93
ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุล การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2560

โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

โดย

นายปกรณ ลาภสถาพรกุล

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ. 2560

Page 2: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com Website

By

Mr Pakorn Lapstapornkun

An Independent Study Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master Degree of Business Administration

Faculty of Business Administration KRIRK UNIVERSITY

2017

Page 3: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(1)

หัวขอการคนควาอิสระ ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมชื่อผูวิจัย นาย ปกรณ ลาภสถาพรกุลคณะ/มหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจ / มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ รองศาสตราจารย ดร.วิไลลักษณ รัตนเพียรธัมมะปการศึกษา 2560

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม เปรียบเทียบความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล เก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามกลุมตัวอยาง จํานวน 400 คน วิเคราะหขอมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา คือ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คา t-test, และ one way ANOVA ในกรณีพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติใชการทดสอบรายคูโดยวิธี Scheffe’

ผลการวิจัยพบวา ผูใชบริการสวนใหญจะใชบริการ 1 – 2 ครั้งตอสัปดาห โดยใชบริการเว็บไซตในชวงเย็น (16.00 – 19.00 น.) มากที่สุด โดยมีระยะเวลาการใช 1 – 2 ชั่วโมงตอครั้ง สถานที่ที่ใชบริการสวนใหญจะใชบริการเว็บไซตที่บาน โดยเขาใชงานเว็บไซตผานโทรศัพทมือถือ นอกจากนั้นยังพบวา สวนใหญรูจักเว็บไซต ไทย ดอท คอม จากการคนหาใน Google และเหตุผลที่ทําใหเขามาใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม คือ ตองการหางานใหม ในสวนของความพึงพอใจในการใชบริการ พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจดานคุณภาพของเนื้อหา และดานวัตถุประสงคของเว็บไซต มากที่สุด รองลงมาคือ ดานความสะดวกในการใช และที่นอยที่สุด คือ ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ เมื่อทําการเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการในกรุงเทพมหานคร โดยจําแนกตามปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการ พบวา เพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษาที่แตกตางกัน มีความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ 0.05

คําสําคัญ : พฤติกรรมการใชบริการ / ความพึงพอใจของผูใชบริการ / เว็บไซต ไทย ดอท คอม

Page 4: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

( 2 )

Independent Study Report Title: The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com Website Users Report’s Author: Pakorn LapstapornkunFaculty/ University: Faculty of Business Administration/ Krirk UniversityIndependent Study Report Advisor: Assoc. Prof. Dr. Wilailak RatanapeantammaAcademic Year: 2017

ABSTRACT

The objectives of this research were to 1) analyze the behavior and the satisfaction toward the use of the THAI-dot-com website, 2) compare the satisfaction toward the use of THAI-dot-com website of the users in Bangkok, classifying according to their personal background. The samples for this research were four hundred THAI-dot-com website users. The research tool was the questionnaire. The questionnaires were sent to these samples. The data received were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA, and Least Significant Difference (Scheffe’).

The results were: 1) the majority of the respondents accessed THAI-dot-com website 1-2 times/ week. They usually visited the website in the evening (16:00 -19:00 o’clock), and spent about one-two hours/visit. The majority of the respondents accessed the website from their home via mobile phones. Besides, it was found that the majority of them got acquainted with THAI-dot-com website by using Google. The main reason they using THAI-dot-com website was to search for the new job. In terms of their satisfaction toward the using of THAI-dot-com website, it revealed that the majority of the respondents were satisfied with the content quality and the purpose of the website at the highest level. Next on down were the accessibility of the website, and the least satisfaction was the website design and layout. 2) The results of the hypothetical testing revealed that the respondents who were from different gender, age group, occupation, and educational background had different level of satisfaction toward the use of THAI-dot-com website at statistical significance of 0.05.

Key Words : Using Behavior; User Satisfaction; THAI-Dot-Com Website

Page 5: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(3)

กิตติกรรมประกาศ

การคนควาอิสระเรื่อง ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ฉบับนี้สําเร็จลงไดดวยความกรุณาชวยเหลือและใหคําปรึกษาชี้แนะแนวทางการศึกษาที่เปนประโยชน รวมถึงการแกไขขอบกพรองตาง ๆ ในการศึกษาวิจัยอยางดียิ่งจาก รองศาสตราจารย ดร.วิไลลักษณ รัตนเพียรธัมมะ อาจารยที่ปรึกษา ที่ไดใหความกรุณาและเสียสละเวลาอันมีคาในการพิจารณาปรับปรุงใหการคนควาอิสระฉบับนี้มีความสมบูรณที่สุด รวมทั้งขอขอบพระคุณคณาจารยทุกทานที่ใหความรูใหคําแนะนํา และขอคิดเห็นที่เปนประโยชนตอการศึกษา รวมไปถึงผูตอบแบบสอบถามที่เสียสละเวลาอันมีคาตอบแบบสอบถามและขอเสนอแนะ อันเปนผลใหงานวิจัยมีความชัดเจนครบถวนสามารถนํามาประยุกตใชงานไดจริง

นอกจากนี้ผูวิจัยตองขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครอบครัว ญาติ และเพื่อนนักศึกษาของผูวิจัยทุกทานที่ใหการสนับสนุนเปนกําลังใจและความชวยเหลือแกผูวิจัยดวยดีเสมอมา หวังเปนอยางยิ่งวาการคนควาอิสระฉบับนี้จะกอใหเกิดประโยชนตอผูสนใจในเนื้อหาและการศึกษาคนควาตอไป และหากมีขอผิดพลาดประการใดผูวิจัยขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย

ปกรณ ลาภสถาพรกุล พ.ศ.2560

Page 6: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(4)

สารบัญ

หนาบทคัดยอ Abstract

(1) (2)

กิตติกรรมประกาศ (3)

สารบัญ (4)

สารบัญตาราง (6)

สารบัญแผนภาพ (9)

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคในการวิจัย 4

1.3 ขอบเขตของการวิจัย 4

1.4 นิยามศัพท 5

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior) 6

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ (Satisfaction Concept) 11

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับหลักการออกแบบเว็บไซต 17

2.4 ขอมูลเกี่ยวกับเว็บไซตไทย ดอท คอม 26

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 27

2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย 33

2.7 สมมติฐานการวิจัย 33

2.8 นิยามเชิงปฏิบัติการ 34บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย 35

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 35

3.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 36

Page 7: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(5)

สารบัญ(ตอ)

หนาบทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย (ตอ)

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 383.4 การวิเคราะหขอมูล 38

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 404.1 ขอมูลปจจัยสวนบุคคล ของกลุมตัวอยาง 404.2 พฤติกรรมการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม ของกลุมตัวอยาง 424.3 ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอมของผูใชบริการ 464.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน 51

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 655.1 สรุปผลการศึกษา 655.2 อภิปรายผลการศึกษา 675.3 ขอเสนอแนะ 70

บรรณานุกรม 73

ภาคผนวก 77แบบสอบถาม 78

ประวัติผูวิจัย 82

Page 8: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(6)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา2.1 ปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต 32

4.1 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ 40

4.2 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ 41

4.3 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอาชีพ 41

4.4 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา 424.5 จํานวนรอยละของความถี่ในการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม ภายใน

1 สัปดาห 424.6 จํานวนรอยละของชวงเวลาที่ใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม 434.7 จํานวนรอยละของระยะเวลาในการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอมในแตละครั้ง 434.8 จํานวนรอยละของสถานที่ที่ใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม 444.9 จํานวนรอยละของพฤติกรรมการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม ทานเขามาใช

บริการเว็บไซตไทย ดอท คอม อยางไร 444.10 จํานวนรอยละของชองทางที่ทําใหรูจักเว็บไซต 454.11 จํานวนรอยละเหตุผลในการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม 454.12 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ

เว็บไซตไทย ดอท คอมของผูใชบริการโดยรวม 464.13 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ

เว็บไซตไทย ดอท คอมของผูใชบริการ ดานคุณภาพของเนื้อหา 474.14 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ

เว็บไซตไทย ดอท คอมของผูใชบริการ ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ 484.15 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ

เว็บไซตไทย ดอท คอมของผูใชบริการ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต 494.16 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ

เว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการ ดานความสะดวกในการใช 504.17 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสถิติของการเปรียบเทียบความ

แตกตางความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอมจําแนกตามเพศ 51

Page 9: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(7)

สารบัญตาราง(ตอ)

ตารางที่ หนา4.18 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการ

เว็บไซต ไทย ดอท คอม จําแนกตามอายุ 524.19 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต

ไทย ดอท คอม จําแนกตามอายุ 534.20 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความ

พึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานคุณภาพของเนื้อหา จําแนกตามอายุ 54

4.21 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและคาสถิติของการเปรียบเทียบความแตกตาง ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม จําแนกตามอาชีพ ดานคุณภาพของเนื้อหา 55

4.22 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม จําแนกตามอาชีพ 56

4.23 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม จําแนกตามอาชีพ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต 57

4.24 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จําแนกตามอาชีพ ดานความสะดวกในการใช 58

4.25 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและคาสถิติของการเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม ดานคุณภาพของเนื้อหา จําแนกตามระดับการศึกษา 59

4.26 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จําแนกตามระดับการศึกษา 60

Page 10: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(8)

สารบัญตาราง(ตอ)

ตารางที่ หนา4.27 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความ

พึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานความสะดวกในการใช จําแนกตามระดับการศึกษา 61

4.28 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ จําแนกตามระดับการศึกษา 62

4.29 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต จําแนกตามระดับการศึกษา 62

4.30 ผลสรุปการทดสอบสมมติฐาน 63

Page 11: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

(9)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา1.1 หนาเว็บไซต ไทย ดอท คอม 3

2.1 หนาเว็บไซต ไทย ดอท คอม 262.2 กรอบแนวคิดการวิจัย 32

Page 12: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

1

บทที ่1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหาปจจุบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย นับวากําลังเจริญรุงเรืองโดยเฉพาะอยางยิ่ง

ดานปริมาณ โดยจากการศึกษาขอมูลในป 2559 ของกระทรวงศึกษาธิการ พบวา มีสถาบันระดับมหาวิทยาลัย จํานวนถึง 170 แหงกระจายอยูทั่วประเทศ จํานวนนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีประมาณ 2 ลานคน แยกเปนของสถาบันรัฐ 1.8 แสนคน และสถาบันเอกชน 2 หมื่นคน และระดับสูงกวาปริญญาตรีอีก 2 แสนคน รวมทั้งสิ้นมีนักศึกษาระดับอุดมศึกษา 2.2 ลานคน (ไมรวมอนุปริญญาหรือเทียบเทา) (กระทรวงแรงงาน, 2558) จากการขยายตัวโดยการเพิ่มปริมาณจํานวนของสถานศึกษาและการไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐในเรื่องของการขยายโอกาสทางดานการศึกษา ทําใหในแตละปประเทศไทยมีแรงงานที่จบการศึกษาในระดับการศึกษาตาง ๆ เขาสูทองตลาดมากยิ่งขึ้น สงผลทําใหประเทศไทยตองประสบกับปญหาการวางงานของผูที่จบการศึกษาระดับตาง ๆ ตั้งแต มัธยมศึกษา ปวช. ปวส. ปริญญาตรี จํานวนเพิ่มมากขึ้น

จากภาวการณที่จํานวนของผูจบการศึกษาที่เพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลทําใหจํานวนผูหางานมีมากขึ้น มีอัตราการแขงขันกันสูงขึ้นในเรื่องของการหางาน ทําใหขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของการรับสมัครงานของบริษัทตาง ๆ เปนสิ่งที่จําเปน และสําหรับผูที่รูขาวสารไดเร็วกวา ยอมมีขอไดเปรียบในเรื่องของโอกาสที่จะไดทํางานในตําแหนงงานที่ตนเองตองการไดรวดเร็วกวา สงผลใหปจจุบันมีการคิดคนบริการที่เอื้อประโยชนตอผูสมัครงาน และบริษัทที่ตองการรับสมัครงาน โดยทําการเปลี่ยนรูปแบบของการสมัครงาน และรับสมัครงานจากเดิมที่ตองสงจดหมายสมัครงานทางไปรษณีย หรือการเดินทางเขาไปสมัครงานที่บริษัทโดยตรง และการประกาศรับสมัครงานจากการติดปายรับสมัครงาน การลงประกาศรับสมัครงานในหนังสือพิมพ มาเปนการกรอกประวัติเพื่อสมัครงาน และการลงประกาศรับสมัครงานในเว็บไซตที่ใหบริการดานการจัดหางานโดยตาง ซึ่งชวยประหยัดเวลา และทรัพยากรไดมากขึ้น และสามารถรับและแจงขอมูลขาวสารไดอยางรวดเร็วมากขึ้นดวย

เว็บไซตรับสมัครงานในปจจุบันนั้น มีอยูหลากหลายเว็บไซตโดยสวนใหญมุงเนนบริการในการนําเสนองานที่เหมาะสมกับแตละบุคคล และนําขอมูลบุคคลทั่วไปที่ไดเขามาฝากประวัติของตนไวใหเจาของกิจการหรือธุรกิจตาง ๆ ไดคัดเลือกผูที่มีความเหมาะสมกับตําแหนงงานและติดตอเพื่อ

Page 13: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

2

นําเสนองานใหกับบุคคลนั้น ซึ่งชวยอํานวยความสะดวกใหกับคนทั้งสองฝายไดมีโอกาสไดงานที่เหมาะสมกับคน โดยแตละเว็บไซตนั้นก็จะมีรูปแบบที่แตกตางกันออกไปในการนําเสนองานในรูปแบบตาง ๆ โดยเว็บไซตยอดนิยมที่เปนที่รูจัก และนิยมใชงานกันอยางแพรหลาย ไดแก JOBTHAI JOBTOPGUN , JOBSDB , JOBTH และนอกจากเว็บไซตที่กลาวถึง ปจจุบันก็ยังมีเว็บไซตจัดหางานตาง ๆ เปดใหบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เพื่อรองรับความตองการใชงานของผูใชบริการที่มีจํานวนเพิ่มมากขึ้น โดยเว็บไซต ไทย ดอท คอม ก็ถือเปนอีกเว็บไซตหนึ่งที่ใหบริการในดานของการจัดหางาน และรับสมัครงาน โดยมีแนวคิดในการจัดทําเว็บไซตวา “ชวยคนไทยหางาน เขาเว็บเดียวจบครบทุกงาน” มีจุดประสงคในการจัดทําเว็บไซตเพื่อรวบรวมงานประเภทตาง ๆ คือ งานราชการ งานรัฐวิสาหกิจ และงานภาคเอกชน ซึ่งจะชวยอํานวยความสะดวกใหกับบัณฑิตจบใหมและบุคคลทั่วไปไดเขาถึงขอมูลตําแหนงงานที่มีอัตราวางอยูเปนจํานวนมาก ไดมีโอกาสไดพบกับงานที่มีความเหมาะสมกับแตละบุคคล โดยสามารถดูตําแหนงงานผานหนาเว็บไซตไดตลอดเวลา โดยที่หนาเว็บไซตไดทําการแยกประเภทงานเปน 2 สวน คืองานราชการและงานเอกชน ซึ่งชวยใหผูสมัครไดเขาไปดูตําแหนงงานในประเภทที่ตนสนใจ อีกทั้งสามารถฝากประวัติการศึกษาของตนเองและอัพเดทขอมูลประวัติการศึกษาไดตลอดเวลา เพื่อใหเจาของกิจการหรือธุรกิจตาง ๆ ไดเห็นขอมูลประวัติการศึกษาที่มีความถูกตองและเปนปจจุบัน ชวยเพิ่มโอกาสในการไดงานมากยิ่งขึ้น ในสวนของเจาของกิจการหรือธุรกิจตาง ๆ ที่มีความสนใจในการประชาสัมพันธตําแหนงงานของบริษัทตนเองนั้น ก็สามารถทําไดโดยการกรอกขอมูลกิจการหรือธุรกิจของตนผานทางหนาเว็บไซตเพื่อใหทางเว็บไซต ไทย ดอท คอม ตรวจสอบ หากมีตัวตนอยูจริงก็จะสามารถลงตําแหนงงานที่รับสมัครงานใหผูใชเว็บไซตสามารถสมัครงานได และในปจจุบันเว็บไซต ไทย ดอท คอม ก็ไดพัฒนาความสามารถตาง ๆ ของระบบเพื่อใหผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความสะดวกสบายและรองรับผูใชงานที่เพิ่มมากขึ้นเชน การอัพเดทงานใหมๆ อยูเสมอ มีระบบการแจงเตือนงานที่มีความเหมาะสมกับผูสมัครผานทางอีเมล การพัฒนาเว็บไซตใหงายตอการใชงาน การลดขั้นตอนการกรอกประวัติที่ยุงยากเพื่อใหผูสมัครสามารถกรอกขอมูลผานสมารทโฟนไดงายดายยิ่งขึ้น แตก็ยังคงความถูกตองครบถวนของขอมูลเปนตน เพื่อใหผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม เกิดความพึงพอใจในระดับสูงสุด

Page 14: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

3

แผนภาพที่ 1.1 หนาเว็บไซต ไทย ดอท คอม (ที่มา : https://www.Thai.com วันที่สืบคน 15 มิถุนายน 2560)

แตอยางไรก็ดี ถึงแมวาปจจุบันเว็บไซต ไทย ดอท คอม จะมีรูปแบบการใชงานที่ครอบคลุม และมีระบบการใชงานที่งายตอการเขาถึงและการใชบริการของผูใชบริการแลวก็ตาม เนื่องจากปจจุบันมีการแขงขันกันในเรื่องของการนําเสนอรูปแบบและบริการของเว็บไซตใหมีความแตกตาง เพื่อดึงดูดใหผูใชบริการตัดสินใจเลือกใชบริการที่เว็บไซตของตนเองใหไดมากที่สุด ดังนั้นจากสถานการณการแขงขันที่สูงสุด ประกอบกับอุดมการณในการจัดตั้งเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่ตองการชวยคนไทยหางาน เขาเว็บเดียวจบครบทุกงาน เพื่อจะชวยอํานวยความสะดวกใหกับบัณฑิตจบใหมและบุคคลทั่วไปไดเขาถึงขอมูลตําแหนงงานไดอยางรวดเร็ว จึงทําใหผูวิจัยมีความสนใจศึกษาถึงความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ซึ่งผลที่ไดรับจากการศึกษาจะมีประโยชนตอผูพัฒนาเว็บไซตในการนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาเว็บไซตใหสามารถใหบริการที่ตรงตามความตองการของผูใชบริการเว็บไซตมากขึ้น นอกจากนั้นยังจะเปนประโยชนตอผูใชบริการที่จะมีเว็บไซตที่มีคุณภาพ และมีคุณภาพของเนื้อหา ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และดานความสะดวกในการใช มากยิ่งขึ้นตอไป

1.2 วัตถุประสงคในการวิจัย1. เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการใน

กรุงเทพมหานคร

Page 15: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

4

2. เพื่อศึกษาถึงความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการในกรุงเทพมหานคร

3. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการในกรุงเทพมหานคร โดยจําแนกตามปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการ ประกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา

1.3 ขอบเขตของการวิจัยในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตในการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้1.3.1 ขอบเขตดานเนื้อหาการศึกษาครั้งนี้มุงศึกษาถึงพฤติกรรม และความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท

คอม ของผูใชบริการในกรุงเทพมหานคร และทําการเปรียบเทียบความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการในกรุงเทพมหานคร โดยจําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ประกอบดวย เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ทําการศึกษา 4 ดาน ไดแก 1. ดานคุณภาพของเนื้อหา 2. ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ 3. ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และ 4. ดานความสะดวกในการใช

1.3.2. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยางประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งเพศชายและ

เพศหญิงที่มีอายุตั้งแต 18 ป ขึ้นไป โดยจะตองเปนผูที่เคยใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม มาแลวไมต่ํากวา 1 ครั้ง

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยใชวิธีการคํานวณเพื่อหากลุมตัวอยาง (Sample Size) โดยใชสูตรไมทราบขนาดตัวอยางของ W.G. Cochran โดยกําหนดระดับคาความเชื่อมั่นรอยละ 95 และระดับคาความคลาดเคลื่อนรอยละ 5 (กัลยา วานิชยบัญชา, 2552, หนา 74) โดยจํานวนประชากรที่ไดจากการคํานวณ มีจํานวนทั้งสิ้น 400 คน

1.3.3. ขอบเขตดานพื้นที่ในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยเลือกศึกษากับประชาชนที่อาศัยในกรุงเทพมหานครเทานั้น เนื่องจาก

กรุงเทพมหานครเปนพื้นที่ที่เปนแหลงงานที่ใหญและมีความสําคัญของประเทศไทย และมีความหลากหลายของลักษณะทางประชากรของกลุมตัวอยางที่ตองการศึกษา ทั้งเรื่องของเพศ อายุ อาชีพ

Page 16: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

5

ระดับการศึกษา รายได ฯลฯ ซึ่งจะสงผลใหผลที่ไดจากการศึกษามีความนาเชื่อถือ และมีความละเอียดของขอมูลมากขึ้น สามารถนําไปใชเปนขอมูลอางอิงกับประชากรกลุมตาง ๆ ไดมากขึ้น

1.3.4. ขอบเขตดานเวลาการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ทําการศึกษาตั้งแต เดือนมีนาคม – เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2560 รวมระยะเวลา

ทั้งสิ้น 6 เดือน

1.4 นิยามศัพทพฤติกรรม หมายถึง ปฏิกิริยาของบุคคลที่เกี่ยวของโดยตรงกับการไดรับและใชสินคาและ

บริการ โดยจะรวมทั้งกระบวนการตาง ๆ ของการตัดสินใจของบุคคลที่เกิดกอน และเปนตัวกําหนดใหผูบริโภคเกิดปฏิกิริยาตาง ๆ เหลานั้น

ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่ตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งในเชิงบวก เนื่องจากสิ่งนั้น หรือเรื่องนั้นสามารถตอบสนองความตองการได

เว็บไซต ไทย ดอท คอม หมายถึง เว็บไซตที่ใหบริการในเรื่องของการฝากประวัติเพื่อหางาน หรือลงประกาศรับสมัครงาน ทั้งงานราชการ และเอกชน

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ1. แนวทางในการพัฒนาคุณภาพของเว็บไซต ไทย ดอท คอม ใหมีคุณภาพและคุณลักษณะที่

ตรงกับความตองการใชงานของผูใชบริการมากขึ้น เพื่อนําไปสูการสรางความพึงพอใจใหเกิดแกผูใชบริการเว็บไซตที่เพิ่มมากขึ้นตอไป

2. ผลของการศึกษาสามารถใชเปนแนวทางใหกับผูที่มีความสนใจที่จะทําการสรางเว็บไซตรับสมัครงาน หรือเว็บไซตเพื่อวัตถุประสงคอื่น ๆ เชน ขายสินคา แนะนําบริการ ฯลฯ ในการนําไปใชเปนแนวทางการออกแบบเว็บไซตใหมีรูปแบบและคุณสมบัติที่สามารถตอบสนองและสรางความพึงพอใจใหกับลูกคากลุมเปาหมายได

Page 17: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

6

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ผูวิจัยไดทําการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ และสามารถนําเสนอสรุปสาระสําคัญของแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ไดดังนี้

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior)2.2 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ (Satisfaction Concept)2.3 แนวคิดเกี่ยวกับหลักการออกแบบเว็บไซต2.4 ขอมูลเกี่ยวกับเว็บไซตไทย ดอท คอม2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัย2.7 สมมติฐานการวิจัย 2.8 นิยามเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค (Consumer Behavior)พฤติกรรมผูบริโภค คือ สิ่งที่ผูบริโภคแสดงออกในการคนหาขอมูล เลือกซื้อ เลือกใช สินคา

หรือบริการอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งถือวาเปนปจจัยสําคัญที่นักการตลาด และนักสื่อสารจะตองทําการศึกษา เพื่อนําขอมูลที่ไดมาใชในการวางแผนการตลาด และแผนการสื่อสารใหสอดคลองกับพฤติกรรมของผูบริโภคเพื่อใหผูบริโภคเกิดพฤติกรรมการเปดรับขาวสาร พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ พฤติกรรมการใชสินคาหรือบริการของตนเองใหไดมากขึ้น

2.1.1 ความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคจากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค พบวาไดมีนักวิชาการหลายทานให

ความหมายเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค ไวดังตอไปนี้อดุลย จาตุรงคกุล (2546, หนา 4) ใหความหมายของพฤติกรรมผูบริโภคไววา เปนปฏิกิริยา

ของบุคคลที่เกี่ยวของโดยตรงกับการไดรับและใชสินคาและบริการ โดยในทีนี้จะรวมทั้งกระบวนการ

Page 18: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

7

ตาง ๆ ของการตัดสินใจของบุคคลที่เกิดกอน และเปนตัวกําหนดใหผูบริโภคเกิดปฏิกิริยาตาง ๆ เหลานั้น

ในขณะที่ ศิริวรรณ เสรีรัตน (2550) กลาววา รูปแบบพฤติกรรมผูซื้อ (Consumer Behavior Model) เปนการศึกษาถึงเหตุจูงใจที่ทาใหเกิดการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ โดยมีจุดเริ่มตนจากการกระตุน (Stimulus) ที่ทําใหเกิดความตองการ สิ่งกระตุนผานเขามาในความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ ซึ่งเปรียบเสมือนกลองดาที่ผูผลิตหรือผูขายไมสามารถคาดคะเนได ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อจะไดรับอิทธิพลจากลักษณะตาง ๆของผูซื้อแลวจะมีการตอบสนองของผูซื้อ (Buyer’s Response) หรือการตัดสินใจของผูซื้อ (Buyer’s Purchase Decision) หรือเรียกโมเดลนี้วา S-R Theory:110-112) ซึ่งทฤษฎีนี้ประกอบดวย

1. สิ่งกระตุน (Stimulus) สิ่งกระตุนอาจเกิดขึ้นเองภายในรางกาย (Inside Stimulus) และสิ่งกระตุนจากภายนอก (Outside Stimulus) นักการตลาดจะตองสนใจและจัดสิ่งกระตุนภายนอกเพื่อใหผูบริโภคเกิดความตองการผลิตภัณฑ สิ่งกระตุนถือวาเปนเหตุจูงใจใหเกิดการซื้อสินคา (Buying Motive) สิ่งกระตนภายนอกประกอบดวย 2 สวน คือ สิ่งกระตุนทางการตลาด (Marketing Stimulus) เปนสิ่งกระตุนที่นักการตลาดสามารถควบคุมและตองจัดใหมีขึ้นเปนสิ่งกระตุนที่เกี่ยวของกับสวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) และสิ่งกระตุนอื่น ๆ (Other Stimulus) เปนสิ่งกระตุนความตองการผูบริโภคที่อยูภายนอกองคการซึ่งบริษัทควบคุมไมได สิ่งเหลานี้ ไดแก เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี เปนตน

2. ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ (Buyer’s Black Box) ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อเปรียบเทียบเหมือนกลองดํา (Black Box) ซึ่งผูผลิตและผูขายไมสามารถทราบได จึงตองพยายามคนหาความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อไดรับอิทธิพลจากลักษณะของผูซื้อ และกระบวนการตัดสินใจของผูซื้อ

3. การตอบสนองของผูซื้อ (Buyer’s Response) หรือการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคหรือผูซื้อ (Buyer’s Purchase Decision) ผูบริโภคจะมีการตัดสินใจในประเด็นตาง ๆ ไดแก การเลือกผลิตภัณฑ (Product Choice) การเลือกตราสินคา (Brand Choice) การเลือกผูขาย (Dealer Choice) การเลือกเวลาในการซื้อ (Purchase Timing) และการเลือกปริมาณการซื้อ (Purchase Amount)

กลาวโดยสรุป พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง พฤติกรรมการซื้อ การใช ความตองการ ประสบการณและความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอตราสินคาหรือบริการ โดยจะสามารถแบงผูบริโภคออกไดเปน 4 กลุม คือ ผูบริโภคที่มีความตองการสินคาหรือบริการ ผูบริโภคที่มีอํานาจในการซื้อสินคา ผูบริโภคที่มีพฤติกรรมในการซื้อ และผูบริโภคที่มีพฤติกรรมในการใชสินคา

Page 19: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

8

2.1.2 ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมผูบริโภคจากที่ไดกลาวไวแลวเบื้องตนวา บุคคลแตละบุคคลจะมีพฤติกรรมที่เรียกวา พฤติกรรม

ผูบริโภค แตกตางกันออกไป โดยจากการศึกษาขอมูลพบวาปจจัยที่ทําใหพฤติกรรมผูบริโภคแตกตางกันออกไปมีอยูดวยกันหลายปจจัย ดังนี้

สํานักบรรณสารและสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล (2013, ออนไลน) ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมผูบริโภค วามีอยูดวยกันหลายปจจัย โดยสามารถแบงแยกได 5 ปจจัยโดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

1. วัฒนธรรม หมายถึง สัญลักษณหรือสิ่งที่คนเราสรางขึ้นเพื่อเปนเครื่องกําหนดพฤติกรรมมนุษยใหอยูในระเบียบในสังคม โดยวัฒนธรรมจะเปนตัวที่กดดันใหคนในสังคมประพฤติปฏิบัติตาม เพราะหากไมปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑตาง ๆ ก็จะไมเปนที่ยอมรับของกลุมสังคมนั้น ๆ เปนตน

2. ชั้นของสังคม โดยในสังคมจะมีการแบงแยกบุคคลที่อยูรวมกันเปนจํานวนมากออกเปนกลุมตาง ๆ ในสังคม ซึ่งการแบงกลุมนี้สามารถแบงไดหลายวิธี เชน การแบงไปตามบทบาท หรือคานิยมในสังคม โดยสามารถแบงชั้นทางสังคมไดเปน 3 ระดับ คือ

2.1 สังคมชั้นสูง เปนกลุมคนที่มีรายไดสูง ชอบของใหมราคาแพง เปนครอบครัวที่มีฐานะร่ํารวย มีกําลังซื้อสูง ดังนั้นสินคาที่ผลิตขายใหคนกลุมนี้จะตองเปนสินคาแบบพิเศษ ใชวัสดุดี ผลิตจํานวนนอย แตจําหนายในราคาสูงเปนตน

2.2 สังคมชั้นกลาง เปนกลุมคนกลุมใหญที่สุดในสังคม โดยเปนสังคมของผูมีการศึกษาดี แตมีความเปนอยูที่ตองอดออมเพื่อสรางฐานะใหดีขึ้น ดังนั้นกลุมคนกลุมนี้จะมีการตัดสินใจซื้อดวยเหตุผลรอบคอบในการตัดสินใจซื้อสินคาอยางใดอยางหนึ่ง โดยเฉพาะสินคาที่มีราคาสูง ๆ เชน บาน หรือรถยนต เปนตน

2.3 สังคมชั้นต่ํา โดยกลุมคนนี้จะไดแก กลุมผูใชแรงงาน กรรมกร โดยจะเปนกลุมที่มีรายไดนอย จึงตองใชเงินอยางระมัดระวัง และมีการบริโภคคอนขางจํากัด

3. กลุมอางอิง หมายถึง กลุมสังคมแบบไมเปนทางการที่ผูบริโภคเขาไปมีสวนรวมดวย เชน กลุมเพื่อนรวมสถาบัน กลุมเพื่อนรวมงานสมาคม ชมรมตาง ๆ ซึ่งแตละกลุมก็จะมีทัศนคติ ความเชื่อ คานิยมคลายคลึงกันไปในแตละกลุม

4. ครอบครัว โดยจะประกอบไปดวยสมาชิกในครอบครัว เชน พอ แม ลูก ปู ยา ตา ยาย ฯลฯ ซึ่งกลุมคนเหลานี้จะมีอิทธิพลตอการตัดสินใจในการเลือกซื้อ โดยสวนมากเด็กจะเลียนแบบบุคลิกลักษณะจากพอ แม หรือบุคคลตาง ๆ ในครอบครัว เปนตน

Page 20: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

9

5. ปจจัยสวนบุคคล โดยปจจัยสวนบุคคลจะมีความสําคัญมาก เพราะเปนจุดใหญที่แสดงใหเห็นความแตกตางระหวางบุคคลวามีผลมาจากอะไร โดยปจจัยสวนบุคคลมีอยูดวยกันหลายปจจัย ดังนี้

5.1 ความตองการ คือ ความตองการทางดานรางกาย ความตองการความปลอดภัย ความตองการความรักและความเปนเจาของ ความตองการความยอมรับนับถือจากกลุม และความตองการความสําเร็จในชีวิต

5.2 แรงจูงใจ หมายถึง แรงจูงใจในการซื้อ โดยสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะ คือ แรงจูงใจทางเศรษฐกิจ คือ เงิน รายได อายุการใชงาน และอีกหนึ่งลักษณะ คือ แรงจูงใจทางอารมณ คือ ความภาคภูมิใจ และความมั่นใจ เปนตน

5.3 การรับรู คือ การยอมรับในสิ่งเราภายในของตนเอง ภายใตประสบการณของตนเอง และบุคลิกลักษณะที่ตนเองมีอยู

5.4 การเรียนรู หมายถึง การแสวงหาความรู ความชํานาญโดยการศึกษาคนควาจากแหลงขาวสารตาง ๆ เพื่อทําใหไดรับประสบการณ ความรู ซึ่งจะนํามาสูความเชื่อ และสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตอไป

5.5 ทัศนคติ คือ ความคิดเห็นตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งของบุคคล ซึ่งถูกสรางโดยประสบการณจากอดีต หรือความสัมพันธกับกลุมบุคคลที่เกี่ยวของดวย

5.6 บุคลิกภาพ หมายถึง ทาที ภาพลักษณของบุคคลแตละบุคคล ซึ่งเกิดจากความ สั่งสมประสบการณ ภูมิหลังทางวัฒนธรรม ศาสนา สังคม การศึกษา อาชีพ รายได ซึ่งปจจัยตาง ๆ เหลานี้มีอิทธิพลตอการซื้อสินคาทั้งสิ้น

กลาวโดยสรุป ปจจัยที่ทําใหพฤติกรรมของผูบริโภคแตกตางกันออกไปจะประกอบไปดวย ปจจัยตาง ๆ โดยปจจัยที่สําคัญ คือ ลักษณะทางประชากร สภาพแวดลอมทางสังคมที่เปนกลุมอางอิงหรือเปนตัวกําหนดพฤติกรรมของบุคคล และปจจัยภายในของบุคคลแตละบุคคล เชน ทัศนคติ บุคลิกภาพ ความรู ความตองการ เปนตน

2.1.3 การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค (Analyzing Consumer Behavior)จากที่ไดกลาวไปขางตนแลววา พฤติกรรมผูบริโภคมีความสําคัญมากในดานของการตลาด

ดังนั้นนักการตลาดจึงตองใหความสําคัญและทําความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคของผูบริโภคกลุมเปาหมายของตนเอง โดยจากการศึกษาขอมูลพบวา มีนักวิชาการเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค (Analyzing Consumer Behavior) ไวดังนี้

Page 21: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

10

Kolter (2012) กลาววา การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค (Analyzing Consumer Behavior) เปนการคนหาหรือวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค เปนการศึกษาเพื่อใหทราบถึงลักษณะความตองการและพฤติกรรมการซื้อ การใช การเลือกบริการ แนวคิด หรือประสบการณที่จะทําใหผูบริโภคเกิดความพึงพอใจในตัวผลิตภัณฑ ซึ่งคําตอบที่ไดจะชวยใหผูผลิตสินคาสามารถนํามากําหนดกลยุทธการตลาดที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจของผูบริโภคไดอยางเหมาะสม โดยคําถามที่ใชคนหาลักษณะพฤติกรรมการเลือกซื้อผูบริโภค คือ 6Wsและ 1H ซึ่งประกอบดวย Who, What, Why, When Where และ How โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

1. ใครอยูในตลาดเปาหมาย (Who is in the target market?) เปนคําถามเพื่อทราบถึงลักษณะของกลุมเปาหมาย (Occupants) โดยอาศัยเกณฑในการแบงสวนตลาด 4 ดาน เพื่อนําไปใชในการกําหนดกลยุทธการตลาดซึ่งไดแก ดานประชากร ดานภูมิศาสตร ดานจิตวิทยา และดานพฤติกรรมศาสตร

2. ผูบริโภคซื้ออะไร (What does the consumer buy?) เปนคําถามเพื่อทราบถึงสิ่งที่ตลาดตองการผลิตภัณฑ (Objects) ซึ่งเปนการกําหนดสิ่งที่ผูบริโภคตองการโดยอาศัยองคประกอบของผลิตภัณฑ (Product Component) เชน รูปแบบ ตราสินคา บริการ คุณภาพ การบรรจุภัณฑ หรือ ลักษณะนวัตกรรม เปนตน และความแตกตางที่เหนือกวาคูแขงขัน (Competitive Differentiation)เชน การบริการพนักงานและภาพลักษณเปนตน

3. ทําไมผูบริโภคจึงซื้อ (Why does the consumer buy?) เปนคําถามเพื่อทําใหทราบถึงวัตถุประสงคในการซื้อ (Objectives) ผลิตภัณฑของผูบริโภค

4. ใครมีสวนรวมในการเลือกตัดสินใจซื้อ (Who participates in buying?) เปนคําถามเพื่อทําใหทราบถึง วาใครบางที่เปนผูที่มีบทบาท หรือมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑของผูบริโภค ซึ่งประกอบดวยไป ผูริเริ่ม ผูมีอิทธิพล ผูตัดสินใจ ผูซื้อ และผูใชผลิตภัณฑ

5. ผูบริโภคซื้อเมื่อใด (When does the consumer buy?) เปนคําถามเพื่อทําใหทราบถึงโอกาสในการซื้อ (Occasions) ผลิตภัณฑของผูบริโภค เชน ผูบริโภคจะซื้อผลิตภัณฑในชวงเวลาใด ชวงเทศกาลใด เปนตน

6. ผูบริโภคซื้อที่ไหน (Where does the consumer buy?) เปนคําถามเพื่อใหทราบถึงชองทางหรือแหลงที่ผูบริโภคไปซื้อหรือใชบริการ เพื่อนําไปใชกําหนดกลยุทธชองทางการจัดจําหนายผลิตภัณฑ เพื่ออํานวยความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑใหกับผูบริโภค

Page 22: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

11

7. ผูบริโภคซื้ออยางไร (How does the consumer buy?) เปนคําถามเพื่อใหทราบถึงขั้นตอนการเลือกตัดสินใจซื้อหรือกระบวนการซื้อ (Operation) ของผูบริโภค ซึ่งประกอบไปดวย การรับรูปญหาการคนหาขอมูล การประเมิลผลทางการเลือก การตัดสินใจซื้อ และความรูภายหลังการซื้อ

กลาวโดยสรุปดังที่ไดกลาวมาขางตนวา พฤติกรรมของผูบริโภค คือ พฤติกรรมในเรื่องของความตองการ การซื้อ การใช รวมถึงความพึงพอใจของผูบริโภค ซึ่งหากตองการทราบถึงพฤติกรรมของผูบริโภคจะตองทําการวิเคราะห โดยมีประเด็นคําถามผูบริโภค คือ 6Wsและ 1H ซึ่งประกอบดวย Who, What, Why, When Where และ How

จากแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค สามารถกลาวโดยสรุปไดวา พฤติกรรมผูบริโภคจะหมายถึง ความตองการ การซื้อ การใช ความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอตราสินคา โดยบุคคล แตละบุคคลจะมีพฤติกรรมผูบริโภคแตกตางกันออกไป โดยปจจัยที่ทําใหพฤติกรรมผูบริโภคแตกตางกันมีอยูดวยกันหลายปจจัย เชน การอบรมเลี้ยงดู สภาพแวดลอม บุคลิกภาพของบุคคลนั้น ๆ รวมถึงเรื่องของสภาพสังคม กลุมอางอิงที่มีอิทธิพลตอความคิด อาชีพ รายไดของบุคคลนั้น ๆ เปนตน ซึ่งพฤติกรรมผูบริโภคนั้นเปนสิ่งสําคัญที่ผูผลิตสินคาหรือผูใหบริการตองทราบ เพื่อที่จะนําไปปรับใชเพื่อการวางแผนการผลิตสินคา และการบริการเพื่อสามารถเขาถึงกลุมเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะนําไปสูการเพิ่มความพึงพอใจของผูบริโภคและผูใชบริการที่เพิ่มมากขึ้นไดตอไป

2.2 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ (Satisfaction Concept)ความพึงพอใจ หมายถึง การที่บุคคลรูสึกวาความตองการของตนเองไดรับการตอบสนอง

โดยจากการศึกษาขอมูลแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ พบวาไดมีนักวิชาการหลายทานใหความหมายของความพึงพอใจไวดังนี้

2.2.1 ความหมายของความพึงพอใจพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542, หนา 775) ไดใหความหมายของความพึงพอใจ ไววา

ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกพอใจ ชอบใจ พฤติกรรมที่เกี่ยวกับความพึงพอใจของมนุษย นั่นก็คือ ความพยายามที่จะขจัดความตึงเครียด ความกระวนกระวาย หรือภาวะไมไดดุลยภาพในรางกาย ซึ่งเมื่อมนุษยสามารถขจัดสิ่งตาง ๆ ดังกลาวได มนุษยยอมไดรับความพึงพอใจในสิ่งที่ตนตองการ

Page 23: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

12

อุทัยพรรณ สุดใจ (2555, หนา 7) กลาววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยอาจจะเปนไปในเชิงประเมินคาวาความรูสึก หรือทัศนคติตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้นเปนไปในทางบวกหรือทางลบ

สุภาลักษณ ชัยอนันต (2550, หนา 17) ไดใหความหมายของความพึงพอใจไววา ความพึงพอใจเปนความรูสึกสวนตัวที่เปนความรูสึกเปนสุข หรือความยินดีที่ความตองการของตนเองไดรับการตอบสนอง ซึ่งความพึงพอใจเปนสิ่งที่กําหนดพฤติกรรมที่จะแสดงออกของบุคคล ในการเลือกที่จะปฏิบัติกิจกรรมใด ๆของบุคคล

Campbell (1976, หนา 117-124) กลาววา ความพึงพอใจเปนความรูสึกภายในที่แตละคนเปรียบเทียบระหวางความคิดเห็นตอสภาพการณที่อยากใหเปนหรือคาดหวัง หรือรูสึกวาสมควรจะไดรับ ผลที่ไดจะเปนความพึงพอใจหรือไมพึงพอใจเปนการตัดสินของแตละบุคคล

Donabedian (1980) กลาววา ความพึงพอใจของผูรับบริการ หมายถึง ผูบริการประสบความสําเร็จในการทําใหสมดุลระหวางสิ่งที่ผูรับบริการใหคากับความคาดหวังของผูรับบริการ และประสบการณนั้นเปนไปตามความคาดหวัง

สมยศ นาวีการ (2555) กลาววา ความพึงพอใจการติดตอสื่อสารจะเกิดขึ้นเราอาจจะรูสึกตองการขาวสารบางอยางหรือเสนอขาวสารตามแนวทางบางอยางของเรา เมื่อขาวสารถูกสื่อสารตามแนวทางที่สอดคลองกับความรูสึกของเรา เราจะมีความพึงพอใจการติดตอสื่อสาร โดยแนวคําถามเพื่อวัดปจจัยที่สรางความพึงพอใจในการติดตอสื่อสารในองคกรประกอบไปดวยลักษณะที่แตกตางกันไป 5 ประการ ดังตอไปนี้

1. ความพึงพอใจในความเพียงพอของขาวสาร ปจจัยดังกลาวประกอบดวย ระดับความพึงพอใจขาวสารเกี่ยวกับจํานวน ความถูกตอง และตอเนื่องของขาวสารที่ได

2. ความพึงพอใจความสามารถเสนอแนะ ปรับปรุงใหดีขึ้นของบุคคล ปจจัยดังกลาวนี้ประกอบดวย สิ่งตาง ๆ เชน สถานที่ของการติดตอสื่อสารควรจะถูกปรับปรุงใหดีขึ้น และกลยุทธที่ใชในการเปลี่ยนแปลงความพึงพอใจ ประเภทของการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงถูกดําเนินการอยางไร

3. ความพึงพอใจความมีประสิทธิภาพของชองทางการติดตอสื่อสารตาง ๆ ปจจัยดังกลาวนี้ ประกอบดวย วิธีการเผยแพรขาวสารภายในองคกร

4. ความพึงพอใจคุณภาพของสื่อกลาง ปจจัยดังกลาว ไดแก เอกสารลายลักษณอักษรใชถอยคําดี คุณคาของขาวสารที่ไดรับและการมาถึงของขาวสารอยางทันทวงที

Page 24: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

13

5. ความพึงพอใจวิธีการติดตอสื่อสารกับเพื่อนรวมงาน ปจจัยดังกลาวนี้ประกอบดวยการติดตอสื่อสารตามแนวนอน การติดตอสื่อสารที่ไมเปนทางการ และระดับความพึงพอใจที่ไดรับจากการอภิปราย และการไดรับขาวสารจากเพื่อนรวมงาน

จากความหมายของความพึงพอใจที่ไดกลาวมาทั้งหมด สามารถสรุปไดวา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกของบุคคลที่เปนทัศนคติเชิงบวกตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งความพึงพอใจจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อความตองการของบุคคลนั้น ๆ ไดรับการตอบสนอง แตหากไมไดรับการตอบสนองความพึงพอใจก็จะลดนอยลงตามลําดับ

2.2.2 ระดับของความพึงพอใจตามที่ไดกลาวมาแลววา ความพึงพอใจนั้นเปนสิ่งที่เปนนามธรรม ไมสามารถมองเห็นไดดวย

ตาเปลา จึงตองอาศัยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงตอสิ่งตาง ๆ เพื่อนํามาวัดความพึงพอใจ ซึ่งจากการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับการวัดระดับความพึงพอใจนั้นโดยจากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการวัดระดับความพึงพอใจ พบวามีนักวิชาการหลายทานเสนอแนวคิดเกี่ยวกับระดับของความพึงพอใจ และวิธีการวัดระดับความพึงพอใจไวดังนี้

อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ (2548, หนา 177) กลาววา ความพึงพอใจของผูบริโภคนั้นสามารถแบงออกไดเปน 2 ระดับดวยกัน คือ

1. ความพึงพอใจที่ตรงกับความคาดหวัง เปนสิ่งที่ผูผลิตสินคาจะตองจัดใหผลิตภัณฑ หรือบริการของตนเองมีคุณสมบัติตาง ๆ ตามความคาดหวังของผูบริโภค และระวังไมใหเกิดคุณสมบัติที่ต่ํากวาความคาดหวังของผูบริโภค เพื่อใหผูบริโภครูสึกยินดีและมีความสุขตอการใชสินคาหรือบริการของตน

2. ความพึงพอใจที่เกินความคาดหวัง เปนสิ่งที่ผูผลิตสินคามุงหวังที่จะสรางความพึงพอใจใหมีเกินกวาความคาดหวังของผูรับบริโภค ทั้งนี้ก็เพื่อใหผูบริโภคมีความรูสึกปลาบปลื้มใจ หรือประทับใจในผลิตภัณฑหรือบริการ โดยเปนความพึงพอใจที่เกินความคาดหวังที่ตั้งใจไว

ซึ่งสอดคลองกับ สมิต สัชฌุกร (2552, หนา 18) ที่กลาววา ระดับความพึงพอใจของผูรับบริการ สามารถแบงออกเปน 2 ระดับ คือ

ระดับที่ 1 ความพึงพอใจที่ตรงกับความคาดหวัง เปนการแสดงความรูสึกยินดีมีความสุขของผูรับบริการ เมื่อไดรับการบริการที่ตรงกับความคาดหวังที่มีอยู

Page 25: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

14

ระดับที่ 2 ความพึงพอใจที่เกินความคาดหวัง เปนการแสดงความรูสึกปลาบปลื้มใจหรือประทับใจของผูรับบริการ เมื่อไดรับการบริการที่เกินความคาดหวังที่มีอยู

จากระดับความพึงพอใจที่ไดกลาวมาขางตน สามารถสรุปไดวา ความพึงพอใจสามารถแบงไดเปน 2 ระดับ คือความพึงพอใจที่ไดรับจากสินคาหรือบริการที่สมกับความคาดหมาย และความพึงพอใจที่ไดรับจากสินคาหรือบริการที่เกินความคาดหมาย ซึ่งผูผลิตสินคาจะตองทําการรักษาความพึงพอใจที่ตรงกับความคาดหวังไว และตองพยายามสรางความพึงพอใจที่เกินความคาดหวังใหเกิดขึ้นกับผูบริโภคตอไป โดยความพึงพอใจนี้สามารถเกิดขึ้นไดโดยจะตองอาศัยองคประกอบเปนสําคัญ

2.2.3 องคประกอบของความพึงพอใจความพึงพอใจนั้น ถือเปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของบุคคลซึ่งไมสามารถมองเห็นไดอยาง

เปนรูปธรรม ซึ่งถึงแมวาความพึงพอใจจะเปนสิ่งที่วัดไมไดแตก็สามารถวัดระดับของความพึงพอใจได และจากการศึกษาขอมูลเพิ่มเติมยังพบวา ความพึงพอใจจะประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ ซึ่งนักวิชาการหลายทานไดกลาวถึง องคประกอบของความพึงพอใจไวดังนี้

Roland, T. R, Anthony, J. Z., & Timothy, L. K. (1996, หนา 88) กลาววา องคประกอบของความพึงพอใจของผูบริโภคจะประกอบไปดวยองคประกอบ 3 ประการ คือ

1. คุณภาพของสินคาหรือบริการ หมายถึง การประเมินคุณภาพของสินคาหรือบริการ อันเปนผลจากการใชสินคาหรือบริการในปจจุบัน หรือผลสะสมจากประสบการณในการใชสินคาและบริการโดยคุณภาพของสินคาและบริการที่ผูบริโภคไดรับนั้นจะสงผลโดยตรงตอความพึงพอใจของผูบริโภค โดยคุณภาพของสินคาและบริการที่ผูบริโภคไดรับนั้นขึ้นอยูกับองคประกอบสองประการ คือ

1.1ระดับความเฉพาะเจาะจง (Customize) ของสินคาหรือบริการที่มีอยู เพื่อตอบสนองความตองการในแตละดานของผูบริโภคที่มีความหลากหลายและแตกตางกัน

1.2 ระดับของความนาเชื่อถือ (Reliability) ของสินคาและบริการ ซึ่งขึ้นอยูกับระดับของความเชื่อถือไดความเปนมาตรฐานและปราศจากความบกพรองตาง ๆ ของสินคาที่นําเสนอ

2. คุณคาของสินคาหรือบริการที่ผูบริโภคไดรับ (Perceived Value) หมายถึง ระดับของการรับรูในเชิงเปรียบเทียบ โดยเปนการเปรียบเทียบระหวางคุณภาพของสินคาหรือบริการที่ไดรับกับราคาสินคานั้น ๆ ซึ่งปจจัยดังกลาวจะเปนปจจัยที่ชวยบงชี้ใหเห็นถึงความแตกตางของสินคาหรือบริการตาง ๆ ได ซึ่งมีขอดีในการที่ผูบริโภคจะนําขอมูลของสินคาหรือบริการหลาย ๆ ตราสินคา มาเปรียบเทียบกัน

Page 26: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

15

เพื่อตัดสินใจเลือกซื้อสินคาหรือบริการนั้น ๆ ใหเหมาะสมและตรงกับความตองการของตนเองมากที่สุด

3. ความคาดหวังของผูบริโภค (Customer Expectation) ความคาดหวังของผูบริโภคนี้เปนสิ่งที่เปนทั้งประสบการณในการรับรูขาวสารตาง ๆ เกี่ยวกับสินคาหรือบริการจากแหลงตาง ๆ เชน การโฆษณา หรือการบอกตอ และจากการคาดหวังของผูบริโภค รวมทั้งความคาดหวังของผูบริโภคที่มีตอคุณภาพของสินคาหรือบริการวาจะสามารถสรางความพึงพอใจแกตนเองไดมากนอยเพียงใด โดยความคาดหวังนี้จะมีความสัมพันธโดยตรงกับคุณภาพที่สามารถสรางความพึงพอใจแกผูบริโภคได ซึ่งความหวังนี้จะมีความสัมพันธโดยตรงกับคุณภาพของสินคาหรือบริการ (Perceived Quality) และคุณคาของสินคาหรือบริการ (Perceived Valued)

กลาวโดยสรุปองคประกอบของความพึงพอใจจะประกอบไปดวย 3 องคประกอบที่ผูผลิตสินคาจําเปนที่จะตองทําความเขาใจและใหความสําคัญ เพื่อที่จะสามารถสรางความพึงพอใจของผูบริโภคใหเกิดกับตราสินคาของตนเอง โดยองคประกอบของความพึงพอใจอาจแบงไดดังนี้ คุณภาพของสินคาหรือบริการ คุณคาของสินคาหรือบริการที่ผูบริโภคไดรับ (Perceived Value) และความคาดหวังของผูบริโภค (Customer Expectation)

2.2.4 แนวทางการวัดความพึงพอใจดังที่ไดกลาวมาแลวขางตนวา ผูผลิตสินคาหรือบริการมีความจําเปนที่จะตองใหความสําคัญ

ในเรื่องของความพึงพอใจของผูบริโภคที่มีตอตราสินคาของตนเอง และการที่จะทําใหทราบวาผูบริโภคมีความพึงพอใจมากนอยเพียงใดนั้น จะสามารถทราบไดดวยการวัดความพึงพอใจของผูบริโภคซึ่งจากการศึกษาขอมูลพบวา วิธีในการวัดความพึงใจของผูบริโภคสามารถทําได ดังนี้

วิทวัส รุงเรืองผล (2553, หนา 125) กลาววา คาของความพึงพอใจในสินคาและบริการนั้นสามารถวัดไดเปนหนวย “ยูทิล” โดยแนวทางในการวัดความพึงพอใจออกมาเปนหนวยยูทิล มีดังนี้

1. ตองกําหนดวัตถุประสงคใหชัดเจนวาตองการประเมินไปเพื่อประโยชนอะไร เชน หากตองการเพียงเพื่อทราบความพึงพอใจในสถานการณปจจุบัน เพื่อนําขอมูลมาใชในการตัดสินใจในประเด็นใดประเด็นหนึ่งโดยเฉพาะ ในการวัดความพึงพอใจนั้นก็ไมจําเปนตองคํานึงถึงการวางกรอบการวัดอยางตอเนื่อง โดยสามารถทําเปนวิจัยเพื่อเก็บขอมูลไดเลย

2. ทําการกําหนดปจจัยที่จะใชวัดความพึงพอใจ โดยผูวัดจะตองทําการกําหนดวาจะใชปจจัยใดบางมาเปนตัวชี้วัดคะแนนความพึงพอใจโดยรวม และควรใหนํ้าหนักในแตละปจจัยเทาใด การไดมา

Page 27: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

16

ซึ่งปจจัยที่จะใชเปนตัวชี้วัดเปนขั้นตอนที่ตองอาศัยความรวมมือจากหลายฝายและควรทําการทดสอบปจจัยเหลานี้กอนที่จะนํามาใชในการประเมินจริงเพื่อใหแนใจวา ปจจัยที่กําหนดนั้นไมซํ้าซอนกันเกินไปหรือยังขาดปจจัยสําคัญตัวใดตัวหนึ่งไป เปนตน

3. กําหนดเกณฑที่ใชในการวัด ซึ่งโดยปกติแลวในการวัดจะใช Likert Scale ดวยการใหคะแนนความพึงพอใจ แตละปจจัยจาก 1 ถึง 5 โดย 5 คือ พอใจมากที่สุด 4 คือ พอใจมาก 3 คือ พอใจปานกลาง 2 คือพอใจนอย และ 1 คือพอใจนอยที่สุด เนื่องจากชวงหางของคะแนน 5 ระดับ ก็เพียงพอที่จะแสดงคาความพึงพอใจที่แตกตางกันของลูกคาได แตก็ไมกวางมากจนความเห็นที่ผิดแปลกในลักษณะที่ใหคะแนนสูงหรือตํ่าเกินไป

4. กําหนดวิธีการวัดความพึงพอใจ ในขั้นนี้คือขั้นของการทําวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่ตองกําหนดวิธีการสุมตัวอยางในเชิงสถิติ เพื่อใหเกิดการกระจายตัวของลูกคาที่สุมมาทําการวัดความพึงพอใจ รวมถึงการกําหนดขนาดของตัวอยางที่ใชในการวัดวาควรมีจํานวนเทาไร โดยอาศัยเทคนิคการวิจัย

กลาวโดยสรุปวิธีการวัดความพึงพอใจนั้นจะสามารถวัดออกมาไดในหนวยของ “ยูทิล” โดยจะมีหลักในการวัด 4 ขั้นตอน คือ ตองกําหนดวัตถุประสงคที่จะตองการวัด จากนั้นทําการกําหนดวาจะวัดความพึงพอใจในปจจัยใดบาง เชน ปจจัยทางดานการตลาด เปนตน เมื่อไดวัตถุประสงคและปจจัยแลวทําการกําหนดเกณฑเพื่อแปลผลความพึงพอใจ โดยสวนใหญจะใชเกณฑการแปลผลของ Likert scale จากนั้นทําการกําหนดวิธีการวัดความพึงพอใจ หรือขั้นของการทําวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่ตองกําหนดวิธีการสุมตัวอยางในเชิงสถิติเพื่อใหเกิดการกระจายตัวของลูกคาที่สุมมาทําการวัดความพึงพอใจ

จากแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจที่ไดกลาวมาทั้งหมดสามารถสรุปไดวา ความพึงพอใจจะหมายถึง ความรูสึกมีความสุข หรือมีความยินดีเมื่อความตองการของตนเองไดรับการตอบสนอง โดยความพึงพอใจสามารถแบงไดออกเปน 2 ระดับ คือ ความพึงพอใจที่ตรงกับความคาดหวัง และความพึงพอใจที่เกินความคาดหวัง โดยจะสามารถวัดระดับความพึงพอใจไดดวยการทําการศึกษาวิจัย โดยมีการกําหนดวัตถุประสงคและปจจัยที่ตองการศึกษา กําหนดเกณฑของความพึงพอใจ และทําการกําหนดระเบียบวิธีวิจัยวาจะทําการวิจัยออกมาในรูปแบบใด เปนเชิงปริมาณ หรือคุณภาพ โดยผลที่ไดจะทําใหผูผลิตสินคา หรือผูใหบริการทราบวา ผูบริโภคมีความพึงพอใจตอตราสินคาหรือบริการของตนเองมากนอยเพียงใด และอยางไร

Page 28: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

17

จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจที่ไดกลาวมา ผูวิจัยจึงนําแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ และการวัดระดับความพึงพอใจ มาใชเปนกรอบแนวคิดในการศึกษาความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการในเขตกรุงเทพมหานคร โดยประเด็นคําถามที่ใชในการศึกษาพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ผูวิจัยจะขอนําเสนอในลําดับตอไป คือ หลักและสวนประกอบของเว็บไซต

2.3 แนวคิดเกี่ยวกับหลักการออกแบบเว็บไซตในยุคปจจุบันอินเทอรเน็ตถือเปนเครื่องมือสําคัญในการประชาสัมพันธ แตสิ่งที่จะทําให

เว็บไซตประสบความสําเร็จ คือ การบริหารจัดการเว็บไซต นอกจากเว็บไซตจะตองมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสราง และการออกแบบที่เหมาะสมแลว ยังตองไดรับการโฆษณา และสงเสริมใหเปนที่รูจักในกลุมผูชมเปาหมาย หรือในวงกวางออกไปอีกดวย การสงเสริมนี้มีวิธีที่ทําไดหลายวิธี ซึ่งไมจําเปนตองใชงบประมาณจํานวนมากเสมอไป โดยสามารถทําไดตั้งแตการแลกเปลี่ยนลิงคและแบนเนอรประกาศบนเว็บบอรดสาธารณะ การสงอีเมล การเพิ่มขอมูลในเสิรจเอนจิ้น หรือเว็บไดเร็คทอรี เรื่อยไปจนถึงแบบที่ใชงบประมาณมากขึ้น เชน การจัดงานเปดตัว การลงโฆษณาบนเว็บไซตอื่น การลงโฆษณาบนหนังสือพิมพ หรือในวิทยุและโทรทัศน เปนตน(สํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธ,2555 อางถึงใน เสกสรร สายสีสด, 2549) โดยเว็บไซตที่สรางขึ้นมา ควรไดรับการทดสอบกอนที่จะนําออกเผยแพร ไมวาจะเปนในเรื่องความถูกตองของเนื้อหา การทํางานของลิงคและระบบนําทางตรวจสอบความผิดพลาดของโปรแกรมสคริปตและฐานขอมูล นอกจากนี้ควรทดสอบโดยใชสภาพแวดลอมที่เหมือนกับกลุมผูชมเปาหมาย เชน เวอรชั่นของเบราวเซอร ความละเอียดของจอภาพและความเร็วที่เชื่อมตอกับอินเทอรเน็ต เพื่อดูวาผูชมกลุมเปาหมายสามารถชมเว็บไซตไดอยางสมบูรณและมีประสิทธิภาพหรือไม นอกจากนี้เว็บไซตที่เผยแพรออกไปแลวควรที่จะตองมีการตรวจสอบอยางสม่ําเสมอ ตั้งแตการตรวจสอบเว็บเซิรฟเวอรวาไมหยุดทํางานบอย ๆลิงคที่เชื่อมโยงไปภายนอกยังคงใชไดหรือไม คอยตอบอีเมลหรือคําถามที่มีผูฝากไวบนเว็บเพจ ถาเปนเว็บขาวสารก็ตองปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยตลอดเวลาถามีการใชฐานขอมูลก็ตองแบ็คอัพขอมูลอยางสม่ําเสมอ นอกจากนั้นควรติดตามดูจํานวนผูชม สถิติวาเว็บเพจใดเปนที่นิยม มีผูชมเขามาก และควรปรับปรุงใหผูชมรูสึกวาเว็บเพจมีการเปลี่ยนแปลงใหทันสมัยอยูเสมอจึงจะดึงดูดความสนใจผูเขาชมได(สํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธสวนประเมินผล, 2555)

Page 29: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

18

หลักการบริหารจัดการเว็บไซตสามารถทําไดโดยการสรางเว็บไซตสามารถทําโดยการสรางเว็บไซตใหนาสนใจ ทั้งในดานขนาดภาพประกอบขนาดตัวอักษร ขอความที่อานเขาใจงาย ใชตัวอักษรที่เปนสากล กลาวคือ สามารถอานไดจากเบราวเซอรทุกชนิด รวมไปถึงการใสขอมูล หรือเนื้อหาทีเปนมัลติมีเดีย เชน วิดีโอ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือ Animation แตตองไมมากจนเกินไป เพราะจะทําใหชาและไมนาติดตามไดขั้นตอนของการพัฒนาเว็บเพจ มีทั้งหมด 6 ขั้นตอนโดยเริ่มจาก (สํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธสวนประเมินผล, 2555)

1. การวางแผน (Planning) โดยผูพัฒนาเว็บไซตจะตองพิจารณากลุมเปาหมาย วัตถุประสงคหลักของเว็บไซต และแหลงขอมูลที่จะนํามาใสในเว็บ

2. การวิเคราะห (Analysis) โดยผูพัฒนาเว็บตองตรวจสอบความเปนไปไดของแผนที่วางไว และจัด ขอมูลใหสามารถเชื่อมโยงตอกันและเขาใจไดงายรวมถึงการจัดเตรียมเครื่องมือที่จะชวยสนับสนุนการทํางาน

3. การออกแบบ (Design) เปนขั้นตอนซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการสรางเว็บ ขอมูลจะตองมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันหนาตอหนาอยางมีความหมายและเหมาะสม การจัดเนื้อหาของขอมูล องคประกอบของภาพ ขอความตาง ๆ และที่สําคัญจะตองมีอีเมลของผูดูแลเว็บไซตในกรณีที่ผูเขาชมมีความประสงคตองการติดตอกับองคกร

4. การดําเนินงาน (Implementation) เขาสูงานเขารหัสในรูปแบบของ HTML และเมื่อไดไฟลของเว็บเพจในรูปแบบของ HTML แลว ขั้นตอนตอไปคือการนําไฟลเหลานี้ไปบรรจุลงในเว็บไซตตอไป

5. การโฆษณาประชาสัมพันธ (Promotion) ขั้นตอนนี้มีเพื่อแนะนําใหกลุมเปาหมายรูจัก และเขาใจมาเยี่ยมชมเว็บไซต

6. การแกไขปรับปรุง (Improvement) โดยผูพัฒนาเว็บไซตจะปรับปรุงใหเว็บนาสนใจ และดึงดูดกลุมเปาหมายได โดยอาจปรับปรุงเนื้อหาใหทันสมัยตลอดจนเพิ่มเติมลูกเลนใหเหมาะสมกับความตองการของกลุมเปาหมาย

การที่จะทําใหเว็บไซตสามารถอยูรอดไดตอไปในอนาคต ควรที่จะคํานึงถึงความตองการของผูใชบริการเปนสําคัญ ซึ่งเสกสรร ศรีสายสดไดเสนอหลักการ 4 ประการดวยกัน คือ(สํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธสวนประเมินผล, 2555)

1. อํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการ โดยการลดระเบียบตาง ๆ ที่อาจจะเปนอุปสรรคตอการคนหาขอมูล เชน การลงทะเบียนสมาชิกกอนที่จะเขาไปคนหาขอมูลเพิ่มเติมได ซึ่งการลงทะเบียน

Page 30: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

19

สมาชิกอาจทําใหผูใชบริการเลิกความพยายามที่จะคนหาขอมูลตอไป และยังเปนการเพิ่มคาใชจายในการใหบริการอีกดวย

2. เพิ่มชองทางการใหบริการแกผูใชบริการ เพื่อใหผูใบบริการสามารถติดตอกับหลักสูตร ไดตลอดเวลาในลักษณะที่มีการโตตอบกันกับผูใหบริการไดโดยตรงอยางเปนสวนตัว เชน การสนทนาผานอินเทอรเน็ต การสงอีเมล หรือโทรศัพท เนื่องจากคนทั่วไปเชื่อมั่นในการติดตอกับตัวบุคคลโดยตรงมากกวาการติดตอกันผานสื่อแตเพียงอยางเดียว

3. การจัดแบงประเภทขอมูลในเว็บไซต วิธีนี้จะชวยประหยัดเวลาใหกับผูใชบริการไดมาก ผูใหบริการควรใชกลยุทธในการแบงกลุมประเภทของการใหบริการของคนตามลักษณะตาง ๆ เชน แบงตามประเภทของการบริการ แบงตามเนื้อหา แบงตามกลุมของผูที่คาดวานาจะเขามาใชบริการ หรือแบงตามประเภทของกิจกรรมตาง ๆ เปนตน

4. การสรางชุมชนทางอินเทอรเน็ต การทําใหเกิดชุมชนหรือกลุมของผูใหบริการที่ติดตอสื่อสารระหวางกันในเว็บไซตของผูประกอบการ โดยกลุมผูใชบริการกลุมนี้จะกลับมาใชบริการในเว็บไซตบอยขึ้น และเมื่อถึงระดับหนึ่งผูประกอบการจะมีขอมูลของพฤติกรรมการใชบริการไดมากพอที่จะนํามาปรับปรุงการใหบริการของตนใหสอดคลองกับความตองการของผูใชบริการไดมากขึ้น ทําใหผูประกอบการมีความสัมพันธที่ดีขึ้นกับผูใชบริการ นอกจากนี้การใชวิธีการสงเสริมการขายวิธีอื่น ๆ เชนการใหสวนลด ก็ยังเปนการดึงดูดใหมีผูใชบริการทั้งเกาและใหมเขามาเยี่ยมชม และใชบริการในเว็บไซตมากขึ้นอีกดวย

โดยศูนยขอมูล SMEs Knowledge Center (2557) ไดเสนอหลักการออกแบบเว็บไซต ไดโดยมีรายละเอียด ดังนี้

หลักสําคัญในการออกแบบหนาเว็บHasan (2016) ไดระบุถึงองคประกอบ website ที่สําคัญ ประกอบดวย 3 สวน คือ

1. การออกแบบเนื้อหา (Information Design)2. การออกแบบระบบเนวิเกชั่น (Navigation Design) 3. การออกแบบหนาตาของเว็บไซต (Visual Design)

Page 31: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

20

1. การออกแบบเนื้อหา (Information Design)ศูนยขอมูล SMEs Knowledge Center (2557) ไดกลาวถึงการออกแบบขอมูลบนเว็บไซตวา

การออกแบบเนื้อหา คือการสงขอมูลที่เปนปจจุบัน งายตอการเขาใจสําหรับผูใชงาน มีความสัมพันธในเชิงบวกตอการรับรู สะดวกสบายในการใชงาน มีประโยชน ดังนั้นการใหขอมูลที่มากพอ คนหาและเขาถึงขอมูลงาย สะดวกสบาย จะชวยใหผูบริโภคตัดสินใจในการซื้อไดดียิ่งขึ้น ในทางตรงกันขาม ถาผูบริโภคไดรับขอมูลที่ไมเกี่ยวของหรือเปนประโยชนตอสิ่งที่เขาตองการ จะรูสึกไมพอใจและเริ่มรูสึกหงุดหงิด เพราะตองใชเวลาในการทําความเขาใจขอมูลนั้น เพราะฉะนั้น การออกแบบขอมูลเว็บไซตที่มีประสิทธิภาพ ควรจะตองไมสงผลกระทบเชิงลบตอการรับรูถึงความรูสึกรําคาญใจของผูบริโภค โดยเนื้อหาที่นําเสนอจะตองเปนเนื้อหาที่มีประโยชน เนื้อหาเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในเว็บไซต ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและขอมูลที่ผูใชตองการใหถูกตอง และสมบูรณ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมใหทันเหตุการณอยูเสมอ เนื้อหาไมควรซ้ํากับเว็บไซตอื่น จึงจะดึงดูดความสนใจ

ในขณะที่ ธัชกร วงษคําชัย (2558, หนา 15) ไดอธิบายเพิ่มเติมถึงองคประกอบที่สําคัญในการออกแบบเว็บไซตดังตอไปนี้

1. ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท โดยทั่วไปผูที่เขามาชมเว็บไซตนั้นมีความตองการพื้นฐานที่อยากรูขอมูลของบริษัทในดานตาง ๆ เชน ประวัติความเปนมา เปาหมาย ขนาดและความมั่นคง จํานวนพนักงาน และกิจการอื่น ๆที่เกี่ยว เพื่อใหเกิดความมั่นใจในตัวสินคาของบริษัท

2. รายละเอียดผลิตภัณฑ ผูคนสวนความตองการพื้นฐานที่อยากรับรูขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือบริการที่สนใจกอนตัดสินใจซื้อ ดังนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองใหรายละเอียดผลิตภัณฑ บริการ โปรแกรมพิเศษ และรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวของภายในเว็บไซต

3. ความคืบหนาและขาวสารจากสื่อมวลชน มีผูคนบางกลุมจะใหความสนใจเกี่ยวกับขาวความเคลื่อนไหวของบริษัทและผลิตภัณฑตาง ๆ เชน การพัฒนาผลิตภัณฑ การตอบรับจากสื่อมวลชน เปนตน ดังนั้นจึงควรการนําเสนอเนื้อหาสวนภายในเว็บไซตดวย

4. ขอมูลในการติดตอ เปนสิ่งสําคัญที่เจาของเว็บไซตจําเปนตองมีเพื่อใหลูกคาใชในการติดตอกับบริษัท เชน อีเมล ที่อยูของบริษัท เบอรโทรศัพทและโทรสาร ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนสวนที่ชวยเพิ่มความนาเชื่อถือใหกับบริษัทไดเปนอยางมาก

5. คําถามยอดนิยม สําหรับคําถามยอดนิยมนั้นเหมาะแกเว็บไซตที่นําเสนอสินคาหรือบริการที่เขาใจยาก ซึ่งถามีการรวบรวมคําถามและคําตอบที่สําคัญไวในสวนของคําถามยอดนิยม หรือ FAQ จะชวยใหผูที่สนใจไดรับคําตอบไดอยางรวดเร็ว

Page 32: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

21

2. การออกแบบระบบการเนวิเกชั่น (Navigation Design)การออกแบบระบบนําทางของเว็บไซต หมายถึง การจัดระเบียบและการจัดโครงสรางและ

เนื้อหาของหนาเว็บไซต มีผลตอผูใชงานในการหาตําแหนงหรือใชเว็บไซต ดังนั้น การออกแบบระบบนําทางที่มีประสิทธิภาพ ไมควรมีความยุงยากในการใชงาน ควรใหผูใชงานเขาถึงเว็บไซตไดอยางงายและรวดเร็ว การออกแบบระบบนําทางมีอิทธิพลตอลูกคาที่ไมนิยมใหมีรูปประกอบ ลิงค ตัวเลือกจํานวนมากหรือตองคลิกหลายๆ ครั้ง ผูบริโภคที่สั่งซื้อสินคาออนไลนจะชอบความเรียบงายและการออกแบบที่ไมวกวน ซึ่งจะชวยประหยัดเวลาในการคนหาและชวยใหธุรกรรมการซื้อเสร็จสิ้นสมบูรณภายในไมกี่ขั้นตอน ถาการออกแบบระบบนําทางเว็บไซตที่คลุมเครือหรือไมชัดเจนจะเปนสาเหตุใหผูบริโภคไมรูวาตัวเองอยูจุดใดบนหนาเว็บไซตและทําใหออกจากหนาเว็บไซตโดยไมไดสั่งซื้อสินคาหรือกลับมาที่เว็บไซตอีก

โดย กฤติญา สกุลเสาวภาคและคณะ (2552, หนา 10) ไดระบุวา ระบบ Navigation ที่ใชงานงาย (User-Friendly Navigation) เปนสวนที่สําคัญของเว็บไซตเนื่องจากจะสับใหผูใชไมเกิดความสับสนเวลาใชงานเว็บไซต ซึ่งผูออกแบบจําเปนตองออกแบบใหผูใชใชงานไดงายและสะดวก เชนถาใชภาพกราฟกที่สื่อความหมายควรมีคําอธิบายที่ชัดเจนรวมดวย แสดงไวสวนบนหรือสวนลางของหนาเว็บไซต

ในขณะที่ ดวงพร เกี๋ยงคํา (2553, หนา 25) ไดกลาวเกี่ยวกับการออกแบบระบบเนวิเกชั่น (Site Navigation Design) โดยทั่วไปเว็บไซตจะมีเครื่องมือเนวิเกชั่น ซึ่งตองอยูในตําแหนงที่ชัดเจนและเขาถึงงาย เชนสวนบนหรือดานซายของเว็บเพจ เขาใจงายมีขอความกํากับชัดเจน มีความสม่ําเสมอและเปนระบบ มีการตอบสนองเมื่อใชงานและสามารถลิงคกลับไปยังหนาแรกไดเสมอ โดยมีองคประกอบแยกออกไดดังตอไปนี้

1. เมนูหลัก เปนเมนูที่แสดงไปยังเนื้อหาหลักของเว็บไซต จะอยูในรูปลิงคที่เปนขอความหรือกราฟกจะแสดงอยูดานบนของเว็บไซตทุกหนา

2. เมนูเฉพาะกลุม เปนเมนูที่เชื่อมโยงเนื้อหาเฉพาะกลุมยอมในเว็บเพจเดียว จะอยูในรูปลิงคที่เปนขอความหรือกราฟกเชนเดียวกัน

3. เครื่องมือเสริม เปนเครื่องมือที่ชวยเสริมการทํางานของเมนู เชน ชองคนหาขอมูล(Search Box), เมนูแบบดร็อปดาวน, อิมเมจแมพ และแผนที่เว็บไซต เปนตน

Page 33: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

22

3. การออกแบบหนาตาของเว็บไซต (Visual Design)การออกแบบหนาตาของเว็บไซต หมายถึง การทําใหรูปแบบของเว็บไซตมีความสวยงามและ

นาดึงดูด ซึ่งรวมไปถึงภาพ สี ลักษณะตัวอักษร รูปแบบ ภาพเคลื่อนไหว และลักษณะการจัดวาง การออกแบบหนาตาของเว็บไซตเปนองคประกอบหลักที่สําคัญ งานวิจัยในอดีตแสดงใหเห็นวาการออกแบบหนาตาเว็บไซตเพื่อขายสินคามีผลกระทบตอพฤติกรรมการซื้อสินคาออนไลน เชน การรับรูถึงความสะดวกสบายในการใชงาน การรับรูถึงประโยชน การรับรูถึงความสนุกและสุดทายคือการยอมรับการสั่งซื้อสินคาออนไลน ดังนั้นการออกแบบหนาตาเว็บไซตใหมีความดึงดูดจะชวยสื่อสารขอความเชิงบวกเกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑและผูคาไปยังผูบริโภค

4. ขนาดตัวอักษรสําหรับเว็บไซตการเลือกใชขนาดตัวอักษรตาง ๆ ในเว็บไซต นั้นมีความสําคัญมาก ซึ่งถาหากเลือกตัวอักษรที่มี

ขนาดเล็กเกินไป จะทําใหผูชมเว็บไซตอานเนื้อหาภายในเว็บไซตลําบาก ขนาดตัวอักษรที่นิยมใช เนื่องจากเปนขนาดที่ทําใหผูอานรูสึกสบายตา จะมีขนาดประมาณ 14 พอยต โดยการจัดแนวตัวอักษร สามารถแบงออกเปน 4 ประเภท คือ การวางเสมอหนา การวางเสมอหลัง การวางตรงกลาง และการวางเสมอหนาเสมอหลัง ซึ่งการวางในแตละประเภทนั้นสงผลใหเว็บไซตมีลักษณะแตกตางกันออกไป

5. การใชสีในการออกแบบเว็บไซตการสรางสีสันบนหนาเว็บเปนสิ่งที่สื่อความหมายของเว็บไซตไดอยางชัดเจน การเลือกใชสีให

เหมาะสม กลมกลืน ไมเพียงแตจะสรางความพึงพอใจใหกับผูใช แตยังสามารถทําใหเห็นถึงความแตกตางระหวางเว็บไซตได สีเปนองคประกอบหลักสําหรับการตกแตงเว็บ จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําความเขาใจเกี่ยวกับการใชสี โดยระบบสีที่แสดงบนจอคอมพิวเตอร มีระบบการแสดงผลผานหลอดลําแสงที่เรียกวา CRT (Cathode ray tube) โดยมีลักษณะระบบสีแบบบวก อาศัยการผสมของของแสงสีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน หรือระบบสี RGB สามารถกําหนดคาสีจาก 0 ถึง 255 ได จากการรวมสีของแมสีหลักจะทําใหเกิดแสงสีขาว มีลักษณะเปนจุดเล็ก ๆ บนหนาจอไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลาได จะมองเห็นเปนสีที่ถูกผสมเปนเนื้อสีเดียวกันแลว จุดแตละจุดหรือพิกเซล (Pixel) เปนสวนประกอบของภาพบนหนาจอคอมพิวเตอร โดยจํานวนบิตที่ใชในการกําหนดความสามารถของการแสดงสีตาง ๆ เพื่อสรางภาพบนจอนั้นเรียกวา บิตเด็ป (Bit-depth) ในภาษา HTML มีการกําหนดสีดวยระบบเลขฐานสิบหก ซึ่งมีเครื่องหมาย (#) อยูดานหนาและตามดวยเลขฐานสิบหกจํานวนอักษรอีก 6 หลัก โดยแตละไบต

Page 34: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

23

(byte)จะมีตัวอักษรสองตัว แบงออกเปน 3 กลุม เชน #FF12AC การใชตัวอักษรแตละไบตนี้เพื่อกําหนดระดับความเขมของแมสีแตละสีของชุดสี RGB โดย 2 หลักแรก แสดงถึงความเขมของสีแดง 2 หลักตอมา แสดงถึงความเขมของสีเขียว 2 หลักสุดทายแสดงถึงความเขมของสีน้ําเงิน

สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณการสื่อความหมายที่เดนชัด กระตุนการรับรูทางดานจิตใจมนุษย สีแตละสีใหความรูสึก อารมณที่ไมเหมือนกัน สีบางสีใหความรูสึกสงบ บางสีใหความรูสึกตื่นเตนรุนแรง สีจึงเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่งตอการออกแบบเว็บไซต ดังนั้นการเลือกใชโทนสีภายในเว็บไซตเปนการแสดงถึงความแตกตางของสีที่แสดงออกทางอารมณ มีชีวิตชีวาหรือเศราโศก รูปแบบของสีที่สายตาของมนุษยมองเห็น สามารถแบงออกเปน 3 กลุม คือ

1. สีโทนรอน (Warm Colors) เปนกลุมสีที่แสดงถึงความสุข ความปลอบโยน ความอบอุน และดึงดูดใจ สีกลุมนี้เปนกลุมสีที่ชวยใหหายจากความเฉื่อยชา มีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น

2. สีโทนเย็น (Cool Colors) แสดงถึงความที่ดูสุภาพ ออนโยน เรียบรอย เปนกลุมสีที่มีคนชอบมากที่สุด สามารถโนมนาวในระยะไกลได

3. สีโทนกลาง (Neutral Colors) สีที่เปนกลาง ประกอบดวย สีดํา สีขาว สีเทา และสีน้ําตาล กลุมสีเหลานี้คือ สีกลางที่สามารถนําไปผสมกับสีอื่น ๆ เพื่อใหเกิดสีกลางขึ้นมา สิ่งที่สําคัญตอผูออกแบบเว็บคือการเลือกใชสีสําหรับเว็บ นอกจากจะมีผลตอการแสดงออกของเว็บแลวยังเปนการสรางความรูสึกที่ดีตอผูใชบริการ ดังนั้นจะเห็นวาสีแตละสีสามารถสื่อความหมายของเว็บไดอยางชัดเจน ความแตกตาง ความสัมพันธที่เกิดขึ้นยอมสงผลใหเว็บมีความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ชุดสีแตละชุดมีความสําคัญตอเว็บ ถาเลือกใชสีไมตรงกับวัตถุประสงคหรือเปาหมายอาจจะทําใหเว็บไมนาสนใจ ผูใชบริการจะไมกลับมาใชบริการอีกภายหลัง ฉะนั้นการใชสีอยางเหมาะสมเพื่อสื่อความหมายของเว็บตองเลือกใชสีที่มีความกลมกลืน

6. ความนาเชื่อถือของ Website ความนาเชื่อถือเปนปจจัยสําคัญในการติดตอสื่อสารระหวางมนุษย มีบทบาทในการ

ติดตอสื่อสารระหวางคนและคอมพิวเตอร เนื่องจากมีความซับซอนสูงรวมไปถึงการเกี่ยวของกับพาณิชยอิเล็กทรอนิกส การธนาคารอิเล็กทรอนิกส หรือการคนหาขอมูล ในปจจุบัน นักวิจัยมีความยากลําบากในการวัดและคนหาวาความนาเชื่อถือที่แทจริงคืออะไร ทั้งนี้อาจจะเปนเพราะวาความนาเชื่อถือ (Trust) เปนแนวคิดที่เปนนามธรรมและมักจะถูกนําไปใชสลับกันกับแนวคิดตาง ๆ ที่เกี่ ยวของได เชน ความไววางใจ (Credibility) ความเชื่อถือได (Reliability) หรือความมั่นใจ

Page 35: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

24

(Confidence) ในการศึกษาเกี่ยวกับความนาเชื่อถือในบริบทสิ่งแวดลอมออนไลนนั้น ไดเนนย้ําคุณลักษณะ 2 ประการคือ จะตองประกอบไปดวยกลุมสองกลุมที่มีความสัมพันธที่ เชื่อถือกัน ประกอบดวย กลุมที่เชื่อถือ (ผูที่ใหความเชื่อถือ) และกลุมที่ไดรับการเชื่อถือ (กลุมผูดูแลผลประโยชน) ซึ่งในความเชื่อถือดานออนไลนนั้น ผูที่ใหความเชื่อถือจะเปนผูใชงานเว็บไซตและกลุมผูดูแลผลประโยชนก็คือ เว็บไซต คุณลักษณะอยางที่สองคือ ความนาเชื่อถือที่เกี่ยวของกับความเปราะบาง ความนาเชื่อถือมีความจําเปนและสําคัญในสภาพแวดลอมที่มีความเสี่ยง ผูใชหลายๆ คนมักจะมีความไมแนใจเกี่ยวกับความเสี่ยงในปจจุบันและผลกระทบที่จะไดรับเต็มๆเมื่อเกิดการทําธุรกรรมหรือการเขาชมเว็บไซตออนไลน

7. วัตถุประสงคของเว็บไซตกอบเกียรติ สระอุบล (2557) กลาววา ในการพัฒนาเว็บไซตควรกําหนดเปาหมายและวางแผน

ไวลวงหนา เพื่อใหการทํางานในขั้นตอ ๆไปมีแนวทางที่ชัดเจน โดยในขั้นตอนนี้ประกอบดวย1. กําหนดวัตถุประสงคของเว็บไซต เพื่อใหเห็นภาพที่ชัดเจนวาเว็บไซตนี้ตองการ

นําเสนอหรือตองการใหเกิดผลอะไร เชน เปนเว็บไซตสําหรับใหขอมูลหรือขายสินคา ซึ่งวัตถุประสงคนี้จะเปนตัวกําหนดรายละเอียดอื่น ๆ ที่จะตามมา เชน โครงสรางของเว็บไซต รวมทั้งลักษณะหนาตาและสีสันของเว็บเพจ ในกรณีที่เปนเว็บไซตของบริษัทหรือองคกร วัตถุประสงคนี้ก็จะตองวางใหสอดคลองกับภารกิจขององคกรดวย

2. กําหนดกลุมผูชมเปาหมาย เพื่อจะไดรูวาผูชมหลักของคุณคือใคร และออกแบบเว็บไซตใหตอบสนองความตองการหรือโดนใจผูชมกลุมนั้นใหมากที่สุด ไมวาจะเปนการเลือกเนื้อหา โทนสี กราฟก เทคโนโลยีที่นํามาสนับสนุน และอื่น ๆ

3. เตรียมแหลงขอมูล เนื้อหาหรือขอมูลคือสาระสําคัญที่แทจริงของเว็บไซต คุณตองรูวาขอมูลที่จําเปนตองใชจะมาจากแหลงใดไดบาง เชน ถาเปนเว็บของบริษัท ใครที่จะเปนผูใหขอมูล หรือถาเปนเว็บขาวสาร ขาวนั้นจะมาจากแหลงใด มีลิขสิทธิ์หรือไม

4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสรางเว็บตองอาศัยทักษะหลาย ๆ ดาน เชน ในการเตรียมเนื้อหา ออกแบบกราฟก เขียนโปรแกรม และการดูแลเว็บเซิรฟเวอร เปนตน ซึ่งถาเปนเว็บไซตขนาดใหญอาจจะตองใชบุคลากรเปนจํานวนมาก แตสาหรับเว็บไซตเล็ก ๆ ที่ตองดูแลเพียงคนเดียวคุณจะตองศึกษาหาความรูในเรื่องนั้น ๆ เพื่อเตรียมพรอมเอาไว

Page 36: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

25

5. เตรียมทรัพยากรตาง ๆ ที่จําเปน เชน โปรแกรมสาหรับสรางเว็บไซต , โปรแกรมสําหรับสรางกราฟก ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมีเดีย, โปรแกรมยูทิลิตี้,โปรแกรมสรางฐานขอมูลและอื่น ๆ ที่ตองใช,การจดทะเบียนโดเมนเนม ตลอดจนการเตรียมหาผูใหบริการรับฝากเว็บไซต (web hosting) และเลือกแผนบริการที่เหมาะสม

8. ความสะดวกในการใชงานเว็บไซตกอบเกียรติ สระอุบล (2557) กลาววา ในการออกแบบเว็บไซตนั้น จะตองออกแบบใหมีการใช

งานงายอยางไมจํากัด (Compatibility) ควรออกแบบเว็บไซตใหผูใชสวนใหญเขาถึงไดมากที่สุดโดยไมมีการบังคับใหผูใชตองติดตั้งโปรแกรมใด ๆ เพิ่มเติมหรือตองเลือกใชบราวเซอรชนิดใดชนิดหนึ่งจึงจะสามารถเขาถึงเนื้อหาได สามารถแสดงผลไดในทุกระบบ ปฏิบัติการและที่ความละเอียดหนาจอตาง ๆ กันอยางไมมีปญหา สิ่งเหลานี้จะยิ่งมีความสําคัญมากขึ้นสําหรับเว็บที่มีผูใชบริการจํานวนมากหรือมีกลุมเปาหมายที่หลากหลาย

โดยที่ ประเวศน วงษคาชัย (2552) ไดกลาวเพิ่มเติมวา การออกแบบเว็บไซตไมควรใชเทคโนโลยีขั้นสูงโดยไมจําเปน เนื่องจากการใชเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อแสดงฝมือหรือดึงดูดความสนใจจากผูใชอาจจะใชไดเฉพาะกับกลุมผูใชที่มีประสบการณสูงเทานั้น เนื่องจากผูใชสวนใหญสนใจกับเนื้อหาและการใชงานมากกวา และไมมีความพรอมที่จะใชเทคโนโลยีขั้นสูงที่เพิ่งออกมาลาสุด ซึ่งจะกอใหเกิดความไมสะดวกในการใชงานได และนอกจากนั้นเว็บเพจควรที่จะแสดงผลอยางรวดเร็ว เพราะเว็บเพจที่แสดงผลชา กราฟกขนาดใหญจะมีผลทําใหเว็บเพจนั้นตองใชเวลาในการดาวนโหลดมากขึ้น โดยถาใชเวลานานกวา 15 วินาทีขึ้นไปก็อาจจะทําใหผูใชขาดความสนใจ เนื่องจากผูใชมีความอดทนรอการแสดงผลของเว็บเพจไดจํากัด ซึ่งมีรายงานวิจัยบอกไววา ถาโหลดมากกวา 8 วินาทีผูใชกวารอยละ 90 จะเปลี่ยนไปดูเว็บอื่นแทน

จากการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับหลักการออกแบบเว็บไซต ผูศึกษาจึงนําแนวคิดดังกลาวมาใชเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถามเพื่อศึกษาถึงความพึงพอใจของผูใชบริการที่มีตอการใชบริการเว็บไซตดานตาง ๆ เพื่อนําผลที่ไดจากการศึกษาไปใชเปนแนวทางในการปรับปรุงพัฒนารูปแบบของเว็บไซตใหมีประสิทธิภาพ และสรางความพึงพอใจใหแกผูใชบริการมากขึ้นตอไป

Page 37: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

26

2.4 ขอมูลเกี่ยวกับเว็บไซตไทย ดอท คอม2.4.1 ความเปนมาในการกอตั้งเว็บไซตไทย ดอท คอม คือ เว็บไซตที่ใหบริการในดานของการจัดหางาน และรับสมัครงาน

โดยมีแนวคิดในการจัดทําเว็บไซตวา “ชวยคนไทยหางาน เขาเว็บเดียวจบครบทุกงาน” โดยผูใชบริการสามารถดูตําแหนงงานผานหนาเว็บไซตไดตลอดเวลา โดยที่หนาเว็บไซตไดทําการแยกประเภทงานเปน 2 สวน คือ งานราชการและงานเอกชน ซึ่งชวยใหผูสมัครไดเขาไปดูตําแหนงงานในประเภทที่ตนสนใจ อีกทั้งสามารถฝากประวัติการศึกษาของตนเองและอัพเดทขอมูลประวัติการศึกษาไดตลอดเวลา เพื่อใหเจาของกิจการหรือธุรกิจตาง ๆ ไดเห็นขอมูลประวัติการศึกษาที่มีความถูกตองและเปนปจจุบัน ชวยเพิ่มโอกาสในการไดงานมากยิ่งขึ้น ในสวนของเจาของกิจการหรือธุรกิจตาง ๆ ที่มีความสนใจในการประชาสัมพันธตําแหนงงานของบริษัทตนเองนั้น ก็สามารถทําไดโดยการกรอกขอมูลกิจการหรือธุรกิจของตนผานทางหนาเว็บไซตเพื่อใหทางเว็บไซต ไทย ดอท คอม ตรวจสอบ หากมีตัวตนอยูจริงก็จะสามารถลงตําแหนงงานที่รับสมัครงานใหผูใชบริการเว็บไซตสามารถสมัครงานได

แผนภาพที่ 2.1 หนาเว็บไซต ไทย ดอท คอม (ที่มา : https://www.Thai.com วันที่สืบคน 15 มิถุนายน 2560)

2.4.2 วัตถุประสงคของเว็บไซตจุดประสงคในการจัดทําเว็บไซตเพื่อรวบรวมงานประเภทตาง ๆ คือ งานราชการ งาน

รัฐวิสาหกิจ และงานภาคเอกชน ซึ่งจะชวยอํานวยความสะดวกใหกับบัณฑิตจบใหมและบุคคลทั่วไปไดเขาถึงขอมูลตําแหนงงานที่มีอัตราวางอยูเปนจํานวนมาก โดยผูใชบริการที่เปนบุคคลทั่วไปที่กําลังหางาน และที่เปนองคการที่ตองการประกาศรับสมัครงาน สามารถใชบริการเว็บไซตไดฟรี ไมมีคาใชจาย

Page 38: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

27

2.4.3 ขอมูลผูใชบริการในปจจุบันปจจุบัน (ขอมูล ณ วันที่ 15 มิถุนายน 2560) มีหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ลงประกาศรับ

สมัครงาน จํานวนทั้งสิ้น 119 หนวยงาน มีตําแหนงงานที่ลงรับสมัครงานทั้งสิ้นกวา 2,000 ตําแหนงงานโดยเฉลี่ยมีผูใชบริการตอวัน ทั้งสิ้น 30 วันตอคน และมีผูใชบริการเฉลี่ยตอเดือนทั้งสิ้น 538 คน

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของมานีสงค ปฐมวิริยะวงศ (2550) ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง การใชประโยชนและความพึงพอใจตอ

เว็บไซตสถาบันของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ พบวา พฤติกรรมการใชเว็บไซตสถาบันมีความถี่ 1 – 3 ครั้งตอเดือน แตละครั้งใชเวลา 15 – 29 นาที สวนใหญเขาเว็บไซตเพื่อรับทราบขอมูลขาวสาร และเพื่อติดตอสื่อสารกับสถาบันในระบบของการลงทะเบียน การตรวจสอบผลการศึกษา และการสืบคนขอมูลประกอบการศึกษา วิจัย และรายงาน ผลเปรียบเทียบดานเพศ พบวา เพศไมมีผลตอความพึงพอใจในการใชเว็บไซตสถาบัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในขณะที่ระดับการศึกษา และรายได พบวา มีผลตอความพึงพอใจในการใชเว็บไซตสถาบัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ชฎาภรณ สวนแสน (2551) ทําการศึกษาพฤติกรรมการเปดรับ แรงจูงใจ ความพึงพอใจและการใชประโยชนจากขอมูลขาวสารบนเว็บไซตหนังสือพิมพไทยของกลุมผูอานในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา พฤติกรรมการเปดรับเว็บไซตหนังสือพิมพไทยของผูอานสวนใหญ คือ มีระยะเวลาเปดรับนอยกวา 1 ปใชเวลาอานนอยกวา 1 ชั่วโมงตอวัน เขาอานเว็บไซต จํานวน 5 ครั้งตอวัน โดยใชโนตบุกในการเขาถึง เปดรับขาวประเภทขาวบันเทิง ทองเที่ยว กีฬา และเปดรับเว็บไซตหนังสือพิมพไทยรัฐมากที่สุด แรงจูงใจในการเปดรับเว็บไซตหนังสือพิมพไทยของผูอานสวนใหญ คือ ความสะดวกสบายและงายตอการเขาถึงไดทุกที่ทุกเวลา ความพึงพอใจตอเว็บไซตหนังสือพิมพไทยของผูอานสวนใหญ คือ สามารถอานขอมูลยอนหลังได การใชประโยชนจากขอมูลขาวสารบนเว็บไซตหนังสือพิมพไทยของผูอานสวนใหญ คือ เพื่อประมวลขาวจากหนังสือพิมพหลายฉบับไดอยางรวดเร็ว ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัยพบวา ผูอานที่มีเพศ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดสวนตัวตอเดือนแตกตางกัน มีพฤติกรรมการเปดรับและการใชประโยชนจากขอมูลขาวสารบนเว็บไซตหนังสือพิมพไทยแตกตางกัน สวนผูอานที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายไดสวนตัวตอเดือนแตกตางกันมีความพึงพอใจตอเว็บไซตหนังสือพิมพไทยแตกตางกันแตกตางกัน และผลการวิจัยความสัมพันธของตัวแปร พบวา

Page 39: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

28

แรงจูงใจในการอานและการใชประโยชนจากเว็บไซตมีความสัมพันธทางบวกกับความพึงพอใจในรูปแบบสื่อบนเว็บไซตหนังสือพิมพไทย

รงรอง แรมสิเยอ (2556) ทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาเว็บไซตเพื่อใชในการบริหารจัดการของฝายปกครอง ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดอยุธยา ผลการวิจัยพบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจดานขอมูลในเว็บไซตในสวนของขอมูลถูกตองครบถวน อธิบายขอมูลไดชัดเจนไดคาเฉลี่ย 4.15 ขอมูลมีความทันสมัยนาสนใจ 4.00 ขอมูลที่นําเสนอเปนประโยชนตรงกับความตองการได3.95 ดานรูปแบบของเว็บไซต ในสวนของจัดรูปแบบหนาจอรูปภาพ และสี มีความเหมาะสม 4.55 ตัวอักษรอานงาย ชัดเจนได 3.0 ดานการใชงานในสวนของความรวดเร็วในการเขาถึงหนาเว็บเพจได 4.00 ใชงานงายและสะดวกในการคนหาขอมูล 4.15 และมีชองทางการติดตอสอบถามและใหขอเสนอแนะได 3.65 โดยความพึงพอใจโดยรวมในสวนของความพึงพอใจโดยรวมในการใชบริการเว็บไซต 4.00 และพบวา ผูใชที่มีเพศ อายุ อาชีพ และการศึกษาที่แตกตางกัน มีความพึงพอใจโดยรวมในการใชบริการเว็บไซตแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

วิวัฑฒน สมตน (2552) ทําการศึกษาการพัฒนาเว็บไซตประชาสัมพันธ พิพิธภัณฑภูมิปญญาไทยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบวา การพัฒนาเว็บไซตประชาสัมพันธ พิพิธภัณฑภูมิปญญาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีผลการประเมินคุณภาพจากผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา และจากผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการศึกษาอยูในระดับดีมาก และผูใชมีความพึงพอใจตอเว็บไซตประชาสัมพันธอยูในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบวา ความถี่ในการใช ลักษณะการเขามาใชบริการ ชวงเวลาที่เขามาใชบริการ และเหตุผลในการเขามาใชบริการ ที่แตกตางกัน จะมีความพึงพอใจตอเว็บไซตประชาสัมพันธแตกตางกัน

ศิริพร อวมมีเพียร (2552) ทําการศึกษา ความพึงพอใจในการใชบริการเครือขายคอมพิวเตอร วิทยาลัยราชพฤกษ พบวา จากการประเมินของกลุมตัวอยาง ทั้งหมด 5 คณะ โดยประเมินความพึงพอใจทั้ง 4 ดาน ประกอบดวยดานความเร็วในการใชงาน ดานความสะดวกสบายในการใชงานอยูในระดับสูง ดานเสถียรภาพของการใชงาน และดานความปลอดภัยของการใชงาน อยูในระดับสูง โดยพบวา ผูใชที่มีเพศ อายุ อาชีพ และการศึกษาที่แตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเครือขายคอมพิวเตอร แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05

สุปราณี ยิ่งมั่นคง (2556) ทําการศึกษาพฤติกรรมการใชและความพึงพอใจที่มีตอหองบลู แพลนเน็ตในเว็บไซตพันทิป พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเขาใชบริการหองบลูแพลนเน็ตนอยกวาสัปดาหละ 1 วัน ใชเวลา 15 – 30 นาที ในชวงเวลา 20.01 – 24.00 น. ที่บานหรือที่พักอาศัย ลักษณะการ

Page 40: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

29

ใชบริการพบวากลุมตัวอยางสวนใหญเขาอานกระทูประเภท Consumer Review คือ กระทูที่สมาชิกเปนผูซื้อสินคาหรือเสียคาบริการเอง ไมมีผูสนับสนุนใหสินคาหรือบริการฟรี และไมไดรับสิ่งตอบแทนในการเขียนรีวิวผานทางหนาเว็บไซต www.pantip.com โดยใชโทรศัพทมือถือ หลังจากเขาชมกระทูกลุมบัณฑิตศึกษา คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน 2 ตัวอยางจะสงลิงคของกระทูใหคนอื่น และเหตุผลสวนใหญเพื่อคนหาและเก็บขอมูลเกี่ยวกับการทองเที่ยวและการเดินทาง สําหรับในสวนความพึงพอใจพบวา ระดับความพึงพอใจที่มีตอหองบลูแพลนเน็ตในเว็บไซตพันทิปโดยรวมของกลุมตัวอยางอยูในระดับมาก (3.75) ทั้งนี้กลุมตัวอยางมีความพึงพอใจดานการใชบริการมากที่สุด (3.81) รองลงมาคือดานขอมูลขาวสาร (3.79) และดานรูปแบบ (3.64) ตามลําดับ นอกจากนั้นยังพบวา ผูใชที่มีปจจัยสวนบุคคล คือ เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา และรายไดที่แตกตางกัน จะมีความพึงพอใจที่มีตอหองบลูแพลนเน็ตในเว็บไซตพันทิปแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

พรพิมล สงกระสันต (2557) ทําการศึกษาการเปดรับ การใชประโยชน และความพึงพอใจตอเว็บไซตคณะ ของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณ โดยพบวา นักศึกษามีความพึงพอใจตอเว็บไซตคณะนิเทศศาสตรในระดับมาก โดยพึงพอใจภาพกิจกรรมของคณะที่นําเสนอในเว็บไซตมากที่สุด รองลงมา คือ พึงพอใจการอัพเดทขอมูลในเว็บไซตใหทันสมัย พึงพอใจขาวประชาสัมพันธของคณะที่นําเสนอในเว็บไซตตามลําดับ และพึงพอใจขอมูลศิษยเกาที่นําเสนอในเว็บไซตนอยที่สุด โดยพบวา นักศึกษาที่มีปจจัยสวนบุคคล และพฤติกรรมการใชบริการ ไดแก ความถี่ในการใช ลักษณะการเขามาใชบริการ ชวงเวลาที่เขามาใชบริการ แตกตางกัน จะมีความพึงพอใจตอเว็บไซตคณะแตกตางกัน

น้ําลิน เทียมแกว (2557) ทําการศึกษาความพึงพอใจตอคุณภาพการใหบริการของสํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. สภาพทั่วไปของผูใชบริการสวนใหญเปนนิสิตปริญญาตรีมากที่สุด ชวงเวลา ที่ผูใชบริการเขาใชบริการมากสุดคือชวงเวลา 12.01 น. – 16.00 น. และผูใชบริการมีการเขาถึงทรัพยากรสารสนเทศอยูในระดับมาก 2. ผลการวิเคราะหความพึงพอใจตอการใหบริการของสํานักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยภาพรวมผูใชบริการมีความพึงพอใจอยู ในระดับมากที่สุด โดยดานที่ ไดรับความพึงพอใจมากที่สุดเปนลํ าดับแรกคือดานประชาสัมพันธ รองลงมาไดแก ดานบุคลากรผูใหบริการ และดานการบริการและขั้นตอนกระบวนการใหบริการ โดยสรุปเปนประเด็นความพึงพอใจในแตละดานไดดังนี้ ดานประชาสัมพันธ ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอชองทางในการเสนอแนะขอคิดเห็นหลากหลาย รองลงมาไดแก เว็บไซตสํานักวิทยบริการมีขอมูลที่ถูกตองชัดเจน และมีการประชาสัมพันธขาวการใหบริการ การฝกอบรม และ

Page 41: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

30

กิจกรรมของอยางสม่ําเสมอ ดานบุคลากรผูใหบริการ พบวาผูใชบริการมีความพึงพอใจตอบุคลากรความรูความสามารถในการคําแนะนํา และชวยเหลือ รองลงมาไดแก ใหบริการดวยอัธยาศัยไมตรีที่ดี และ บุคลากรมีความกระตือรือรนและเต็มใจใหบริการ ดานการบริการและขั้นตอนการใหบริการ ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอบริการสื่อโสตทัศนและสื่ออิเล็กทรอนิกสอยูในระดับมากที่สุดเปนลําดับแรก รองลงมาไดแก บริการศูนยสารสนเทศอีสานสิรินธร และบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ดานทรัพยากรสารสนเทศ ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอทรัพยากรสารสนเทศมีเนื้อหาครอบคลุมสาขาวิชา รองลงมาไดแก ฐานขอมูลออนไลนมีเพียงพอตอการศึกษาคนควา และทรัพยากรสารสนเทศมีจํานวนเพียงพอกับความตองการ ดานสิ่งแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวก ผูใชบริการมีความพึงพอใจในการมีแผนปายบอกประเภทสิ่งพิมพ และหมวดหมูที่ชั้นหนังสืออยางชัดเจน รองลงมาไดแก อุณหภูมิและแสงสวางมีความเหมาะสม และสภาพแวดลอมสะอาดเปนระเบียบเอื้อตอการเรียนรู นอกจากนั้นยังพบวา ผูใชที่มีปจจัยสวนบุคคล คือ เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา และรายไดที่แตกตางกัน จะมีความพึงพอใจตอคุณภาพการใหบริการของสํานักวิทยาบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แตกตางกัน

วนิดา หาญณรงค (2558) ทําการศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรตอเว็บไซต กองกลาง สํานักงานอธิการบดี พบวา สถานภาพของผูตอบแบบสอบถามซึ่งเปนบุคลากรกองกลาง สํานักงานอธิการบดี จาก 4 หนวยงานคือ งานประชาสัมพันธ งานสภาคณาจารย งานสารบรรณ งานการประชุมและพิธีการสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 62.1 มีอายุระหวาง 30-39 ป รอยละ 51.1 และมีการศึกษาสูงกวาปริญญาตรีรอยละ39.40 2. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรตอเว็บไซตของ กองกลาง สํานักงานอธิการบดี พบวา บุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอเว็บไซตแตกตางกัน โดยพิจารณาความพึงพอใน แบงเปนรายดานทั้ง 3 ดานปรากฏผล ดังนี้

ดานรูปแบบ ผูตอบแบบสอบถามมีความ พึงพอใจตอเว็บไซตของ กองกลางในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแตละขอพบวา มีความคิดเห็นในระดับมาก 1 ขอและอยูในระดับปานกลาง 3 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด ไดแก การจัด รูปแบบหนาจอรูปภาพและสีมีความเหมาะสม และมีรูปแบบที่ทันสมัย นาสนใจ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบสม่ําเสมอ และมีรูปแบบที่หลากหลาย ตามลําดับ

ดานวิธีการนําเสนอผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของตอเว็บไซตกองกลาง ในภาพรวมอยูในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวาบุคลากรมีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลางทุกขอโดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดไดแก มีวิธีการนําเสนอที่เปนระบบ และมีวิธีการนําเสนอที่

Page 42: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

31

เหมาะสม และนาสนใจตามลําดับ สวน ขอที่คาเฉลี่ยต่ําสุดไดแก มีวิธีการนําเสนอที่สะดวกตอการคนหา

ดานเนื้อหาผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของตอเว็บไซตกองกลาง ดานเนื้อหาภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวาบุคลากรมีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลางทุกขอโดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดไดแก มีเนื้อหาที่สอดคลองตอความตองการของบุคลากร มีเนื้อหาที่เปนประโยชนตอบุคลากรในหนวยงาน และ เนื้อหามีหลากหลายและถูกตองครบถวน ตามลําดับ สวนขอที่คาเฉลี่ยต่ําสุดไดแก มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาตลอดเวลา

สุเทพ เดชะชีพ (2558) ทําการศึกษาพฤติกรรมการใชประโยชนและความพึงพอใจจากการเปดรับสารบนเว็บไซตบริการเครือขายสังคมออนไลนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา กลุมตัวอยางใชบริการเว็บไซตบริการเครือขายสังคมออนไลนทุกวัน สวนใหญใชบริการแตละครั้งมากกวา 1 - 2 ชั่วโมง ชวงเวลาที่ใชบริการเครือขายสังคมออนไลน มากที่สุด คือ เวลา 20.01-24.00 น. โดยเปดเขาเว็บไซตจากที่บานมากที่สุด กิจกรรมที่ทําเปนประจํามากที่สุด คือ ติดตามขาวสารตาง ๆ ของเพื่อนบนเครือขายสังคม (Newsfeed) รองลงมา คือ การโพสตขอความหรือ บทความตาง ๆ ที่หนาเว็บของตน และ Upload รูป และ VDO Clips ลงหนาเว็บของตน ตามลําดับ เว็บไซตที่กลุมตัวอยางเขาไปใชบริการบอยที่สุดเปนลําดับที่ 1 คือ Facebook ลําดับที่ 2 คือ Youtube และลําดับที่ 3 คือ Twitter โดยพบวา ผูใชที่มีปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา และพฤติกรรมการใชบริการ ไดแก ความถี่ในการใช ลักษณะการเขามาใชบริการ ชวงเวลาที่เขามาใชบริการ แตกตางกัน จะมีความพึงพอใจตอเว็บไซตคณะแตกตางกัน โดยพบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอการที่ เว็บไซตมีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติความเปนมา และขอมูลแนะนําการดําเนินงานของบริษัท เนื่องจากเปนขอมูลที่ชวยใหเกิดความมั่นใจในการใชบริการของเว็บไซตนั้น ๆ มากขึ้น

Page 43: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

32

ตารางที่ 2.1 จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของ สามารถสรุป ปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต ได โดยมีรายละเอียดดังนี้

ปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซตชื่อผูวิจัย (ปที่ศึกษา)เพศ อายุ อา

ชีพระดับ

การศึกษาความถี่ ชวง

เวลารูปแบบการใช

เหตุผลการใช

สุเทพ เดชะชีพ (2558)

วนิดา หาญณรงค (2558)

น้ําลิน เทียมแกว (2557) พรพิมล สงกระสันต (2557)

สุปราณี ยิ่งมั่นคง (2556)

ศิริพร อวมมีเพียร (2552) วิวัฑฒน สมตน (2552)

รงรอง แรมสิเยอ (2556)

ชฎาภรณ สวนแสน (2551) มานีสงค ปฐมวิริยะวงศ (2550)

รวม 9 9 8 9 3 3 3 2

จากศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดทําการสรุป และนําขอมูลที่ไดมาใชในการกําหนดตัวแปรที่ใชในการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ไดแก 1.1 ปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการ ไดแก เพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษา ซึ่งไดจากการวิเคราะหและสรุปผลปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซตจากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวของจํานวน 10 เรื่อง

1.2 พฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ไดแก ความถี่ในการใช ลักษณะการเขามาใชบริการ ชวงเวลาที่เขามาใชบริการ และเหตุผลในการเขามาใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยใชแนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคของ Kolter (1997) มาใชเปนแนวทางในการศึกษา

2. ตัวแปรตาม (Independent Variable) ไดแก 2.1 ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม แบงออกเปน 4 ดาน ไดแก ดานคุณภาพของเนื้อหา ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และดานความสะดวกในการใช โดยใชแนวคิดเกี่ยวกับการวัดระดับความพึงพอใจของ วิทวัส รุงเรืองผล

Page 44: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

33

(2553) มาเปนแนวทางในการวัดระดับความพึงพอใจของผูใชบริการที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม และใชหลักการออกแบบเว็บไซตของศูนยขอมูล SMEs Knowledge Center (2557) มาใชเปนแนวทางการสรางแบบสอบถามเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการที่มีตอการใชบริการเว็บไซต

2.6 กรอบแนวคิดในการวิจัยจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี Kolter (2012) และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยสามารถนํามาใชใน

การสรางกรอบแนวคิดในการวิจัยได โดยมีรายละเอียดดังนี้ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

แผนภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดในการวิจัย

2.7 สมมติฐานการวิจัยสมมติฐาน 1 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจตอการใช

บริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกันสมมติฐาน 2 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุตางกัน มีความพึงพอใจตอการใช

บริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกันสมมติฐาน 3 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึงพอใจตอการใช

บริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกันสมมติฐาน 4 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจ

ตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

1. ดานคุณภาพของเนื้อหา 2. ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ 3. ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต 4. ดานความสะดวกในการใช

ปจจัยสวนบุคคล1. เพศ2. อายุ3. ระดับการศึกษา4. อาชีพ

Page 45: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

34

2.8 นิยามเชิงปฏิบัติการพฤติกรรมการใชบริการ หมายถึง ความถี่ในการใช ลักษณะการเขามาใช ชวงเวลาที่เขามาใช

และเหตุผลในการเขามาใชบริการ ของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม แลวมีความรูสึกใน

ทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสมหวังตอการเขามาใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยแบงเปน 4 ดาน ไดแก

1. ดานคุณภาพของเนื้อหา หมายถึง ความครบถวนและถูกตองของชื่อหนวยงาน/แหลงขอมูลภาษาเขาใจงาย กระชับ อธิบายชี้แจงขอมูลไดชัดเจน ขอมูลเปนปจจุบันและถูกตอง ขอมูลที่นําเสนอครบถวนตรงกับความตองการ

2. ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ หมายถึง ความสวยงาม ความทันสมัย นาสนใจของหนาเว็บไซต การจัดรูปแบบในเว็บไซตงายตอการอานและการใชงาน เมนูตาง ๆ ในเว็บไซตใชงานไดงาย สีสันในการออกแบบเว็บไซตมีความเหมาะสม สีพื้นหลังกับสีตัวอักษรมีความเหมาะสมตอการอาน ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวอักษร อานไดงายและสวยงาม และภาพกับเนื้อหามีความสอดคลองกันและสามารถสื่อความหมายได

3. ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต หมายถึง เว็บสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาเปนเว็บของหนวยงานใด เว็บสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาหนวยงานมีภาระกิจในการดําเนินงานเกี่ยวกับอะไร มีขอมูลของหนวยงานเพียงพอกับความตองการของผูใช และความพึงพอใจตอขอมูลที่ประชาสัมพันธเปนประโยชนตอผูใชในการศึกษาขอมูลขาวสารของหนวยงาน

4. ดานความสะดวกในการใช หมายถึง ความรวดเร็วในการเขาถึงเว็บไซต ความสะดวกในการเชื่อมโยงขอมูลภายในเว็บไซต ความสะดวกในการเชื่อมโยงขอมูลไปยังเว็บไซตอื่น มีชองทางการติดตอสอบถามและใหขอเสนอแนะ มีการเชื่อมโยงไปยัง Social Media เชน Facebook และมีคําอธิบาย คําแนะนําบริการตาง ๆ ชัดเจน

เว็บไซต ไทย ดอท คอม หมายถึง เว็บไซต สําหรับคนรุนใหมที่กําลังคนหางานที่ใช พรอมที่จะชวยคนไทยหางาน ไดรวมออกบูธกับบริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทแมของ ไทย ดอท คอม เพื่อจัดกิจกรรมใหคําแนะนํากับนอง ๆ นักศึกษาในเรื่องของการหางาน การเตรียมความพรอม การเลือกงานที่ใช โอกาสกาวหนาในงานไดอยางตรงตามความตองการของผูหางานทุกคน

Page 46: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

35

บทที่ 3ระเบียบวิธีวิจัย

การศึกษาวิจัย เรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) โดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการศึกษา ซึ่งผูวิจัยไดทําการกําหนดวิธีการดําเนินการวิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล 3.4 การวิเคราะหขอมูล 3.5 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.1.1 ประชากรที่ใชในการศึกษาประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร ทั้งเพศ

ชายและเพศหญิงที่มีอายุตั้งแต 18 ป ขึ้นไป โดยจะตองเปนผูที่เคยใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม มาแลวไมต่ํากวา 1 ครั้ง

3.1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษากลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยใชวิธีการคํานวณเพื่อหากลุมตัวอยาง

(Sample Size) โดยใชสูตรไมทราบขนาดตัวอยางของ W.G. Cochran โดยกําหนดระดับคาความเชื่อมั่นรอยละ 95 และระดับคาความคลาดเคลื่อนรอยละ 5 (กัลยา วาณิชยบัญชา, 2552, หนา 74) โดยมีสูตรการคํานวณดังนี้

n P (1 – P) Z ² e ²

n ขนาดของกลุมตัวอยางP สัดสวนของประชากรที่ผูวิจัยจะสุม Z ระดับความมั่นใจที่ผูวิจัยกําหนดไว

Page 47: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

36

โดย Z มีคาเทากับ 1.96 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % (ระดับ 0.05)P ตองกําหนดไมต่ํากวา 50 % ขนาดของกลุมตัวอยางจึงจะอยูใน

ระดับที่เชื่อถือได (ธานินทร ศิลปจารุ, 2550, หนา 48)e สัดสวนของความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหเกิดขึ้นได

ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยกําหนดให P (สัดสวนของประชากร) เทากับ 50 % หรือ 0.50 ตองการระดับความเชื่อมั่นที่ 95 % และยอมใหมีความคลาดเคลื่อนได 5 %

แทนคา n (0.50) (1 – 0.50) (1.96) ² (0.05) ²

n 0.9604 0.025

n 384.16จากผลการคํานวณพบวา จํานวนกลุมตัวอยางที่เหมาะสมกับการศึกษาในครั้งนี้ เทากับ 384.16

คน เพื่อใหไดจํานวนประชากรกลุมตัวอยางที่ครอบคลุมจํานวนประชากรทั้งหมดมากยิ่งขึ้น ผูวิจัยจึงไดกําหนดจํานวนประชากรกลุมตัวอยางที่จะใชในการศึกษาในครั้งนี้ คือ 400 ตัวอยาง

3.1.3 การเลือกกลุมตัวอยางการเลือกกลุ มตัวอย าง ผู วิจั ยใชการเลือก โดยการสุมตัวอย างแบบบัง เอิญ

(Accidental Sampling) โดยจะเก็บกลุมตัวอยางผานสื่อออนไลน โดยใชโปรแกรม Google Docs จนไดจํานวนกลุมตัวอยางครบทั้งสิ้น 400 ตัวอยาง

3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เครื่องมือที่ใชในการศึกษา คือ แบบสอบถามที่สรางขึ้นจากการศึกษา

แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยแบงออกเปน 3 ตอน ดังนี้ตอนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับขอมูลปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการเว็บไซต จําแนกตาม

เพศ อายุ อาชีพ ระดับการศึกษา เปนคําถามแบบปลายปด โดยมีคําตอบใหเลือก (Multiple Choice Questions)

Page 48: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

37

ตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามพฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ประกอบดวย ความถี่ในการใช ลักษณะการเขามาใชบริการ ชวงเวลาที่เขามาใชบริการ และเหตุผลในการเขามาใชบริการ เปนคําถามแบบปลายปด โดยมีคําตอบใหเลือก (Multiple Choice Questions)

ตอนที่ 3 เปนแบบสอบถามความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยเปนแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคาชนิด 5 ตัวเลือก แบงออกเปน 4 ดาน คือ ความพึงพอใจดานคุณภาพของเนื้อหา ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และดานความสะดวกในการใช โดยลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบปลายปด ประกอบดวยขอความที่แสดงถึงความพึงพอใจในการใชบริการ ดานตาง ๆ ของผูใชบริการ โดยระดับคะแนนเปนแบบ Rating Scale ซึ่งแบงออกเปน 5 ระดับ ดังนี้ (ศิริวรรณ เสรีรัตน, 2552, หนา 167)

มากที่สุด = 5 คะแนนมาก = 4 คะแนนปานกลาง = 3 คะแนนนอย = 2 คะแนนนอยที่สุด = 1 คะแนน

การแปลความหมายของคะแนน ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑสําหรับวัดระดับความพึงพอใจ โดยนําคาเฉลี่ย (Mean) ของคะแนนเปนตัวชี้วัด โดยกําหนดเกณฑดังนี้ (วิเชียร เกตุสิงห, 2551, หนา 8-11)

คาเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจ4.21 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด3.41 – 4.20 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก2.61 – 3.40 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง1.81 – 2.60 หมายถึง มีความพึงพอใจนอย1.00 – 1.80 หมายถึง มีความพึงพอใจนอยที่สุด

ขั้นตอนในการสรางเครื่องมือการสรางเครื่องมือแบบสอบถามผูวิจัยไดสรางแบบสอบถามตามขั้นตอนดังนี้1. ผูวิจัยไดศึกษาขอมูลจากแนวความคิดที่เกี่ยวของกับงานวิจัย และศึกษาขอมูลจากงานวิจัยที่

เกี่ยวของ เพื่อเปนกรอบขอมูลเบื้องตน แลวกําหนดขอคําถามใหครอบคลุมเนื้อหาที่ตองการศึกษา2. นําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาสรางแบบสอบถาม

Page 49: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

38

3. นําแบบสอบถามที่สรางขึ้นเสนออาจารยที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบความถูกตองตามเนื้อหา และความเหมาะสมที่จะใชในการเก็บขอมูล และพิจารณาแกไขปรับปรุงใหแบบสอบถามมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น

4. นําแบบสอบถามที่ไดรับการปรับปรุงและพิจารณารับรองจากอาจารยที่ปรึกษาไปใชในการเก็บขอมูลในการศึกษาวิจัยตอไป

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้1. แหลงปฐมภูมิ (Primary Data) การเก็บรวบรวมขอมูลในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยใชการ

เลือก โดยการสุมตัวอยางแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยจะเก็บกลุมตัวอยางผานสื่อออนไลน โดยใชโปรแกรม Google Docs จนไดจํานวนกลุมตัวอยางครบทั้งสิ้น 400 ตัวอยาง

2. แหลงขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษา คนควา และรวบรวมขอมูลจากหนังสือ บทความและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับงานวิจัยของผูวิจัย เพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้

3.4 การวิเคราะหขอมูล หลังจากผูวิจัยไดทําการตรวจสอบความสมบูรณและความถูกตองของแบบสอบถาม จากนั้นจึง

นําแบบสอบถามมาลงรหัส (Coding) ตามวิธีการวิจัยทางสถิติ และดําเนินการวิเคราะหประมวลผลขอมูลดวยคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ

สถิติวิเคราะหเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics Analysis) โดยใชคารอยละ (Percentage) ความถี่ (Frequency) คาเฉลี่ย (Mean) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คาความแปรปรวน (Variance) และนําเสนอขอมูลในตารางเพื่ออธิบายเบื้องตนเกี่ยวกับกลุมตัวอยาง

สถิติวิเคราะหเชิงอนุมาน (Inferential Statistical Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน ดังนี้

Page 50: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

39

สมมติฐาน 1 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

สมมติฐาน 2 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

สมมติฐาน 3 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

สมมติฐาน 4 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

ตัวแปรอิสระ คือ ปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการ ไดแก เพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษา

ตัวแปรตาม คือ ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมสถิติที่ใช: ใชสถิติการทดสอบสมมติฐานของกลุมตัวอยาง 2 กลุมที่เปนอิสระจากกัน

(t-test Independent) เพื่อใชทดสอบคาเฉลี่ยความแตกตางของตัวแปรระหวางปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการไดแก เพศ กับความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม และใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA ) ในกรณีพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติใชการทดสอบรายคูโดยวิธี Scheffe’ เพื่อทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุม เพื่อใชทดสอบคาเฉลี่ยความแตกตางของตัวแปรระหวางปจจัยสวนบุคคลของผูใชบริการ ไดแก อายุ อาชีพ และระดับการศึกษา กับความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

Page 51: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

40

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษา เรื่อง ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรม และความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยทําการศึกษาจากผูใชบริการ จํานวน 400 คน ผูวิจัยจะนําเสนอผลการวิจัยและอภิปรายผลตามลําดับ ดังนี้

4.1 ขอมูลปจจัยสวนบุคคล ของกลุมตัวอยาง 4.2 พฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของกลุมตัวอยาง4.3 ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมของผูใชบริการ4.4 ผลการทดสอบสมมติฐาน

4.1 ขอมูลปจจัยสวนบุคคล ของกลุมตัวอยางการศึกษาขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดวย ปจจัยดาน

เพศ อายุ อาชีพ และระดับการศึกษา มีรายละเอียดดังตารางที่ 4.1-4.4

ตารางที่ 4.1 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ N = 400

ขอมูลสวนบุคคล จํานวนตัวอยาง รอยละเพศ

ชาย 183 45.80หญิง 217 54.20

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.1 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 217 คน คิดเปนรอยละ54.20 รองลงมา คือ เพศชาย จํานวน 183 คน คิดเปนรอยละ 45.80

Page 52: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

41

ตารางที่ 4.2 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ N = 400

ขอมูลสวนบุคคล จํานวนตัวอยาง รอยละอายุ

20-25 ป 154 38.5026-30 ป 60 15.0031-35 ป 56 14.0036-40 ป 64 16.0041-45 ป 30 7.5045 ปขึ้นไป 36 9.00

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.2 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีอายุ 20-25 ป จํานวน154 คน คิดเปนรอยละ 38.50 รองลงมา คือ 36-40 ป จํานวน 64 คน คิดเปนรอยละ 16.00 และนอยที่สุดคือ 41-45 ป จํานวน 30 คน คิดเปนรอยละ 7.50

ตารางที่ 4.3 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอาชีพ N = 400

ขอมูลสวนบุคคล จํานวนตัวอยาง รอยละอาชีพ

นักเรียน/นักศึกษา 56 14.00ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ 33 8.30พนักงานบริษัทเอกชน 101 25.30อื่น ๆ 210 52.40

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.3 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญประกอบอาชีพอื่น ๆ มากที่สุด จํานวน 210 คน คิดเปนรอยละ 52.50 รองลงมา คือ พนักงานบริษัทเอกชน จํานวน 101 คน คิดเปนรอยละ 25.30 และนอยที่สุด คือ ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ จํานวน 33 คน คิดเปนรอยละ 8.30

Page 53: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

42

ตารางที่ 4.4 จํานวนรอยละของขอมูลสวนบุคคลของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา N = 400

ขอมูลสวนบุคคล จํานวนตัวอยาง รอยละระดับการศึกษา

ต่ํากวาปริญญาตรี 56 14.00ปริญญาตรี 276 69.00สูงกวาปริญญาตรี 68 17.00

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.4 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด จํานวน 276 คน คิดเปนรอยละ 69.00 รองลงมา คือ สูงกวาปริญญาตรี จํานวน 68 คน คิดเปนรอยละ 17.00 และนอยที่สุด คือ ต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 56 คน คิดเปนรอยละ 14.0

4.2 พฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของกลุมตัวอยางการศึกษาพฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม แบงออกเปน 7 ประเด็น ใน

การศึกษา ไดแก ความถี่ในการใชบริการตอสัปดาห ชวงเวลาที่ใชบริการ ระยะเวลาในการใชบริการตอครั้ง สถานที่ที่ใชบริการ ลักษณะในการใชบริการ ชองทางที่ทําใหรูจัดเว็บไซต และเหตุผลที่ใชบริการเว็บไซต โดยผลการศึกษามีรายละเอียดดังตารางที่ 4.5 – 4.11

ตารางที่ 4.5 จํานวนรอยละของความถี่ในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ภายใน 1 สัปดาห N = 400

ความถี่ในการใชบริการ (1 สัปดาห) จํานวนตัวอยาง รอยละนอยกวา 1 ครั้งตอสัปดาห 70 17.501 – 2 ครั้งตอสัปดาห 165 41.303 – 4 ครั้งตอสัปดาห 119 29.605 – 6 ครั้งตอสัปดาห 37 9.30ทุกวัน 9 2.30

รวม 400 100.00

Page 54: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

43

จากตารางที่ 4.5 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีความถี่ในการใชบริการ 1 – 2 ครั้งตอสัปดาห มากที่สุด โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 165 คน คิดเปนรอยละ41.30 รองลงมา คือ 3 – 4 ครั้งตอสัปดาห จํานวน 119 คน คิดเปนรอยละ 29.60 และนอยที่สุด คือ ทุกวัน จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 2.30

ตารางที่ 4.6 จํานวนรอยละของชวงเวลาที่ใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม N = 400

ชวงเวลาที่ใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จํานวนตัวอยาง รอยละชวงเชา (05.00 – 11.00 น.) 23 5.60ชวงกลางวัน (11.00 – 16.00 น.) 60 15.00ชวงเย็น (16.00 – 19.00 น.) 153 38.30ชวงกลางคืน (19.00 – 24.00 น.) 137 34.30ชวงดึก (00.00 – 05.00 น.) 27 6.80

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.6 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ในชวงเย็น (16.00 – 19.00 น.) มากที่สุด โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 153 คน คิดเปนรอยละ38.30 รองลงมา คือ ชวงกลางคืน (19.00 – 24.00 น.) จํานวน 137 คน คิดเปนรอยละ 34.30 และนอยที่สุด คือ ชวงเชา (05.00 – 11.00 น.) จํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 5.60

ตารางที่ 4.7 จํานวนรอยละของระยะเวลาในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมในแตละครั้งN = 400

ระยะเวลาในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ในแตละครั้ง

จํานวนตัวอยาง รอยละ

นอยกวา 1 ชั่วโมงตอครั้ง 45 11.201 – 2 ชั่วโมงตอครั้ง 200 50.00มากกวา 2 ชั่วโมงตอครั้ง 155 38.80

รวม 400 100.00

Page 55: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

44

จากตารางที่ 4.7 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ จะมีระยะเวลาการใชบริการเว็บไซต 1 – 2 ชั่วโมงตอครั้งมากที่สุด โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 200 คน คิดเปนรอยละ50.00 รองลงมา คือ มากกวา 2 ชั่วโมงตอครั้ง จํานวน 155 คน คิดเปนรอยละ 38.80 และนอยที่สุด คือ นอยกวา 1 ชั่วโมงตอครั้ง จํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 11.20

ตารางที่ 4.8 จํานวนรอยละของสถานที่ที่ใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม N = 400

สถานที่ที่ใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จํานวนตัวอยาง รอยละบาน 161 40.30ที่ทํางาน/สถานศึกษา 71 17.80รานอินเตอรเน็ต 87 21.60อื่น ๆ 81 20.30

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 4.8 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญใชบริการเว็บไซตที่บานมากที่สุด โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 161 คน คิดเปนรอยละ40.30 รองลงมา คือ รานอินเตอรเน็ต จํานวน 87 คน คิดเปนรอยละ 21.60 และนอยที่สุด คือ ที่ทํางาน/สถานศึกษา จํานวน 71 คน คิดเปนรอยละ 17.80

ตารางที่ 4.9 จํานวนรอยละของพฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ทานเขามาใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม อยางไร

N = 400รูปแบบในการเขาใชบริการเว็บไซต จํานวนตัวอยาง รอยละ

เขาใชงานเว็บไซตจากคอมพิวเตอร 135 33.80เขาใชงานเว็บไซตจากโทรศัพทมือถือ 145 36.20เขาใชงานเว็บไซตจากแท็บเล็ท 78 19.50อื่น ๆ 42 10.50

รวม 400 100.00

Page 56: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

45

จากตารางที่ 4.9 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเขาใชงานเว็บไซตจากโทรศัพทมือถือมากที่สุด โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 145 คน คิดเปนรอยละ 36.20 รองลงมา คือ จากคอมพิวเตอร จํานวน 135 คน คิดเปนรอยละ 33.80 และนอยที่สุด คือ อื่น ๆ จํานวน 42 คน คิดเปนรอยละ 10.50

ตารางที่ 4.10 จํานวนรอยละของชองทางที่ทําใหรูจักเว็บไซต N = 400

ชองทางที่ทําใหรูจักเว็บไซต จํานวนตัวอยาง รอยละรูจักเว็บไซตจากการคนหาใน Google 178 44.50เพื่อน/คนรูจักแนะนํา 133 33.30ฝายแนะแนวของสถานศึกษาแนะนํา 11 2.80อื่น ๆ 78 19.40

รวม 400 100.00

จากตารางที่ 10 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญรูจักเว็บไซตจากการคนหาใน Google มากที่สุด โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 178 คน คิดเปนรอยละ 44.50 รองลงมา คือ เพื่อน/คนรูจักแนะนํา จํานวน 133 คน คิดเปนรอยละ 33.30 และนอยที่สุด คือ ฝายแนะแนวของสถานศึกษาแนะนํา จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 2.80

ตารางที่ 4.11 จํานวนรอยละเหตุผลในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม N = 400

เหตุผลในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จํานวนตัวอยาง รอยละตองการสมัครงาน 127 31.80ตองการรับสมัครงาน 43 10.80ตองการหาขอมูลเกี่ยวกับหนวยงานตาง ๆ 56 14.00ตองการมองหางานใหม 136 34.00อื่น ๆ 38 9.40

รวม 400 100.00

Page 57: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

46

จากตารางที่ 4.11 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญใชบริการเว็บไซตเนื่องจากตองการมองหางานใหมมากที่สุด โดยมีจํานวนทั้งสิ้น 136 คน คิดเปนรอยละ 34.00 รองลงมา คือ ตองการสมัครงาน จํานวน 127 คน คิดเปนรอยละ 31.80 และนอยที่สุด คือ อื่น ๆ จํานวน 38 คน คิดเปนรอยละ 9.40

4.3 ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการการวิเคราะหความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตของผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท

คอม แบงเปน ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต 4 ดาน ไดแก ดานคุณภาพของเนื้อหา ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต ดานความสะดวกในการใช โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 4.12 – 4.16

ตารางที่ 4.12 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมของผูใชบริการโดยรวม

N = 400ความพึงพอใจตอการใชบริการ

เว็บไซต ไทย ดอท คอมx̄ S.D.

ระดับความพึงพอใจ

1. ดานคุณภาพของเนื้อหา 3.24 0.58 ปานกลาง2. ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ 3.18 0.47 ปานกลาง3. ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต 3.24 0.57 ปานกลาง4. ดานความสะดวกในการใช 3.19 0.45 ปานกลาง

โดยรวม 3.21 0.31 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.12 พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 3.21) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปนดาน พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจดานคุณภาพของเนื้อหา และดานวัตถุประสงคของเว็บไซตมากที่สุด (คาเฉลี่ย 3.24) รองลงมา คือ ดานความสะดวกในการใช (คาเฉลี่ย 3.19) และที่นอยที่สุด คือ ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ (คาเฉลี่ย 3.18)

Page 58: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

47

ตารางที่ 4.13 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการ ดานคุณภาพของเน้ือหา

N = 400

ขอ ความพึงพอใจดานคุณภาพของเนื้อหา x̄ S.D.ระดับความ

พึงพอใจอันดับ

1 ความครบถวนและถูกตองของชื่อหนวยงาน/แหลงขอมูล

3.23 1.05 ปานกลาง 2

2 ภาษาเขาใจงาย กระชับ อธิบายชี้แจงขอมูลไดชัดเจน

3.10 1.10 ปานกลาง 4

3 ขอมูลมีความทันสมัย และถูกตอง 3.15 0.92 ปานกลาง 34 ความครบถวนตรงและตรงกับความ

ตองการของขอมูลที่นําเสนอ3.42 1.02 มาก 1

โดยรวม 3.24 0.58 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.13 พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานคุณภาพเนื้อหา โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉล่ีย 3.24) ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอความครบถวน และตรงกับความตองการของขอมูลที่นําเสนอมากที่สุด โดยมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ย 3.42) รองลงมา คือ ความครบถวนและถูกตองของชื่อหนวยงาน/แหลงขอมูล (คา เฉลี่ย 3.23) และที่นอยที่สุด คือ ภาษาเขาใจงาย กระชับ อธิบายชี้แจงขอมูลไดชัดเจน (คาเฉลี่ย 3.10)

Page 59: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

48

ตารางที่ 4.14 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการ ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ

N = 400

ขอความพึงพอใจ

ดานการออกแบบและจัดรูปแบบx̄ S.D.

ระดับความพึงพอใจ

1 ความสวยงาม ความทันสมัย นาสนใจของหนาเว็บไซต

2.98 0.87 ปานกลาง

2 การจัดรูปแบบในเว็บไซตงายตอการอาน 3.10 1.02 ปานกลาง3 การใชงาน เมนูตาง ๆ ในเว็บไซตที่สามารถใช

งานไดงาย3.19 0.93 ปานกลาง

4 สีสัน และสีของพื้นหลังในการออกแบบเว็บไซตมีความเหมาะสมตอการอาน

3.30 1.00 ปานกลาง

5 ภาพกับเนื้อหามีความสอดคลองกันและสามารถสื่อความหมายได

3.31 0.97 ปานกลาง

โดยรวม 3.18 0.47 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.14 พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 3.18) ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอภาพกับเนื้อหามีความสอดคลองกัน และสามารถสื่อความหมายไดมากที่สุด (คาเฉลี่ย 3.31) รองลงมา คือ สีสัน และสีของพื้นหลังในการออกแบบเว็บไซตมีความเหมาะสมตอการอาน (คาเฉลี่ย 3.30) และที่นอยที่สุด คือ ความสวยงาม ความทันสมัย นาสนใจของหนาเว็บไซต (คาเฉลี่ย 2.98)

Page 60: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

49

ตารางที่ 4.15 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต

N = 400

ขอ ความพึงพอใจดานวัตถุประสงคของเว็บไซต x̄ S.D.ระดับ

ความพึงพอใจ1 เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาเปนเว็บของ

หนวยงานใด3.33 0.92 ปานกลาง

2 เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาหนวยงานมีภารกิจใดในการดําเนินงาน

3.13 0.89 ปานกลาง

3 เว็บไซตมีขอมูลของหนวยงานเพียงพอกับความตองการของผูใช

3.20 0.99 ปานกลาง

4 เว็บไซตใหบริการแกผูที่สนใจฟรี ไมมีการเรียกเก็บคาบริการ

3.31 1.01 ปานกลาง

โดยรวม 3.24 0.57 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.15 พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานวัตถุประสงคของเว็บไซตโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 3.24) ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอการที่เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาเปนเว็บของหนวยงานใดไดมากที่สุด (คาเฉลี่ย 3.33) รองลงมา คือ เว็บไซตใหบริการแกผูที่สนใจฟรี ไมมีการเรียกเก็บคาบริการ (คาเฉลี่ย 3.31) และที่นอยที่สุด คือ เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาหนวยงานมีภารกิจใดในการ (คาเฉลี่ย 3.13)

Page 61: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

50

ตารางที่ 4.16 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพึงพอใจในการใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม ของผูใชบริการ ดานความสะดวกในการใช

N = 400

ขอ ความพึงพอใจดานความสะดวกในการใช x̄ S.D.ระดับ

ความพึงพอใจ1 ความรวดเร็วในการเขาถึงเว็บไซต 2.84 0.97 ปานกลาง2 ความสะดวกในการเชื่อมโยงขอมูลภายใน

เว็บไซต และเว็บไซตอื่น3.24 0.94 ปานกลาง

3 มีชองทางการติดตอสอบถามและใหขอเสนอแนะ

3.19 0.96 ปานกลาง

4 มีการเชื่อมโยงไปยัง Social Media เชน Facebook

3.39 1.00 ปานกลาง

5 มีคําอธิบาย คําแนะนําบริการตาง ๆ ชัดเจน 3.31 0.94 ปานกลางโดยรวม 3.19 0.45 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.16 พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานความสะดวกในการใช โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 3.19) ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอการที่เว็บไซตมีการเชื่อมโยงไปยัง Social Media เชน Facebook ไดมากที่สุด (คาเฉลี่ย 3.39) รองลงมา คือ มีคําอธิบาย คําแนะนําบริการตาง ๆ ชัดเจน (คาเฉลี่ย 3.31) และที่นอยที่สุด คือ ความรวดเร็วในการเขาถึงเว็บไซต (คาเฉลี่ย 2.84)

Page 62: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

51

4.4 ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐานที่ 1 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจตอการ

ใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

ตารางที่ 4.17 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสถิติของการเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จําแนกตามเพศ

N = 400เพศ

ชาย หญิงN = 183 N = 217

ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

x̄ S.D. x̄ S.D.

tSig.

(2-tailed)

ดานคุณภาพของเนื้อหา 3.30 0.58 3.19 0.57 1.799 0.073ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ 3.16 0.40 3.19 0.53 -0.528 0.598

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต 3.17 0.62 3.30 0.51 -2.174 0.030*ดานความสะดวกในการใช 3.18 0.50 3.21 0.41 -0.572 0.567

โดยรวม 3.20 0.30 3.22 0.31 -0.569 0.570* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.17 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีเพศตางกันมีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซด ไทย ดอท คอม โดยภาพรวมไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจดานวัตถุประสงคของเว็บไซต แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผูใชบริการ ที่เปนเพศหญิง มีความพึงพอใจมากกวาเพศชาย

สมมติฐานที่ 2 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

Page 63: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

52

ตารางที่ 4.18 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จําแนกตามอายุ N = 400

อายุ

20-25 ป 26-30 ป 31-35 ป 36-40ป 41-45 ป 45 ปขึ้นไปN = 154 N = 60 N = 56 N = 64 N = 30 N 36

ความพึงพอใจที่มีตอ

การใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท

คอมx̄ S.D.

ระดับx̄ S.D.

ระดับx̄ S.D.

ระดับx̄ S.D.

ระดับx̄ S.D.

ระดับx̄ S.D.

ระดับ

ดานคุณภาพของเนื้อหา

3.23 0.57 ปานกลาง

3.13 0.54 ปานกลาง

3.25 0.61 ปานกลาง

3.22 0.60 ปานกลาง

3.20 0.58 ปานกลาง

3.35 0.51 ปานกลาง

ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ

3.18 0.48 ปานกลาง

3.13 0.50 ปานกลาง

3.15 0.48 ปานกลาง

3.14 0.48 ปานกลาง

3.21 0.45 ปานกลาง

3.31 0.40 ปานกลาง

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต

3.28 0.57 ปานกลาง

3.23 0.54 ปานกลาง

3.23 0.59 ปานกลาง

3.22 0.55 ปานกลาง

3.18 0.67 ปานกลาง

3.18 0.53 ปานกลาง

ดานความสะดวกในการใช

3.13 0.47 ปานกลาง

3.20 0.39 ปานกลาง

3.20 0.44 ปานกลาง

3.26 0.46 ปานกลาง

3.34 0.48 ปานกลาง

3.23 0.47 ปานกลาง

โดยรวม 3.21 0.30 ปานกลาง

3.17 0.29 ปานกลาง

3.20 0.32 ปานกลาง

3.21 0.28 ปานกลาง

3.23 0.38 ปานกลาง

3.31 0.29 ปานกลาง

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 64: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

53

จากตารางที่ 4.18 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมที่มีอายุแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลางทั้งหมด อันดับแรกคือ 45 ปขึ้นไป รองลงมาคือ 41-45 ป และ อันดับสุดทายคือ 26-30 ป ตามลําดับตารางที่ 4.19 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต

ไทย ดอท คอม จําแนกตามอายุ

ตัวแปร แหลงความแปรปรวน

Sum of Squares df Mean Square F Sig.

ระหวางกลุม 5.058 6 0.843 2.530 0.020*ภายในกลุม 130.936 393 0.333

ดานคุณภาพของเนื้อหา

รวม 135.994 399ระหวางกลุม 0.905 6 0.151 0.653 0.687ภายในกลุม 90.711 393 0.231

ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ

รวม 91.616 399ระหวางกลุม 0.634 6 0.106 0.319 0.927ภายในกลุม 129.981 393 0.331

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต

รวม 130.615 399ระหวางกลุม 1.635 6 0.272 1.303 0.255ภายในกลุม 82.205 393 0.209

ดานความสะดวกในการใช

รวม 83.840 399ระหวางกลุม 0.534 6 0.089 0.923ภายในกลุม 37.868 393 0.096รวมรวม 38.402 399

0.478

จากตารางที่ 4.19 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยภาพรวม ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการที่มีอายุแตกตางกันมีความพึงพอใจตอการใชบริการ ดานคุณภาพของเนื้อหา แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ดังนั้นจึงเปรียบเทียบเปนรายคู โดยใชวิธี Scheffe’ สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05

Page 65: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

54

ตารางที่ 4.20 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานคุณภาพของเนื้อหา จําแนกตามอายุ

อายุ x̄20-25 ป(3.23)

26-30 ป(3.13)

31-35 ป(3.25)

36-40 ป(3.22)

41-45 ป(3.20)

45 ปขึ้นไป

(3.35)20-25 ป 3.23 -0.299*26-30 ป 3.13 -0.397*31-35 ป 3.25 -0.284*36-40 ป 3.22 -0.308*41-45 ป 3.20 -0.326*

45 ปขึ้นไป 3.35* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.20 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 5 คู คือ ผูใชบริการที่มีอายุ 45 ป ขึ้นไป มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานคุณภาพของเนื้อหา มากกวา ผูใชบริการที่มีอายุ 20 - 25 ป 26 -30 ป 31 – 35 ป 36 – 40 ป และ 41 – 45 ป

สมมติฐานที่ 3 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน

Page 66: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

55

ตารางที่ 4.21 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและคาสถิติของการเปรียบเทียบความแตกตาง ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม จําแนกตามอาชีพ ดานคุณภาพของเนื้อหา

N = 400อาชีพ

นักเรียน/นักศึกษาขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ

พนักงานบริษัทเอกชน

อื่น ๆ

N = 56 N 33 N = 101 N = 210

ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต

ไทย ดอท คอม

x̄ S.D.ระดับ

x̄ S.D.ระดับ

x̄ S.D.ระดับ

x̄ S.D.ระดับ

ดานคุณภาพ

ของเนื้อหา

3.18 0.60 ปานกลาง

3.28 0.65 ปานกลาง

3.29 0.52 ปานกลาง

3.23 0.59 ปานกลาง

ดานการออกแบบ

และจัดรูปแบบ

3.22 0.54 ปานกลาง

3.27 0.45 ปานกลาง

3.20 0.47 ปานกลาง

3.14 0.46 ปานกลาง

ดานวัตถุประสง

คของ

เว็บไซต

3.33 0.56 ปานกลาง

3.34 0.60 ปานกลาง

3.08 0.66 ปานกลาง

3.28 0.50 ปานกลาง

ดานความสะดวก

ในการใช

3.20 0.36 ปานกลาง

3.15 0.51 ปานกลาง

3.05 0.46 ปานกลาง

3.27 0.45 ปานกลาง

โดยรวม 3.23 0.19 ปานกลาง

3.26 0.44 ปานกลาง

3.15 0.88 ปานกลาง

3.23 0.31 ปานกลาง

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.21 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึง

พอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยรวมอยูในระดับปานกลางทั้งหมด

Page 67: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

56

ตารางที่ 4.22 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม จําแนกตามอาชีพ

ตัวแปร แหลงความแปรปรวน

Sum of Squares df Mean Square F Sig.

ระหวางกลุม 0.514 4 0.129 0.375 0.827 ภายในกลุม 135.480 395 0.343

ดานคุณภาพของเนื้อหา

รวม 135.994 399 ระหวางกลุม 3.265 4 0.816 3.649 0.066 ภายในกลุม 88.351 395 0.224

ดานการออกแบบและ

จัดรูปแบบ รวม 91.616 399 ระหวางกลุม 8.415 4 2.104 6.800 0.000* ภายในกลุม 122.200 395 0.309

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต

รวม 130.615 399 ระหวางกลุม 5.791 4 1.448 7.327 0.000* ภายในกลุม 78.049 395 0.198

ดานความสะดวกในการใช

รวม 83.840 399 ระหวางกลุม 0.827 4 0.207 2.173 0.071 ภายในกลุม 37.575 395 0.095โดยรวม รวม 38.402 399

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตาราง ที่ 4.22 พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพแตกตางกัน มีความ

พึงพอใจตอการใหบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยภาพรวม ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพแตกตางกัน มีความพึงพอใจ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และ ดานความสะดวกในการใช แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 จึงเปรียบเทียบเปนรายคู โดยใชวิธี LSD สวน ดานอื่น ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Page 68: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

57

ตารางที่ 4.23 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม จํ าแนกตามอาชีพ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต

อาชีพ x̄นักเรียน/นักศึกษา

(3.33)

ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ

(3.34)

พนักงานบริษัทเอกชน

(3.08)

อื่น ๆ

(3.28)

นักเรียน/นักศึกษา

3.33 0.255*

ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ

3.34 0.256*

พนักงานบริษัทเอกชน

3.08 -0.197*

อื่น ๆ 3.28* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.23 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดาน วัตถุประสงคของเว็บไซต แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 3 คู คือ

ผูใชบริการที่มีอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดาน วัตถุประสงคของเว็บไซต มากกวา ผูใชบริการที่มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน

ผูใชบริการที่มีอาชีพ ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดาน วัตถุประสงคของเว็บไซต มากกวา ผูใชบริการที่มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน

ผูใชบริการที่มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดาน วัตถุประสงคของเว็บไซต นอยกวา ผูใชบริการที่มีอาชีพอื่น ๆ

Page 69: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

58

ตารางที่ 4.24 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จําแนกตามอาชีพ ดานความสะดวกในการใช

อาชีพ x̄นักเรียน/นักศึกษา

(3.20)

ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ

(3.15)

พนักงานบริษัทเอกชน

(3.05)

อื่น ๆ

(3.27)

นักเรียน/นักศึกษา

3.20

ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ

3.15

พนักงานบริษัทเอกชน

3.05 -0.215*

อื่น ๆ 3.27* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

จากตารางที่ 4.24 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดาน ความสะดวกในการใช แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 1 คู คือ

ผูใชบริการที่มีอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดาน ความสะดวกในการใช นอยกวา ผูใชบริการที่มีอาชีพอื่น ๆ

สมมติฐานที่ 4 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม แตกตางกัน

Page 70: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

59

ตารางที่ 4.25 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและคาสถิติของการเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม ดานคุณภาพของเนื้อหา จําแนกตามระดับการศึกษา

N = 400ระดับการศึกษา

ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

N = 56 N = 276 N = 68

ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการ

เว็บไซต ไทย ดอท คอมx̄ S.D. ระดับ x̄ S.D. ระดับ x̄ S.D. ระดับ

ดานคุณภาพของเนื้อหา 3.47 0.58 มาก 3.14 0.59 ปานกลาง

3.48 0.40 มาก

ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ

3.25 0.44 ปานกลาง

3.20 0.45 ปานกลาง

3.00 0.57 ปานกลาง

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต

3.05 0.77 ปานกลาง

3.26 0.52 ปานกลาง

3.30 0.53 ปานกลาง

ดานความสะดวกในการใช

3.16 0.48 ปานกลาง

3.18 0.44 ปานกลาง

3.30 0.46 ปานกลาง

โดยรวม 3.23 0.39 ปานกลาง

3.20 0.29 ปานกลาง

3.27 0.28 ปานกลาง

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.25 พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาแตกตาง

กัน มีความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี และ สูงกวาปริญญาตรีมีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานคุณภาพของเนื้อหา อยูในระดับ มาก

Page 71: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

60

ตารางที่ 4.26 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จําแนกตามระดับการศึกษา

ตัวแปร แหลงความแปรปรวน

Sum of Squares df Mean Square F Sig.

ระหวางกลุม 0.514 4 0.129 0.375 0.827 ภายในกลุม 135.480 395 0.343

ดานคุณภาพของเนื้อหา

รวม 135.994 399 ระหวางกลุม 3.265 4 0.816 3.649 0.006*ภายในกลุม 88.351 395 0.224

ดานการออกแบบและ

จัดรูปแบบ รวม 91.616 399 ระหวางกลุม 8.415 4 2.104 6.800 0.000*ภายในกลุม 122.200 395 0.309

ดานวัตถุประสงค

การใช รวม 130.615 399 ระหวางกลุม 5.791 4 1.448 7.327 0.000*ภายในกลุม 78.049 395 0.198

ดานความสะดวก

ในการใช รวม 83.840 399 ระหวางกลุม 0.827 4 0.207 2.173 0.071ภายในกลุม 37.575 395 0.095โดยรวมรวม 38.402 399

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากตาราง ที่ 4.26 พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มี

ความพึงพอใจในการใหบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยภาพรวม ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ เมื่อ พิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจ ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และ ดานความสะดวกในการใช แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงเปรียบเทียบเปนรายคู โดยใชวิธี Scheffe’ สวนดานอื่น ๆ ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 72: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

61

ตารางที่ 4.27 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานความสะดวกในการใช จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา x̄ต่ํากวาปริญญาตรี

(3.16)ปริญญาตรี

(3.18)สูงกวาปริญญาตรี

(3.30)ต่ํากวาปริญญาตรี 3.16 -0.020*

ปริญญาตรี 3.18 -0.120*สูงกวาปริญญาตรี 3.30

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.27 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มี

ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานความสะดวกในการใช แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 2 คู คือ

ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี มีความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานความสะดวกในการใช นอยกว า ผู ใชบริการที่มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี

ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี มีความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานความสะดวกในการใช นอยกวา ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา สูงกวาปริญญาตรี

Page 73: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

62

ตารางที่ 4.28 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา x̄ต่ํากวาปริญญาตรี

(3.25)ปริญญาตรี

(3.20)สูงกวาปริญญาตรี

(3.00)ต่ํากวาปริญญาตรี 3.25 0.241*

ปริญญาตรี 3.20 0.200*สูงกวาปริญญาตรี 3.00

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 4.28 พบวาผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มี

ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 2 คู คือ

ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ มากกวา ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา สูงกวาปริญญาตรี

ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ มากกวา ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา สูงกวาปริญญาตรี

ตารางที่ 4.29 ผลการเปรียบเทียบรายคู โดยใชวิธีการของเชฟเฟ (Scheffe’s method) ตามความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา x̄ต่ํากวาปริญญาตรี

(3.05)ปริญญาตรี

(3.26)สูงกวาปริญญาตรี

(3.30)ต่ํากวาปริญญาตรี 3.05 -0.215* -0.251*

ปริญญาตรี 3.26สูงกวาปริญญาตรี 3.30

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 74: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

63

จากตารางที่ 4.29 พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จํานวน 2 คู คือ

ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต นอยกวา ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา ปริญญาตรี

ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี มีความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต นอยกวา ผูใชบริการที่มีระดับการศึกษา สูงกวาปริญญาตรี ตารางที่ 4.30 ผลสรุปการทดสอบสมมติฐาน

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน

ยอมรับสมมติฐาน ไมยอมรับสมมติฐาน

สมมติฐาน 1 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน1.ดานคุณภาพของเนื้อหา2.ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ3.ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต4.ดานความสะดวกในการใช

โดยรวม

สมมติฐาน 2 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน1.ดานคุณภาพของเนื้อหา2.ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ3.ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต4.ดานความสะดวกในการใช

โดยรวม

Page 75: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

64

ตารางที่ 4.30 ผลสรุปการทดสอบสมมติฐาน (ตอ)

ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐาน

ยอมรับสมมติฐาน ไมยอมรับสมมติฐาน

สมมติฐาน 3 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน1.ดานคุณภาพของเนื้อหา2.ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ3.ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต4.ดานความสะดวกในการใช

โดยรวมสมมติฐาน 4 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม แตกตางกัน1.ดานคุณภาพของเนื้อหา2.ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ3.ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต4.ดานความสะดวกในการใช

โดยรวม

Page 76: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

65

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง “ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม” ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาพฤติกรรม และความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยทําการศึกษาจากกลุมตัวอยาง ที่เปนผูที่เคยใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จํานวน 400 คน จากการศึกษา สามารถสรุป อภิปราย และเสนอขอเสนอแนะที่ไดจากการศึกษาวิจัย ดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย5.2 อภิปรายผล5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย

ผลการศึกษาความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม จํานวนทั้งสิ้น 400 คน สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

5.1.1 ผลการวิเคราะหความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ในภาพรวมอยูในระดับ ปานกลาง

เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ในดานคุณภาพของเนื้อหา และดานวัตถุประสงคของเว็บไซตมากที่สุด รองลงมา คือ ดานความสะดวกในการใช และที่นอยที่สุด คือ ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ตามลําดับ โดยสรุปเปนรายดานไดดังนี้

ดานคุณภาพของเนื้อหา พบวาความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานคุณภาพเนื้อหา โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอความครบถวน และตรงกับความตองการของขอมูลที่นําเสนอมากที่สุด โดยมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก รองลงมา คือ ความครบถวนและถูกตองของชื่อหนวยงาน/แหลงขอมูล และที่นอยที่สุด คือ ภาษาเขาใจงาย กระชับ อธิบายชี้แจงขอมูลไดชัดเจน

Page 77: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

66

ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอภาพกับเนื้อหามีความสอดคลองกัน และสามารถสื่อความหมายไดมากที่สุด รองลงมา คือ สีสัน และสีของพื้นหลังในการออกแบบเว็บไซตมีความเหมาะสมตอการอาน และที่นอยที่สุด คือ ความสวยงาม ความทันสมัย นาสนใจของหนาเว็บไซต

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานวัตถุประสงคของเว็บไซตโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอการที่เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาเปนเว็บของหนวยงานใดไดมากที่สุด รองลงมา คือ เว็บไซตใหบริการแกผูที่สนใจฟรี ไมมีการเรียกเก็บคาบริการ และที่นอยที่สุด คือ เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาหนวยงานมีภารกิจใดในการ

ดานความสะดวกในการใช พบวา ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ดานความสะดวกในการใช โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง ทั้งนี้

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ผูใชบริการ เว็บไซต ไทย ดอท คอม มีความพึงพอใจตอการที่เว็บไซตมีการเชื่อมโยงไปยัง Social Media เชน Facebook ไดมากที่สุด รองลงมา คือ มีคําอธิบาย คําแนะนําบริการตาง ๆ ชัดเจน และที่นอยที่สุด คือ ความรวดเร็วในการเขาถึงเว็บไซต

5.1.2 พฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมผลการศึกษาพบวา ผูใชบริการสวนใหญจะใชบริการ 1 – 2 ครั้งตอสัปดาห โดยจะใช

บริการเว็บไซตในชวงเย็น (16.00 – 19.00 น.) มากที่สุด โดยมีระยะเวลาการใช 1 – 2 ชั่วโมงตอครั้ง สถานที่ที่ใชบริการสวนใหญจะใชบริการเว็บไซตที่บาน โดยเขาใชงานเว็บไซตผานโทรศัพทมือถือ นอกจากนั้นยังพบวา สวนรูจักเว็บไซต ไทย ดอท คอม จากการคนหาใน Google และเหตุผลที่ทําใหเขามาใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม คือ ตองการมองหางานใหม

Page 78: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

67

5.1.3 ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐานที่ 1 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจตอการ

ใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยภาพรวมไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจดานวัตถุประสงคของเว็บไซต แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผูใชบริการ ที่เปนเพศหญิง มีความพึงพอใจมากกวาเพศชาย

สมมติฐานที่ 2 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยภาพรวม ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการที่มีอายุแตกตางกันมีความพึงพอใจตอการใชบริการ ดานคุณภาพของเนื้อหา แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 โดยผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอายุมากกวา 45 ป มีความพึงพอใจมากที่สุด

สมมติฐานที่ 3 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม โดยภาพรวม ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพแตกตางกัน มีความพึงพอใจ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และ ดานความสะดวกในการใช แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 โดยผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีอาชีพเปน ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ มีความพึงพอใจมากที่สุด

สมมติฐานที่ 4 ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม โดยภาพรวม ไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ เมื่อ พิจารณาเปนรายดาน พบวา ผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจ ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และ ดานความสะดวกในการใช แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่มีระดับการศึกษา สูงกวาปริญญาตรี มีความพึงพอใจมากที่สุด

5.2 อภิปรายผล

จากผลการวิจัยที่ไดทําการสรุปเนื้อหาสาระสําคัญ สามารถนํามาอภิปรายผลการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้

Page 79: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

68

5.2.1 ความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมผลการศึกษาพบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

ดานคุณภาพของเนื้อหา ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต และดานความสะดวกในการใช ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา

ดานคุณภาพของเนื้อหา พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจในเรื่องของความครบถวนและตรงกับความตองการของขอมูลที่นําเสนอมากที่สุด รองลงมาคือ ความครบถวนและถูกตองของชื่อหนวยงาน/แหลงขอมูล ทั้งนี้เนื่องจากผูที่เขามาใชเว็บไซต ความตองการหลัก คือ ตองการเปดรับขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของกับการหางานเทานั้น ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของเว็บไซตที่ปจจุบันไมมีการคิดคาใชจายในการใชบริการ และไมมีการรับลงโฆษณาสินคา สงผลทําใหหนาเว็บไซตไมมีโฆษณาหรือเนื้อหาอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของขึ้นมารบกวนการเปดรับขอมูลของผูใชบริการ ทําใหผูใชบริการมีความพึงพอใจสูงสุดในเรื่องของความครบถวนและตรงกับความตองการของขอมูลที่นําเสนอ โดยผลการศึกษาสอดคลองกับผลการศึกษาของ รงรอง แรมสิเยอ (2556) ที่ทําการวิจัยเรื่อง การพัฒนาเว็บไซตเพื่อใชในการบริหารจัดการของฝายปกครอง ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดอยุธยา ซึ่งพบวา ปจจัยดานขอมูลในเว็บไซตในสวนของความขอมูลถูกตองครบถวน อธิบายขอมูลไดชัดเจนและตรงกับความตองการของผูใชบริการเปนปจจัยที่มีผลตอความพึงพอใจของผูใชบริการมากที่สุด ดังนั้นจึงสามารถสรุปไดวา ในการออกแบบเนื้อหาของเว็บไซตหางานนั้น ผูออกแบบควรมีการจัดทําเนื้อหา โดยคัดเลือกเนื้อหาที่ตรงกับความสนใจของผูใชบริการมาลงไวในเว็บไซตมากที่สุด จึงจะทําใหผูใชบริการเกิดความพึงพอใจ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ

Donabedian (1980) ที่กลาววา ความพึงพอใจของผูรับบริการ เกิดจากการที่สิ่งที่ผูรับบริการใหคากับความคาดหวังของผูรับบริการ และประสบการณนั้นเปนไปตามความคาดหวัง

ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจกับการที่เนื้อหามีความสอดคลองกันและสามารถสื่อความหมายไดมากที่สุด รองลงมาคือ สีสัน และสีของพื้นหลังในการออกแบบเว็บไซตมีความเหมาะสมตอการอาน ซึ่งสามารถสรุปไดวา ในการเปดรับขอมูลขาวสารของเว็บไซตนั้น ถึงแมวาจะพิจารณาถึงในเรื่องของการออกแบบและรูปแบบการตกแตงหนาเว็บไซต สิ่งที่ผูใชบริการใหความสําคัญมากที่สุด คือ เรื่องของการออกแบบเนื้อหาที่จะตองมีความสอดคลอง เขาใจงาย และชัดเจน ซึ่งผลการวิจัยดังกลาวสะทอนและตอกย้ําใหเห็นวา เนื้อหาของเว็บไซตเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหผูใชบริการพึงพอใจ หรือไมพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซตได โดยผลการศึกษาสอดคลองกับสํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธสวนประเมินผล (2555) ที่ไดเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาเว็บไซตวา ผูประกอบการเว็บไซตจะตองมีขอมูลที่มากพอ และมีการปรับปรุงภายในเว็บไซตของตนใหสอดคลองกับความตองการของ

Page 80: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

69

ผูใชบริการใหไดมากที่สุด โดยศูนยขอมูล SMEs Knowledge Center (2557) ไดกลาวถึงการออกแบบขอมูลบนเว็บไซตวา การออกแบบเนื้อหา คือการสงขอมูลที่เปนปจจุบัน ตรงกับความตองการของผูใชงานเปาหมาย และงายตอการเขาใจสําหรับผูใชงาน ในขณะเดียวกับควรระมัดระวังเรื่องการนําเสนอขอมูล เนื่องจากหารผูบริโภคไดรับขอมูลที่ไมเกี่ยวของหรือเปนประโยชนตอสิ่งที่เขาตองการ จะรูสึกไมพอใจและเริ่มรูสึกหงุดหงิด เพราะตองใชเวลาในการทําความเขาใจขอมูลนั้น เพราะฉะนั้น การออกแบบขอมูลเว็บไซตที่มีประสิทธิภาพ ควรจะตองไมสงผลกระทบเชิงลบตอการรับรูถึงความรูสึกรําคาญใจของผูบริโภค โดยเนื้อหาที่นําเสนอจะตองเปนเนื้อหาที่มีประโยชน เนื้อหาเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในเว็บไซต ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและขอมูลที่ผูใชตองการใหถูกตอง และสมบูรณ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมใหทันเหตุการณอยูเสมอ เนื้อหาไมควรซ้ํากับเว็บไซตอื่น จึงจะดึงดูดความสนใจของผูใชบริการได

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอการที่เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาเปนเว็บของหนวยงานใดมากที่สุด รองลงมาคือ เว็บไซตใหบริการแกผูที่สนใจฟรี ไมมีการเรียกเก็บคาบริการ ทั้งนี้เนื่องจากในการทําธุรกรรมเกี่ยวกับการสมัครงาน การลงประกาศรับสมัครงาน จะตองมีการกรอกขอมูลสวนตัวลงในเว็บไซต จํานวนมาก ซึ่งมีความเสี่ยงในเรื่องของการโดยขโมยขอมูลไปใชในทางที่ไมถูกตอง ดังนั้นสิ่งที่ทําใหผูใชบริการพึงพอใจ และมีความมั่นใจในการใชบริการมากขึ้น คือ การระบุขอมูลเกี่ยวกับเว็บไซตอยางครบถวน วาเปนเว็บของหนวยงานใด ซึ่งสอดคลองกับธัชกร วงษคําชัย (2558, หนา 15) ที่กลาววาองคประกอบที่สําคัญในการออกแบบเว็บไซต คือ ขอมูลเกี่ยวกับบริษัท โดยทั่วไปผูที่ เขามาชมเว็บไซตนั้นมีความตองการพื้นฐานที่อยากรูขอมูลของบริษัทในดานตาง ๆ เชน ประวัติความเปนมา เปาหมาย ขนาดและความมั่นคง จํานวนพนักงาน และกิจการอื่น ๆที่เกี่ยวของ เพื่อใหเกิดความมั่นใจในตัวสินคา หรือบริการของบริษัท ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของสุ เทพ เดชะชีพ (2558) ทําการศึกษาพฤติกรรมการใชประโยชนและความพึงพอใจจากการเปดรับสารบนเว็บไซตบริการเครือขายสังคมออนไลนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ที่พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอการที่เว็บไซตมีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติความเปนมา และขอมูลแนะนําการดําเนินงานของบริษัท เนื่องจากเปนขอมูลที่ชวยใหเกิดความมั่นใจในการใชบริการของเว็บไซตนั้น ๆ มากขึ้น

ดานความสะดวกในการใช พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอการเชื่อมโยงไปยัง Social Media เชน Facebook มากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากในปจจุบันผูใชบริการอินเตอรเน็ตจะมีชองทางในการสื่อสารกับผูอื่นหลากหลายชองทาง ดังนั้นหากเว็บไซตมีการใหบริการโดยสามารถเชื่อมโยงขอมูลไปยัง Social Media อื่น ๆ ได เชน Facebook จะชวยใหผูใชบริการสามารถรับสงขอมูลที่นาสนใจไปเก็บไว หรือสงตอใหเพื่อนใน Social Media อื่น ๆ ไดสะดวกขึ้น เชน การสงตําแหนง

Page 81: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

70

งานที่นาสนใจไปใหเพื่อนใน Facebook หรือ Line เปนตน ซึ่งสอดคลองกับสุปราณี ยิ่งมั่นคง (2556) ทําการศึกษาพฤติกรรมการใชและความพึงพอใจที่มีตอหองบลูแพลนเน็ตในเว็บไซตพันทิป พบวา ผูใชบริการสวนใหญจะมีพฤติกรรมหลังจากเขาชมกระทูกลุมบัณฑิตศึกษา โดยมักจะสงลิงคของกระทูใหคนอื่น ดังนั้นการที่เว็บไซตมีระบบรองรับในเรื่องของการเชื่อมโยงและรับสงขอมูลไปยังเว็บไซต หรือ Social Media อื่น ๆ ได จึงเปนการตอบเสนองความตองการของผูใชบริการไดอยางเหมาะสม ซึ่งสงผลตอความพึงพอใจในการใชบริการเว็บไซตที่เพิ่มมากขึ้นตามมา

5.3 ขอเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ สามารถสรุปขอเสนอแนะ เพื่อใชเปนแนวทางใหกับผูที่มีความ

สนใจที่จะทําการสรางเว็บไซตรับสมัครงาน หรือเว็บไซตเพื่อวัตถุประสงคอื่น ๆ เชน ขายสินคา แนะนําบริการ ฯลฯ ในการนําไปใชเปนแนวทางการออกแบบเว็บไซตใหมีรูปแบบและคุณสมบัติที่สามารถตอบสนองและสรางความพึงพอใจใหกับลูกคากลุมเปาหมาย ดังนี้

5.3.1 ขอเสนอแนะตอผูจัดทําเว็บไซต ไทย ดอท คอมดานคุณภาพของเนื้อหา พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจในเรื่องของภาษาเขาใจงาย

กระชับ อธิบายชี้แจงขอมูลไดชัดเจนนอยที่สุด ดังนั้นเว็บไซตจึงควรมีการปรับปรุงและเรียบเรียงภาษาที่ใชในการถายทอดขอมูลขาวสารภายในเว็บไซต เนื่องจากหากผูใชบริการไมสามารถเขาใจใจความสําคัญของเนื้อหาที่ตองการถายทอดได หมายถึงผูใชบริการไมไดรับประโยชนจากการเขามาใชบริการที่เว็บไซตแตอยางใด ดังนั้นจึงมีแนวโนมวาผูใชบริการจะเลิกใชบริการ และเปลี่ยนไปใชบริการของเว็บไซตอื่น ๆ

ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจกับความสวยงาม ความทันสมัย นาสนใจของหนาเว็บไซตนอยที่สุด ดังนั้นจึงควรทําการปรับปรุงรูปแบบของเว็บไซตใหมีสีสัน และรูปภาพ รวมถึงการจัดวางที่นาสนใจ และแปลกใหมมากขึ้น เพราะถึงแมวา ขอมูลเกี่ยวกับการทํางาน การรับสมัครงานจะเปนเนื้อหาที่ผูใชบริการใหความสนใจมากที่สุด แตหากเว็บไซตมีรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาที่นาเบื่อ ไมนาสนใจ ไมสวยงาม ยอมทําใหผูใชบริการเกิดความเบื่อหนายในการเปดรับขอมูล และเปลี่ยนไปใชบริการเว็บไซตอื่น ๆ ที่มีเนื้อหาใกลเคียงกัน แตนําเสนอในรูปแบบที่สวยงามนาสนใจกวา สรางความเพลิดเพลินในการเปดรับขาวสารไดมากกวา

ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอการที่เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาหนวยงานมีภารกิจในการดําเนินงานนอยที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากเว็บไซตเกี่ยวกับการหางาน หากผูใชบริการตองการฝากประวัติงานจะตองมีการใหขอมูลสวนตัวไวในเว็บไซตจํานวนมาก การที่ เว็บไซตไมชี้แจงวา เว็บไซตดังกลาวเปดใหบริการดวยภารกิจใด หรือ

Page 82: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

71

วัตถุประสงคใด ยอมทําใหผูใชบริการเกิดความไมมั่นใจในการใชบริการ และสงผลตอความรูสึกไมพึงพอใจ และเกิดพฤติกรรมการเปลี่ยนไปใชบริการเว็บไซตอื่น ๆ ที่นาเชื่อถือกวา รูสึกปลอดภัยกวาตอไป

ดานความสะดวกในการใช พบวา ผูใชบริการมีความพึงพอใจตอความรวดเร็วในการเขาถึงเว็บไซตนอยที่สุด ดังนั้นเว็บไซตควรมีการปรับปรุงในเรื่องของระบบของเว็บไซตใหสามารถดาวนโหลดขอมูล และเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็วมากขึ้น โดยเว็บเพจที่ดีควรที่จะแสดงผลอยางรวดเร็ว เพราะเว็บเพจที่แสดงผลชา กราฟกขนาดใหญจะมีผลทําใหเว็บเพจนั้นตองใชเวลาในการดาวนโหลดมากขึ้น โดยถาใชเวลานานกวา 15 วินาทีขึ้นไปก็อาจจะทําใหผูใชขาดความสนใจ เนื่องจากผูใชมีความอดทนรอการแสดงผลของเว็บเพจไดจํากัด ซึ่งมีรายงานวิจัยบอกไววา ถาโหลดมากกวา 8 วินาทีผูใชกวารอยละ 90 จะเปลี่ยนไปดูเว็บอื่นแทน

5.3.2 ขอเสนอแนะตอผูที่มีความสนใจที่จะทําการสรางเว็บไซตรับสมัครงาน หรือเว็บไซตเพื่อวัตถุประสงคอื่น ๆ เชน ขายสินคา แนะนําบริการ ฯลฯ

1. การออกแบบเว็บไซตดานคุณภาพของเนื้อหา ควรเลือกเนื้อหาที่เกี่ยวของกับจุดประสงคหลักของเว็บไซต และความสนใจของผูใชบริการเปาหมายของเว็บไซตนั้น ๆ เชน หากเว็บไซตเปนเว็บไซตเกี่ยวกับการหางาน เนื้อหาสวนใหญภายในเว็บไซตควรเกี่ยวของกับเรื่องของการหางาน โดยเฉพาะ หากมีการรับลงโฆษณา หรือจําหนายสินคา ควรเลือกพิจารณาสินคาหรือบริการที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยงกับเนื้อหาภายในเว็บไซตมากที่สุด เพื่อใหผูใชบริการไมรูสึกวาถูกรบกวนการเปดรับขาวสารจากเว็บไซตดวยเนื้อหาที่ไมเกี่ยวของ อันจะนําไปสูความเบื่อหนาย ไมพึงพอใจ และเลิกใชบริการเว็บไซตในที่สุด

2. การออกแบบเว็บไซตดานรูปแบบ สิ่งสําคัญที่สุด ยังคงเกี่ยวของกับเนื้อหาของเว็บไซต ควรมีการจัดตําแหนงและหมวดหมูของเว็บไซตใหเหมาะสม และคนหางาย นอกจากนั้นแลวควรมีการปรับปรุงขอมูลเพื่อใหเปนปจจุบันและตรงกับความเปนจริงอยูเสมอ เพื่อใหผูใชบริการไดใชประโยชนจากเนื้อหาของขาวสารไดสูงสุด

3. การออกแบบเว็บไซตในดานวัตถุประสงคของเว็บไซต สิ่งที่ไมควรมองขาม คือ การใหขอมูลในเรื่องของที่มา ประวัติความเปนมาของบริษัทเจาของเว็บไซตนั้น ๆ เพื่อใหเกิดความนาเชื่อถือตอบริการ หรือสินคาที่จัดจําหนายในเว็บไซตนั้น ๆ มากขึ้น

4. การออกแบบเว็บไซตดานความสะดวกตอการเขาถึง ตองมีการเชื่อมโยงไปยังชองทางการสื่อสารอื่น ๆ โดยตองมีการปรับปรุงการเชื่อมโยงใหเหมาะสมกับพฤติกรรมการใชงานของผูใชบริการในขณะนั้น ๆ ดังนั้นผูออกแบบเว็บไซตจึงจะตองเปนผูที่มีพฤติกรรมในการอัพเดท

Page 83: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

72

ขอมูลชองทางการติดตอสื่อสารใหม ๆ อยูตลอดเวลา เพื่อศึกษา และนํามาใชในการปรับปรุงรูปแบบการใหบริการของเว็บไซตเพื่อตอบสนองความตองการของผูใชบริการไดอยางเหมาะสม

5.3.3 ขอเสนอแนะสําหรับการศึกษาวิจัยครั้งตอไป1. ควรทําการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทําการเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณผูใชบริการ

เพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจและปญหาการใชงานในเชิงลึกมากยิ่งขึ้น อันจะนําไปสูการไดขอมูลที่มีประโยชนตอการปรับปรุงพัฒนารูปแบบของเว็บไซตเพิ่มมากขึ้น

Page 84: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

73

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความในหนังสือกฤติญา สกุลเสาวภาคและคณะ. (2552). Professional Web Design โรงเรียนอินเทอรเน็ตและการ

ออกแบบ. กรุงเทพฯ: ซัคเซสกรุป.กอบเกียรติ สระอุบล. (2557). พัฒนา Cross-Platform Mobile App iOS Android.

กรุงเทพฯ: บริษัทดาน สุธาการพิมพ จํากัด มีเดียเนทเวิรค.ดวงพร เกี๋ยงคํา. (2553). คูมือสรางเว็บไซทดวยตนเอง. กรุงเทพฯ: บริษัท โปรวิชั่น จํากัด.ธัชกร วงษคําชัย. (2558). การพัฒนาตนแบบเว็บไซตพาณิชยอิ เล็กทรอนิกสสําหรับธุรกิจ

OTOP 3-5 ดาว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.ธานินทร ศิลปจารุ. (2550). การวิจัยและวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย SPSS.

กรุงเทพฯ: วีอินเตอรพริ้นทร.ประเวศน วงษคําชัย. (2552). หลักการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราช

ภัฏธนบุรี.ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). ความพึงพอใจ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพนานมีบุคสวิทวัส รุงเรืองผล. (2553). ตําราหลักการตลาด. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: มารเก็ตติ้งมูฟศิริวรรณ เสรีรัตน. (2550). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ: บริษัท ธีระฟลมและไซเท็กซ จํากัดสมยศ นาวีการ. (2555). การติดตอสื่อสารขององคการ. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.สมิต สัชฌุกร. (2552). การพูดตอชุมนุมชน. กรุงเทพฯ: สายธาร.กัลยา วานิชยบัญชา (2552). สถิติสําหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสถิติ

คณะพาณิชยศาสตรและบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยเสกสรร สายสีสด. (2549). ระบบสารสนเทศเพื่อการประชาสัมพันธ = Information system for

public relations / เสกสรร สายสีสด. กรุงเทพฯ: ออลบุคสพับลิชชิ่ง.อดุลย จาตุรงคกุล. (2546). การบริหารการตลาด กลยุทธวิธี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 85: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

74

บรรณานุกรม (ตอ)

อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ. (2548). จิตวิทยาการบริการ (Service Psychology Comprehension Strategies and Trend). กรุงเทพฯ: เพรส แอนดดีไซน.

สื่ออิเล็กทรอนิกสไทย ดอท คอม. (2560). ประวัติ ไทย ดอท คอม. ออนไลน: https://www.thai.com.

สืบคน 8 พฤษภาคม 2560.ไทย ดอท คอม. (2560). หนาเว็บไซต ไทย ดอท คอม. ออนไลน: https://www.thai.com.

สืบคน 8 พฤษภาคม 2560.วนิดา หาญณรงค. (2558). ความพึงพอใจของบุคลากรตอเว็บไซต กองกลาง สํานักงานอธิการบดี.

ออนไลน: http://g-affairs.ru.ac.th. สืบคน 8 พฤษภาคม 2560.สํานักบรรณสารและสารสนเทศมหาวิทยาลัยวงษชวลิตกุล. (2556). นวัตกรรมและเทคโนโลยี

ทางการศึกษา. ออนไลน: http://library.vu.ac.th. สืบคน 8 พฤษภาคม 2560. สํานักพัฒนานโยบายและแผนการประชาสัมพันธ สวนประเมินผล. (2555).

แผนงานโครงการ – สปผ. แนวคิดทฤษฎีตางๆที่เกี่ยวของกับการประชาสัมพันธและการสื่อสารมวลชน (29 มี.ค. 2555). ออนไลน: http://hq.prd.go.th/plan/more_news.php?cid 25&filename Evaluation_Division. สืบคน 8 พฤษภาคม 2560.

SMEs Knowledge Center. (2557). การออกแบบเว็บไซตที่ด.ี ออนไลน:http://www.sme.go.th. สืบคน 8 พฤษภาคม 2560.

วิทยานิพนธ/งานวิจัยชฎาภรณ สวนแสน. (2551). พฤติกรรมการเปดรับแรงจูงใจ ความพึงพอใจ และการใชประโยชน

จากขอมูลขาวสารบนเว็บไซตหนังสือพิมพไทยของกลุมผูอานในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาสื่อมวลชน คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 86: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

75

บรรณานุกรม (ตอ)

น้ําลิน เทียมแกว. (2557). ความพึงพอใจตอคุณภาพการใหบริการของสํานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจําปการศึกษา 2555. มหาสารคาม: สํานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พรพิมล สงกระสันต. (2557). การเปดรับการใชประโยชน และความพึงพอใจตอเว็บไซตคณะของนักศึกษา คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี. สาขานิเทศศาสตร คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี.

มานีสงค ปฐมวิริยะวงศ. (2550). วิจัยเรื่อง การใชประโยชนและความพึงพอใจตอเว็บไซตสถาบันของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.

รงรอง แรมสิเยอ. (2556). รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาเว็บไซตเพื่อใชในการบริหารจัดการของฝายปกครอง ตําบลสามบัณฑิต อําเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

วิวัฑฒน สมตน. (2552). การพัฒนาเว็บไซตประชาสัมพันธพิพิธภัณฑภูมิปญญาไทยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศิริพร อวมมีเพียร. (2552). ความพึงพอใจในการใชบริการเครือขายคอมพิวเตอร วิทยาลัยราชพฤกษ. สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยราชพฤกษ.

สุเทพ เดชะชีพ. (2558). พฤติกรรมการใชประโยชนและความพึงพอใจจากการเปดรับสารบนเว็บไซตบริการเครือขายสังคมออนไลนของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. สาขาวิชาการบริหารการสื่อสาร คณะนิเทศศาสตร มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

สุปราณี ยิ่งมั่นคง. (2556). พฤติกรรมการใชและความพึงพอใจที่มีตอหองบลูแพลนเน็ตในเว็บไซตพันทิป. สาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

Page 87: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

76

บรรณานุกรม(ตอ)

สุภาลักษณ ชัยอนันต. (2550). ความพึงพอใจของเกษตรกรที่มีตอโครงการสงเสริมการปลูกมะเขือเทศ แบบมีลักษณะผูกพันในจังหวัดลําปาง. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสงเสริมการเกษตร บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

อุทัยพรรณ สุดใจ. (2555). ความพึงพอใจของผูใชบริการที่มีตอการใหบริการองคการโทรศัพท แหงประเทศไทยจังหวัดชลบุรี . วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมวิทยา ประยุกต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Book/journalCampbell, R. F. (1976). Administration Behavior in Education. New York: McGraw – Hill.Cronbach, L.J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika.

16 (3), 297-334.Donabedian A. (1980). The definition of quality and approach to its measurement Ann

Arbor. Michigan :Health Administration Press.Philip Kotler. (2012). Marketing Management. Pearson Education., New Jersey: Prentice

Hall.Roland, T. R, Anthony, J. Z., & Timothy, L. K. (1996). Services Marketing. New York: Harper

Collins.

Page 88: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

77

ภาคผนวก

Page 89: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

78

แบบสอบถามเรื่อง ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

คําชี้แจง : แบบสอบถามนี้จัดทําเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล เพื่อประกอบการศึกษาเรื่อง “ความพึงพอใจของผูใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม” โดยผูวิจัยใครขอความอนุเคราะหใหตอบแบบสอบถามนี้ตามความเปนจริงและครบถวน เพื่อที่จะทําใหผลการวิจัยนี้สมบูรณตามความมุงหมาย โดยขอมูลที่ไดรับ ผูวิจัยจะนํามาใชในการศึกษาเทานั้น โดยแบบสอบถามนี้แบงออกเปน 4 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถามตอนที่ 2 พฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมตอนที่ 3 ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมตอนที่ 4 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม

ตอนที่ 1 สถานภาพของผูใชบริการ ขอชี้แจง: กรุณาตอบแบบสอบถาม โดยเลือกตัวเลือก ที่ตรงกับคําตอบ และความคิดเห็นของทานมากที่สุด1. เพศ

ชาย หญิง2. อายุ

20 – 25 ป 26 - 30 ป 31 - 35 ป 36 – 40 ป 41 – 45 ป 46 ปขึ้นไป

3. อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ พนักงานบริษัทเอกชน อื่น ๆ โปรดระบุ…………….…

4. การศึกษาระดับสูงสุด ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี

Page 90: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

79

ตอนที่ 2 พฤติกรรมการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมขอชี้แจง: กรุณาเลือกตัวเลือก ที่ตรงกับคําตอบของทานมากที่สุด1. ภายใน 1 สัปดาห ทานมีความถี่ในการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม มากนอยเพียงใด นอยกวา 1 ครั้งตอสัปดาห 1 – 2 ครั้งตอสัปดาห 3 – 4 ครั้งตอสัปดาห 5 – 6 ครั้งตอสัปดาห ทุกวัน

2. ปกติแลว ทานจะใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ในชวงเวลาใดมากที่สุด ชวงเชา (05.00 – 11.00 น.) ชวงกลางวัน (11.00 – 16.00 น.) ชวงเย็น (16.00 – 19.00 น.) ชวงกลางคืน (19.00 – 24.00 น.) ชวงดึก (00.00 – 05.00 น.)

3. โดยปกติแลวทานใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม เปนระยะเวลาเทาใดตอครั้ง นอยกวา 1 ชั่วโมงตอครั้ง 1 – 2 ชั่วโมงตอครั้ง มากกวา 2 ชั่วโมงตอครั้ง

4. โดยปกติแลวทานใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม ที่ใดบอยที่สุด บาน ที่ทํางาน/สถานศึกษา รานอินเตอรเน็ต อื่น ๆ โปรดระบุ.....................................

5. ทานเขามาใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม อยางไร เขาใชงานเว็บไซตจากคอมพิวเตอร เขาใชงานเว็บไซตจากโทรศัพทมือถือ เขาใชงานเว็บไซตจากแท็บเล็ท อื่น ๆ โปรดระบุ.....................................

6. ทานรูจักเว็บไซต ไทย ดอท คอม ไดอยางไร รูจักเว็บไซตจากการคนหาใน Google เพื่อน/คนรูจักแนะนํา ฝายแนะแนวของสถานศึกษาแนะนํา อื่น ๆ โปรดระบุ

.................................................7. อะไรคือเหตุผลที่ทําใหทานเขามาใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ตองการสมัครงาน ตองการรับสมัครงาน ตองการหาขอมูลเกี่ยวกับหนวยงานตาง ๆ ตองการมองหางานใหม อื่น ๆ โปรดระบุ.................................................

Page 91: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

80

ตอนที่ 3 ความพึงพอใจที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอมขอชี้แจง: กรุณาทําเครื่องหมาย √ ลงในชองวาง ที่ตรงกับระดับความพึงพอใจของทานที่มีตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

โดยที่ 5 หมายถึง ความพึงพอใจมากที่สุด 4 หมายถึง ความพึงพอใจมาก3 หมายถึง ความพึงพอใจปานกลาง 2 หมายถึง ความพึงพอใจนอย 1 หมายถึง ความพึงพอใจนอยที่สุด

ระดับความพึงพอใจความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

5 4 3 2 1

1. ดานคุณภาพของเนื้อหา

1.1 ความครบถวนและถูกตองของชื่อหนวยงาน/แหลงขอมูล1.2 ภาษาเขาใจงาย กระชับ อธิบายชี้แจงขอมูลไดชัดเจน1.3 ขอมูลมีความทันสมัย และถูกตอง 1.4 ความครบถวนตรงและตรงกับความตองการของขอมูลที่นําเสนอ2. ดานการออกแบบและจัดรูปแบบ2.1 ความสวยงาม ความทันสมัย นาสนใจของหนาเว็บไซต2.2 การจัดรูปแบบในเว็บไซตงายตอการอาน2.3 การใชงาน เมนูตาง ๆ ในเว็บไซตที่สามารถใชงานไดงาย

2.4 สีสัน และสีของพื้นหลังในการออกแบบเว็บไซตมีความเหมาะสมตอการอาน

2.5 ภาพกับเนื้อหามีความสอดคลองกันและสามารถส่ือความหมายได3. ดานวัตถุประสงคของเว็บไซต3.1 เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาเปนเว็บของหนวยงานใด 3.2 เว็บไซตสามารถสื่อใหผูใชทราบไดวาหนวยงานมีภารกิจใดในการดําเนินงาน3.3 เว็บไซตมีขอมูลของหนวยงานเพียงพอกับความตองการของผูใช 3.4 เว็บไซตใหบริการแกผูที่สนใจฟรี ไมมีการเรียกเก็บคาบริการ

Page 92: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

81

ตอนที่ 3 (ตอ)

ระดับความพึงพอใจความพึงพอใจตอการใชบริการเว็บไซต ไทย ดอท คอม

5 4 3 2 1

4. ดานความสะดวกในการใช4.1 ความรวดเร็วในการเขาถึงเว็บไซต4.2 ความสะดวกในการเชื่อมโยงขอมูลภายในเว็บไซต และเว็บไซตอื่น4.3 มีชองทางการติดตอสอบถามและใหขอเสนอแนะ 4.4 มีการเชื่อมโยงไปยัง social media เชน Facebook4.5 มีคําอธิบาย คําแนะนําบริการตาง ๆ ชัดเจน

ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะเพิ่มเติม1. ทานมีปญหาในการใชบริการเว็บไซตไทย ดอท คอม หรือไม อยางไร……………………………………………...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2. ทานมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชบริการ เว็บไซตไทย ดอท คอม หรือไม อยางไร……………………………………………...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

*ขอขอบคุณทุกทานที่ใหความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม*

Page 93: โดย นายปกรณ ลาภสถาพรกุลmis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2560/F_Pakorn_ Lapstapornkun.pdf · The User Satisfaction toward the THAI-Dot-Com

82

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-นามสกุล นาย ปกรณ ลาภสถาพรกุล วัน เดือน ปเกิด 20 กรกฎาคม 2535 สถานที่เกิด กรุงเทพมหานคร ที่อยูปจจุบัน 36 หมู 8 ซอย รามอินทรา 51

เขต บางเขน แขวง ทาแรง กรุงเทพมหานคร 10230

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษา โรงเรียนปยะพงษวิทยามํธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนลาดปลาเคาพิทยาคมมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนลาดปลาเคาพิทยาคมปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

สาขา อิเล็กทรอนิกสและระบบคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การจัดการทั่วไป)มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางาน

2557 - 2558 บริษัท แมนดาลา คอมมูนิเคชั่น จํากัด2558 - 2559 บริษัท ไทย ดอท คอม จํากัด2559 – ปจจุบัน บริษัท ไอรีครูท จํากัด