)

ถั่วลันเตา 60 - 90 วัน 300

บวบตาง ๆ 40 - 60 วัน 300 - 500

ผักกาดขาว 45 - 80 วัน 450

ผักกาดเขียว 55 - 75 วัน 350

ผักกาดหอม 55 - 70 วัน 350

ผักกาดหวั 42 - 65 วัน 500

ผักชี 45 - 50 วัน 350

ผักบุงจีน 30 - 35 วัน 200

พริกตาง ๆ 70 - 90 วัน 500 - 850

ฟกเขียว 90 - 120 วัน 350

ฟกทอง 120 -180 วัน 333

มะเขือเทศตาง ๆ 60 - 90 วัน 400 - 600

มะเขือเทศ 60 - 75 วัน 500 - 650

ยาสูบ 90 - 120 วัน 400 - 600

แตงกวา 30 - 40 วัน 350

แตงราน 80 - 120 วัน 400

กระเทียม 75 - 150 วัน 535

ขาวโพดหวาน 70 - 85 วัน 500

มันแกว 210 - 240 วัน 1,350

มันเทศ 90 - 120 วัน 500 - 700

มันฝร่ัง 100 - 129 วัน 500 - 650

หอมแบง 40 - 50 วัน 650

แตงโม 75 - 120 วัน 470

ท่ีมา: สํานักพัฒนาคณุภาพสินคาเกษตร (2557)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

5

Page 12: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) ตารางท่ี 3 พืชและระยะปลูกสําหรับพืชผักสวนครัว พืช ระยะปลูก (ซม)

(ตน x แถว) พืช ระยะปลูก (ซม)

(ตน x แถว) กะหล่ําปล ี 75 x 75 ฟกทอง 150 x 150 ผักกาดขาวปล ี 75 x 50 มะระ 100 x 50 ผักกาดเขียวปล ี 50 x 50 มะเขือเทศ 100 x 50 ผักกาดหัว 20 x 15 มะเขือเปราะ,

มะเขือยาว 150 x 100

หอมกินตน 10 x15 พริก 75 x 75 หอมแดง 15 x 15 กระเจี๊ยบเขียว 100 x 100 กระเทียม 10 x 15 ขาวโพดหวาน 75 x 25 หอมหัวใหญ 10 x 15 ขาวโพดฝก

ออน 72 x 25

ถ่ัวฝกยาว 75 x 50 ฟกแฟง 150 x 100 / 75 x 75

แตงกวา 150 x 100 บวบเหลี่ยม 100 x 75 มันเทศ 75 x 40

ท่ีมา: โครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันในพระอุปถัมถ ของสมเด็จพระเทพรตันราชสดุาสยามบรมราชกุมารี และศูนยวิจัยและพัฒนาพืชผักแหงเอเชีย ประเทศไทย (2527)

โดยท่ัวไปแลว เราสามารถแบงระบบชลประทานแบบน้ําหยด ออก

ไดเปน 4 ระบบ ไดแก ระบบใหน้ําทางผิวดิน ระบบการใหน้ําใตผิวดิน ระบบใหน้ําแบบน้ําหยดท่ีเคลื่อนท่ีได และระบบใหน้ําแบบน้ําหยดท่ีจายน้ําเปนจังหวะ รายละเอียดดังนี้ (มนตรี, 2531)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

6

Page 13: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ระบบใหน้ําทางผิวดิน (surface system) เปนระบบท่ีทอแขนงอยูบนผิวดิน ซ่ึงเปนชนิดท่ีนิยมใชกันโดยท่ัวไป และจะใชกับพืชท่ีปลูกระยะหาง ๆ กัน แตก็สามารถใชไดกับพืชท่ีปลูกเปนแถวชิดกัน โดยปกติอัตราการจายน้ําสําหรับหัวปลอยน้ําเดี่ยว หรือหัวปลอยน้ําท่ีจายเปนจุด (point source emitter) จะนอยกวา 8 ลิตร/ชม. และถาเปนแบบหัวปลอยน้ําท่ีจายตลอดแนว (line source emitter) อัตราจะนอยกวา 12 ลิตร/ชม./เมตร ขอดีระบบใหน้ําหยดทางผิวดินก็คือติดตั้งหัวปลอยไดงาย สังเกตเห็นเวลาอุดตัน เปลี่ยนแปลงแกไขหรือทําความสะอาดไดงาย รวมท้ังสามารถตรวจรูปแบบของผิวดินท่ีเปยกน้ํา และสามารถวัดอัตราการไหลของหัวปลอยน้ําแตละหัวไดและเปนระบบท่ีนิยมใชกันโดยท่ัวไป

ระบบใหน้ําใตผิวดิน (subsurface system) ในระยะหลังนี้ ระบบใหน้ําทางใตผิวดินเริ่มเปนท่ียอมรับเพ่ิมข้ึนอยางกวางขวาง ปญหาการอุดตันลดลง ขอดีของระบบใหน้ําแบบน้ําหยดทางใตผิวดินก็คือไมตองเก็บเวลาสิ้นสุดฤดู ปองกันสัตวกัดทําลายทอ และอายุการใชงานของทอจะนานกวาแบบวางบนผิวดิน และขณะนี้ไดมีการใชระบบใตดินกันท่ัวไปกับตนไมผลเล็กๆ และพืชผัก อยางไรก็ตาม บางครั้งจะนิยมใชรวมกันระหวางใตผิวดินและบนผิวดิน คือ ฝงเฉพาะทอแขนงและโผลหัวปลอยน้ําข้ึนมาบนผิวดินดังกลาวมาแลว

ระบบใหน้ําแบบน้ําหยดท่ีเคลื่อนท่ีได (mechanical drip system) ระบบนี้สามารถเคลื่อนยายท่ีสําหรับการใหน้ําแบบน้ําหยดกับพืชท่ีปลูกเปนแถว (ดวยระบบเครื่องกลไก) มี 2 แบบ แบบแรกหมุนรอบศูนยกลาง (center pivot) และแบบท่ีสอง แบบเคลื่อนทอแขนงเปนแนวตรงดวยการประยุกตพัฒนามาจากระบบการใหน้ําแบบฉีดฝอย (sprinkler) แตแทนท่ีจะใหหัวฉีดฝอยก็ใชหัวปลอยน้ําแทน ความดันท่ีใชในระบบนี้นอย

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

7

Page 14: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

กวาท่ีใชกับระบบฉีดฝอยมาก และความสมํ่าเสมอของน้ําท่ีจายออกท่ัวพ้ืนท่ีก็ดีกวา อัตราปริมาณน้ําท่ีจายดวยระบบการใหน้ําแบบน้ําหยดชนิดเคลื่อนท่ีนี้จะมากกวาคาอัตราการซึมของดิน โดยมีคันดินหรือแผนโลหะปดก้ันในรองคู (furrow) เปนระยะ ๆ เพ่ือปองกันการกัดเซาะหรือน้ําไหลออกจากแปลง ขอดีของการใหน้ําแบบเคลื่อนท่ี คือ ลดปญหาการอุดตัน เพราะใชหัวปลอยน้ํามีรูขนาดใหญ เม่ือเปรียบเทียบกับระบบการใหน้ําแบบน้ําหยดท่ีอยูกับท่ี แตมีขอเสียคือตองเสียเวลาและใชแรงงานมากในการเคลื่อนยายทอ ไมคอยเปนท่ีเปนท่ีนิยมใชกันนัก

ระบบใหน้ําแบบน้ําหยดท่ีจายน้ําเปนจังหวะ (pulse system) ระบบนี้มีการพิจารณานํามาใชกับหัวปลอยน้ําท่ีมีอัตราการจายน้ําสูงแตมีการใหน้ําเปนชวงจังหวะเวลา ซ่ึงเม่ือคิดเฉลี่ยกับเวลาท้ังหมดท่ีใหน้ําแลวจะมีอัตราใกลเคียงกับการใหน้ําแบบน้ําหยดท่ัวไป ระบบการใหน้ําเปนจังหวะนี้มีอนุกรมรอบเวลาของการใหน้ําตามปริมาณน้ําท่ีจาย และหยุดเปนชวงๆ รูปแบบของระยะชวงเวลาการจายน้ําอาจเปน 5 10 หรือ 15 นาทีตอทุก ๆ ชั่วโมง ดวยอัตราปริมาณน้ําท่ีจายมากกวาแบบหยดธรรมดา 5 ถึง 10 เทา เชน หัวปลอยน้ําแบบธรรมดา มีอัตรา 8 ลิตร/ชม. แบบจายน้ําเปนจังหวะก็จะมีอัตรา 40-80 ลิตร/ชม. ขอดีของระบบนี้ก็คือ ชวยลดการอุดตันลงได แตมีขอเสียคือ ตองมีการพัฒนาหัวปลอยน้ําท่ีจายน้ําเปนจังหวะชนิดท่ีเชื่อถือได ราคาไมแพง และมีระบบควบคุมอัตโนมัติ ตั้งอนุกรมของเวลาเปดปดเปนจังหวะได

สําหรับระบบการใหน้ําพืชแบบประหยัด โดยสงน้ําผานจากแหลงน้ําไปยังพืชท่ีปลูกควรประกอบไปดวยสวนสําคัญ 5 สวน ดังตอไปนี้ (วันชัย, 2555)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

8

Page 15: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

1. หัวจายน้ํา ซ่ึงมีหลายลักษณะ เชน หัวพนละอองน้ํา (mist sprayer) ชวยใหเกิดฝอยละอองน้ํา

ขนาดเล็ก 150 ไมครอนดวยความดันน้ําประมาณ 2-3 บรรยากาศ หัวจายลักษณะนี้ชวยเพ่ิมความชื้นในโรงเรือนไดบาง มีรัศมีการกระจายน้ํา 1.2-1.4 ม. (ภาพท่ี 1)

หัวพนหมอก (fogger) ชวยใหเกิดฝอยละอองน้ําขนาดเล็กมาก 50-100 ไมครอนดวยความดันน้ําประมาณ 3-4 บรรยากาศ หัวจายลักษณะนี้เหมาะสําหรับการสรางความชื้นสัมพัทธและลดอุณหภูมิในโรงเรือน มีรัศมีการพนหมอกประมาณ 1.5 ม.

หัวฉีดฝอย (jet spray) ชวยใหเกิดฝอยละอองน้ําท่ีมีขนาดใหญกวา 150 ไมครอนดวยความดันน้ําประมาณ 1.5 บรรยากาศ รัศมีของการฉีดน้ํากวาง 1-1.5 ม. (ภาพท่ี 1)

ภาพท่ี 1 ระบบหัวพนละอองและหัวฉีดฝอย

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

9

Page 16: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

หัวน้ําหยด (drip/trickle) เปนหัวจายน้ําแบบหยดน้ําหรือเปนสายน้ําไหลเอ่ือยเล็กๆ ท่ีอัตราการไหล 2-12 ลิตรตอชั่วโมง หัวน้ําหยดนี้มีหลายลักษณะ ท้ังแบบกานปกซ่ึงเหมาะสําหรับพืชในกระถางหรือถุงเพาะชํา หรือแบบตอทอขนาดเล็กและแบบเทปท่ีตออยูกับทอแขนงในระยะ 30-90 ซม. แบบทอและแบบเทปหยดนี้ เหมาะสําหรับการปลูกพืชไรและพืชผัก (การวิจัยนี้ใชระบบเทปน้ําหยด ดังภาพท่ี 2)

ภาพท่ี 2 ระบบเทปน้ําหยด 2. ทอแขนงหรือทอยอย ใชเปนทอติดตั้งหัวจายน้ําซ่ึงนิยมใชทอพีอี

(LDPE) ขนาด 20 หรือ 25 มิลลิเมตร เนื่องจากเปนทอออน ควรเลือกใชทอท่ีมีคุณภาพดี ไมกรอบหรือแตกงายเกินไป สามารถใชงานไดยาวนาน ขนาดของทอไมควรเล็กหรือใหญเกินไปเพราะจะสงผลตอแรงดันน้ําและความสมํ่าเสมอในการจายน้ําใหพืช

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

10

Page 17: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

3. ทอแยกหรือทอรองประธาน เปนทอท่ีเชื่อมตอกับทอประธานและทอแขนง มักนิยมใชทอพีวีซีเนื่องจากการติดตั้งงายกวาทอเหล็กอาบสังกะสีหรือทอพลาสติกสีดํา ควรเลือกขนาดของทอให

4. พอเหมาะเพ่ือใหความเร็วของน้ําในทออยูท่ีประมาณ 1.5 เมตร/วินาที

5. ทอประธานหรือทอเมน เปนทอนําน้ําจากเครื่องสูบน้ําไปยังทอแยกซ่ึงตออยูกับทอแขนง มักนิยมใชทอพีวีซีเนื่องจากการติดตั้งงายกวาทอเหล็กอาบสังกะสีหรือทอพลาสติกสีดํา ควรเลือกขนาดของทอใหพอเหมาะ เพ่ือใหความเร็วของน้ําในทออยูท่ีประมาณ 1.5 เมตร/วินาที

6. เครื่องกรองน้ํา เปนอุปกรณชวยลดการอุดตันของหัวฉีดเพ่ือใหการใหน้ําและปุยเปนไปอยางท่ัวถึง เกษตรกรสามารถพิจารณาเลือกติดตั้งเครื่องกรองน้ํา โดยพิจารณาความละเอียดของไสกรอง รูปแบบและขนาดใหเหมาะสมกับการใชงานและตนทุนดําเนินการ ในกรณีท่ีเกษตรกรไมตองการติดตั้งเครื่องกรองน้ํา จะตองหม่ันลางหัวฉีดบอยๆ เนื่องจากจะมีสิ่งอุดตันจํานวนมากท่ีไหลมากับน้ํา

7. เครื่องสูบน้ําหรือถังสูง เกษตรกรอาจพิจารณาเลือกติดตั้งเครื่องสูบน้ําดึงน้ําหรือถังสูงสําหรับการกักเก็บน้ําไว เพ่ือจายน้ําผานทอไปยังพ้ืนท่ีเพาะปลูก

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

11

Page 18: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

กรณีศึกษาการประยุกตใชระบบเทปนํ้าหยดของเกษตรกรตนแบบ

ในการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยการประยุกตใชระบบชลประทานน้ํา

หยด (เทปน้ําหยด) ระดับแปลงทดลองโดยใชพริกเปนพืชทดสอบ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ําภายใตสภาวะภัยแลงใหแกเกษตรกร เทศบาลตําบลออนใต ทางคณะผูวิจัยไดรวมดําเนินงานอยางเปนข้ันตอนโดยมีเกษตรกรตนแบบ (นายจํารัส วงษา) เปนผูดําเนินการหลักในพ้ืนท่ีบานแมผาแหน (หมู 6) ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีศึกษานํารองของเทศบาลตําบลออนใต 2.1 การเตรียมความพรอมเกษตรกรตนแบบและพ้ืนท่ีทดลอง

จากการเตรียมความพรอมเกษตรกรตนแบบเบื้องตน (ภาพท่ี 3) โดยอาศัยการทบทวนสภาพปญหา การแลกเปลี่ยนความรูและขอคิดเห็น ตลอดจนแนวทางปฏิบัติในการประยุกตใชระบบชลประทานน้ําหยด (เทปน้ําหยด) เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ําดานการเกษตร สงผลใหเกษตรกรตนแบบมีความเขาใจท้ังดานบทบาท การมีสวนรวม และแนวทางวิธีการทํางานรวมกัน นอกจากนี้การประยุกตใชระบบเทปน้ําหยดในแปลงเกษตร ถือเปนเทคโนโลยีใชน้ํานอยท่ีตรงกับความตองการของเกษตรกร ในการเรียนรูและปรับใชเพ่ือรับมือตอภัยแลง หรือตองการเพ่ิมรายไดจากกระบวนการผลิตใหสูงข้ึน

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

12

2

Page 19: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 3 การประสานงานและเตรียมความพรอมเกษตรกรตนแบบ (บานแมผาแหน หมู 6)

ข้ันตอนการสํารวจและการเลือกพ้ืนท่ีศึกษา เพ่ือใชเปนแปลง

ทดลองปฏิบัติงาน ทางคณะผูวิจัยและเกษตรกรไดรวมทําการสํารวจ (ภาพท่ี 4) โดยกําหนดพ้ืนท่ีภายใตเง่ือนไขเบื้องตน ดังนี้ คือ (1) แปลงทดลองควรเปนพ้ืนท่ีซ่ึงเกษตรกรใชทําการเกษตรตามปกติในปจจุบัน (2) แปลงทดลองควรเปนพ้ืนท่ีซ่ึงประสบปญหาภัยแลงและขาดแคลนน้ํา และ (3) แปลงทดลองควรมีแหลงน้ําตนทุน เชน อางเก็บน้ํา หรือ สระเก็บน้ําในบริเวณใกลเคียง เปนตน ท้ังนี้เพ่ือใหคณะทํางานสามารถเห็นผลจากการศึกษาทดลองอยางชัดเจนเปนรูปธรรม

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

13

Page 20: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 4 สภาพพ้ืนท่ีสําหรับใชเปนแปลงทดลองของเกษตรกรตนแบบ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

14

Page 21: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

จากการลงสํารวจและเลือกพ้ืนท่ีศึกษา (มีนาคม-เมษายน 2560) เพ่ือใชเปนแปลงทดลองของเกษตรกรตนแบบ พบวาพ้ืนท่ีศึกษามีลักษณะเปนพ้ืนท่ีสวน สภาพท่ัวไปคอนขางแหงแลง ลักษณะเนื้อดินสวนใหญเปนดินปนทราย นอกจากนี้พบวาตําแหนงท่ีดินอยูนอกเขตชลประทาน แตมีสระเก็บน้ําขนาดเล็กเพ่ือการสํารองน้ําใชในฤดูแลง รวมท้ังระบบสาธารณูปโภคไฟฟายังเขาไมถึง เปนตน 2.2 การออกแบบและคํานวณระบบเทปน้ําหยดสําหรับแปลงทดลองปลูกพริกของเกษตรกรตนแบบ

ในการออกแบบระบบเทปน้ําหยด จําเปนตองทราบขอมูลรวมท้ังเง่ือนไขแปลงทดลองปลูกพริกของเกษตรกรตนแบบ เพ่ือใชประกอบในการคํานวณและออกแบบ ดังรายละเอียดตอไปนี้

(1) ขอมูลประกอบการออกแบบระบบเทปน้ําหยด

1) ชนิดพืชทดสอบ คือ พริก 2) ประเภทของดินในแปลงทดลอง คือ ดินปนทราย 3) ความยาวแปลงเทากับ 12 เมตร จํานวน 6 แปลง 4) ความกวางของแปลง 0.80 เมตร ปลูกพริกแนวสลับ

จํานวน 2 แถว ตอแปลง

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

15

Page 22: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

(2) ข้ันตอนการคํานวณและออกแบบระบบเทปน้ําหยดสําหรับแปลงทดลอง 1) การเลือกใชเทปน้ําหยด

1.1) การเลือกระยะหางรูน้ําหยด หลักการเลือกระยะหางรูน้ําหยดโดยท่ัวไปจะพิจารณาจากชนิดของพืชท่ีจะปลูก และประเภทของดินท่ีจะใชปลูก ดังตอไปนี้

พืชผักควรใชระยะหางรูน้ําหยดประมาณ 10–20 ซม. พืชไรควรใชระยะหางรูน้ําหยดประมาณ 30–60 ซม. ดินทราย ควรใชระยะหางรูน้ําหยดท่ีถ่ีมาก ดินรวน ควรใชระยะหางรูน้ําหยดท่ีถ่ีปานกลาง ดินเหนียว ควรใชระยะหางรูน้ําหยดท่ีหางนอย เนื่องจากพืชท่ีจะปลูกคือ พริก ซ่ึงจัดอยูในประเภทพืชผัก

และดินท่ีจะปลูกเปนประเภทดินปนทราย ดังนั้น จึงเลือกใชเทปน้ําหยดท่ีมีระยะหางรูน้ําหยด เทากับ 20 เซนติเมตร

1.2) การเลือกอัตราการไหลของน้ําหยด อัตราการไหลของน้ําหยดมีหลากหลาย ตั้งแต 0.5 – 4 ลิตรตอชั่วโมง ดังนั้น จึงเลือกใชอัตราการไหลของน้ําหยดท่ี 3 ลิตรตอช่ัวโมง ซ่ึงนิยมใชกับพืชผักท่ัวไปและหาชื้อไดงายตามทองตลาด

1.3) การเลือกขนาดเสนผานศูนยกลางของเทปน้ําหยด เทปน้ําหยดท่ีใชงานในดานเกษตรกรรมท่ัวไป มีขนาดเสนผานศูนยกลางหลากหลาย เชน 16 18 20 และ 50 มิลลิเมตร

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

16

Page 23: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ซ่ึงการเลือกขนาดเสนผานศูนยกลางของเทปน้ําหยด สามารถคํานวณหาไดโดยใชขอมูลประกอบการออกแบบระบบน้ําหยด (แปลงปลูกมีความยาวเทากับ 12 เมตร/การเลือกใชระยะหางรูน้ําหยด เทากับ 20 เซนติเมตร/อัตราการไหลของน้ําหยด 3 ลิตรตอชั่วโมง/คาความเร็วของน้ําในเทปน้ําหยดเทากับ 1.5 เมตร/วินาที) และแทนคาลงในสมการการไหลในทอ จากผลการคํานวณพบวาตองใชขนาดเสนผานศูนยกลางของเทปน้ําหยดเทากับ 6.52 มิลลิเมตร ดังนั้น จึงเลือกใชขนาดเสนผานศูนยกลางของเทปน้ําหยดเทากับ 16 มิลลิเมตร ซ่ึงเปนขนาดเล็กสุดท่ีมีขายตามทองตลาด สรุปเลือกใชเทปน้ําหยดขนาดเสนผานศูนยกลาง 16 มิลลิเมตร ระยะหางรูน้ําหยด 20 เซนติเมตร และอัตราการไหลของน้ําหยด 3 ลิตรตอชั่วโมง

2) การออกแบบถังเก็บน้ํา เนื่องจากแปลงทดลองของเกษตรกรตนแบบ เปนบริเวณ

พ้ืนท่ีซ่ึงไมมีสาธารณูปโภคไฟฟาใช ดังนั้นระบบการจายน้ํากรณีแปลงสาธิตแบบเทปน้ําหยด น้ําจะถูกสูบข้ึนจากสระดวยเครื่องสูบน้ําดีเซล ขนาด 3 แรงมา (เครื่องสูบน้ําท่ีมีอยูเดิมของเกษตรกร) แลวถูกนําไปพักเก็บไวในถังเก็บน้ําเพ่ือจายเขาสูระบบเทปน้ําหยดโดยแรงโนมถวง ตามการออกแบบไวขางตน สวนกรณีแปลงสาธิตแบบรองคูเล็ก (วิธีใหน้ําดั้งเดิมของเกษตรกร) น้ําจะถูกสูบข้ึนจากสระดวยเครื่องสูบน้ําดีเซล ขนาด 3 แรงมา แลวจายตรงเขาสูแปลงสาธิตตามการใชงานปกติของเกษตรกร ดังนั้น ระบบน้ําหยดท่ีออกแบบโดยอาศัยหลักการของแรงโนมถวง จะทําการออกแบบโดยยกระดับถังเก็บน้ําไปติดตั้งบนนั่งราน เพ่ือใหน้ําไหลจากท่ีสูงลงสูท่ีต่ําโดยแรงโนมถวง

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

17

Page 24: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ซ่ึงจากการคํานวณโดยใชถังเก็บน้ําขนาดความจุ 200 ลิตร เพ่ือจายน้ําใหกับระบบเทปน้ําหยด จํานวน 2 ใบ (ถังพลาสติก) และจากขอมูลของเทปน้ําหยดท่ีเลือกใช ผลการคํานวณ พบวา ความสูงของน้ําท่ีจะทําใหไดความดันข้ันต่ํา 0.2 บาร เทากับ 2.039 เมตร ดังนั้น นั่งรานท่ีใชวางถังเก็บน้ําจะตองมีความสูงจากพ้ืนดินไมนอยกวา 2 เมตร

3) การออกแบบทอจายน้ํา ในการออกแบบทอจายน้ําจากถังเก็บน้ํา เพ่ือจายน้ํา

ใหกับเทปน้ําหยด ซ่ึงทอดังกลาวจะตองสามารถรองรับอัตราการไหลท่ีระบบเทปน้ําหยดท้ังหมดตองการได จากขอมูลประกอบการออกแบบระบบน้ําหยด พบวาแปลงปลูกมีความยาวเทากับ 12 เมตร จํานวนท้ังหมด 6 แปลง แตละแปลงปลูกพริกจํานวน 2 แถว และจากการเลือกใชระยะหางรูน้ําหยดเทากับ 20 เซนติเมตร ท่ีอัตราการไหลของน้ําหยด 3 ลิตรตอชั่วโมง คาความเร็วของน้ําในทอจายน้ําเทากับ 1.5 เมตร/วินาที และเม่ือแทนคาตางๆ ลงในสมการอัตราการไหลในทอ ผลการคํานวณ พบวาตองใชทอจายน้ําขนาดเสนผานศูนยกลาง 22.57 มิลลิเมตร ดังนั้นจึงเลือกใช ทอจายน้ํา PVC ขนาดเสนผานศนูยกลาง 1 นิ้ว ซ่ึงเปนขนาดท่ีมากกวาและใกลเคียงท่ีสุดกับคาท่ีคํานวณได

4) ระบบจายน้ําเขาถังเก็บน้ํา แหลงน้ําใชหลัก คือ สระเก็บน้ํา ซ่ึงอยูในบริเวณใกลเคียง

กับแปลงทดลองปลูกพริกของเกษตรกร โดยใชเครื่องสูบน้ํา (เครื่องยนตดีเซล 3 แรงมา) ทําการสูบน้ําข้ึนจากสระไปเติมในถังเก็บน้ํา (200 ลิตร จํานวน 2 ใบ) ซ่ึงติดตั้งอยูบนนั่งรานสูง 2 เมตร เพ่ือจายน้ําอาศัยแรงโนมถวงเขาสูแปลงทดลองอีกทอดหนึ่ง

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

18

5) อุปกรณประกอบระบบ

Page 25: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

5.1) กรอง โดยท่ัวไปรูน้ําหยดของเทปน้ําหยดจะมีขนาดเล็กมาก ดังนั้นน้ําท่ีจะจายเขาสูระบบน้ําหยดจะตองเปนน้ําท่ีสะอาดพอประมาณเพ่ือปองกันรูน้ําหยดอุดตัน แตเนื่องจากน้ําท่ีใชในการเกษตรกรรมท่ัวไปสวนใหญเปนน้ําท่ีไดจากอางหรือสระเก็บน้ํา ซ่ึงน้ําอาจมีความสกปรกและมีตะกอนเจือปนอยู ดังนั้นการใชระบบน้ําหยดควรมีการติดตั้งกรองในทอจายน้ํากอนท่ีจะเขาเทปน้ําหยดเสมอ โดยอุปกรณท่ีใช คือ กรอง ท่ีใชในงานดานเกษตรกรรมท่ัวไป หาซ้ือไดงายและการดูแลไมยุงยาก

5.2) มิเตอรวัดอัตราการไหล (เฉพาะการศึกษานี้) ในการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใชน้ําทางการเกษตร (ปลูกพริก) ท่ีแตกตางกัน คือ วิธีการใหน้ําแบบน้ําหยด กับ วิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก เพ่ือใหเห็นผลอยางชัดเจน ดังนั้น ในทอจายน้ําหลังออกจากกรองจะตองติดตั้งมิเตอรวัดอัตราการไหลของน้ํา เพ่ือวัดปริมาณการใชน้ําท่ีใชในระบบน้ําหยดและรองคูเล็ก ดังนั้นจึงเลือกใชมิเตอรวัดอัตราการไหลของน้ําขนาด 1 นิ้ว ซ่ึงสามารถวัดอัตราการไหลไดสูงสุด 3.5 ลบ.ม/ชั่วโมง

จากการคํานวณและออกแบบระบบเทปน้ําหยด อุปกรณหลักของระบบน้ําหยดท่ีศึกษาในแปลงทดลองของเกษตรกรตนแบบ ประกอบดวย เครื่องสูบน้ํา ถังเก็บน้ํา กรอง มิเตอรวัดอัตราการไหล ทอจายน้ํา และเทปน้ําหยด ซ่ึงรายระเอียดของระบบน้ําหยดสําหรับแปลงสาธิต แสดงดังภาพท่ี 5

เนื่องจากเปนการศึกษาระดับแปลงสาธิต ซ่ึงทําการติดตั้งระบบเทปน้ําหยดภายใตเง่ือนไขและขอจํากัดของพ้ืนท่ีแปลงทดลอง ดังนั้นในการติดตั้งระบบเทปน้ําหยดในการใชงานจริงสําหรับเกษตรกรรมท่ัวไป

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

19

Page 26: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 5 ระบบเทปน้ําหยดสําหรับแปลงสาธิตปลูกพริก

ของเกษตรกรตนแบบ การจายน้ําใหกับระบบน้ําหยดสามารถจายน้ําจากเครื่องสูบน้ํา (ดีเซล/ไฟฟา) ของเกษตรกรเขาสูระบบเทปน้ําหยดโดยตรง โดยไมจําเปนตองสงจายน้ําเขาไปเก็บไวในถังเก็บน้ํากอน ประกอบกับการทําเกษตรกรรมท่ัวไปตองการใชน้ําปริมาณสูงกวาแปลงสาธิต ดังนั้น เกษตรกรสามารถตอทอจายน้ําโดยตรงเขากับเครื่องสูบน้ําเพ่ือจายน้ําใหกับระบบเทปน้ําหยด โดยไมจําเปนตองติดตั้งมิเตอรวัดอัตราการไหลตรงทางออกของกรองสิงสกปรก

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

20

Page 27: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

สําหรับระยะเวลาการใหน้ําดวยระบบเทปน้ําหยด เกษตรกรควรกําหนดชวงเวลาการเปด-ปดระบบน้ําหยดในภาคสนาม โดยสังเกตความชื้นของดินในแปลงปลูกเปนหลัก ดังนั้นระบบเทปน้ําหยดสําหรับงานเกษตรกรรมท่ัวไปจึงไมจําเปนตองใชถังเก็บน้ําและมิเตอรวัดอัตราการไหล ซ่ึงแสดงดังภาพท่ี 6

ภาพท่ี 6 ระบบเทปน้ําหยดสําหรับงานเกษตรกรรมท่ัวไป 2.3 การติดตั้งระบบเทปน้ําหยดในแปลงทดลองของเกษตรกรตนแบบ

การติดตั้งระบบเทปน้ําหยดและปฏิบัติการทดลองปลูกพริก ศึกษาเปรียบเทียบระบบการใหน้ําแบบชลประทานน้ําหยด กับ วิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก (วิธีดั้งเดิมของเกษตรกร) ระดับแปลงสาธิตของเกษตรกรตนแบบ (นายจํารัส วงษา) บานแมผาแหน เทศบาลตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ข้ันตอนมีดังนี้

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

21

Page 28: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

1) การประกอบถังเก็บน้ํา ถังเก็บน้ําความจุ 200 ลิตร ท้ังสองถังถูกประกอบเขาดวยกันโดยเชื่อมตอดวยทอ PVC ขนาด 1 นิ้ว และประกอบขอตอเกลียวนอก PVC ขนาด 1 นิ้ว เพ่ือใชเปนขอตอสําหรับตอทอจายน้ํา (ภาพท่ี 7)

ภาพท่ี 7 การประกอบถังเก็บน้ําและขอตอทอจายน้ํา 2) การติดตั้งนั่งรานและถังเก็บน้ําสําหรับการทดลอง การติดตั้งนั่งรานสําหรับวางถังเก็บน้ํา เพ่ือจายน้ําโดยแรงโนมถวง ไดกําหนดตําแหนงนั่งรานบริเวณหัวแปลงทดลอง ทําการติดตั้งโดยปรับระดับนั่งรานใหอยูในแนวระดับ และตรวจสอบดูพ้ืนตรงตําแหนงตั้งขาตั้งของนั่งรานเพ่ือปองกันนั่งรานลมหรือเสียหาย หลังจากนั้นติดตั้งถังเก็บน้ําดานบนของนั่งรานและจัดตําแหนงใหสมดุล แสดงดังภาพท่ี 8 3) การติดตั้งระบบจายน้ําเขาถังเก็บน้ํา

การติดตั้งเครื่องสูบน้ําเพ่ือสูบน้ําจากสระข้ึนไปเติมในถังเก็บน้ํา ซ่ึงติดตั้งอยูบนนั่งราน โดยติดตั้งท้ังเครื่องสูบน้ํา (เครื่องยนตดีเซล 3 แรงมา ของเกษตรกร) ทอดูดน้ําจากสระเก็บน้ําเขาเครื่องสูบน้ํา และทอจายน้ําจากเครื่องสูบน้ําเขาถังเก็บน้ํา แสดงดังภาพท่ี 9

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

22

Page 29: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 8 การติดตั้งนั่งรานและถังเก็บน้ํา

ภาพท่ี 9 การติดตั้งระบบจายน้ําเขาถังเก็บน้ํา

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

23

Page 30: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

4) การติดตั้งทอจายน้ํา ในการติดตั้งทอจายน้ําเพ่ือจายน้ําจากถังเก็บน้ําไปยังเทปน้ําหยดดวยแรงโนมถวง โดยทอจายน้ําใชทอ PVC ขนาด 1 นิ้ว และตรงทางออกของถังเก็บน้ําจะตองติดตั้งวาลวน้ําเพ่ือใชในการเปดและปดน้ําจากถังเก็บน้ําไปยังเทปน้ําหยด แสดงดังภาพท่ี 10

ภาพท่ี 10 การติดตั้งทอจายน้ําเขาสูระบบเทปน้ําหยด 5) การติดตั้งกรองสิ่งสกปรก ดังท่ีกลาวมาขางตน เพ่ือปองกันรูน้ําหยดอุดตัน ดังนั้นไดทําการติดตั้งกรองตรงทางออกของทอจายน้ํากอนเขาระบบเทปน้ําหยด โดยกรองท่ีใชมีขนาดขอตอ 1 นิ้ว เทากับขนาดเสนผานศูนยกลางของทอจายน้ํา ในการติดตั้งกรอง จะตองใหการไหลของน้ําเปนไปตามทิศทางการไหลของกรองตามท่ีกําหนด (ตามทิศทางลูกศรท่ีระบุดานขางกรอง) แสดงดังภาพท่ี 11

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

24

Page 31: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 11 การติดตั้งกรองสิ่งสกปรก 6) การติดตั้งมิเตอรวัดอัตราการไหล เนื่องจากในงานวิจัยนี้ตองการวัดปริมาณการใชน้ํา ท้ังปริมาณน้ําท่ีใชในระบบน้ําหยดและในระบบรองคูเล็ก ดังนั้นจะตองทําการติดตั้งมิเตอรวัดอัตราการไหลของน้ําท่ีใช กรณีระบบน้ําหยดไดทําการติดตั้งมิเตอรตรงทางออกของกรองสิ่งสกปรก ขณะท่ีระบบรองคูเล็กไดทําการติดตั้งมิเตอรตรงทอกอนจายตรง ซ่ึงมิเตอรวัดอัตราการไหลมีขนาด 1 นิ้ว แสดงดังภาพท่ี 12

ภาพท่ี 12 การติดตั้งมิเตอรวัดอัตราการไหล การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัย

แลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม 25

Page 32: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

7) การติดตั้งวาลวเทปน้ําหยด ในการดําเนินงานใชโฮซอขนาด 16 มิลลิเมตร เจาะรูทอจายน้ํา

เพ่ือท่ีจะติดตั้งวาลวเทปน้ําหยด โดยจะตองเจาะรูใหตรงกับแถวของการปลูกพริกในแตละแปลง หลังจากนั้นติดตั้งวาลวเทปน้ําหยดโดยการดันวาลวเทปน้ําหยดเขาไปในรูเจาะท่ีไดเจาะไว แสดงดังภาพท่ี 13

ภาพท่ี 13 การติดตั้งวาลวเทปน้ําหยด

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

26

Page 33: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

8) การติดตั้งเทปน้ําหยด ในการติดตั้งเทปน้ําหยดเขากับวาลวเทปน้ําหยด กอนท่ีจะทําการติดตั้งเทปน้ําหยด ตองทําการปลอยน้ําจากถังเก็บน้ําเขามาลางทอจายน้ําเพ่ือชะลางตะกอนและเศษทอ PVC ท่ีอาจตกคางจากการเจาะทอออกจากทอจายน้ํา เพ่ือปองกันการอุดตันท่ีรูน้ําหยด แสดงดังภาพท่ี 14

ภาพท่ี 14 การติดตั้งเทปน้ําหยด

สําหรับภาพท่ี 15-21 แสดงการดําเนินงานอยางเปนข้ันตอนโดยเกษตรกรตนแบบ ไดแก การเตรียมแปลงทดลอง การคลุมแปลงทดลอง การเตรียมหลุมปลูกกลาพริก การติดตั้งระบบสูบน้ําและการจายน้ํา การปลูกพริก และการบันทึกขอมูลในแปลงทดลองปลูกพริก เปนตน

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

27

Page 34: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 15 การข้ึนแปลงทดลองและการคลุมแปลง

ภาพท่ี 16 การเตรียมหลุมปลูกกลาพริก

ภาพท่ี 17 การติดตั้งระบบสูบน้ําและระบบจายน้ํา

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

28

Page 35: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 18 การใสปุยหมักรองกนหลุมและเตรียมปลูกกลาพริก

ภาพท่ี 19 การปลูกกลาพริก การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัย

แลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม 29

Page 36: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 20 การบันทึกขอมูลการใชน้ําและการดูแลรักษาระบบเทปน้ําหยด

ภาพท่ี 21 การบันทึกขอมูลในแปลงทดลองปลูกพริก

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

30

Page 37: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

การถอดบทเรียนการประยุกตใชระบบเทปนํ้าหยดของเกษตรกรตนแบบ

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของระบบการใหน้ํา ระหวาง

วิธีการใหน้ําแบบชลประทานน้ําหยด (แบบเทปน้ําหยด) กับวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก (วิธีดั้งเดิมของเกษตรกร) ในการทดลองปลูกพริกโดยเกษตรกรตนแบบบานแมผาแหน (นายจํารัส วงษา) เทศบาลตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ซ่ึงดําเนินการในชวงเดือน เมษายน-กันยายน 2560 จากการวิเคราะหสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดิน ในแปลงทดลอง พบวาลักษณะเนื้อดินเปนดินทรายเม็ดหยาบ สําหรับคาอินทรียวัตถุและไนโตรเจนท้ังหมด มีคาเทากับรอยละ 2.52 และ 0.17 สวนฟอสฟอรัสท่ีเปนประโยชนและโพแทสเซียมท่ีแลกเปลี่ยนได มีคาเทากับ 79.11 และ 117.46 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลําดับ นอกจากนี้ผลการวิเคราะหคาปฏิกริยาของดินและคาการนําไฟฟาจําเพาะ บงชี้วาดินในแปลงทดลองมีคาเปนกรดเล็กนอย (pH 5.81) และปราศจากความเค็ม (EC=0.34 ds/m <0.4 ds/m) 3.1 ประสิทธิผลการใชน้ําของระบบเทปน้ําหยดในแปลงทดลอง

จากการเปรียบเทียบประสิทธิผลระหวางวิธีการใหน้ํา แบบเทปน้ําหยดกับวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก ในการทดลองปลูกพริกระดับแปลงสาธิตของเกษตรกรตนแบบ โดยทําการประเมินประสิทธิภาพการใชน้ําในแปลงทดลอง การเจริญเติบโตและผลผลิตของพริก รวมท้ังประมาณการคาใชจายและการคืนทุนเบื้องตน บงชี้วาวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดใหประสิทธิผลท่ีดีกวาการใหน้ําแบบรองคูเล็ก

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

31

3

Page 38: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

เนื่องจากวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยด สามารถประหยัดน้ําใหแกเกษตรกรในการปลูกพริก (พฤษภาคม-กันยายน 2560) และใชน้ํานอยกวาระบบรองคูเล็ก (ภาพท่ี 22) โดยอัตราการใหน้ําสําหรับการปลูกพริกแบบเทปน้ําหยดมีคาเฉลี่ย 11.04 ลบ.ม./ไร/crop (1 crop ≈ 5 เดือน) สวนอัตราการใหน้ําแบบรองคูเล็กมีคาเฉลี่ย 34.72 ลบ.ม./ไร/crop ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็กพบวา วิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดสามารถประหยัดน้ําเพ่ือการเกษตรลงไดถึงรอยละ 68.20 หรือประมาณ 3.14 เทา ตอไร/crop

ภาพท่ี 22 ปริมาณการใชน้ํา ระบบเทปน้ําหยด vs ระบบรองคูเล็ก

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

32

พฤษภาคม 2560 มิถุนายน 2560

กรกฎาคม 2560 สิงหาคม 2560

Page 39: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

3.2 ประสิทธิผลการเจริญเติบโตของพริกในแปลงทดลอง ในการประเมินการเจริญเติบโตและผลผลิตของพริก (ภาพท่ี 23)

โดยเปรียบเทียบวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดกับแบบรองคูเล็ก พบวาความสูงของตนพริกโดยวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยด เฉลี่ยท้ัง 6 แปลง มีคาสูงกวาวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็กประมาณรอยละ 25.15 และแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (P<0.05) ในทํานองเดียวกัน จํานวนใบพริกตอตนเฉลี่ยท้ัง 6 แปลงของวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยด พบวามีปริมาณใบพริกตอตนมากกวาวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็กประมาณรอยละ 121.10 และแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (P<0.05) หรือกลาวไดวามีปริมาณใบเฉลี่ยตอตนสูงกวา 1.2 เทา สําหรับดานผลผลิตพริกพบวาวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดใหผลผลิตพริก (นอกฤดู) ท่ีสูงกวาวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็กเฉลี่ย 2.3 เทา และเกษตรกรสามารถจําหนายไดราคาอยูในชวง 100-120 บาท/กิโลกรัม

ภาพท่ี 23 การเจริญเติบโตและผลผลิตของพริกในแปลงทดลอง การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัย

แลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม 33

Page 40: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

3.3 การประเมินเศรษฐศาสตรเบ้ืองตน เนื่องดวยปจจัยดานความคุมคาของการลงทุน ถือเปนปจจัยสําคัญ

ประการหนึ่งท่ีสงผลตอการตัดสินใจของเกษตรกร เพ่ือปรับใชเทคโนโลยีระบบชลประทานน้ําหยดอยางเปนรูปธรรม จากการประเมินเศรษฐศาสตรเบื้องตน ผลการวิเคราะหบงชี้วา วิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดใหผลตอบแทนท่ีคุมคากวาวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก ท้ังการปลูกพริกในฤดูและนอกฤดู โดยตนทุนการผลิตเฉลี่ยในรอบ 2 ป ของวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดมีคาประมาณ 12.65 บาท/กิโลกรัม-ผลผลิต ซ่ึงมีคาต่ํากวาวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก (23.10 บาท/กิโลกรัม-ผลผลิต) ประมาณ 1.83 เทา ขณะท่ีระยะเวลาในการคืนทุนเฉลี่ยของการปลูกพริก ท้ังในฤดูและนอกฤดูของวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยด มีคาประมาณ 0.19 ป สั้นกวาวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก (0.35 ป) ประมาณ 1.84 เทา

หากพิจารณาการคํานวณ ตนทุน-กําไร ตอไร/crop ของการปลูกพริก พบวาในปท่ี 1 ของการปลูก วิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดมีตนทุนในการผลิตเฉลี่ย 23,378 บาท/ไร/crop และมีกําไรในการผลิตเฉลี่ย 133,422 บาท/ไร/crop (กรณีราคาขายนอกฤดูท่ี 100 บาท/กิโลกรัม) หรือมีกําไรในการผลิตเฉลี่ย 55,022 บาท/ไร/crop (กรณีราคาขายในฤดูท่ี 50 บาท/กิโลกรัม) สวนในปท่ี 2 ของการปลูก วิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดมีตนทุนในการผลิตลดลงเฉลี่ย 15,900 บาท/ไร/crop สงผลใหมีกําไรในการผลิตเพ่ิมสูงข้ึนเฉลี่ย 140,900 บาท/ไร/crop (กรณีราคาขายนอกฤดูท่ี 100 บาท/กิโลกรัม) หรือมีกําไรในการผลิตเฉลี่ย 62,500 บาท/ไร/crop (กรณีราคาขายในฤดูท่ี 50 บาท/กิโลกรัม)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

34

Page 41: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

สําหรับวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก พบวาในปท่ี 1-2 ของการปลูกมีตนทุนในการผลิตเฉลี่ย 15,900 บาท/ไร/crop และมีกําไรในการผลิตเฉลี่ย 52,900 บาท/ไร/crop (กรณีราคาขายนอกฤดูท่ี 100 บาท/กิโลกรัม) หรือมีกําไรในการผลิตเฉลี่ย 18,500 บาท/ไร/crop (กรณีราคาขายในฤดูท่ี 50 บาท/กิโลกรัม)

จากขอมูลเชิงประจักษดังกลาวขางตน กลาวไดวา การประยุกตใชระบบเทปน้ําหยดเปนเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมสําหรับการปรับใช เพ่ือรับมือกับภัยแลงใหแกเกษตรกรออนใต วิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดลดปริมาณการสูญเสียน้ําในการเพาะปลูกอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะพ้ืนท่ีท่ีเปนดินทราย (แปลงสาธิต) เพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ําดานการเกษตรใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การเจริญเติบโตและการใหผลผลิตของพริกท่ีสูงกวาวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก ท้ังนี้ เนื่องจากวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็กไดสงผลใหเกิดการอัดตัวของดินท่ีแนนมากยิ่งข้ึน เม่ือระยะเวลาการใหน้ําผานไปนานข้ึน ดังนั้นสภาพดินท่ีแนนจึงสงผลเสียตอการเจริญเติบโตของพริกตามลําดับ นอกจากนี้ การประยุกตใชระบบเทปน้ําหยดในการเพาะปลูก ถือวาคุมคาตอการลงทุนและเปนการใชทรัพยากรน้ําอยางคุมคา สงผลใหเกษตรกรโดยเฉพาะพ้ืนท่ีประสบภัยแลงมีรายไดเพ่ิมสูงข้ึน เนื่องจากเกษตรกรสามารถปลูกพืชไดทุกฤดู และยังสามารถขายผลผลิตในราคาท่ีสูงชวงนอกฤดูได เปนตน

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

35

Page 42: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

3.4 ปจจัยการปรับใชเทคโนโลยี (เทปน้ําหยด) และการขยายผลของเกษตรกรออนใต

ในการวิจัยเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ พบวา ปจจัยท่ีนําไปสูการยกระดับความรูและการปรับใชเทคโนโลยีชลประทานน้ําหยด (เทปน้ําหยด) เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ําดานการเกษตร ในพ้ืนท่ีภัยแลงของเทศบาลตําบลออนใต มีดังนี้ 1) การรับความรูจากภายนอก และการเลือกสรรความรูสําหรับการประยุกตใช เชน การประยุกตใชระบบชลประทานน้ําหยดในการใหน้ําพืชของเกษตรกรตนแบบ ซ่ึงเปนการนําความรูและเทคโนโลยีท่ีเกษตรกรไดรับจากภายนอกมาเรียนรูผานการปฏิบัติจริง 2) การเปนบุคคลท่ีมีความมุงม่ันในการเรียนรู (เกษตรกรตนแบบ) โดยใชกระบวนการเตรียมความพรอมแบบมีสวนรวมกับเกษตรกรในการวางแผนงาน การคิดวิเคราะห การถายทอดความรู (ระบบเทปน้ําหยด) การปฏิบัติจริงระดับแปลงสาธิต รวมท้ังการ สังเกตและการซักถามในชวงการติดตามและประเมินผล เพ่ือใหเกษตรกรเกิดความตระหนักถึงการเรียนรูและเกิดการซึมซับความรูท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไปภายในตน 3) การทดลอง การทดสอบ และปฏิบัติรวมกัน เปนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริงอยางมีสวนรวม เพ่ือพิสูจนความรูใหมท่ีจะสามารถนําไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนไดจริงและเปนรูปธรรม เชน การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของระบบการใหน้ํา ระหวางวิธีการใหน้ําแบบชลประทานน้ําหยด (แบบเทปน้ําหยด) กับวิธีการใหน้ําแบบรองคูเล็ก (วิธีดั้งเดิมของเกษตรกร) ในการทดลองปลูกพริกระดับแปลงสาธิต

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

36

Page 43: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

4) การเชื่อมและการปรับใชความรูจากภายนอกเขากับภูมิปญญาดั้ง เดิมของเกษตรกร เปนการหาจุดเชื่อมระหวางภูมิปญญาดั้งเดิมกับความรูใหม ท่ีจะชวยใหเกษตรกรสามารถตอยอดความรูในการแกไขปญหาได เชน การประยุกตวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยด(เชิงเทคนิค) ควบคูไปกับกรรมวิธีการปลูกและดูแลแปลงพริกแบบดั้งเดิม 5) การจัดเก็บขอมูล เปนการจัดเก็บความรูใหเปนระบบเอกสารเพ่ือใหงายตอการเขาถึงความรู ซ่ึงความรูท่ีนํามาจัดการนั้นมีท้ังความรูท่ีเกิดจากการรับรูจากภายนอก ความรูท่ีฝงในตัวเกษตรกร และความรูท่ีผานการปฏิบัติรวมกัน เชน การบันทึกขอมูลในภาคสนามของเกษตรกรตนแบบ (ปริมาณการใชน้ํา การเจริญเติบโตของพริก ปริมาณผลผลิตพริก ปญหาและอุปสรรค แนวทางแกไข ขอสังเกต ฯลฯ) การจัดทําเอกสารรายงาน และการจัดทําคูมือ เปนตน 6) แหลงเรียนรูสําหรับบุคคลภายในและภายนอกชุมชน (เทศบาลตําบลออนใต) แปลงสาธิตการถายทอดความรูระบบเทปน้ําหยดในการปลูกพริกของเกษตรกรตนแบบ ถือเปนแหลงเรียนรูในการจัดการความรูเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม อันเปนประโยชนตอการขยายผลในวงกวาง รวมท้ังเปนการสรางเครือขายความรวมมือท้ังภายในและภายนอกชุมชนตามลําดับ

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

37

Page 44: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

จากผลสําเร็จในการวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในการประยุกตใชระบบเทปน้ําหยดระดับแปลงทดลองปลูกพริกโดยเกษตรกรตนแบบ (นายจํารัส วงษา) บานแมผาแหน เทศบาลตําบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม รวมท้ังการประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือถายทอดความรูและเทคโนโลยี กิจกรรมการถอดบทเรียนจากประสบการณตรงของเกษตรกรตนแบบ และการสาธิตในแปลงทดลอง พบวานําไปสูผลลัพธท้ังในแงของการยกระดับความรูและการเพ่ิมขีดความสามารถของเกษตรกร ในการรับมือกับภัยแลงดวยเทคโนโลยีใชน้ํานอย รวมถึงการขยายผลการปรับใชวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดอยางเปนรูปธรรม (ภาพท่ี 24) ซ่ึงครอบคลุมพ้ืนท่ีเทศบาลตําบลออนใต จํานวน 8 หมูบาน (หมู 1,4,5,6,7,8,9, และหมู 10) โดยมีเกษตรกรตนแบบ (นายจํารัส วงษา) บานแมผาแหน หมู 6 อาสาเปนผูถายทอดใหความรู และดําเนินการรวมกับกลุมเกษตรกรท่ีสนใจอยางครบวงจร

จากการติดตามการขยายผลของเกษตรกร (กุมภาพันธ 2561) จํานวน 6 ราย ซ่ึงกระจายอยู บานปง (หมู 8) จํานวน 2 ราย บานปาแงะ (หมู 4) จํานวน 2 ราย และ บานริมออน (หมู 5) จํานวน 2 ราย พบวาชนิดพืชท่ีปลูกมีความหลากหลาย ไดแก คะนาฮองกง ถ่ัวฝกยาว มะเขือ พริก และกะหล่ํา เปนตน นอกจากนี้การขยายผลการประยุกตใชวิธีการใหน้ําแบบเทปน้ําหยดในการเกษตร ยังกอใหเกิดผลลัพธทางบวกในมิติดานความม่ันคงอาหาร อาหารปลอดภัย รวมท้ังการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรผูสูงอายุ เนื่องจากประเด็นสําคัญท่ีเกษตรกรพึงพอใจ ไดแก การประหยัดน้ําในการเพาะปลูก การประหยัดแรงงาน การผอนแรงเกษตรกรผูสูงอายุ การประหยัดเวลา การสรางรายไดเสริม และการปลูกพืชผักปลอดสารสําหรับการบริโภคไดทุกฤดู เปนตน

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

38

Page 45: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 24 การขยายผลระบบเทปน้ําหยดพ้ืนท่ีเทศบาลตําบลออนใต

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

39

Page 46: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

ภาพท่ี 24 การขยายผลระบบเทปน้ําหยดพ้ืนท่ีเทศบาลตําบลออนใต (ตอ)

การวิจัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ํา:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

40

Page 47: คู มือการเพิ่มประสิทธิภาพการใ ...ระบบชลประทานน าหยด (drip irrigation) เป นเทคโนโลย

สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน)

การวจิัยเชิงปฏิบัติการชลประทานน้ําหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้าํ:กรณีศึกษาพ้ืนที่ภัยแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม

เอกสารอางอิง บัญจรตัน โจลานันท เกศสุดา สิทธิสันติกุล และ ปรารถนา ยศสุข. 2561. การวิจัยเชิง

ปฏิบัติการชลประทานนํ้าหยดแบบมีสวนรวมเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใชนํ้า: กรณีศึกษาพ้ืนท่ีภยัแลง เทศบาลตําบลออนใต จังหวัดเชียงใหม. รายงานการวิจยัฉบับสมบูรณ. สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน).

บัญจรตัน โจลานันท มนฤดี มวงรุง และ สิรินทรเทพ เตาประยรู. 2552. ความสามารถในการปรับตัวตอการเปลีย่นแปลงสภาพภมูิอากาศของชุมชนเกษตรกร: การประเมินฐานเศรษฐกิจครัวเรือนและทรัพยากร. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ.สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ.

บัญจรตัน โจลานันท เกศสุดา สิทธิสันติกุล และ ปรารถนา ยศสุข. 2557. การเพ่ิมประสิทธิภาพการจดัการนํ้าในการผลิตขาวเพ่ือรับมือตอภัยแลง: กรณีศึกษาเทศบาลตาํบลออนใต อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม. รายงานกิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนการวิจัย. สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ.

มนตรี ค้ําชู. 2531. หลักการชลประทานแบบหยด. ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน, คณะวิศวกรรมศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม.

วันชัย คุปวานิชพงษ. 2555. เอกสารประกอบคาํบรรยาย การออกแบบระบบใหนํ้าผานทอในงานวิจัยเกษตรวิศวกรรม. โครงการจัดการความรู สถาบันวิจัยเกษตรวิศวกรรม.

สํานักพัฒนาคุณภาพสินคาเกษตร. 2557. ระบบใหนํ้าพืช. ออนไลน: www.agriqua.doae.go.th. [สืบคนเมื่อ: ธันวาคม 2, 2557].