18
การน้อมนาโครงการตามพระราชดาริ : สื่อ eDLTV เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชน ด้วยกระบวนการบูรณาการสู่การงานประจา ในบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย์ สมชาย วงศ์เกษม และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรปภา อารีราษฎร์ [email protected], [email protected] มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม บทคัดย่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายเผยแพร่ ถ่ายทอด และพัฒนาสื่อ การเรียนการสอน บนระบบ e-Learning (eDL-Square) ตั้งแต่ .. 2552 ดาเนินการน้อมนาโครงการตามพระ ราชดาริ : สื่อ eDLTV เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชนด้วยกระบวนการบูรณาการสู่การงานประจา ในบริบทของ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยได้เน้นการพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อเผยแพร่ ถ่ายทอด และให้บริการสื่ออีดีแอลทีวี ที่ทาให้ครูสามารถเข้าถึง เข้าใช้สื่อได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสอดคล้อง กับความต้องการ ส่งผลให้นวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวีเป็นที่ยอมรับของครู การดาเนินงาน ได้ทาการศึกษาความต้องการของชุมชน ในการประยุกต์ใช้สื่ออีดีแอลทีวีเพื่อการ เรียนการสอน และความต้องการของชุมชนที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามให้บริการด้านไอซีที แก่ชุมชน นามาสู่การพัฒนาโครงการและกิจกรรมบูรณาการงานประจาสู่การวิจัย ร่วมมือกับสมาชิก เครือข่าย 3 ระดับ ภายใต้รูปแบบการบูรณาการงานประจาสู่งานวิจัยเพื่อส่งเสริมการใช้ไอซีทีของชุมชน หรือ RMU-IR2R-ICT Model ประกอบด้วย 5 กิจกรรม และ 12 ตัวชี้วัด นาสู่การเรียนการสอนนักศึกษาทุกระดับ เพื่อส่งเสริมทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม รูปแบบ LCIPAR ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ศึกษาและทบทวนผลการดาเนินงานนาสู่การวิจัย ทาให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนางานวิจัย กระบวนการให้บริการแก่ชุมชน ตลอดจนการพัฒนานวัตกรรมการจัดกลุ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรูที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ปัจจุบันมีเครือข่ายในชุมชนโดยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นาโรงเรียนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัย จานวน 1,589 แห่ง รับสื่ออีดีแอลทีวีทั้งสิ้น 1,865 ตัว ครอบคลุม 25 จังหวัด ผลจากการดาเนินการ ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้ดาเนินการภารกิจในบริบทของสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ในการน้อมนาโครงการตามพระราชดาริ : สื่อ eDLTV เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชนด้วย กระบวนการบูรณาการสู่การงานประจา ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนาบุคลากร นักศึกษา งานวิจัยที่มี คุณค่าสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ภายใต้เครือข่ายความร่วมมือทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจากการประกันคุณภาพการศึกษาในองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง

สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

การน้อมน าโครงการตามพระราชดาริ : สื่อ eDLTV เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชน ด้วยกระบวนการบูรณาการสู่การงานประจ า ในบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

รองศาสตราจารย์ สมชาย วงศ์เกษม และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรปภา อารีราษฎร์ [email protected], [email protected]

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

บทคัดย่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายเผยแพร่ ถ่ายทอด และพัฒนาสื่อ

การเรียนการสอน บนระบบ e-Learning (eDL-Square) ตั้งแต ่พ.ศ. 2552 ด าเนินการน้อมน าโครงการตามพระราชดาริ : สื่อ eDLTV เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชนด้วยกระบวนการบูรณาการสู่การงานประจ า ในบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาวิทยาลัยได้เน้นการพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อเผยแพร่ ถ่ายทอด และให้บริการสื่ออีดีแอลทีวี ที่ท าให้ครูสามารถเข้าถึง เข้าใช้สื่อได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสอดคล้องกับความต้องการ ส่งผลให้นวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวีเป็นที่ยอมรับของครู

การด าเนินงาน ได้ท าการศึกษาความต้องการของชุมชน ในการประยุกต์ใช้สื่ออีดีแอลทีวีเพื่อการเรียนการสอน และความต้องการของชุมชนที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามให้บริการด้านไอซีที แก่ชุมชน น ามาสู่การพัฒนาโครงการและกิจกรรมบูรณาการงานประจ าสู่การวิจัย ร่วมมือกับสมาชิก เครือข่าย 3 ระดับ ภายใต้รูปแบบการบูรณาการงานประจ าสู่งานวิจัยเพื่อส่งเสริมการใช้ไอซีทีของชุมชน หรือ RMU-IR2R-ICT Model ประกอบด้วย 5 กิจกรรม และ 12 ตัวชี้วัด น าสู่การเรียนการสอนนักศึกษาทุกระดับ เพื่อส่งเสริมทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม รูปแบบ LCIPAR ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ศึกษาและทบทวนผลการด าเนินงานน าสู่การวิจัย ท าให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนางานวิจัย กระบวนการให้บริการแก่ชุมชน ตลอดจนการพัฒนานวัตกรรมการจัดกลุ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ปัจจุบันมีเครือข่ายในชุมชนโดยส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา น าโรงเรียนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัย จ านวน 1,589 แห่ง รับสื่ออีดีแอลทีวีทั้งสิ้น 1,865 ตัว ครอบคลุม 25 จังหวัด

ผลจากการด าเนินการ ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้ด าเนินการภารกิจในบริบทของสถาบันการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ในการน้อมน าโครงการตามพระราชดาริ : สื่อ eDLTV เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชนด้วยกระบวนการบูรณาการสู่การงานประจ า ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนาบุคลากร นักศึกษา งานวิจัยที่มี คุณค่าสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ภายใต้เครือข่ายความร่วมมือทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ที่ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจากการประกันคุณภาพการศึกษาในองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง

Page 2: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

2 บทน า สื่ออีดีแอลทีวี (Electronic Distance Learning Television: eDLTV) เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือการเรียนรู้ จัดท าขึ้นโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 โดยการน าเนื้อหาวีดิทัศน์การสอนที่ถ่ายทอดออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจากโรงเรียนวังไกลกังวล อ าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มาพัฒนาเป็นระบบอีเลิร์นนิงเพ่ือการศึกษาทางไกลให้กับโรงเรียนในโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด าริฯ และเผยแพร่เพ่ือการเรียนรู้ของเยาวชนไทยทั่วประเทศผ่านเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ (www.edltv.thai.net [ออนไลน์]) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. โดยเนคเทค ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เครือข่ายเผยแพร่ ถ่ายทอด และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน บนระบบ e-Learning (eDL-Square) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ จ านวน 35 แห่ง ในวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2552 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เพ่ือให้มหาวิทยาลัยราชภัฏเป็นหน่วยงานกลางในการเผยแพร่ ถ่ายทอด และพัฒนาการใช้งานระบบ eDLTV ในการเรียนการสอนให้กับโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ศึกษาและวิจัยเพ่ือพัฒนาต่อยอดปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน จากระบบ eDL-square และให้ค าปรึกษาแนะน าแก่โรงเรียนในโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาของโรงเรียนในชนบท (ทสรช .) ตามพระราชด าริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการใช้ระบบ eDLTV ในการเรียนการสอน ภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม การเผยแพร่และแลกเปลี่ยนประสบการณ์การใช้งานระบบ eDLTV โดย สวทช. (มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2553 : 1) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายเผยแพร่ ถ่ายทอด และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน บนระบบ e-Learning (eDL-Square) ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามได้มอบหมายให้คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นหน่วยงานหลักในการด าเนินงาน แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน ประสานงานสร้างเครือข่าย แสวงหาเครือข่ายความร่วมมือ จัดท าแผนการด าเนินงาน และรายงานผลการด าเนินงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ภารกิจการบริการวิชาการสู่ชุมชน โดยการน้อมน าโครงการตามพระราชด าริ บูรณาการสู่งานประจ าเพ่ือยกระดับการเรียนรู้ของชุมชน โดยการแสวงหาความร่วมมือร่วมกับหน่วยงานภายในและภายนอก ทั้งภาครัฐและเอกชน เพ่ือให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามเป็นหน่วยงานหลักและเป็นหน่วยงานกลางในการน านโยบายภาครัฐและนโยบายด้านคุณภาพการศึกษา บูรณาการสู่ภารกิจของมหาวิทยาลัย ศึกษาและวิจัยพัฒนากระบวนการและแนวทางที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของชุมชน ตามภารกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามในการเป็นสถาบันการศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น ที่มุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

Page 3: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

3 นวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวีเพ่ือการเรียนการสอน สื่ออีดีแอลทีวีเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือการเรียนการสอน ภายใต้ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ที่เรียกว่าระบบอีดีแอลสแควร์ (eDL-Square) พัฒนาโดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค โดยส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (โครงการจัดท าเนื้อหา ระบบ e-Learning, 2556: ออนไลน์) ได้น าเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกลระบบอีเลิร์นนิง และเทคโนโลยีซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส (Open source software) มาพัฒนาระบบบริหารการจัดการเรียนรู้ ทีเ่ป็นการพัฒนาระบบต่อยอดจากระบบเลิร์นสแควร์ (โครงการ

จัดท าเนื้อหา ระบบ e-Learning, 2556: ออนไลน์ ) ให้ ส ามารถน า เสนอข้ อมูล ให้เหมาะสมกับข้อมูลของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม พร้อมกับน าเนื้อหาสื่อการเรียนการสอน ของโรงเรียนวังไกลกังวล ที่จัดท าเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ บรรจุไว้ในระบบ โดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ซึ่งเรียกว่าสื่ออีดีแอลทีวี

ภาพที่ 1 สถาปัตยกรรมระบบอีดีแอลสแควร์ ที่มา: วรปภา อารีราษฎร์ และคณะ (2557: 35) การพัฒนาสื่ออีดีแอลทีวีเพ่ือการเรียนการสอน ปัจจุบันระบบอีดีแอลทีวีมีสื่อการเรียนการสอน 4 ระบบ รวมสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด 73,867 เรื่อง การพัฒนาเนื้อหาสื่ออีดีแอลทีวี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4 ระยะ ตามล าดับ ดังนี้ (โครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning, 2556: ออนไลน์) ระยะที่ 1 ปี พ.ศ. 2550 พัฒนาระบบอีดีแอลทีวีระดับมัธยมศึกษา ระยะที่ 2 ปี พ.ศ. 2553 พัฒนาระบบอีดีแอลทีวีเพ่ือพัฒนาอาชีพ ระยะที่ 3 ปี พ.ศ. 2553-2554 พัฒนาระบบอีดีแอลอาร์ยู ระยะที่ 4 ปี พ.ศ. 2554 พัฒนาระบบอีดีแอลทีวีระดับประถมศึกษา การพัฒนาสื่ออีดีแอลทีวีได้พัฒนาเนื้อหาในระบบอย่างต่อเนื่อง ครอบคลุมระบบการจัดการศึกษาของประเทศไทย ตั้งแต่ระดับปฐมวัย จนถึงระดับมัธยมศึกษา ส่งผลให้วงจรชีวิตของนวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวี จึงเป็นช่วงที่นวัตกรรมอ่ิมตัว (Mature technology) ดังนั้นกระบวนการการเผยแพร่จ าเป็นต้องด าเนินการให้นวัตกรรมเป็นสิ่งที่ใช้งานได้ง่ายและมีประโยชน์ สอดคล้องกับความต้องการ จึงจะส่งผลให้เขายอมรับนวัตกรรมและมีการน าไปใช้ต่อไป

Page 4: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

4

ภาพที่ 2 นวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวี การศึกษาแนวทางการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวี ในช่วงนวัตกรรมอ่ิมตัว ในบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ด าเนินการได ้3 แนวทาง (วรปภา อารีราษฎร์ และคณะ, 2557: 35-36) 1. การพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) เป็นการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวีที่ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ e-Book และ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต น าวีดิทัศน์การสอน ของโรงเรียนละอองอุทิศ ระดับปฐมวัยและประถมศึกษา พัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบอีเลิร์นนิ่ง เผยแพร่ผ่านระบบ eDL-Square (โครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning, 2555: 3-4) 2. การพัฒนานวัตกรรมบริการ (Service Innovation) เป็นการพัฒนาแนวทางการให้บริการเผยแพร่ และ ถ่ายทอด นวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวี ในบริบทของมหาวิ ทยาลัยราชภัฏ ซึ่งในแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีแนวทาง การให้บริการในรูปแบบที่แตกต่างกันตามบริบทและนโยบายของมหาวิทยาลัย ในช่วงอ่ิมตัวของนวัตกรรม การสร้างมูลค่าให้กับนวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวี ตามความต้องการของกลุ่มคน เป็นแนวทางหนึ่งในการด าเนินงานตามภารกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏในการน้อมน าโครงการตามพระราชด าริ เผยแพร่และให้บริการสู่ชุมชน (โครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning, 2556: 6-7) 3. การพัฒนานวัตกรรมกระบวนการ (Process Innovation) เป็นการพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อเผยแพร่ ถ่ายทอด และให้บริการสื่ออีดีแอลทีวี ที่ท าให้ครูสามารถเข้าถึง เข้าใช้สื่อได้อย่างสะดวกและรวดเร็วสอดคล้องกับความต้องการ ส่งผลให้นวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวีเป็นที่ยอมรับของครู แนวทางการส่งเสริมการเผยแพร่ ถ่ายทอด และพัฒนาต่อยอดสื่ออีดีแอลทีวี ที่เน้นคุณภาพการให้บริการกลุ่มคน สร้างแนวทางการบริการใหม่ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น การใช้เทคโนโลยี หรือสิ่งที่มีอยู่แล้วน ามาพัฒนาใช้ในหลักการที่แตกต่างไปจากเดิม ทั้งด้านเทคนิค วิธีการ หรือกระบวนการ อันจะส่งผลให้นวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวีเป็นสื่อที่ครูสามารถเข้าถึง เข้าใช้ สามารถเรียนรู้ได้ง่ายและสะดวก ส่งผลให้สื่ออีดีแอลทีวีเป็นสื่อทีค่รูเลือกน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนต่อไปได้

Page 5: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

5 การศึกษาความต้องการของชุมชน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ส ารวจความต้องการของครู ในเขตพ้ืนที่บริการเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้สื่ออีดีแอลทีวีในการเรียนการสอน และการให้บริการด้านไอซีทีของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ตามแผนการด าเนินงานของมหาวิทยาลัยที่ใช้กระบวนการ PAOR ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย วางแผนการให้บริการวิชาการสู่ชุมชน ร่วมกิจกรรมในชุมชนและสะท้อนผลการจัดกิจกรรมด้วยรูปแบบที่หลากหลาย น าผลที่ได้สู่การพัฒนากระบวนการด าเนินงานของมหาวิทยาลัยต่อไป ตารางท่ี 1 ความต้องการประยุกต์ใช้สื่ออีดีแอลทีวีในการเรียนการสอน

ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 พ.ศ. 2552-2553 พ.ศ. 2554-2555 พ.ศ. 2555-2556 พ.ศ. 2556-2557 พ.ศ. 2557-2558

กลุ่มเป้าหมาย จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดใกล้เคียง

ร้อยเอ็ด ขอนแก่น กาฬสินธุ์

จังหวัดในภูมิภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ

สมาชิกเครือข่าย สมาชิกเครือข่าย

ปัญหาและความต้องการ สื่ออีดีแอลทีวีดอีย่างไร จะพัฒนาสื่อ อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรูไ้ด้อย่างไร

การใช้สื่ออีดีแอลทวีี และการใช้คอมพวิเตอร์แท็บเล็ต

การประยกุต์ใช้สื่อ eDLTV ในโรงเรียนที่มีบริบทแตกต่างกัน

การประยกุต์ใช้สื่อ eDLTV ของโรงเรียนขนาดเล็ก

การขยายผลการส าเนาสื่อให้ครูในโรงเรียน

น าสู่การด าเนินงาน การเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV สู่การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส ์

การเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDการประยุกต์ใช้สื่อ eDLTV เพื่อการเรียนรู้ผ่านคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตLTV และการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต

กิจกรรมค่ายอาสาเพื่อการเรียนรู้สื่ออีดีแอลทีวีตามความพร้อมของโรงเรียนโดยประยุกต์ เข้ ากับการพัฒนาสื่ออิ เล็กทรอนิกส์ การใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตและการซ่อมบ ารุงระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายโรงเรียน

กิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ด้วยสื่อ eDLTV ร่วมกับโรงเรียนและชุมชนเพื่อส่งเสริมการประยุกต์ใช้สื่อ eDLTV ในการเรียนการสอนของโรงเรียนขนาดเล็ก

การเผยแพร่นวัตกรรมก า ร จั ด ก ลุ่ ม สื่ ออิ เล็ กทรอนิ กส์ เพื่ อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

จากตารางที่ 1 การศึกษาบริบท ปัญหา และความต้องการของชุมชน ในการประยุกต์ใช้สื่ออีดีแอลทีวีเพ่ือการเรียนการสอน และความต้องการของชุมชนที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามให้บริการด้านไอซีทีแก่ชุมชน จากผลการส ารวจน ามาสู่การพัฒนาโครงการและกิจกรรม ที่บูรณาการงานประจ าสู่การวิจัย ร่วมมือกับสมาชิกเครือข่ายเพ่ือให้การด าเนินงานสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน น าสู่นโยบายของมหาวิทยาลัยในการบริการวิชาการแก่ชุมชนในแต่ละปี จัดท าแผนปฏิบัติการภายใต้กิจกรรมและโครงการที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น เพ่ือส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนและท้องถิ่น ยกระดับการเรียนรู้ของชุมชนโดยใช้ไอซีทีเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

Page 6: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

6 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ การน านโยบายสู่การปฏิบัติโดยการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ มหาวิทยาลัยโดยคณะท างานได้ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมการด าเนินงานการให้บริการไอซีทีแก่ชุมชนของมหาวิทยาลัย ไปยังหน่วยงานในชุมชนและท้องถิ่น ในการประชุมคณะผู้บริหาร น าเสนอแนวทางการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของมหาวิทยาลัยร่วมกับหน่วยงานและชุมชน ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้

ภาพที่ 3 การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ

จากการด าเนินงานส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีเครือข่ายความร่วมมือ 3 ระดับ ดังนี้ 1. เครือข่ายระดับนโยบาย เป็นหน่วยงานที่ผลักดันให้มหาวิทยาลัยสร้างเครือข่ายความร่วมมือ

กับชุมชนและท้องถิ่น ตามภารกิจและโครงการต่าง ๆ โดยเครือข่ายระดับนโยบายจะเป็นแรงผลักดันในการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของมหาวิทยาลัย ทั้งด้านการพัฒนาบุคลากร อุปกรณ์ เครื่องมือ กระบวนการ และงบประมาณ เพ่ือให้มหาวิทยาลัยมีความพร้อมในการให้บริการตามบริบทของโครงการ หน่วยงานความร่วมมือ ได้แก่ ส านักงานคณะกรรมการกิจกรรมกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. บมจ.ทีโอที (จ ากัด) มหาชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา หรือ สกศ. ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หรือ สพฐ. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในท้องถิ่น สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม และสถานประกอบการในชุมชนและท้องถิ่น

2. เครือข่ายระดับปฏิบัติการ เป็นหน่วยงานที่น านโยบายสู่การปฏิบัติ โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามจะท าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการด าเนินงานโครงการร่วมกับสมาชิกเครือข่าย พร้อมก าหนดบทบาทหน้าที่ในการร่วมมือเพ่ือให้การด าเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย พร้อมกับแผนปฏิบัติการในแต่ละปี หรือตามภารกิจของแต่ละโครงการ จากการวางแผนการด าเนินงาน น าสู่การปฏิบัติและติดตามผล ชื่นชมผลงานและมอบรางวัลให้แก่ผลงานเชิงประจักษ์ท่ีโดเด่น

Page 7: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

7

3. เครือข่ายขยายผล เป็นเครือข่ายความร่วมมือที่เกิดขึ้นในชุมชน เกิดจากสมาชิกเครือข่ายระดับปฏิบัติการน าผลที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม ขยายผลไปยังชุมชนของตนเอง สร้างเครือข่ายในระดับชุมชนและหมู่บ้าน ซึ่งเป็นผลมาจากการอบรมและพัฒนาด้วยรูปแบบการอบรมแบบ Training the trainer ของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ภาพที่ 3 การลงนามบันทึกข้อตกลงเครือข่ายความร่วมมือ

ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มีเครือข่ายในชุมชนโดยส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา น าโรงเรียนเข้าร่วมเป็นเครือข่ายร่วมกับมหาวิทยาลัย จ านวน 1,589 แห่ง รับสื่ออีดีแอลทีวีทั้งสิ้น 1,865 ตัว ครอบคลุม 25 จังหวัด คือ จังหวัดมหาสารคาม ขอนแก่น กาฬสินธุ์ ร้อยเอ็ด นครพนม มุกดาหาร สกลนคร สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีษะเกษ ชัยภูมิ ยโสธร หนองคาย หนองบัวล าภู อ านาจเจริญ อุดรธานี อุบลราชธานี กรุงเทพฯ ตาก สุโขทัย พะเยา เชียงราย เพชรบุรี ภูเก็ต และ พัทลุง (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557) การบูรณาการสื่ออีดีแอลทีวีเป็นภารกิจงานประจ าสู่งานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามได้จัดตั้งคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเป็นหน่วยงานหลักของมหาวิทยาลัยที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ด าเนินการในภารกิจที่มุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ศึกษาและวิจัย พัฒนางานด้านไอซีที บูรณาการสู่การเรียนการสอน การบริการวิชาการ การวิจัยและท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ถ่ายทอดสู่ชุมชน และขยายผลให้ เป็นที่ ยอมรับในระดับสากล ภายใต้รูปแบบการบูรณาการงานประจ าสู่งานวิจัยเพ่ือส่งเสริมการใช้ไอซีทีของชุมชน หรือ RMU-IR2R-ICT Model ดังภาพที่ 4

ภาพที่ 4 รูปแบบการด าเนินงานบูรณาการงานประจ าสู่งานวิจัย

Page 8: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

8 จากภาพที่ 4 การบูรณาการงานประจ าสู่งานวิจัยเพ่ือส่งเสริมการใช้ไอซีทีของชุมชน โดยการน้อมน าโครงการตามพระราชด าริ : สื่ออีดีแอลทีวี เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชน มีรูปแบบการด าเนินงานประกอบด้วย 5 กิจกรรม และ 12 ตัวชี้วัด ภายใต้เครือข่ายความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ 1. การเตรียมความพร้อมระบบ เป็นการวางแผนเพ่ือเตรียมความพร้อมด้านเครื่องมือ เครือข่าย และเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด 2. การส่งเสริมการเรียนรู้ เป็นการวางแผนพัฒนาบุคลากรให้พร้อมกับการให้บริการ โดยส่งเสริมความรู้และทักษะในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ให้มีความพร้อมด าเนินภารกิจให้ส าเร็จตามเป้าหมายประกอบ ด้วย 2 ตัวชี้วัด 3. บูรณาการสู่งานประจ า การวางแผนจัดท าโครงการวิจัย ที่บูรณาการงานประจ าสู่งานวิจัยตามบริบทของบุคลากรในแต่ละฝ่าย น าเสนอเค้าโครงเพ่ือขอรับการสนับสนุนทุนวิจัย โดยมีนักศึกษาร่วมขับเคลื่อนภารกิจให้สอดคล้องและเหมาะสมกับงานในแต่ละด้าน ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด 4. น าบริการชุมชน เป็นการวางแผนการน าโครงการสู่การให้บริการแก่ชุมชน ด้วยกระบวนการวิจัยที่มีนักศึกษามีส่วนร่วม เก็บข้อมูล ด าเนินการตามกระบวนการ และศึกษาการยอมรับหรือการน าไปของชุมชน ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด 5. ส่งเสริมการเผยแพร่ เป็นการวางแผนการส่งเสริมการเผยแพร่ผลการด าเนินงานของโครงการในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ หรือบทความทางวิชาการ ที่เน้นการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการสะท้อนผลการเรียนรู้จากการร่วมกิจกรรม โดยจัดให้มีการประกวดผลงาน และมอบเกียรติบัตรส าหรับผลงานเชิงประจักษ์ที่โดเด่น ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด การบูรณาการสู่การเรียนการสอน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ บูรณาการการเผยแพร่สื่ ออีดีแอลทีวีสู่การเรียนการสอนด้วย

กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนที่บูรณาการเข้ากับการเรียนการสอนนักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ส่งเสริมให้บุคลากรท าวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนน าสู่การปฏิบัติร่วมกับชุมชน ภายใต้กิจกรรมของสื่ออีดีแอลทีวีเพ่ือการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ส่งเสริมทักษะและประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research: PR) ดังภาพที่ 5

ภาพที่ 5 รูปแบบการบูรณาการสู่การเรียนการสอน

Page 9: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

9

จากภาพที่ 5 การบูรณาการการบริการสื่ออีดีแอลทีวีสู่การเรียนการสอน เป็นแนวทางการด าเนินงานที่บุคคลสายวิชาการ หรือผู้สอนได้น าเข้าสู่กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมการวิจัย ทั้งในกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ผลและสรุปรายงานการวิจัย ผลการวิจัยได้รูปแบบ LCIPAR (Learner-Centered Instruction through Practical Application of Research for the Enhancement of Learning Skills and Learning Experiences) ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 ส ารวจความพร้อมของผู้เรียน เป็นขั้นตอนศึกษาบริบท เป็นการก าหนดกรอบ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ของผู้เรียน ก าหนดแนวทางการศึกษา กระบวนการ ขั้นตอน พร้อมทั้งศึกษาบริบท ปัญหา และความต้องการของนักศึกษา

ขั้นที่ 2 ส่งเสริมองค์ความรู้ วางแผนการด าเนินงานเพ่ือให้นักศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในความรู้ ทักษะ และกระบวนการ นักศึกษาจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ เพ่ือจะได้น ามาเป็นแนวทางในการก าหนดแผนการด าเนินงานและเป้าหมายของการวิจัยร่วมกัน

ขั้นที่ 3 สู่การปฏิบัติ ในขั้นตอนนี้ ทีมงานวิจัยน ากระบวนการสู่การปฏิบัติจริง โดยศึกษาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติร่วมกับผู้วิจัยและผู้เข้าร่วมในกลุ่มงานวิจัยภาคสนามในสถานที่จริง

ขั้นที่ 4 ปรับกระบวนการคิด นักศึกษากลุ่มเป้าหมายน าเสนอแนวคิดที่ได้จากการศึกษาสรุปเป็นบทเรียนที่ได้จากการปฏิบัติน าเสนอต่อผู้สอนเพ่ือปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์

ขั้นที่ 5 ติดตามประเมินผล นักศึกษากลุ่มเป้าหมายน างานวิจัยไปสู่การปฏิบัติจริงและรายงานการด าเนินงานโดยมี นักพัฒนาและนักวิจัย ติดตามประเมินผลอย่างใกล้ชิด

ผลการด าเนินงานการให้บริการชุมชน การด าเนินงานการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามในแต่ละปี ด าเนินการภายใต้แผนปฏิบัติการด้านการบริการวิชาการแก่ชุมชน ที่เป็นพันธกิจหลักของมหาวิทยาลัย มุ่งเน้นการน้อมน าโครงการตามพระราชด าริ : สื่ออีดีแอลทีวี เผยแพร่และถ่ายทอดสู่ชุมชน ภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ที่ด าเนินการโดยบุคลากร แนะนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ทุกระดับ ผลการด าเนินการได้บูรณาการภารกิจงานประจ า สร้างเครือข่าย สร้างงานวิจัย และได้รับเกียรติบัตรจากการด าเนินงาน ดังตารางที่ 2

จากตารางที่ 2 ระหว่างปี 2552-2553 เป็นช่วงเริ่มต้นของโครงการเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ บริการการเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV และการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยมีเครือข่ายระดับที่ 1 ให้การสนับสนุนงบประมาณในการด าเนินงาน สร้างเครือข่ายขยายผลในชุมชน จ านวน 149 โรงเรียนภายใต้งานวิจัย 42 เรื่อง ส่งผลให้บุคลากรและครูได้รับการคัดเลือกจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในการประยุกต์ใช้สื่อ eDLTV ในการเรียนการสอนจ านวน 6 คน

Page 10: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

10 ตารางท่ี 2 กิจกรรมการด าเนินการเผยแพร่สื่ออีดีแอลทีวี

ปี พ.ศ. กิจกรรม การบูรณาการ เครือข่ายความรว่มมือ งานวิจัย เกียรตบิัตร ระดับ 1 ระดับ 2 มรม. นศ. คร ู มรม. เครือข่าย

52-53 การเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV

การเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV สู่การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส ์

- กสทช. - ทีโอที - มจพ. - สวทช. - สกศ.

โรงเรียน 149 แห่ง

8 17 17 1 5

54-55 การเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV และการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต

การประยกุต์ใช้สื่อ eDLTV เพื่อการเรียนรู้ผ่านคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต

- สพฐ. - สพท.

โรงเรียน 664 แห่ง

12 12 15 2 13

55-56 น าร่องกิจกรรมค่ายอาสา “เยาวชนไทย ทั่วถิ่นไทย เรียนรู้ได้ใต้ร่มพระบารมี” เพื่อการเผยแพร่ส่ือ eDLTV ในโรงเรียน

กิจกรรมค่ายอาสาเพือ่การเรียนรู้ส่ืออีดีแอลทีวีตามความพร้อมของโรงเรียนโดยประยุกต์เข้ากับการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตและการซ่อมบ ารุงระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายโรงเรียน

- สถาน ประกอบ การใน จังหวัด

โรงเรียน 932 แห่ง

20 4 4 1 33

56-57 กิจกรรมค่ายอาสาโรงเรียนขนาดเล็ก “เยาวชนไทย ทั่วถิ่นไทย เรียนรู้ได้ใต้ร่มพระบารมี”

กิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้ด้วยสื่อ eDLTV ร่วมกับโรงเรียนและชุมชนเพื่อส่งเสริมการประยุกต์ใช้สื่อ eDLTV ในการเรียนการสอนของโรงเรียนขนาดเล็ก

- สหกรณ์ออมทรัพย์ครูจังหวัดมหาสาร คาม

โรงเรียน 1,197 แห่ง

3 4 1 9 52

57-58 การขยายผลการส าเนาสื่ออีดีแอลทวีีในโรงเรียนและการขยายผลการใช้ส่ืออีดีแอลทีวีเพื่อการเรียนรู้ตามนโยบายภาครัฐ

การเผยแพร่นวัตกรรมการจัดกลุ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

- สถาน ประกอบ การจังหวัด ใกล้เคียง

โรงเรียน 1,589 แห่ง

1 8 - - -

ปี 2554-2555 เป็นช่วงระหว่างที่รัฐบาลด าเนินโครงการคอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเพ่ือการศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศได้จัดหาคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต เพ่ือส่งเสริมศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยบูรณาการสื่อ eDLTV กับคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต จัดกิจกรรมการเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต และการบูรณาการการใช้สื่อ eDLTV บนคอมพิวเตอร์แท็บเล็ต โดยมีส านักงานคณะกรรมการการศึกษาพ้ืนฐาน หรือ สพฐ. เป็นเครือข่ายที่สนับสนุนการด าเนินงาน สร้างเครือข่าย 664 โรงเรียน ภายใต้งานวิจัย 39 เรื่อง ส่งผลให้ครูและบุคลากรได้รับเกียรติบัตรจาก สพฐ. ในการประยุกต์ใช้สื่อ eDLTV ในการเรียนการสอนจ านวน 13 คน ส าหรับบุคลากรของ

Page 11: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

11 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรปภา อารีราษฎร์ ได้รับรางวัลข้าราชการพลดีเด่น และบุคลากรผู้ท าคุณประโยชน์ให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา จากส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู หรือ สกสค. ระหว่างปี 2555-2556 เป็นช่วงการด าเนินงานโครงการเผยแพร่ ถ่ายทอดสื่อ eDLTV ในระยะที่ 2 ซึ่งในระยะนี้ สวทช. ได้ก าหนดให้มีกิจกรรมค่ายอาสา “เยาวชนไทย ทั่วถิ่นไทย เรียนรู้ได้ใต้ร่มพระบารมี” คณะเทคโนโลยีสารสนเทศได้ร่วมกับโรงเรียนน าร่องจ านวน 70 โรงเรียนทั้งระดับมัธยมศึกษา และประถมศึกษา จัดกิจกรรมที่โรงเรียนในการประยุกต์ใช้สื่อ eDLTV และการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ต ภายใต้งานวิจัย 28 เรื่อง มีเครือข่าย 932 โรงเรียน ส่งผลให้ครแูละบุคลากรได้รับการคัดเลือกให้ได้รับเกียรติบัตรจากโครงการเครือข่ายสื่ออีดีแอลทีวี ในการประยุกต์ใช้สื่อ eDLTV ในการเรียนการสอนจ านวน 33 คน ส าหรับบุคลากรของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรปภา อารีราษฎร์ ได้รับพระราชทานเข็มพระนาม “สธ” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ภาพที่ 6 สมาชิกเครือข่ายสื่ออีดีแอลทีวีรับเกียรติบัตรและโล่

ปี 2556-2557 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้รับสนับสนุนฮาร์ดดิสต์ บรรจุสื่อ eDLTV จากสหกรณอ์อมทรัพย์ครูมหาสารคาม จ านวน 40 เครื่อง จาก สวทช. จ านวน 68 เครื่อง และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สมทบจ านวน 3 เครื่อง รวมเป็น 111 เครื่อง มอบให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก จ านวน 111 โรงเรียน เพ่ือจัดกิจกรรมค่ายอาสา “เยาวชนไทย ทั่วถิ่นไทย เรียนรู้ได้ใต้ร่มพระบารมี” ให้กับโรงเรียนขนาดเล็ก ขยายเครือข่าย 1,197 โรงเรียน ภายใต้งานวิจัย 7 เรื่อง ส่งผลให้บุคลากรและครูได้รับการคัดเลือกให้ได้รับเกียรติบัตรจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ในการเขียนเรื่องเล่าดีเด่น และการท าวีดิทัศน์ จ านวน 52 คน ส าหรับบุคลากรของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธรัช อารีราษฎร์ และ ดร.ธวัชชัย สหพงษ์ ได้รับพระราชทานเข็มพระนาม “สธ” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และบุคลากรและนักศึกษา จ านวน 7 คน รับเกียรติบัตรจาก สวทช.

Page 12: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

12

ภาพที่ 7 สมาชิกเครือข่ายรับเกียรติบัตรการคัดเลือกผลงานจากมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

ปี 2557-2558 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วรปภา อารีราษฎร์ ด าเนินการพัฒนานวัตกรรมการให้บริการสื่ออีดีแอลทีวีเพ่ือการเรียนรู้ของชุมชน เพ่ือเป็นระบบในการสืบค้นและส าเนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์จากระบบอีดีแอลทีวีที่ง่ายและสะดวก เรียกว่าระบบ eDL-Copy Version 1 เผยแพร่นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นโดยการอบรมให้ครูสมาชิกเครือข่ายให้มีความรู้ มีทักษะในการน าไปสู่การปฏิบัติ จ านวน 334 คน

ภาพที่ 8 จอภาพนวัตกรรมการจัดกลุ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือการเรียนรู้

Page 13: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

| 13

ภาพที่ 9 การเผยแพร่นวัตกรรมการจัดกลุ่มสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพ่ือการเรียนรู้

จากการติดตามผลการอบรมครูพบว่าครูมีความพึงพอใจกับนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นจ านวนมาก และพบว่าครูจ านวน 278 คน ได้น านวัตกรรมไปใช้และเผยแพร่สู่สมาชิกในชุมชน โดยครูได้อธิบาย/สอนหรือแนะน าการใช้งานนวัตกรรมให้สมาชิกที่สนใจ ร้อยละ 64.81 ส าเนา/ดาวน์โหลดนวัตกรรมให้สมาชิก ร้อยละ 64.11 ติดตั้งนวัตกรรมเพ่ิมในฮาร์ดดิสค์สื่ออีดีแอลทีวี/คอมพิวเตอร์ของโรงเรียน ร้ อยละ 44 .60 และ บริการส าเนาสื่อให้สมาชิก/นักเรียน ร้อยละ 34.84 สรุปบทเรียนที่ได้จากการด าเนินงาน จากผลการด าเนินงาน ผลที่ได้จากการบูรณาการงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV เข้ากับภารกิจของมหาวิทยาลัย ทั้งในการการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม สรุปได้ดังภาพที่ 10

Page 14: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

14

ภาพที่ 10 ผลที่ได้จากการด าเนินงาน จากภาพที่ 10 พบว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ได้ด าเนินการภารกิจในบริบทของ

สถาบันการศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น ในการน้อมน าโครงการตามพระราชด าริ การน้อมน าโครงการตามพระราชด าริ : สื่อ eDLTV เผยแพร่ ถ่ายทอดสู่ชุมชนด้วยกระบวนการบูรณาการสู่การงานประจ า ในบริบทของมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ส่งผลให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนาบถคลากร นักศึกษา งานวิจัยที่มีคุณค่าสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ภายใต้เครือข่ายความร่วมมือทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ดังนี้

Page 15: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

15 1. การพัฒนาบุคลากร และนักศึกษา

1.1 บุคลากร ผลจากการที่บุคลากรด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV เข้ากับภารกิจของมหาวิทยาลัย ทั้งในการการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ส่งผลให้บุคลากรมีการพัฒนาดังนี้ 1.1.1 มีความรู้ ทักษะ เจตคติ ต่อการวิจัย การบริการวิชาการ 1.1.2 พัฒนางานวิจัย 1.1.3 พัฒนางานการเรียนการสอน 1.1.4 ผลงานได้รับการเผยแพร่ 1.1.5 ได้รับเกียรติบัตร รางวัลสร้างขวัญ ก าลังใจ

1.2 นักศึกษา ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายทั้งทีเ่ป็นผู้ร่วมด าเนินงานและเป็นผู้รับความรู้จาก การด าเนินงาน ได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ และเจตคติ ตามกรอบของ TQF ทั้ง 5 ด้าน ดังนี้ 1.2.1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม นักศึกษามีวินัย และมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลาสามารถท างานทั้งในพื้นที่มหาวิทยาลัย และลงพ้ืนที่ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

1.2.2. ด้านความรู้ นักศึกษามีความรู้ และทักษะในเนื้อหาวิชามากขึ้น จากการปฏิบัติ จริงในการบริการวิชาการ และการวิจัย 1.2.3. ด้านทักษะเชาว์ปัญญา จากการท างานทั้งในพ้ืนที่มหาวิทยาลัย และในชุมชนของนักศึกษา ส่งผลให้นักศึกษาต้องใช้วิจารณญาณ เพ่ือแก้ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ โดยไม่ได้เตรียมการมาล่วงหน้า เช่น อุปกรณ์ที่เตรียมไว้มีปัญหาใช้งานไม่ได้ในช่วงระหว่างการปฏิบัติการ เป็นต้น ดังนั้นการได้ลงปฏิบัติในพ้ืนที่ ส่งผลให้นักศึกษามีความรู้ และทักษะในการแก้ปัญหามากขึ้น 1.2.4. ด้านทักษะในการอยู่ร่วมกัน จากการท างานทั้งในพ้ืนที่มหาวิทยาลัย และลงพ้ืนที่ชุมชนของนักศึกษา ต้องด าเนินการเป็นทีม ดังนั้นการได้ลงปฏิบัติในพ้ืนที่ ส่งผลให้นักศึกษามีความรู้ และทักษะในการท างานเป็นทีมมากข้ึน รู้จักการจัดแบ่งหน้าที่ มีทักษะในการสื่อสารกับคนอื่น ๆ 1.2.5. ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จากการท างานทั้งในพื้นที่มหาวิทยาลัย และลงพ้ืนที่ชุมชนของนักศึกษา ต้องน าเสนอ หรือเป็นวิทยากร ดังนั้นการได้ลงปฏิบัติในพ้ืนที่ ส่งผลให้นักศึกษามีความรู้ และทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ืองานน าเสนอได้อย่างมีคุณภาพมากขึ้น

2. การส่งเสริมการด าเนินงานตามภารกิจของมหาวิทยาลัย

2.1 การวิจัย ผลจากการด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV ส่งผลให้มี ผลงานวิจัยที่หลากหลายดังนี้ 2.1.1 การวิจัยชั้นเรียน 2.1.2 การวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ 2.1.3 การพัฒนานวัตกรรม

Page 16: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

16 2.2 การจัดการเรียนการสอน การด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV ส่งผลให้นักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี โทและเอก ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยได้มีการลงพ้ืนที่ปฏิบัติจริงทั้งการวิจัย และบริการวิชาการ ตลอดจนการสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในด้านศิลปะและวัฒนธรรม

2.3 การบริการวิชาการ การด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV ส่งผลให้มีเครือข่ายความร่วมมือทั้งในระดับชาติ และในท้องถิ่น เพ่ือพัฒนางานบริการวิชาการ

2.4 การท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม การด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV ส่งผลให้งานด้านศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นในท้องถิ่น ได้รับการเผยแพร่ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จากการพัฒนางานของนักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี โทและเอก

3. การพัฒนาชุมชนและท้องถิ่น 3.1 เครือข่ายความร่วมมือ การด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV ส่งผลให้

มีเครือข่ายความร่วมมือทั้งในระดับชาติ และในท้องถิ่น ซึ่งเครือข่ายดังกล่าว สนับสนุนในสิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้ 3.1.1 สนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา 3.1.2 สนับสนุนงบประมาณ 3.1.3 สนับสนุนบุคลากร 3.1.4 สนับสนุนเกียรติบัตร รางวัลสร้างขวัญ ก าลังใจ

3.2 ชุมชนและท้องถิ่น ผลจากการที่มหาวิทยาลัยด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV เข้ากับภารกิจของมหาวิทยาลัย ทั้งในการการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ส่งผลให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถิ่นดังนี้ 3.2.1 ยกระดับการศึกษาโดยใช้ไอซีที 3.2.2 ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านไอซีทีเพ่ือการเรียนการสอน 3.2.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษาผลิตผลงานด้านไอซีทีเพ่ือการเรียนการสอน และได้รับเกียรติบัตร รางวัลสร้างขวัญ ก าลังใจ 3.2.4 นักเรียนมีผลการเรียนที่สูงขึ้น ทั้งผลการเรียนในระดับชั้นเรียน ผลการทดสอบโอเน็ตในระดับโรงเรียน

4. งานประกันคุณภาพ ผลจากการที่มหาวิทยาลัยด าเนินงานงานเผยแพร่ ถ่ายทอด สื่อ eDLTV เข้ากับภารกิจของมหาวิทยาลัย ทั้งในการการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม ส่งผลให้ผลงานต่าง ๆ สามารถน าไปเป็นข้อมูลในการประเมินหน่วยงานในด้านการประกันคุณภาพ ได้หลายองค์ประกอบดังนี้

Page 17: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

17 4.1 องค์ประกอบด้านการผลิตบัณฑิต 4.2 องคป์ระกอบด้านพัฒนากิจการนักศึกษา 4.3 องค์ประกอบด้านการวิจัย

4.4 องค์ประกอบด้านการบริการวิขาการแก่สังคม 4.5 องค์ประกอบด้านการท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม 4.6 องค์ประกอบด้านอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ขอขอบคุณหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการด าเนินงาน อันได้แก่ ส านักงานคณะกรรมการกิจกรรมกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. บมจ.ทีโอที (จ ากัด) มหาชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา หรือ สกศ. ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หรือ สพฐ. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ หรือ เนคเทค ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในท้องถิ่น สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม และสถานประกอบการในชุมชนและท้องถิ่น เอกสารอ้างอิง กนกวรรณ ศรีวาปี,วรปภา อารีราษฎร์. รูปแบบการส่งเสริมการประยุกต์ใช้สื่ออีดีแอลทีวีในการเรียน

การสอนส าหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูร่วมกับโรงเรียนปฏิบัติการสอนนักศึกษาคณะครุศาสตร์ เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม . การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ICSSS 2013 วันที่ 19-20 กรกฎาคม 2556. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 2556.

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ .รายงานผลการด าเนินงาน ปีการศึกษา 2552-2556. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. , 2556. โครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม. e-DLTV : e- Learning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม. [ออนไลน์] เข้าถึงไดจ้าก http://edltv.thai.net/index.php [10/10/55] ธวัชชัย สหพงษ์,วรปภา อารีราษฎร์. รูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้โรงเรียน ทสรช. ด้วยกิจกรรม

ค่ายอาสาเยาวชนทั่วถิ่นไทยเรียนรู้ได้ใต้ร่มพระบารมี . การประชุมวิชาการระดับนานาชาติICSSS 2013 วันที่ 19-20 กรกฎาคม 2556. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2556.

Page 18: สื่อ eDLTV เผยแพร่ถ่ายทอดสู่ชุมชน project/t-visit... · 2015-07-15 · เพื่อการเรียนรู้ จัดท

18 วรปภา อารีราษฎร์. การศึกษานวัตกรรมสื่ออีดีแอลทีวีเพื่อการเรียนการสอน . การประชุมวิชาการ

ระดับนานาชาติ NCCIT2014. วันที่ 8 – 9 พฤษภาคม 2557. กรุงเทพมหานคร : คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2557.

วรปภา อารีราษฎร์. รูปแบบการส่งเสริมการเผยแพร่สื่อ eDLTV. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติICSSS 2012 วันที่19 -20 พฤษภาคม 2555. มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2555.

ธีรวุฒิ บุณยโสภณ, สมเจตน์ ภูศรี และ พิสุทธา อารีราษฎร์. รูปแบบความร่วมมือโครงการศูนย์ทางไกลเพื่อพัฒนาการศึกษาและพัฒนาชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. การประชุมวิชาการ การส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศของชุมชน 17 -18 สิงหาคม 2553 มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2553.

มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.รายงานผลการด าเนินการโครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม.มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2553. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.รายงานผลการด าเนินการโครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม. มหาสารคาม :มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2554. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.รายงานผลการด าเนินการโครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม.มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2556. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.รายงานกิจกรรมเรื่องเล่า โครงการค่ายอาสา “เยาวชนทั่วถิ่นไทย เรียนรู้ได้ใต้ร่มพระบารมี”. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2556. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.รายงานผลการด าเนินการโครงการจัดท าเนื้อหาระบบ e-Learning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม.มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2557.