36
บทที2 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาเพื่อปรับปรุงกระบวนการใหบริการดานระบบสารสนเทศ เปนการใชหลักการ ตามแนวคิด การศึกษาวิธีการทํางาน (Method Study) มาเพื่อลดกระบวนการและระยะเวลาในการ ใหบริการโดยมีรายละเอียดของแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของดังตอไปนี2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของประกอบดวย การศึกษาการทํางาน (Work Study) การศึกษา วิธีการทํางาน (Method Study) และการศึกษาเวลา (Time Study) 2.1.1 การศึกษาการทํางาน (Work Study) การศึกษาการทํางานเปนวิชาการที่พัฒนาตอเนื่องมาจากวิชาการศึกษาการเคลื่อนที่และ ศึกษาเวลา (Motion and Time Study) ซึ่งไดรับการพัฒนาขึ้นเปนตนกําเนิดของหลักวิชาการตาม แนวคิดและหลักการของ Federick W. Taylor และ Frank B. Gilbreth ตอมาขอบขายของการศึกษา การเคลื่อนที่และการศึกษาเวลาไดขยายเพิ่มขึ้นโดยเดิมทีการศึกษาการเคลื่อนทีจะพิจารณาเฉพาะ ในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษาการทํางานของรางกายประกอบรวมกับการจัดสภาพแวดลอมการ ทํางาน ซึ่งเกี่ยวของโดยตรงกับการทํางานของคนงานโดยเฉพาะ ตอเมื่อมีการใชเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณเขามาเกี่ยวของกับการผลิต ขอบขายของการศึกษาจึงกวางขึ้นมากลายเปน การศึกษาวิธี ” (Method Study) ซึ่งจะครอบคลุมกิจกรรมของการศึกษาการเคลื่อนที ่โดยจะเปน การศึกษาวิธีการทํางานที่มีอยูเดิมและใชหลักการปรับปรุงพัฒนาวิธีการทํางานใหมที่ดีกวาเดิม ทํา ใหผลผลิตสูงขึ้น ความสูญเสียนอยลง และตนทุนการผลิตต่ําลง ในสวนของการศึกษาเวลา เนื่องจากเปนกระบวนการวัดเวลาเพื่อกําหนดเวลามาตรฐานและเก็บขอมูลเวลาทํางาน ใชเปนการ วัดผลงานสวนหนึ่ง การวัดผลงานสามารถทําไดดวยกระบวนวิธีการอื่นๆ อีกนอกเหนือจาก การศึกษาเวลาโดยการใชนาฬิกาจับวัดเวลา จึงพัฒนาเปนวิชา การวัดผลงาน ” (Work Measurement) ซึ่งจะครอบคลุมกิจกรรมของการศึกษาเวลา การสุมงาน การใชเวลามาตรฐานพรีดี เทอรมีนและการใชขอมูลมาตรฐานเวลาที่วิจัยเปนฐานขอมูลประกอบการใชงานการวัดผลงาน

บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

บทที่ 2

ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

การศึกษาเพื่อปรับปรุงกระบวนการใหบริการดานระบบสารสนเทศ เปนการใชหลักการ

ตามแนวคิด การศึกษาวิธีการทํางาน (Method Study) มาเพื่อลดกระบวนการและระยะเวลาในการ

ใหบริการโดยมีรายละเอียดของแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของดังตอไปนี้

2.1 แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวของ

แนวคดิและทฤษฎีที่เกี่ยวของประกอบดวย การศึกษาการทํางาน (Work Study) การศึกษา

วิธีการทํางาน (Method Study) และการศึกษาเวลา (Time Study)

2.1.1 การศึกษาการทํางาน (Work Study)

“การศึกษาการทํางาน” เปนวิชาการที่พัฒนาตอเนื่องมาจากวิชาการศึกษาการเคลื่อนที่และศึกษาเวลา (Motion and Time Study) ซ่ึงไดรับการพัฒนาขึ้นเปนตนกําเนิดของหลักวิชาการตามแนวคิดและหลักการของ Federick W. Taylor และ Frank B. Gilbreth ตอมาขอบขายของการศึกษาการเคลื่อนที่และการศึกษาเวลาไดขยายเพิ่มขึ้นโดยเดิมทีการศึกษาการเคลื่อนที่ จะพิจารณาเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษาการทํางานของรางกายประกอบรวมกับการจัดสภาพแวดลอมการทํางาน ซ่ึงเกี่ยวของโดยตรงกับการทํางานของคนงานโดยเฉพาะ ตอเมื่อมีการใชเครื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณเขามาเกี่ยวของกับการผลิต ขอบขายของการศึกษาจึงกวางขึ้นมากลายเปน “การศึกษาวิธี” (Method Study) ซ่ึงจะครอบคลุมกิจกรรมของการศึกษาการเคลื่อนที่โดยจะเปนการศึกษาวิธีการทํางานที่มีอยูเดิมและใชหลักการปรับปรุงพัฒนาวิธีการทํางานใหมที่ดีกวาเดิม ทําใหผลผลิตสูงขึ้น ความสูญเสียนอยลง และตนทุนการผลิตต่ําลง ในสวนของการศึกษาเวลา เนื่องจากเปนกระบวนการวัดเวลาเพื่อกําหนดเวลามาตรฐานและเก็บขอมูลเวลาทํางาน ใชเปนการวัดผลงานสวนหนึ่ง การวัดผลงานสามารถทําไดดวยกระบวนวิธีการอื่นๆ อีกนอกเหนือจากการศึกษาเวลาโดยการใชนาฬิกาจับวัดเวลา จึงพัฒนาเปนวิชา “การวัดผลงาน” (Work Measurement) ซ่ึงจะครอบคลุมกิจกรรมของการศึกษาเวลา การสุมงาน การใชเวลามาตรฐานพรีดีเทอรมีนและการใชขอมูลมาตรฐานเวลาที่วิจัยเปนฐานขอมูลประกอบการใชงานการวัดผลงาน

Page 2: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

9  

“การศึกษาการทํางาน” จึงเปนคําที่ใชแทนความหมายของการศึกษาการเคลื่อนที่และ

การศึกษาเวลา รูปที่ 2.1 แสดงความหมายของการศึกษาการทํางานโดยมีจุดมุงหมายในการพัฒนา

วิธีการทํางานที่ดีกวา พัฒนามาตรฐานวิธีการทํางาน กําหนดหาเวลามาตรฐาน กําหนดแผนสงเสริม

ระบบเงินจูงใจ ใชเปนเครื่องมือในการฝกอบรมวิธีการทํางาน และในที่สุดจะเปนเครื่องมือในการ

เพิ่มผลผลิต ซ่ึงโดยสรุปแลวเราสามารถใหคํานิยามของการศึกษาการทํางานไดดังนี้

“การศึกษาการทํางาน (Work Study) คือ การศึกษาวิธี (Method Study) และการวัดผลงาน

(Work Measurement) ซ่ึงใชในการศึกษากระบวนการทํางานและองคประกอบตางๆ เพื่อปรับปรุง

การทํางานใหดีขึ้น และใชประโยชนดานการพัฒนามาตรฐานของการทํางานและเวลาทํางาน รวม

ไปถึงการใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาสงเสริมจูงใจบุคลากร นําไปสูการเพิ่มผลผลิต”

รูปที่ 2.1 การศึกษาการทํางาน [2]

การศึกษาการทํางาน

(Work Study)

การศึกษาวิธี

(Method Study)

การวัดผลงาน

(Work Measurement)

พัฒนาวิธีการทํางานที่ดีกวา

พัฒนามาตรฐานวิธีการทํางาน

กําหนดเวลามาตรฐาน

กําหนดแผนงานสงเสริมเงินจูงใจ

ฝกอบรมวิธีการทํางาน

การเพิ่มผลผลิต

Page 3: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

10  

2.1.2 การศึกษาวิธีการทํางาน (Method Study)

การศึกษาวิธีการทํางาน (Method Study) หมายถึง การศึกษาวิธีการทํางานจากการบันทึก

และวิเคราะหวิธีการทํางานขององคการที่กําลังทําอยู เพื่อเสนอวิธีการทํางานแบบใหมอยางมีระบบ

และประยุกตใชเปนเครื่องมือในการทํางานใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล [3] การศึกษาวิธีการ

ทํางานจะชวยใหเกิดการปรับปรุงกระบวนการในการทํางาน ใหมีความเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนของการศึกษาวิธีการทํางานพอสรุปไดดังนี ้

1. การเลือกงาน

2. การเก็บขอมูลวิธีการทํางาน

3. การวิเคราะหวธีิการทํางาน

4. การปรับปรุงวิธีการทํางาน

5. การเปรียบเทยีบวัดผลวิธีการทํางาน

6. การพัฒนามาตรฐานวิธีการทํางาน

7. การสงเสริมใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว

8. การติดตามการใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว

ตารางที่ 2.1 แสดงกิจกรรมและเทคนิคที่ใชในแตละขั้นตอนของการศึกษาวิธีการทํางานจุด

มุงเนนในการศึกษาวิธีการทํางานคือการศึกษาเพื่อปรับปรุงวิธีการทํางานซึ่งจะตองมีกระบวนการ

วัดผลเพื่อเปรียบเทียบประเมินผลการทํางานของวิธีการทํางานเดิมกับวิธีการทํางานใหม

Page 4: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

11  

ตารางที่ 2.1 กิจกรรมและเทคนิคท่ีใชในการศึกษาวิธีการทํางาน

ขั้นตอน กิจกรรมและเทคนิคท่ีใช เลือกงาน พิจารณาความสําคัญของงานตามลักษณะงานที่ไดเปรียบเทียบ

เชิงเศรษฐศาสตร เก็บขอมูล บันทึกขอมูลดวยแผนภูมิและไดอะแกรมตางๆหรือภาพถายวีดิ

ทัศน วิเคราะหวิธีการทํางาน เทคนิคการตั้งคําถาม การแบงประเภทของงาน ปรับปรุงวิธีการทํางาน เทคนิคการปรับปรุงงาน เทคนิคการลดความสูญเสีย

วัดผลวิธีการทาํงาน ประเมินเปรยีบเทียบเวลาทํางาน ปริมาณงานที่ทําไดหรือผลผลิต พัฒนามาตรฐานวิธีการทํางาน จัดทําขอกําหนดและสภาพแวดลอมของวิ ธีการทํางานที่

ปรับปรุงแลว การสงเสริมการใชวิธีการทํางาน วางแผนและติดตามการสงเสริมการนําวิธีการทํางานที่ปรับปรุง

แลวไปปฏิบัติ การติดตามการใชวิธีการทํางาน ตรวจสอบการทํางานเปนระยะๆ วาเปนไปตามวิธีการทํางานที่

ปรับปรุงแลวหรือไม 2.1.2.1 การเลือกงาน

ขั้นตอนการเลือกงานที่จะศึกษาเปนขั้นตอนที่มีความสําคัญ เพราะงานที่ตองการการ

ปรับปรุงมีอยูมากมาย การเลือกงานผิดยอมเปนการเสียโอกาส งานบางอยางถาเลือกทํากอนจะใช

ประโยชนตอเนื่องไปถึงงานอื่นๆ ได ถาเลือกงานทําทีหลังจะไมมีผลดีตองานอื่น ทําใหเสียเวลาใน

การศึกษางานอื่น งานหลายอยางมีเงื่อนไขเวลา ถาไมเลือกศึกษากอนจะไมสามารถใชประโยชน

จากการศึกษาวิธีการทํางานไดอยางเต็มที่ งานหลายอยางเปนงานที่มีความเสี่ยง ถาเราเลือกศึกษา

และประสบความลมเหลว จะสรางความเสียหายมากกวาจะไดผลประโยชน จึงตองใชความ

ระมัดระวังมากขึ้นในการเลือกศึกษางานที่มีเงื่อนไขความเสี่ยง และงานบางอยางเปนงานที่มี

ความลับเบื้องหลัง การเลือกศึกษาวิธีการทํางานอาจสงผลกระทบในทางลบได ในการเลือกงานที่จะ

ศึกษา ส่ิงแรกจึงควรพิจารณาความสําคัญของงานตามเงื่อนไขตางๆ อยางไรก็ตามเพื่อใหงายแกการ

ตัดสินใจ เราะจะวางเกณฑการตัดสินใจเลือกงานเพื่อศึกษาวิธีการทํางาน เราจะพิจารณา

องคประกอบดังตอไปนี้

Page 5: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

12  

1. ดานเศรษฐกิจ

2. ดานเทคนิค

3. ดานปฏิกิริยาแรงงาน

4. ดานผลกระทบอื่น ๆ

• การพิจารณาดานเศรษฐกิจ

ในการพิจารณาเลือกงานดวยองคประกอบดานเศรษฐกิจ คือ การพิจารณาความคุมของ

การศึกษานั่นเอง เราตองไมลืมวาการศึกษาวิธีการทํางานตองลงทุน ทั้งดานบุคลากรที่มีความรู

เครื่องมือ และวัสดุดานเอกสาร ถาผลงานของการศึกษาการทํางานไมคุม การศึกษานั้นก็ไมมี

ความหมายเทาใดนัก มีกรณีมากมายที่ผูศึกษาการทํางานเสียเวลากับการพัฒนาวิธีการทํางานและ

เพิ่มผลผลิตในสายงานผลิตยอย ซ่ึงไมไดเปนผลดีตอสายงานผลิตโดยรวม ผลผลิตโดยรวมก็ไม

สูงขึ้น เพราะสวนงานที่ทําการศึกษาไมไดเปนสวนงานที่เปน “คอขวด” ส่ิงที่ไดจากการปรับปรุง

งานนอกจากไมเปนผลดีตอระบบโดยรวมแลว ยังเปนการเพิ่มภาระการเก็บคงคลังของผลงานที่

สูงขึ้นดวย ในการพิจารณาความคุมในการศึกษา จึงตองเลือกศึกษางานที่มีผลกระทบดานบวกเชิง

เศรษฐกิจ

• การพิจารณาดานเทคนิค

การพิจารณาเลือกงานโดยองคประกอบดานเทคนิคคือ การพิจารณาความเปนไปไดในการ

ปรับปรุงวิธีการหรือเทคนิคที่ใช เพราะความรูความชํานาญงานจะตองมีสวนเกี่ยวของในประเด็นนี้

ถางานที่เลือกศึกษาวิธีการทํางานสามารถคนพบความบกพรองของการทํางานได แตการปรับใช

เทคนิคที่ดีกวาเปนเรื่องที่ทําไดยากเพราะติดขัดดานความรูความสามารถของพนักงาน หรือติดขัด

ดานความเขาใจในสวนของการออกแบบกระบวนวิธีการทํางาน หรือไมอาจจะทราบถึงผลกระทบ

ของการใชเทคนิควิธีการทํางานแบบใหม ทําใหเกิดความเสี่ยงตอการใชวิธีการใหมขึ้น เปนการไม

แนใจในความเปนไปไดทางเทคนิค ในการศึกษาวิธีการทํางาน จึงตองเลือกศึกษางานที่ไมมีความ

ขัดของทางเทคนิคกอน

Page 6: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

13  

• การพิจารณาดานปฏิกิริยาแรงงาน

การพิจารณาเลือกงานโดยอาศัยประสบการณปฏิกิริยาแรงงาน คือ การพิจารณาผลกระทบ

ของแรงงานเนื่องจากความสําเร็จในการศึกษาวิธีการทํางานจะขึ้นอยูกับสวนของแรงงานเปนหลัก

ถาคนงานไมยอมรวมมือในกระบวนการปรับปรุงวิธีการทํางานเราจะเสียเวลาในการศึกษาวิธีการ

ทํางานโดยไมไดอะไร งานที่จะเลือกศึกษานอกจากความคุม ความเปนไปไดดานเทคนิค จึง

จําเปนตองพิจารณาดานผลกระทบทั้งดานแรงงานและดานอื่นๆ

ผลกระทบดานแรงงาน สวนใหญจะเกิดจากปญหาของคนงานดังตอไปนี้

1. ทัศนคติ (Attitude)

2. ผลประโยชน (Benefits)

3. ความเขาใจ (Understanding)

4. กิจกรรมสัมพนัธรวม (Interrelative Activity)

โดยปกติคนทั่ว ๆ ไป จะมีทัศนคติที่ไมดีตอการเปลี่ยนแปลง และมักจะมีปฏิกิริยาตอตาน

เพราะทุกคนมักจะคิดวา วิธีการทํางานของตนเองดีที่สุด ดีกวาของคนอื่น คือวิธีการที่ทําในปจจุบัน

ก็ดีอยูแลว ถาไมสามารถปรับทัศนคติของคนงานใหใจกวางขึ้น ยอมรับการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น

โอกาสในการพัฒนาวิธีการใหมจะเปนเรื่องที่ทําไดยากมาก ในการศึกษาการทํางานสิ่งที่นากลัว

ที่สุด คือ คนงานมีทัศนคติวาเมื่อปรับปรุงแลว เขาจะมีโอกาสตกงานหรือเกิดความยุงยากในการ

ทํางานมากขึ้น

งานบางประเภทถาศึกษาใหลึกๆ จะพบวา คนงานมีสวนไดผลประโยชนทางใดทางหนึ่ง

จากกระบวนการวิธีการทํางานที่เปนอยู ถาเราไมเขาใจและทําการศึกษาวิธีการทํางานซึ่งอาจจะมี

ผลกระทบตอผลประโยชนของคนงาน จะทําใหเกิดปฏิกิริยาตอตานและไมรวมมือได

ผลตอเนื่องจากปญหาทัศนคติของคนงาน คือ ความรูความเขาใจของคนงานตอกิจกรรม

การศึกษาวิธีการทํางาน ความเขาใจผิดไมวาจะเกิดจากการใหขอมูลของคนงานเองหรือการไมไดให

ขอมูลที่ถูกตองตรงตามเวลาที่เหมาะสม จะมีผลตอการเกิดปฏิกิริยาตอตานซึ่งมีแนวโนมที่จะเกิดขึ้น

ตามทัศนคติเดิมอยูแลว

Page 7: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

14  

กิจกรรมที่จะศึกษาวิธีการทํางานอาจจะเปนกิจกรรมที่มีผลกระทบกับกิจกรรมอื่นๆ เชน

งานหนึ่งงายขึ้น งานที่เกี่ยวเนื่องกันจะยากขึ้นดวย หรือถาไมเกิดกรณีเชนนี้ คนงานจะเกิดความรูสึก

วา เมื่อปรับปรุงงานของคนอื่นจะเกิดผลกระทบตองานของตนเอง จะเกิดกระบวนการสรางแนว

รวมในการตอตาน กลายเปนปฏิกิริยาแรงงานที่เปนอุปสรรคตอการศึกษาวิธีการทํางาน การ

พิจารณากิจกรรมความสัมพันธของงานรวมกันกอนการเลือกงานการศึกษาวิธีการทํางาน จะเปนอีก

สวนหนึ่งที่จะลดปฏิกิริยาแรงงานได

• การพิจารณาดานผลกระทบอื่นๆ

ผลกระทบอื่นๆ นอกจากดานแรงงาน ดานเศรษฐกิจ ดานเทคโนโลยีแลวยังประกอบดวย

ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย งานที่เลือกศึกษาวิธีการทํางานเมื่อเกิดการพัฒนางาน

จะสงผลกระทบดานสิ่งแวดลอมหรือความปลอดภัย จะเขาทํานองแกปญหาหนึ่งจะเกิดปญหาอีก

แบบหนึ่ง การใชสารเคมีเขามามีสวนในการพัฒนาวิธีการทํางาน ในลักษณะการขจัดความสกปรก

ลดความเสียหายจากการบวนการผลิตบางสวน เชน กระบวนการการขัดลางชิ้นงานอัญมณีประเภท

แหวนเพชร สรอยเพชร กําไรพลอย ฯลฯ เดิมใชความรอนในการชุบลาง แลวจะตองมีกระบวนการ

ขัดเพิ่มเติม ถาจะเปลี่ยนวิธีการทํางานโดยการใชสารไซยาไนตมาแทนการขัดลาง จะลดงานดาน

การขัดลงไปได แตอาจจะมีผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย

2.1.2.2 การเก็บขอมูลวิธีการทํางาน

เพื่อจะสามารถวิเคราะหและปรับปรุงวิธีการทํางาน เราจําเปนตองทําการเก็บขอมูลวิธีการ

ทํางานของงานที่เราเลือกที่จะศึกษาวิธีการทํางานแลว การบันทึกขอมูลวิธีการทํางานใหถูกตอง

แมนยําครบถวนตามความเปนจริงเทานั้น จึงจะเกิดประโยชนในการวิเคราะหและพัฒนาวิธีการ

ทํางานที่ดีขึ้นได การบันทึกขอมูลที่ไมถูกตองครบถวนจะทําใหเกิดความผิดพลาดในการทําความ

เขาใจเกี่ยวกับวิธีการทํางานที่เปนอยู แนวคิดในการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทํางานซึ่งจะใชไดผลตาม

ความเขาใจจากขอมูลที่ได แตอาจจะไมไดผลในการปรับปรุงวิธีการทํางานที่กําลังศึกษาอยู มี

ผลกระทบทําใหเกิดความเขาใจวาการศึกษาวิธีการทํางานใชงานไมได เปนการเสียเวลาโดยไมเกิด

ผลงานที่เปนรูปธรรม การเก็บขอมูลโดยวิธีการบันทึกวิธีการทํางาน จึงเปนขั้นตอนที่สําคัญใน

กระบวนการของการศึกษาวิธีการทํางาน

Page 8: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

15  

• เคร่ืองมือท่ีใชในการบันทึกวิธีการทํางาน

มีการพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการบันทึกวิธีการทํางานอยางตอเนื่อง ในยุคแรกของ

การศึกษาการเคลื่อนที่ มีการใชกลองถายรูปและใชเทคนิคถายภาพหรือใหสามารถเก็บขอมูลดาน

ทิศทางการเคลื่อนไหวโดยไดภาพถายประเภท Cyclegraph และพัฒนาใหเก็บขอมูลความเร็วของ

การเคลื่อนไหวโดยไดภาพ Chonocyclegraph ตอมาเมื่อเทคโนโลยีกาวหนาขึ้น ก็มีการใชกลองถาย

ภาพยนตรเขามาถายเก็บภาพวิธีการทํางานโดยมีการใชเทคนิคการวิเคราะหฟลม (Film Analysis)

ปจจุบันเราใชกลองถายวีดิทัศนมาถายบันทึกภาพวิธีการทํางาน ซ่ึงมีประโยชนมากกวาเพราะ

สามารถดูภาพบันทึกไดบอยครั้งเทาที่จะตองการดู ซ่ึงเปนเรื่องงายและสะดวกกวาการใชกลองถาย

ภาพยนตร อยางไรก็ตาม เราจะพบวา นอกจากจะใชเครื่องมือที่เกี่ยวเนื่องกับเทคโนโลยีในการ

บันทึกขอมูลวิธีการทํางาน เครื่องมือที่เรียบงายและใชงานไดดีมาตลอดไมวาในอดีตและอนาคตก็

คือ กระดาษและเครื่องเขียน จะเปนปากกาหรือดินสอก็ได การบันทึกรายละเอียดเชิงบรรยาย

เหมือนเขียนนวนิยายใหอานเปนสิ่งที่ทําได ถึงแมวาจะเปนการงายในการบันทึก แตอาจจะเปนการ

ยุงยากและใชเวลาในการบันทึกการอานตรวจตราขอมูลมาก ถาความเขาใจและสรุปขอมูลไดยาก

ซ่ึงมีการพัฒนาวิธีการบันทึกเปนลักษณะยอโดยอาศัยสัญลักษณมาชวยในการบันทึก จึงมีการ

พัฒนาเครื่องมือในการบันทึกโดยการใชแบบฟอรมมาตรฐาน ซ่ึงจะอยูในรูปของกระดาษและ

เครื่องเขียน ขอมูลที่บันทึกมาไดจะถูกแยกประเภทตามสัญลักษณที่ใชแทนกิจกรรม จึงงายตอการ

พิจารณาตรวจตราและวิเคราะห รวมไปถึงการพัฒนาปรับปรุงกระบวนวิธีการทํางานใหดีขึ้น

แบบฟอรมมาตรฐานตางๆ เหลานี้จะอยูในรูปแบบแผนภูมิและไดอะแกรมตางๆ

• สัญลักษณท่ีใชในการบันทึกวิธีการทํางาน

สัญลักษณที่เปนสากลซึ่งใชในการบันทึกวิธีการทํางานมีใชอยู 5 ลักษณะ ดังรูปที่ 2.2

สัญลักษณเหลานี้จะใชในการยอการบันทึกวิธีการทํางานแบบเดียวกับการใชวิธีจด ชวเลขซึ่งมีความ

ยุงยากกวา เพราะมีรหัสที่ตองบันทึกและตองถอดรหัสไดอยางถูกตอง ในการบันทึกการทํางานโดย

การใชสัญลักษณ ถาเราไมมีแบบฟอรมตามมาตรฐาน การใชกระดาษเปลาก็สามารถทําไดโดยไม

ยาก เพียงแตจะตองใชสัญลักษณไดคลองและรวดเร็ว ในการแยกประเภทของงานที่บันทึกดวย

สัญลักษณใหได

Page 9: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

16  

สัญลักษณ ความหมาย

กิจกรรมการปฏิบัติงาน

กิจกรรมการเคลื่อนยาย

กิจกรรมการตรวจสอบ

การรอหรือเก็บพักช่ัวคราว

การหยุดหรือการเก็บถาวร

รูปที่ 2.2 สัญลักษณทีใ่ชบันทึกขั้นตอนการทํางาน

ในการใชสัญลักษณทั้ง 5 เราจะพบวามีประโยชนใชแบงแยกประเภทเวลาทํางานไปดวย

เชน เราจะพบวากิจกรรมดานการตรวจสอบซึ่งเราใชสัญลักษณ และกิจกรรมดานการขน

ยาย หรือใช สัญลักษณ กิจกรรมทั้งสองมักจะเปนงานที่จัดเปนประเภทงานที่

เปนเวลาสวนเกิน ซ่ึงความหมายวาขจัดทิ้งไดถาเราสามารถหาระบบมาทดแทนกระบวนการ

ตรวจสอบและการขนยาย สวนกิจกรรมดานการรอหรือเก็บพักชั่วคราวซึ่งใชสัญลักษณ (ยอมาจาก

Delay) และกิจกรรมดานการหยุดหรือการเก็บถาวรซึ่งใชสัญลักษณ กิจกรรมทั้งสองนี้ถือเปนเวลา

ไรประสิทธิภาพ การบันทึกดวยสัญลักษณจึงทําใหเรารูไดวามีกิจกรรมในขั้นตอนวิธีการทํางานที่

กําลังศึกษาเปนกิจกรรมที่เปนเวลาไรประสิทธิภาพมากนอยเพียงใด การใชสัญลักษณในการบันทึก

จึงมีประโยชนอยางมากในขั้นตอนการตรวจตราพิจารณาวิเคราะหและปรับปรุงวิธีการทํางาน

นอกจากนี้สัญลักษณตางๆ เหลานี้เปนสัญลักษณสากลซึ่งเปนที่คุนเคยเรียนรูงาย ทําใหการบันทึก

ตางๆ ที่เกิดขึ้นสามารถอานเขาใจงายและเปนสากล ทุกๆ คนที่เคยผานการเขาใจสัญลักษณทั้ง 5

เพียงครั้งเดียวจะสามารถเขาใจและอานขอมูลการบันทึกวิธีการทํางานไดเหมือนกันหมด

Page 10: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

17  

• การบันทึกวิธีการทํางาน

ในการบันทึกวิธีการทํางานโดยการใชกลองถายวีดิทัศน ถาไมสามารถบันทึกขอมูลวิธีการ

ทํางานตามขั้นตอนที่ถูกตอง ขอมูลที่นําเสนอในการพิจารณาตรวจตราวิเคราะหจะถูกเบี่ยงเบนไป

ดังนั้นในการบันทึกจึงตองมีขั้นตอนการบันทึกที่เก็บรายละเอียดขอมูลไดชัดเจนเพียงพอ อยางไรก็

ตามถาจะสามารถวิเคราะหไดงายขึ้นจะตองทําการบันทึกใหมโดยการใชสัญลักษณบันทึกเปน

แผนภูมิกระบวนการผลิตเพื่อใชในการพิจารณาวิเคราะหและกําหนดเปนมาตรฐานกระบวนวิธีการ

ทํางานในระบบเอกสารควบคูกับวิธีการมาตรฐานที่บันทึกในภาพวีดิทัศน

การบันทึกวิธีการทํางานโดยการใชสัญลักษณจะมีขั้นตอนดังตอไปนี้

1. ศึกษาขั้นตอนวิธีการทํางานใหเขาใจอยางถองแท

2. กําหนดจุดเริ่มตนและสิ้นสุดของงานใหแนชัด

3. เร่ิมบันทึกตั้งแตจุดเริ่มตน โดยการใชสัญลักษณสําหรับทีละขั้นตอนของงานจนถึงจุด

สุดทาย

4. กําหนดขอความบรรยายกิจกรรมตามสัญลักษณที่บันทึกมา

5. ตรวจสอบขอมูลที่บันทึกกับขั้นตอนการทํางานจริง

6. ใหบุคคลที่สามอานขอมูลการบันทึก เพื่อตรวจสอบความเขาใจของขอมูลที่บันทึก

7. บันทึกรายละเอียดอื่นๆ ใหครบถวน

การศึกษาขั้นตอนวิธีการทํางานใหเขาใจอยางถองแท คือการใชเวลาคลุกอยูกับงานที่จะ

ศึกษานานพอสมควรจนพอจะเขาใจกิจกรรมในแตละขั้นตอนของงานจนสามารถจินตนาการ

แบงแยกยอยกิจกรรมแตละขั้นตอนวาทําอะไรไดโดยไมยาก ถาทําไดดังนี้จะพบวาการบันทึกการ

ทํางานไดโดยไมยาก

ส่ิงสําคัญที่ผูศึกษาการทํางานมักจะละเลยคือ การกําหนดจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดของงานที่

จะบันทึกใหแนชัด งานที่จะบันทึกสวนใหญถาเขาเกณฑการเลือกงานจะเปนงานที่มีการดําเนินงาน

ซํ้าอยูตลอดเวลา จึงมีการเริ่มตนและสิ้นสุดของงานเหมือนกัน ถาจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดชัดเจน เรา

จะสามารถตรวจสอบขอมูลการบันทึกไดโดยไมยาก

Page 11: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

18  

การบันทึกโดยใชสัญลักษณอยางเดียว โดยเริ่มทําการบันทึกจากจุดเริ่มตนดวยการพิจารณา

แยกประเภทของแตละขั้นตอนของงานดวยสัญลักษณ บันทึกทีละขั้นตอนจนครบทุกขั้นตอนถึง

ขั้นตอนสุดทาย โดยไมตองมีการกําหนดคําบรรยายใดๆ ในขั้นตอนนี้ถาเปนกระดาษที่ไมใช

แบบฟอรมมาตรฐาน จะใชวิธีการเขียนสัญลักษณตามลักษณะงานที่บันทึกจากบนลงลาง โดยมี

ดานขางวางไวสําหรับขั้นตอนการบันทึกคําบรรยายของลักษณะงาน

เปนหนาที่ของผูบันทึกวิธีการทํางานที่จะตองนําขอมูลการบันทึกโดยสัญลักษณอยางเดียว

มาใหคําบรรยายอธิบายสัญลักษณตางๆ ที่บันทึกมาได สวนใหญงานนี้จะตองทําในสํานักงานเพื่อ

จะไดมีเวลาใชจินตนาการบรรยายขอมูลสัญลักษณใหตรงกับกิจกรรมหนางาน ทําใหผูบันทึกเกิด

ความมั่นใจในขอมูลที่บันทึกมา ในกรณีที่ไมสามารถใหคําบรรยายหรือไมแนใจในการใหคํา

บรรยาย ก็แสดงวาการบันทึกยังมีสวนที่บกพรอง ทําใหอาจตองกลับไปทําการบันทึกขอมูลมาใหม

และดําเนินการใหคําบรรยายจนเกิดความมั่นใจตอขอมูลที่บันทึกมา

การตรวจสอบขอมูลที่บันทึกเปนสัญลักษณพรอมกับการใหคําบรรยายลักษณะงานทําได

โดยการนําขอมูลไปตรวจสอบกับกระบวนวิธีการทํางานที่หนางาน เพื่อปรับแตงขอมูลใหตรงตาม

ความเปนจริงใหมากที่สุด ขั้นตอนนี้จะทําใหเกิดความมั่นใจในระดับหนึ่งวารายการบันทึกงานมี

ความถูกตองแมนยําตามความเปนจริง

เพื่อใหเกิดความมั่นใจยิ่งขึ้นวา ผลงานการบันทึกจะสามารถใชเปนขอมูลในการพิจารณา

ตรวจตราวิเคราะหได ซ่ึงงานในสวนนี้ไมจําเปนวา ผูบันทึกงานจะตองเปนผูทํา สวนใหญจะมี

ทีมงานการศึกษาการทํางานมาศึกษาขอมูลที่บันทึกและดําเนินการตามขั้นตอนของการศึกษาวิธีการ

ทํางานอื่นๆ ตอไป ในการบันทึกจึงจําเปนตองใหบุคคลที่สาม ซ่ึงไมเขาใจกระบวนการวิธีการของ

งานที่บันทึกไดอานขอมูลกระบวนวิธีการทํางานและสามารถเขาใจไดถูกตอง แสดงวาการบันทึก

ขอมูลนั้นเปนผลงานที่ใชได

ขั้นตอนสุดทายของการบันทึกก็คือ การเก็บขอมูลอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของกับการศึกษาวิธีการ

ทํางาน เพื่อประกอบการพิจารณาตรวจตราวิเคราะหและปรับปรุงกระบวนวิธีการทํางาน เชน

ขอมูลระยะทางของการเดินทาง ขอมูลเวลาของแตละกิจกรรม ขอมูลประกอบสภาพแวดลอมการ

ทํางาน ฯลฯ

Page 12: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

19  

ถามีการใชแบบฟอรมมาตรฐานในการบันทึกวิธีการทํางาน ผูบันทึกจะใชขั้นตอนดังกลาว

ขางตน ตางกันตรงขั้นตอนการบันทึกสัญลักษณนั้น เนื่องจากในแบบฟอรมมาตรฐานจะมี

สัญลักษณทั้ง 5 ตัวเตรียมไวในแตละแถวของการบันทึกเพื่อสะดวกและงายในการบันทึกเพราะไม

ตองเสียเวลาเขียนสัญลักษณ เพียงแตใสเครื่องหมายลงไปที่สัญลักษณที่เลือกในแตละขั้นตอนของ

กิจกรรม บันทึกโดยการเลือกสัญลักษณแทนกิจกรรมตั้งแตจุดเริ่มตนจนถึงจุดสิ้นสุดของงาน

จากนั้นก็นําไปใหคําบรรยายเหมือนการบันทึกทั่วๆ ไป

เครื่องมือวิเคราะหการปฏิบัติงานที่สําคัญ ประกอบดวย การวิเคราะหกระบวนการ

(Process analysis) การวิเคราะหการปฏิบัติการ (Operations analysis) และการศึกษาการ

เคลื่อนไหวของผูปฏิบัติงานในระหวางการปฏิบัติงาน (Motion study) ดวยแผนผังกระบวนการและ

แผนผังการเคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรางกาย การวิเคราะหงานดวยเครื่องมือเหลานี้ ชวยใหผู

วิเคราะหสามารถรวบรวม และบันทึกขอเท็จจริงเกี่ยวกับงานที่ศึกษาไดอยางครบถวน เขาใจใน

ลักษณะ และธรรมชาติของกระบวนการ สามารถสังเกตเห็นความผิดปกติ ขอบกพรอง และความ

สูญเปลาที่เกิดขึ้นในกระบวนการ นอกจากนี้ ยังชวยใหการคนหาสาเหตุความผิดปกติ การแกไข

ปรับปรุงงาน หรือการออกแบบวิธีการทํางานใหมเปนไปอยางมีระบบมากขึ้น ผลของการวิเคราะหท่ี

ได สามารถนําไปอางอิงเปนความรูพ้ืนฐานในการปรับปรุงกระบวนการตอไปอยางตอเนื่อง ใช

เปนขอมูลเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ของการปฏิบัติงานตามกระบวนการเดิม

และกระบวนการที่ไดปรับปรุงโดยไมเกิดความซ้ําซอน ใชเปนสื่อการสอนวิธีการปฏิบัติงานใหม

ตามแนวทางที่ไดปรับปรุงใหแกพนักงาน ใชเปนมาตรฐานประกอบการปฏิบัติงาน คูมือวิธี

ปฏิบัติงานสําหรับพนักงานใหม และใชเพื่อออกแบบการตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการ

แผนผังกระบวนการ และแผนผังการเคลื่อนไหวที่ควรทราบ ไดแก

- แผนผังกระบวนการไหลของปจจัยการผลิต:วัสดุ คน หรือเครื่องมือเครื่องจักร

(Resource-specific Flow Process Chart)

- แผนผังบริเวณปฏิบัติงาน (Flow Diagram)

- แผนผังการปฏิบัติงานระหวางพนักงาน และเครื่องจักร (Man-Machine Chart)

Page 13: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

20  

- แผนผังการปฏิบัติงานของกลุมพนักงาน(Gang Process Chart)

- แผนผังแสดงการปฏิบัติงาน (Operation Chart)

อยางไรก็ตาม เครื่องมือแตละชนิด เหมาะสําหรับการศึกษางานที่มีลักษณะแตกตางกัน ผู

วิเคราะหจึงควรเลือกใชเครื่องมือเทาที่จําเปนโดยคํานึงถึงลักษณะงานที่ตองการศึกษาและ

วัตถุประสงคของเครื่องมือแตละชนิด [4] ดังที่จะอธิบายตอไป

แผนผังกระบวนการไหลของวัสดุ คน และเครื่องมือเคร่ืองจักร (Flow Process Chart)

แผนผังนี้ใชแสดงสถานะของปจจัยการผลิตแตละชนิด ณ ขั้นตอนตางๆ ของกระบวนการ

ผลิต หรือกระบวนการปฏิบัติการ ตั้งแตจุดเริ่มตน จนกระทั่งสิ้นสุดกระบวนการนั้นๆ เชน การเขียน

แผนผังสําหรับกระบวนการรับหีบหอสินคา จากทํารับสินคาไปเก็บในบริเวณพักสินคา ปจจัย การ

ผลิตท่ีเกี่ยวของในกระบวนการนี้ ไดแก คน หรือ พนักงานรับสินคา เคร่ืองมือ – อุปกรณ ซ่ึง เปน

รถที่ใชเข็นหีบหอสินคา และตัวหีบหอสินคานั้นๆ เมื่อใชแผนผังนี้ศึกษาการไหลของหีบหอสินคา

จะตองบันทึกรายการสถานะเกี่ยวกับสินคา และระยะเวลาที่เกี่ยวของ เชน หีบหอตางๆ ถูกยกขึ้น

วางบนรถเข็น หีบหอเหลานั้นวางอยูบนรถเข็น จนกระทั่งพนักงานเริ่มเข็นรถออกไป การเขียน

แผนภาพที่ถูกตองจะตองแยกเขียนแผนผังการไหลของคน วัสดุ เครื่องมือเครื่องจักร หรือปจจัยการ

ผลิตแตละอยางแยกจากกัน ชนิดละหนึ่งผัง จึงจะสามารถเขียนแผนผังการไหลไดถูกตองตรงกับ

ความเปนจริง ทําใหผูอานเขาใจสภาพการทํางานที่แทจริงไดงายขึ้น พรอมทั้งชี้ใหเห็นโอกาสใน

การปรับปรุงกระบวนการ เชน ในกรณีที่พบวาเกิดความสูญเปลาในการเคลื่อนยาย หรือเก็บรอ

ปจจัยการผลิตอยางใดอยางหนึ่งระหวางกระบวนการนั้นๆ บอยครั้ง

American Society of Mechanical Engineers (ASME) ไดกําหนดสัญลักษณมาตรฐานที่ใชสําหรับแสดงสถานะตางๆ ของปจจัยการผลิตบนแผนผัง ไวในมาตรฐานฉบับ ASME Standard 101, Operation and Flow Process Charts ค.ศ. 1972 แสดงดังรูปที่ 2.3 และตัวอยางแผนผังกระบวนการไหลของปจจัยการผลิต แสดงดังรูปที่ 2.4

Page 14: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

21  

รูปที่ 2.3 แบบฟอรมสําหรับแผนผังกระบวนการไหลของปจจัยการผลิต

การเขียนแผนผัง จะตองระบุขอมูลเบ้ืองตนเกี่ยวกับแผนผังนั้นๆ ลงในสวนสรุปแผนผัง

อยางชัดเจน ขอมูลนี้ ควรบอกถึง ช่ือกระบวนการที่ศึกษา พรอมทั้งคําอธิบายพอสังเขป พรอมทั้ง

ระบุวัน เวลา สถานที่ หนวยงาน และชื่อพนักงานผูปฏิบัติงาน ช่ือผูวิเคราะหลําดับที่ของแผนผัง

กอนที่จะเก็บขอมูลโดยระบุสถานะของปจจัยการผลิตที่ ศึกษาในแตละข้ันตอนของกระบวนการให

ถูกตอง เติมขอมูลเวลาที่ผูปฏิบัติงานใชในการทํางาน ระยะทางการเดิน และขอสังเกตอื่น (ถาม) ให

ครบถวน เมื่อเขียนแผนผังเรียบรอย ผูวิเคราะหควร สรุปจํานวนครั้งของปจจัยการผลิตที่ศึกษาใน

แตละสถานะ การใชอุปกรณ ระยะทาง และเวลาที่ เกี่ยวของ เพื่อที่จะไดนําขอมูลมาเปรียบเทียบ

ประสิทธิภาพของการดําเนินงานกอน และหลังการ ปรับปรุง

• แผนภาพบริเวณปฏิบัติงาน (Flow Diagram)

แผนภาพนี้ใหขอมูลในทํานองเดียวกับแผนภาพการไหลของวัสดุ คน และเครื่องมือ

เครื่องจักรในกระบวนการผลิต (Flow Process Chart) แตมีขอแตกตางคือ จะแสดงภาพ 2 มิติ ใน

ลักษณะแผนผังโรงงาน ใหเห็นถึงสภาพพื้นที่ที่สอดคลองกับความเปนจริงในขณะปฏิบัติงาน

แทนที่จะเขียนในรูปแบบตาราง แผนภาพนี้ทําใหผูอานเห็นทิศทางการเคลื่อนที่ของปจจัยการผลิต ที่

ศึกษา และสภาพบริเวณการปฏิบัติงานจริง ในบางกรณี ผูวิเคราะหอาจรวมแผนภาพบริเวณการ

ปฏิบัติงาน (Flow Diagram) เขาเปนสวนทายของแผนภาพการไหล (Flow Process Chart) ก็ได รูปที่

2.4 แสดงแผนภาพบริเวณการปฏิบัติงาน

Page 15: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

22  

รูปที่ 2.4 ตัวอยางแผนภาพ Flow Diagram

• แผนผังการปฏิบัติงานระหวางพนักงาน และเครื่องจักร (Man-Machine Chart)

กระบวนการผลิตในปจจุบัน มักมีเครื่องจักรอัตโนมัติ หรือกึ่งอัตโนมัติ ชวยในการ

ปฏิบัติงาน เชนพนักงาน 1 คน ควบคุมเครื่องจักร 1 เครื่อง หรือพนักงาน 1 คน ควบคุม

เครื่องจักร 2 เครื่อง หรือมากกวา ในกรณีที่พนักงาน 1 คนควบคุมการทํางานของเครื่องจักรหลาย

เครื่อง เรียกวา Machine Coupling ซึ่งการจัดลําดับงานของพนักงานยอมจะซับซอนมากขึ้น

พนักงานจึงควรจะไดรับการฝกอบรมอยางเพียงพอ เพื่อปองกันการทํางานผิดพลาด และการเกิด

อันตราย พรอมทั้งไดรับคาตอบแทนเพิ่มใหเหมาะสมกับทักษะความสามารถ และความรับผิดชอบ

ในงานที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น ในการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการที่พนักงานทํางานรวมกับ

เครื่องจักร ผูวิเคราะหจึงตองเอาใจใสตอความสัมพันธระหวางคน และเครื่องจักรในขณะปฏิบัติงาน

เพ่ือศึกษาลําดับการปฏิบัติงาน เวลา จังหวะ และความสอดคลองของการทํางานรวมกันระหวาง

พนักงานกับเครื่องจักร สัญลักษณที่ใชสําหรับแผนผังนี้ เนนที่การแสดงสถานะ การปฏิบัติงานและ

การหยุดรอของผูปฏิบัติงาน เครื่องจักรที่เกี่ยวของ รวมทั้งระบุระยะเวลาที่ใชในแตละสถานะบน

แกนที่สังเกตไดชัดเจน ดังรูปที่ 2.5 หรืออาจเลือกใชสัญลักษณที่ละเอียดมากขึ้น ตามที่แสดง

ในรูปที่ 2.6

Page 16: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

23  

รูปที่ 2.5 ตวัอยางสัญลักษณสําหรับแผนผังการปฏิบัติงานระหวางคนและเครื่องจกัร

Shading  Color  Activity                                                                                                      

 

  

Blue   

Yellow  

 

White (blank) 

Green 

 Red 

  Operation : Performing an operation. Worker operating on or handling material at workplace.  Machine performing an operation on automatic or mechanized cycle.  Inspection : Worker performing an inspection. To check for either quantity or quality. Idle time : Worker or machine is idle. Waiting or stopped.  Moving : Worker walking outside immediate workplace (e.g. to fetch tools or materials).  Holding : Worker holding an object in fixed position without performing any work on it. 

รูปที่ 2.6 ตัวอยางสัญลักษณสําหรับแผนผังการปฏิบัติงานระหวางคน และเครื่องจักร แบบละเอียด

การบันทึกขอเท็จจริงของกระบวนการผลิตดวยแผนผังการปฏิบัติงานระหวางคน และ

เคร่ืองจักร จึงสะดวกกวาการวิเคราะหโดยใชแผนภาพการไหลของคน และแผนผังกระบวนการ

ไหลของเครื่องจักรประกอบกัน และเชนเดียวกับการใชแผนผังแบบอื่นๆ ผูบันทึกขอมูลควรระบุ

ขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการที่ศึกษา เชน ชื่อกระบวนการ ลักษณะชิ้นงาน ชื่อผูปฏิบัติงาน

เคร่ืองจักรท่ีใช ลําดับท่ี หรือเลขที่เรียกแผนผัง และช่ือผูวิเคราะหไวท่ีตอนตนของแผนผังทุกคร้ัง

ตัวอยางแผนผังนี้ แสดงดังรูปที่ 2.7

การปฏิบัติงานอยางใดอยางหนึ่งของคน หรือเคร่ืองจักร เชน เคร่ืองจักรทํางานอยู หรือพนักงาน

เตรียมชิ้นงานกอนที่จะเขาเครื่อง

การปฏิบัติงานของคน และเครื่องจักรพรอมกัน เชน พนักงานปรับตั้งเคร่ืองจักร พนักงานนําชิ้นงาน

เขาหรือออกจากเครื่องจักร พนักงานกําลังทําความสะอาดเครื่องจักร

การรอ เชน พนักงานหยุดรอระหวางที่เคร่ืองจักรทํางาน หรือชวงเวลาที่เคร่ืองจักรวางงาน

Black 

Gray 

White (blank) 

Diagonal lines 

Horizontal lines 

Page 17: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

24  

รูปที่ 2.7 ตัวอยางแผนผังการปฏิบัติงานระหวางคนและเครื่องจักร

แผนผังการปฏิบัติงานของกลุมพนักงาน (Gang Process Chart)

แผนผังนี้บันทึกสถานะ การทํางานของพนักงานหลายคนที่ปฏิบัติงานในสถานที่ และเวลา

เดียวกัน เชน กลุมพนักงาน 5 คนลําเลียงสินคาเขาบรรจุในตูสินคา แผนภาพที่ใชมีลักษณะคลาย กับ

แผนภาพการไหลของพนักงานแตละคน (Man-Flow Process Chart) ซ่ึงเขียนขนานกันไป โดย ระบุ

ตําแหนง และชวงเวลาทํางานของผูปฏิบัติงานแตละคนใหชัดเจน สัญลักษณการปฏิบัติงานจึง

เหมือนกับ การบันทึกใน Flow Process Chart

รูปที่ 2.8 แผนภาพการปฏิบัติงานของกลุมพนักงาน (Gang Process Chart)

Page 18: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

25  

• แผนภาพแสดงการปฏิบัติงาน (Operation Chart )

การปฏิบัติงานประกอบชิ้นสวน หรือช้ินงานขนาดเล็ก พนักงานจะตองเคลื่อนไหวมือ และ

แขนเปนกิจกรรมหลัก และเปนการทํางานซ้ําๆ กันเกือบจะตลอดเวลา การปรับปรุงวิธีการทํางาน ท่ี

มีลักษณะเชนนี้ จึงมุงความสนใจที่การจัดสถานที่ หรือโตะทํางานของพนักงาน การวางกลอง

ช้ินสวน หรืออุปกรณจับยึดช้ินงานที่ใช และวิธีการใชมือของพนักงานในการปฏิบัติงานมากเปน

พิเศษ โดยไมบันทึกเวลาที่ใชในการทํางาน แผนภาพแสดงการปฏิบัติงาน จึงมีช่ือเรียกอีกอยาง

หนึ่งวา แผนภาพการใชมือ (Left-hand and Right-hand Chart) สัญลักษณที่ใชแสดงสถานะ การ

ทํางานก็จะเนนเฉพาะมือของพนักงาน ดังรูปที่ 2.9

รูปที่ 2.9 ตัวอยางสัญลักษณที่ใชในแผนภาพแสดงการปฏิบัติงาน

(Operation Chart หรือ Left-hand and Right-hand Chart)

วิธีการที่จะบันทึกแผนผังใหไดผลดี ผูวิเคราะหควรจะเฝาสังเกตวิธีการทํางานของ

ผูปฏิบัติงาน จนกระทั่งจินตนาการเห็นภาพการทํางานนั้นๆ ได จากนั้นจึงสังเกตและบันทึกการ

ทํางานอยางละเอียดของมือแตละขาง โดยบันทึกการทํางานของมือทีละขาง เมื่อบันทึกครบทั้งสอง

ขางแลว ควรเปรียบเทียบความสัมพันธระหวางการใชมือท้ังสองของพนักงานตามที่บันทึกไดอีก

ครั้งกับการทํางานจริงของผูปฏิบัติงาน ซึ่งโดยปกติ จะพบวาภาพที่ไดในครั้งแรกมักจะมีชวงที่

พบวาการทํางานของสองมือไมประสานกัน หรือไมสัมพันธกันกับความเปนจริง ผูวิเคราะหจึงควร

ปรับแกแผนผังนั้นใหม จนกวาจะไดแผนผังที่แสดงถึงวิธีการที่แทจริง รูปที่ 2.10 แสดงตัวอยาง

แผนผังการปฏิบัติการ

Page 19: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

26  

รูปที่ 2.10 แผนภาพแสดงการปฏิบัติงาน (Operation Chart หรือ Left-hand and Right-hand Chart)

• ขอมูลรายละเอียดอื่นๆที่ใชประกอบการศึกษาวิธีการทํางาน

เพื่อความสมบูรณของขอมูลการบันทึกวิธีการทํางาน เราจะมีการบันทึกขอมูลรายละเอียด

อ่ืนๆ ของงานประกอบการศึกษาวิธีการทํางาน ซ่ึงจะมีรายการขอมูลสรุปไดดังตอไปนี้

1. เปาหมายและขอบขายของงาน 2. ผลิตภัณฑ 3. เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ 4. บุคลากร 5. วัสดุ 6. งานการผลิตหรือการบริการที่ทํา 7. การวางผังโรงงานหรือสถานที่ทํางาน 8. งานคลังพัสดุ 9. งานการขนยายวัสดุ 10. สภาพแวดลอมในการทํางาน

Page 20: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

27  

ขอมูลเหลานี้จะไดจากแบบคําถามสําหรับการตรวจสอบการทํางานซึ่งจะสะดวกและงาย

ตอการตรวจสอบขอมูลประกอบการศึกษาวิธีการทํางาน

2.1.2.3 การวิเคราะหวิธีการทํางาน

การพิจารณาตรวจตราขอมูลวิธีการทํางานที่บันทึกมาเพื่อทําการวิเคราะหวิธีการทํางานจะ

ใช “เทคนิคการตั้งคําถาม” เพื่อชวยใหสามารถกําหนดแนวทางในการปรับปรุงวิธีการทํางาน

เทคนิคการตั้งคําถามนี้เรียกโดยยอวา “6W-1H” จะใชกระบวนการตั้งคําถามตรวจสอบขอมูลวิธีการ

ทํางานที่บันทึกมา โดยมีการตรวจสอบความเหมาะสมของงานโดยการใชกลุมคําถาม 2 กลุมคือ

1. กลุม What , Who , When ,Where , How สําหรับตรวจสอบ

(ก) เปาหมายและขอบขายของงานแตละกิจกรรม

(ข) บุคลากรที่ทํางานแตละกิจกรรม

(ค) สถานที่ทํางาน

(ง) ลําดับขั้นตอนการทํางานแตละกิจกรรม

(จ) วิธีการทํางาน

2. กลุม Why , Which เพื่อพัฒนาแนวทางการปรับปรุงวิธีการทํางานโดยจะตรวจสอบ

เหตุผล ความเหมาะสมของวิธีการทํางาน และเปดโอกาสในการเสนอทางเลือกอื่นๆ

ตารางที่ 2.2 แสดงวิธีการใชคําถามทั้งสองกลุมซึ่งจะพบวา คําถามกลุมที่สองเปนคําถามที่มี

ประโยชนในการตรวจสอบอยางมาก เพราะเปนการตรวจสอบทุกๆ คําถามในกลุมแรกทําใหเกิด

ความแนใจในความเหมาะสมของงาน คน สถานที่ ลําดับขั้นตอน และวิธีการทํางาน

เทคนิคการตั้งคําถามนอกจากจะใชประโยชนในการพิจารณาตรวจตราวิเคราะหวิธีการ

ทํางานแลว ยังใชประโยชนประยุกตกับกิจกรรมดานการบริหารจัดการอื่นๆ มากมาย เทคนิคนี้จึงนา

จดจําและใชงานอยางกวางขวางตอไป

Page 21: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

28  

ตารางที่ 2.2 การใชเทคนิคการตั้งคาํถาม

คําถามกลุมท่ี 1 คําถามกลุมท่ี 2 เปาหมายและขอบขายของงาน

What ทําอะไร ?

Why , Which เหตุใดจึงทํา ? มีอยางอื่นที่ทําไดไหม ?

บุคลากรที่ทํางาน

Who ใครทํา ?

Why , Which ทําไมตองเปนคนนั้น ? คนอื่นทําไดไหม ?

สถานที่ทํางาน

Where ทําที่ไหน ?

Why , Which ทําไมตองทําที่นั่น ? มีที่อ่ืนที่ทําไดไหม ?

ลําดับขั้นตอนของงาน

When ทําเมื่อไร ?

Why , Which ทําไมตองทําเวลา / ขั้นตอนนั้น ? ทําเวลา / ขั้นตอนอื่นไดไหม ?

วิธีการทํางาน

How ทําอยางไร ?

Why , Which ทําไมตองทําอยางนั้น ? ทําวิธีอ่ืนไดไหม ?

2.1.2.4 การปรับปรุงวิธีการทํางาน

การปรับปรุงวิธีการทํางานจะกลายเปนเรื่องงายมากถาเรามีการใชกระบวนการพิจารณา

ตรวจตราวิเคราะหขอมูล วิธีการทํางานที่บันทึกมาโดยการใชเทคนิค 6W-1H ซ่ึงเกือบจะไดคําตอบ

แนวทางการปรับปรุงครบถวนแลว ขั้นตอนการปรับปรุงวิธีการทํางานจึงเปนเพียงการเลือกใช

เทคนิคการปรับปรุงงาน (Reengineering) [5] ซ่ึงมีหลักการดังตอไปนี้

(1) ตัด (Eliminate) (2) แยก / รวม (Separate/Combine) (3) เปลี่ยนขั้นตอน (Change) (4) ทํากระบวนการใหเรียบงายขึ้น (Simplify) (5) ใชเครื่องมือเขามาชวย (Use)

Page 22: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

29  

การพิจารณาวากิจกรรมใดในขั้นตอนวิธีการทํางานเปนกิจกรรมที่ไมจําเปน เชน งาน

ประเภทเวลาไรประสิทธิภาพหรือเวลาสวนเกิน ซ่ึงใชสัญลักษณกลุม ,

และ ใหพยายามตัดงานกลุมเหลานี้ออกไปกอน มีงานกลุม ที่ตรวจแลวเปนงานที่ไมจําเปนก็

สามารถตัดไปได

งานกลุม , และ ถาไมสามารถตัดออกไปไดจะพบวาบอยครั้งรวมกันเปน

, จะดีขึ้น ในทํานองเดียวกันกิจกรรมบางกิจกรรมถึงแมจะถูกกําหนดเปน แตความ

จริงตองทํางานหลายๆ กิจกรรมยอย เชน งานการประกอบรถยนต อาจจะเปนงานการเชื่อมหลายๆ

จุด เราอาจจะตองแยกจุดเชื่อมตางๆออกเปนหลายๆ งาน หลักการในขอนี้คือ “รวมแลวดีใหรวม

แยกแลวดใีหแยก”

ในการเปลี่ยนขั้นตอนงานในกลุม , และ จะเปนงานที่สามารถสลับ

สับเปลี่ยนกันได เชน งานการขนยายอาจจะสามารถทํางานขนยายในขั้นตอนสุดทายเพื่อระบบการ

ควบคุมการไหลของานที่ดีขึ้น จุดการตรวจสอบอาจจะตองเปลี่ยนแปลงเพื่อระบบการควบคุม

คุณภาพที่ดีขึ้น ขั้นตอนของงานบางกิจกรรม ถามีการเปลี่ยนแปลงสลับกันแลวทําใหคลองตัวขึ้น ก็

จะสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อการทํางานโดยรวมดีขึ้น

การทํางานใหเรียบงายขึ้น คือ การปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานใหมใหมีความซับซอนและ

ยุงยากนอยลง ตัวอยางขั้นตอนการทําหนังสือเดินทางของกระทรวงตางประเทศของไทยในอดีตมี

ความซับซอนยุงยาก เมื่อมีการปรับขั้นตอนใหเรียบงายขึ้นทําใหประชาชนทําหนังสือเดินทางได

สะดวกงายขึ้น ทําใหเสียเวลานอยลงไปมาก การบริการสามารถทําไดดีขึ้น การศึกษาวิธีการทํางาน

จะชวยใหสามารถปรับระบบวิ ธีการทํางานที่มีความซับซอนยุงยากใหมีขั้นตอนที่ง ายมี

ประสิทธิภาพดีขึ้น ผลผลิตสูงขึ้น

การใชจิ๊ก ฟกซเจอร และอุปกรณทุนแรงตางๆ ในการทํางานจะชวยใหสามารถทํางานได

สะดวกรวดเร็วขึ้น ในการปรับปรุงงาน ถาตัดงานไมได รวม/แยกงานไมได เปลี่ยนขั้นตอนไมได

และยังไมอาจจะปรับขั้นตอนการทํางานใหงายขึ้น พิจารณาใหใชเครื่องมือเขามาชวย ปจจุบัน

เครื่องมือที่ชวยในการทํางานที่ไมอาจลืมไดคือ เครื่องคอมพิวเตอร เพราะเครื่องคอมพิวเตอรมีราคา

ถูก มีความสามารถสูงขึ้นการใชคอมพิวเตอรมาชวยในงานดานการควบคุมการไหลของานและใน

Page 23: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

30  

การทดแทนการทํางานของคนในสวนที่ตองการความแมนยําในการทํางาน ในอนาคตหุนยนตจะมี

บทบาทมากขึ้นในการทดแทนลักษณะงานที่มีเงื่อนไขสภาพแวดลอมการทํางานที่ไมดีหรืออันตราย

ทดแทนงานที่มีความเครียด ความเมื่อยลาสูง ทดแทนงานที่จะตองทําอยางตอเนื่องยาวนาน และ

ตองการคุณภาพของงานที่มีความสม่ําเสมอ

2.1.2.5 การเปรียบเทียบการวัดผลงานการทํางาน

คําถามที่เกิดขึ้นภายหลังจากการวิเคราะหและปรับปรุงวิธีการทํางาน ก็คือ วิธีการทํางานที่

ปรับปรุงใหมดีกวาเกาจริงหรือไม ดีกวาแคไหน มีอะไรเปนเกณฑวัดผลงาน

ถาจะบอกวามีขั้นตอนการทํางานนอยกวา เราจะใชจํานวนของสัญลักษณที่บันทึกกอนและ

หลังการปรับปรุงวิธีการทํางาน ตัวอยางเชน กอนการปรับปรุงวิธีการทํางานมีจํานวนสัญลักษณ

เทากับ 23 หลังการปรับปรุงวิธีการทํางาน จํานวนสัญลักษณลดลงเหลือจํานวน 15 สัญลักษณ คิด

เปนเปอรเซ็นตที่ดีขึ้น 34.78 % ดังแสดงในตารางที่ 2.3

ตารางที่ 2.3 การเปรียบเทียบวิธีการทํางาน

สัญลักษณ กอนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง 10

5 5 2 1

8 3 2 1 1

รวม 23 15

เราสามารถวัดผลงานโดยเปรียบเทียบระยะเดินทางทั้งสิ้นของการทํางานกอนและหลังการ

ปรับปรุง เชน กอนการปรับปรุงมีระยะทางที่เดินทางทั้งสิ้น 210 เมตร ปรับปรุงแลวลดระยะ

ทางการเดินทางลงเหลือเพียง 90 เมตร คิดเปนเปอรเซ็นตที่ดีขึ้น 57 %

Page 24: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

31  

การเปรียบเทียบเวลาการทํางานกอนและหลังการปรับปรุงวิธีการทํางานก็สามารถทําได

โดยการรวมเวลาแตละกิจกรรมของงาน เชน เวลาทํางานรวมของงานกอนการปรับปรุงวิธีการ

ทํางาน คือ 20 นาที เวลาทํางานรวมของานภายหลังการปรับปรุงวิธีการทํางาน คือ 16 นาที คิดเปน

เปอรเซ็นตดีขึ้น 20 %

การวัดผลงานสามารถใชการเปรียบเทียบปริมาณทรัพยากรที่ใชสําหรับวิธีการทํางานเดิม

และวิธีการทํางานใหม เชน จํานวนคนที่ลดลง จํานวนวัสดุที่ใชนอยลงจํานวนเครื่องจักรที่นอยลง

หรือคาใชจายตางๆ ลดลง นอกจากนี้ยังสามารถใชมูลคาความสูญเสียในรูปแบบตางๆที่สามารถ

ขจัดไดเปนเกณฑในการวัดเปรียบเทียบของการศึกษาวิธีการทํางาน และคาที่ใชเปรียบเทียบวัดผล

การทํางานไดเหมาะสมที่สุด คือ คาอัตราผลิตภาพ (Productivity Index) หรืออัตราการเพิ่มผลผลิต

2.1.2.6 การพัฒนามาตรฐานวิธีการทํางาน

เมื่อมั่นใจไดจากการเปรียบเทียบวิธีการทํางานกอนและหลังการปรับปรุงแลวงานตอไปคือ

การพัฒนาวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลวใหเปนวิธีการมาตรฐานเพื่อใชเปนแนวปฏิบัติมาตรฐานตาม

วิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว ซ่ึงจะใชเปนเอกสารอางอิงและเมื่อมีการบันทึกในรูปแบบวีดิทัศนก็จะ

สามารถใชเปนเครื่องมือในการอบรมพัฒนาบุคลากรในดานมาตรฐานวิธีการทํางาน

เราสามารถพัฒนามาตรฐานของวิธีการทํางานเปน 2 รูปแบบ คือ

(ก) ภาพถายวีดิทัศน (ข) แผนภูมิและไดอะแกรมตางๆ

เมื่อมีการจัดวิธีการทํางานใหมตามเงื่อนไขของการศึกษาวิธีการทํางาน โดยมีเปาหมายและ

ขอบขายของงาน บุคลากรที่เกี่ยวของ สถานที่ทํางาน ลําดับขั้นตอนการทํางาน และวิธีการทํางานใน

แตละขั้นตอน ซ่ึงมีการปรับปรุงและเปรียบเทียบแลววาดีกวาวิธีการทํางานแบบเดิม เราสามารถ

ถายภาพขั้นตอนวิธีการทํางานใหมดวยกลองวีดิทัศน เพื่อเก็บเปนหลักฐานสําหรับมาตรฐานวิธีการ

ทํางาน โดยจะมีการเก็บภาพวิธีการทํางานแบบเดิมไวดวย จากนั้นจะตองจัดทํารหัสงานที่ศึกษาเพื่อ

เก็บภาพมาตรฐานของวิธีการทํางานไวอยางมีระบบ งายตอการจัดเก็บและเบิกออกใชงาน

Page 25: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

32  

ควบคูกับภาพถายวีดิทัศน คือ การบันทึกมาตรฐานวิธีการทํางานในรูปแบบของแผนภูมิ

และไดอะแกรม แผนภูมิตางๆ จะแสดงการไหลของงานและวิธีการทํางานโดยไดอะแกรมจะแสดง

รายละเอียดของสถานที่ทํางานเพิ่มเติมประกอบแผนภูมิเพื่อความชัดเจนของการแสดงกระบวน

วิธีการทํางานที่ตราเปนมาตรฐานวิธีการทํางานไว ขอมูลที่จําเปนอื่นๆ ตองบันทึกไวในแผนภูมิและ

ไดอะแกรมประกอบดวย ขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ งานที่ทํา เงื่อนไขการทํางาน เครื่องจักร

เครื่องมือ และอุปกรณที่ใช สถานที่ทํางาน ฯลฯ

2.1.2.7 การสงเสริมการใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว

ขั้นตอนการสงเสริมการใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว เปนขั้นตอนของงานการศึกษา

วิธีการทํางานที่ลําบากขั้นตอนหนึ่ง เนื่องจากจะตองมีความสามารถทางจิตวิทยาและมีมนุษย-

สัมพันธในการสงเสริมผลักดันใหคนงานซึ่งมักจะมีแนวโนมที่จะใชวิธีการทํางานของตนเอง ให

เปลี่ยนแปลงวิธีการทํางานตามมาตรฐานวิธีการทํางาน การทําความเขาใจถึงผลประโยชนที่คนงาน

จะไดรับทั้งในสวนบุคคลและในสวนขององคกรจากการใชวิธีการทํางานใหม และพยายาม

ช้ีใหเห็นวา คนงานไมไดเสียผลประโยชนอะไรเลย แตจะทํางานงายขึ้น เบาลง ผลงานดีขึ้น ผลผลิต

สูงขึ้น แลวแตกรณี การสงเสริมการใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว มีขั้นตอนการดําเนินงานพอ

สรุปไดดังนี้

1. ขออนุมัติในการสงเสริมการใชวิธีการทํางาน 2. ทําความเขาใจกับระดับคุมงานในโรงงาน เพื่อการยอมรับในการเปลี่ยนแปลงวิธีการ

ทํางาน 3. สรางการยอมรับจากคนงานในการเปลี่ยนแปลงวิธีการทํางาน 4. ฝกอบรมคนงานใหสามารถทํางานตามวิธีการทํางานใหม 5. ควบคุมดูแลจนกวาคนงานจะมีการทําโดยวิธีการทํางานใหมหมดทุกคนและสามารถ

ทํางานไดตามเปาหมาย

ในการขออนุมัติจากฝายบริหารเพื่อสงเสริมการใชวิธีการทํางานใหมกับคนงานผูศึกษา

วิธีการทํางานตองสามารถแสดงใหผูบริหารยอมรับในขอไดเปรียบของวิธีการทํางานวิธีใหม โดย

การแสดงคาใชจายเปรียบเทียบวิธีการทํางานกอนและหลังการปรับปรุง คาใชจายในการสงเสริม

การใชวิธีการใหม อุปสรรคอื่นๆ ที่คิดวาผูบริหารนาจะใหการสนับสนุนในการแกไขปญหา เพื่อให

Page 26: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

33  

กิจกรรมการใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลวเปนไปโดยราบรื่น เชน การสั่งการใหคนงานระดับ

ควบคุมงานใหความรวมมือ การสนับสนุนดานคาใชจายในการอบรม การมีสวนรวมในการสงเสริม

การใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว ฯลฯ

ความรวมมือของคนงานระดับหัวหนางานซึ่งสามารถสั่งการใหคนงานปฏิบัติตามวิธีการ

ทํางานเปนสวนสําคัญในการสงเสริมการใชวิธีการทํางาน เพราะหัวหนาคนงานไมรวมมือ นอกจาก

จะไมชวยทําความเขาใจกับคนงานแลว ยังอาจจะเปนอุปสรรคขัดขวางไมใหเกิดการยอมรับวิธีการ

ทํางานใหม แตในทางตรงกันขามหัวหนาคนงานจะมีอิทธิพลตอคนงานสูงมาก ถึงแมคนงานจะไม

เขาใจวิธีการทํางานแบบใหม หัวหนาคนงานก็จะพยายามอธิบายและชวยเหลือคนงานใหสามารถ

ทํางานตามวิธีการใหมจนกวาจะเคยชินได ดังนั้นถาหัวหนาคนงานเขาใจและพรอมจะชวยเหลืองาน

การสงเสริมการใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว กิจกรรมนี้ก็เกือบจะสําเร็จลุลวงไดกวาครึ่ง

สวนการที่จะตัดสินความสําเร็จหรือลมเหลวของงานสงเสริมการใชวิธีการทํางานที่

ปรับปรุงแลว คือ ตัวคนงานซึ่งเปนผูปฏิบัติงานตามวิธีการทํางานใหม ถาคนงานไมเขาใจ คนงานก็

จะไมใหความรวมมือ เราจะตองไมลืมวาคนงานในโรงงานมีเพื่อนรวมงาน และพรอมที่จะรวมมือ

กับเพื่อนรวมงานตอตานขัดขวางการใชวิธีการทํางานใหม การทําความเขาใจกับคนงานทุกคนที่

เกี่ยวของกับวิธีการทํางานใหม จะชวยลดปญหาการตอตานลงได การมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอคนงาน

เพื่อสรางการยอมรับตอวิธีการทํางานใหมเปนแนวทางที่ตองดําเนินการอยางตอเนื่อง ความไม

เขาใจหรือไมยอมรับซึ่งเกิดจากความขัดแยงสวนตัวเพียงเล็กนอย อาจทําใหกิจกรรมการสงเสริม

การใชวิธีการทํางานใหมตองลมเหลวไปอยางไมนาเชื่อ ทายที่สุดคือ ไมสามารถใชประโยชนกับ

การศึกษาวิธีการทํางานที่ทํามาเปนเวลานาน

เพื่อใหสามารถบรรลุเปาหมายการสงเสริมการใชวิธีการทํางานใหมอยางรวดเร็ว การ

ฝกอบรมคนงานใหเกิดความคุนเคยตอการทํางานดวยวิธีการทํางานใหม ในขณะเดียวกันจะสามารถ

เขาใจอุปสรรคการทํางานของวิธีการทํางานใหม และชวยแกไขอุปสรรคเหลานี้ ในระหวางการ

ฝกอบรมคนงานจะมีความเขาใจตอวิธีการทํางานใหมมากขึ้น จะใหการสนับสนุนมากขึ้นในการ

ฝกอบรม อุปกรณที่ใชเร่ิมดวยการใชภาพนิ่งหรือภาพวีดิทัศนซ่ึงถายจากการทํางานโดยใชคนงาน

Page 27: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

34  

ตัวอยาง ทํางานดวยวิธีการทํางานใหม มีการแสดงการเปรียบเทียบขอดีขอเสียของวิธีการทํางาน

แบบเกา และแสดงความแตกตางของวิธีการทํางานแบบใหมที่มีจุดเดนกวาวิธีการทํางานแบบเดิม

เปนสิ่งจําเปนที่ตองควบคุมดูแลการทํางานของคนงานในการทํางานดวยวิธีการทํางานที่

ปรับปรุงแลว เพื่อใหแนใจวาคนงานมีความสามารถและความเชี่ยวชาญในการทํางานวิธีการแบบ

ใหมในระดับที่นาพึงพอใจ โดยมีผลผลิตหรือผลงานตามที่คาดหวังไวและคนงานมีความคุนเคยกับ

การทํางานดวยวิธีการใหมจนอยูตัวแลว

2.1.2.8 การติดตามการใชวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว

เปนความจําเปนอยางยิ่งในการพยายามรักษาวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลวใหมีการใชงาน

อยางตอเนื่องและคงอยูจนกวาจะพัฒนาวิธีการทํางานที่ดียิ่งๆ ขึ้นไปอีก จะตองมีการติดตามการ

ทํางานของคนงานโดยหามไมใหคนงานใชสวนหนึ่งสวนใดของวิธีการเกาหรือใชวิธีการที่ไมใช

วิธีการใหม นอกเสียจากวาคนงานจะสามารถหาเหตุผลและพิสูจนไดวาวิธีการเหลานี้เหมาะสมกวา

การตรวจตราการทํางานอยางสม่ําเสมอ โดยมีการกําหนดตารางเวลาการตรวจสอบและให

แบบตรวจสอบสรุปผลการตรวจและมีกระบวนการสงเสริมการใชวิธีการทํางานใหอยางตอเนื่อง

ควบคูกัน ใหเขาใจธรรมชาติของคนงานในการมีแนวโนมที่จะกลับไปใชวิธีการทํางานเดิม ตราบ

เทาที่คนงานยังไมทํางานในวิธีการทํางานใหมแบบ “อยูตัว” โอกาสในการกลับไปใชวิธีการเดิมก็ยัง

มีอยูเสมอ กระบวนการตรวจสอบวิธีการทํางาน จะตองไดรับการรับรูจากคนงาน เพื่อเปนการ

กระตุนใหเกิดความระมัดระวังในการกลับไปใชความเคยชินเดิม การกําหนดสิ่งจูงใจในเชิงการให

รางวัลสําหรับคนงานที่ทํางานตามวิธีการใหม ไมเคยตองมีการแกไขวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลว

หรือจะใชกระบวนการจูงใจอื่นๆ เพื่อใหการทํางานตามวิธีการใหมกลายเปนความเคยชินและอยูตัว

จะทําใหเกิดความสมบูรณของการศึกษาวิธีการทํางานในสวนนี้ เนื่องจากการศึกษาวิธีการทํางาน

เปนงานที่ตองทําอยางตอเนื่อง เมื่อพบวายังสามารถจะพัฒนาวิธีการทํางานที่ปรับปรุงแลวใหดี

ยิ่งขึ้น การศึกษาการทํางานก็ยังไมไดส้ินสุดลง อยางไรก็ตาม เพื่อไมใหคนงานเกิดความรูสึกเบื่อ

หนายตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบอยจนเกินไป การศึกษาวิธีการทํางานจะตองมีการดําเนินการ

อยางเปนทางการตามขั้นตอนของ การศึกษาวิธีการทํางานดังกลาวขางตน

Page 28: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

35  

2.1.3 การศึกษาเวลา

เทคนิคการวัดผลงาน (Work Measurement) ที่ใชไดงายกระบวนการไมซับซอนและขอมูล

การวัดผลงานมีความนาเชื่อถือมากคือ เทคนิคการศึกษาเวลา (Time Study) ของ Federic W.Taylor

ซ่ึงไดรับความนิยมใชงานอยางแพรหลายจนถึงปจจุบัน ในระยะแรกการศึกษาเวลา จะมุงในการ

กําหนดหาเวลามาตรฐานเพื่อใชเปนเกณฑในการกําหนดคาจางแรงงานที่ยุติธรรมในแผนการ

จายเงินจูงใจ ตอมาจึงไดมีการขยายขอบเขตการใชงานและเปนประโยชนใชงานไดอยางหลากหลาย

โดยเฉพาะในทางการผลิต จะใชประโยชนในการสงเสริมการเพิ่มผลผลิต เชน การวางแผนและ

ควบคุมการผลิต การควบคุมตนทุนแรงงาน การประเมินการอัตราการผลิต การเพิ่มผลผลิต ฯลฯ [6]

2.1.3.1 หลักพื้นฐานของการศึกษาเวลา

การศึกษาเวลามีหลักการพื้นฐานซึ่งกําหนดขึ้นมาไดจากคํานิยาม ประโยชนการใชงาน

องคประกอบของการศึกษาเวลา และขั้นตอนของการศึกษาเวลา ความเขาใจหลักการพื้นฐานของ

การศึกษาเวลาจะชวยใหสามารถเขาใจกระบวนการของการศึกษาเวลา ขอจํากัดและเงื่อนไขที่

จําเปนในการศึกษาเวลา อุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นจากการไมไดรับความรวมมือจากคนงาน รวมทั้ง

กระบวนการกําหนดหาเวลามาตรฐานไดอยางถูกตอง และสามารถประยุกตใชเวลามาตรฐานเพื่อให

เกิดประโยชนในการจัดการทางการผลิตไดอยางกวางขวาง

2.1.3.2 ความหมายของการศึกษาเวลา

“การศึกษาเวลา” คือ เทคนิคการวัดผลงานซึ่งมีกระบวนการเพื่อกําหนดหาเวลาในการ

ทํางานโดยคนงานที่เหมาะสม ซ่ึงทํางานในอัตราที่ปกติ ภายใตเงื่อนไขมาตรฐานในการวัดผลงาน

โดยมีผลลัพธของการวัดผลงานเรียกวา “เวลามาตรฐาน”

จากคํานิยามของการศึกษาเวลา เราพอกําหนดหลักการพื้นฐานของการศึกษาเวลาได

ดังตอไปนี้

1. การศึกษาเวลาจะตองใชกระบวนการในการหาเวลาในการทํางาน

2. คนงานที่ใชศึกษาในการศึกษาเวลาจะตองเปนคนงานที่มีความเหมาะสม

Page 29: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

36  

3. คนงานที่ใชศึกษาตองทํางานในอัตราปกติ

4. ตองมีเงื่อนไขมาตรฐานในการวัดผลงาน

5. ผลลัพธของการศึกษาเวลา คือ เวลามาตรฐานของการทํางาน

กระบวนการศึกษาเวลาจะไดกลาวโดยละเอียดเปนขั้นตอนของการศึกษาเวลา ซ่ึงจะตองมี

อุปกรณการจับเวลา กระบวนการแบงแยกยอยงาน เทคนิคการจับเวลาและขั้นตอนในการ

กําหนดเวลามาตรฐาน

คนงานที่ใชเปนหุนสําหรับการศึกษาเวลา จะตองเปนคนงานที่มีความรูความสามารถใน

การทํางานที่จะศึกษาเปนอยางดี โดยมีประสบการณหรือผานการฝกฝนจนคลองแคลวในการ

ทํางานที่จะใชศึกษาเวลา การทํางานระหวางการศึกษาเวลาจะตองไมติดขัดจนไมสามารถจะเก็บ

บันทึกขอมูลเวลาทํางานไดอยางถูกตอง ใหความรวมมือในการทํางานอยางปกติ ไมชาไมเร็วเกินไป

ไมปดบังขอมูลที่มีผลกระทบตอการทํางาน ไมกระทําการใดๆ ที่จะทําใหขอมูลที่เก็บบันทึกเวลาผิด

ไปจากความเปนจริงเพื่อใหไดขอมูลเวลาซึ่งใชเปนมาตรฐานสําหรับคนสวนใหญได

ในการศึกษาเวลา เงื่อนไขมาตรฐานที่ตองคํานึงถึงคือ มาตรฐานการวัดเวลามาตรฐาน

เครื่องมือวัดเวลาและมาตรฐานการทํางาน การวัดเวลาจะตองมีความนาเชื่อถือและมีความมั่นคง

สม่ําเสมอ เครื่องมือที่ใชวัดก็เชนกัน ถาเปนเครื่องมือที่ทันสมัยและมาตรฐานการวัดที่สอดคลองกัน

ก็จะยิ่งดี และสวนสุดทายคือมาตรฐานการทํางานซึ่งจะตองครอบคลุมตั้งแตวิธีการทํางาน สถานที่

ทํางาน ระยะเวลาทํางาน และสภาพแวดลอมในการทํางาน องคประกอบของการทํางานเหลานี้

จะตองไดมาตรฐานกอนการศึกษาเวลา

การกําหนดเวลามาตรฐานของการทํางาน จะประกอบดวยเวลาที่บันทึกไดจากการทํางาน

ซ่ึงจะตองคํานวณหาเวลาที่ใชเปนคาตัวแทนของเวลาของการทํางานหรือ “คาเวลาที่เลือก (Selected

Time)” เมื่อประเมินตามอัตราความเร็วของการทํางานของคนงานและมีการปรับคาการประเมินแลว

จะไดเปน “คาเวลาปกติ (Normal Time)” และเมื่อมีการเพิ่มเวลาเผื่อสําหรับความเมื่อยลาจะไดคา

เวลาเปน “เวลามาตรฐาน (Standard Time)”

Page 30: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

37  

2.1.3.3 ประโยชนของการศึกษาเวลา

ประโยชนของการศึกษาเวลาพอสรุปไดดังนี้

1. ใชในการกําหนดตนทุนมาตรฐานและจัดเตรียมงบประมาณรวมทั้งการสรางระบบศูนยกําไร

2. ประมาณการตนทุนการผลิต เพื่อกําหนดราคาผลิตภัณฑ 3. ใชในการจัดสมดุลของสายการผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการใชงาน

คนงานและเครื่องจักร 4. ใชเปนขอมูลในการจัดแผนการผลิตและการกําหนดงานผลิต 5. ใชเปนมาตรฐานเวลาในการทํางานเพื่อควบคุมตนทุนการผลิต และการกําหนดอัตรา

คาจางแรงงาน รวมทั้งการจัดแผนการจายเงินจูงใจ 6. ใชประกอบการศึกษาวิธีการทํางานเพื่อเปรียบเทียบวัดผลงานกอนและหลังการ

ปรับปรุงวิธีการทํางาน

2.1.3.4 องคประกอบของการศึกษาเวลา

องคประกอบของการศึกษาเวลาประกอบดวย

1. ผูบริหารและหัวหนาคนงาน 2. คนงาน 3. ผูศึกษาเวลา 4. เครื่องมือจับเวลาและแบบฟอรมตางๆ 5. วิธีการทํางานและองคประกอบทางการผลิตของงานที่จะศึกษาเวลา

• สําหรับผูบริหารและหัวหนาคนงาน

(1) ควรจะเขาใจงานและประโยชนของการศึกษาเวลา (2) ควรใหการสนับสนุนการศึกษาเวลาอยางแทจริง (3) พรอมแกไขปญหาและอุปสรรคของการศึกษาเวลา (4) ควรชี้แจงใหคนงานเขาใจจุดประสงคและขั้นตอนของการศึกษาเวลา (5) ควรรวมมือกับผูศึกษาเวลาเพื่อใหไดขอมูลการศึกษาเวลาที่มีความถูกตอง

Page 31: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

38  

• สําหรับคนงาน

(1) คนงานตองเปนคนงานที่สม่ําเสมอ

(2) อัตราการทํางานของคนงานตองอยูในเกณฑเฉลี่ยหรือสูงกวาเฉลี่ยเล็กนอย

(3) ควรเปนคนงานที่เหมาะสม คือมีความเฉลียวฉลาด แข็งแรง มีความรูและความ

ชํานาญในการที่จะศึกษา

(4) ใหคนงานทํางานตามปกติที่เคยทํา ทํางานโดยอิสระไมเกร็งและใหมีการพัก

ตามปกติ

(5) สําหรับวิธีการทํางานใหม ใหคนงานฝกทํางานในชวงระยะเวลาหนึ่งจนเกิดความชํานาญกอน จึงเริ่มศึกษาเวลาได

(6) คนงานตองเขาใจเปาหมายของการศึกษาเวลา และใหความรวมมือในการศึกษา

เวลา

• สําหรับผูศึกษาเวลา

(1) จะตองเขาใจวัตถุประสงคของการศึกษาเวลา และตองอธิบายใหทุกๆ คนที่

เกี่ยวของเขาใจ

(2) จะตองมีมารยาทและมนุษยสัมพันธที่ดี (3) ใหหยุดการจับเวลาชั่วคราวถารูสึกวาคนงานไมไดทํางานโดยปกติ (4) ใหพบหัวหนาคนงานในกรณีที่พบวาคนงานไมรวมมือ (โดยการชี้แจงและตอง

ไมใหเกิดความเขาใจวาเปนการฟอง)

(5) ไมจับเวลาโดยที่คนงานไมรูตัวหรือไมอยูในมุมที่คนงานไมเห็น

• สําหรับเคร่ืองมือและแบบฟอรมตางๆ

(1) ใหเตรียมเครื่องมือจับเวลา เชน นาฬิกาจับเวลาหรือกลองถายภาพวีดิทัศน

(2) แบบฟอรมที่จะใชงานตางๆ ตองเหมาะสมชัดเจนและใชงานไดสะดวก

(3) มีการตรวจเครื่องมือจับเวลาใหแนใจวาใชงานได (4) มีการตรวจสอบเครื่องใชอ่ืน ๆ ใหพรอม

Page 32: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

39  

• สําหรับวิธีการทํางานและองคประกอบทางการผลิตของงานที่จะศึกษาเวลา

(1) ใหตรวจสอบวิธีการทํางานที่เปนมาตรฐานและคนงานมีการทํางานตามวิธีการทํางานมาตรฐานอยางถูกตอง

(2) ใหตรวจสอบเงื่อนไขการทํางานตางๆ เชน สถานที่ทํางาน เครื่องมือและอุปกรณ

และสภาพแวดลอมของการทํางาน เพื่อใหไดเงื่อนไขของการศึกษาเวลาเปนไป

ตามมาตรฐานเดียวกับวิธีการทํางานมาตรฐาน

(3) ตรวจสอบองคประกอบทางการผลิตอื่นๆ เชน วัสดุที่ใชตองถูกตองตามขอกําหนด

ของผลิตภัณฑ คุณภาพของชิ้นสวนที่ใชผลิตตองเปนที่นาพอใจ ความเร็วของ

เครื่องจักรเปนไปตามที่กําหนด

2.1.3.5 การกําหนดเวลาเผื่อ

การคํานวณเวลาปกติจากการใชเวลาเลือก เมื่อปรับดวยคาองคประกอบการประเมิน จะยัง

ถือเปนเวลามาตรฐานไมได เนื่องจากยังไมไดครอบคลุมเวลาเผื่อสําหรับ

1. เวลาเผื่อกิจสวนตัว (Personal allowance)

2. เวลาเผื่อความเมื่อยลา (Fatigue allowance)

3. เวลาเผื่อความลาชา (Delay allowance)

“เวลาเผื่อ” จึงเปนเวลาที่เพิ่มใหจากเวลาปกติของคนงานที่เหมาะสมเพื่อกิจธุระสวนตัว เพื่อ

การลดความเมื่อยลา และเผื่อสําหรับความลาชาของกิจกรรมการรอตางๆ

เวลาเผื่อเพื่อกิจธุระสวนตัว เชน เขาหองน้ํา ลางมือ ดื่มน้ํา ฯลฯ จะถูกกําหนดใหมากหรือ

นอยขึ้นอยูกับลักษณะความหนักเบาของงาน ระยะเวลาทํางาน เงื่อนไขการทํางาน ฯลฯ เวลาเผื่อ

สําหรับกิจธุระสวนตัวอาจสูงกวา 5 % ของเวลาปกติ

*การทํางาน 8 ช่ัวโมง/วัน โดยไมมีการพักเลยจะมีเวลาที่เปนกิจสวนตัว 2-5 %

*เวลาเผื่อสวนตัวจะตองสูงขึ้นถาเงื่อนไขการทํางานเลวลง เชน งานหนัก รอน ฝุนจัด

เสียงดัง เหม็น ช้ืน ฯลฯ

Page 33: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

40  

เวลาเผื่อสําหรับความเมื่อยลาจําเปนสําหรับงานที่มีเงื่อนไขการทํางานที่จะสรางความ

เมื่อยลาในการทํางานไดมาก เชน งานหนัก สภาพแวดลอมการทํางานงานไมดี มีความเครียดในการ

ทํางาน ระยะเวลาในการทํางาน ฯลฯ คนจําเปนตองพักเมื่อรูสึกวาทํางานแลวเกิดความเมื่อยลา

ปญหาก็คือ ควรใหเวลาสําหรับการพักผอนเปนเวลารวมทั้งลักษณะของงานที่ทํา เงื่อนไขการทํางาน

วิธีการทํางาน และสภาพแวดลอมการทํางาน ปจจุบันไมมีกฎเกณฑใดๆ ในการกําหนดเวลาที่

เหมาะสมสําหรับการพักผอน แตโดยทั่วไปที่นิยมกันคือ ใหพักได 10 ถึง นาที ในชวงเชาและชวง

บายของการทํางานโดยคาดหวังวา

(ก) ลดความเมื่อยลาของคนงาน

(ข) ลดเวลาคนงานที่หยุดงานระหวางชั่วโมงการทํางานเพื่อกิจสวนตัว

(ค) ลดความเบื่อหนายตอการจําเจในการทํางานทั้งวัน

(ง) เพิ่มผลผลิตไดเนื่องจากมีการฟนตัวของการทํางาน

*สําหรับการทํางานทั่วไป กําหนดเวลาเผื่อไวประมาณ 4 %

*การทํางานที่เบาและมีชวงเวลาพักผอนเพียงพอในระหวางวัน ไมจําเปนตองมีเวลาเผ่ือ

ความเมื่อยลา

เวลาเผื่อสําหรับความลาชา เปนเวลาเผื่อสําหรับความลาชาเนื่องจากการปรับเปลี่ยน

เครื่องมือ เครื่องจักร หรือเวลาที่เสียไปเนื่องจากเครื่องจักรชํารุด ไฟฟาดับ ขาดแคลนวัสดุ วัสดุมา

ไมทัน รอเครื่องมือ รอหัวหนา รอชาง ฯลฯ

ในการกําหนดเวลาเผื่อ มีการประเมินเวลาเผื่อสําหรับกิจสวนตัว ความเมื่อยลาและความ

ลาชาแลว จะรวมกันเปนเปอรเซ็นตเวลาเผื่อและใชปรับคาเวลาปกติใหเปนคาเวลามาตรฐาน ใน

หลายๆกรณี เราอาจจะไมไดประเมินเวลาเผื่อแยกตามชนิดของเวลาเผื่อดังกลาว แตจะใชวิธีกําหนด

ประเมินเวลาเผื่อไปตามการพิจารณาเงื่อนของงานที่เกิดขึ้น

Page 34: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

41  

2.1.3.6 การหาเวลามาตรฐาน

เมื่อมีการจับเวลาบันทึกขอมูลเวลาตามจํานวนวัฏจักรใหไดระดับความเชื่อมันและระดับ

ความผิดพลาดที่ตองการแลว เราจะสามารถหาเวลาเลือก ซ่ึงจะใชคาเฉลี่ยหรือคาฐานนิยมของขอมูล

เวลา จากนั้นจะปรับคาองคประกอบการประเมิน ทําใหไดคาเวลาปกติ เมื่อปรับคาเวลาเผื่อจะได

เปนเวลามาตรฐาน

การกําหนดหาเวลามาตรฐานจากคาปกติปรับคาเวลาเผื่อทําได 2 วิธี ดังนี้

1. เวลามาตรฐาน = เวลาปกติ + (เวลาปกติ x % เวลาเผื่อ)

2. เวลามาตรฐาน = เวลาปกติ x 100

100 - %เวลาเผื่อ

ในการศึกษาเวลาเพื่อกําหนดเวลามาตรฐาน จะใชกระบวนการปรับคาเวลาของทุกๆ งาน

ยอยดวยคาองคประกอบการประเมินและคาเวลาเผื่อและไดคาเวลามาตรฐานเวลาของแตละงานยอย

รวมเวลามาตรฐานของทุกๆ งานยอยเปนเวลามาตรฐานของงานหรือจะใชกระบวนการหาคา

องคประกอบการประเมินเฉลี่ย แลวเอาผลรวมของเวลาเลือกมาหาเวลาปกติและหาเวลามาตรฐาน

ของานโดยการปรับคาเวลาเผื่อ

2.2 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

งานวิจัยที่ เกี่ยวของสวนใหญเปนงานวิจัยที่มุงเนนการปรับปรุงประสิทธิภาพของ

กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมประเภทตางๆ เพื่อลดความสูญเปลาและกิจกรรมที่ไมกอใหเกิด

คุณคาในกระบวนการผลิต โดยใชหลักการศึกษาวิธีการทํางาน เขามาชวยวิเคราะหหาสาเหตุ รวมถึง

การวางแผนและควบคุมการผลิต โดยงานวิจัยที่เกี่ยวของตางๆ มีดังนี้

นวดี กระจายวงศ และ ณวรา จันทรัตน (2551) ไดประยุกตใชเทคนิควิธีการศึกษาการ

ทํางาน (Method Study) เพื่อเพิ่มผลิตภาพในอุตสาหกรรมอาหารทะเลแชเยือกแข็ง โดยกรณีศึกษาที่

ใช คือ แผนกแลในกระบวนการผลิตปลาฤาษีแลแชเยือกแข็ง ซ่ึงเปนแผนกที่มีความสําคัญตอ

คุณภาพของผลิตภัณฑสุดทายและเปนคอขวดของกระบวนการผลิต วัตถุประสงคของงานวิจัยนี้ คือ

Page 35: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

42  

การหาวิธีการที่เหมาะสมในการทํางาน โดยการประยุกตใชเทคนิคการศึกษาวิธีการทํางาน (Method

Study) เพื่อเปรียบเทียบวิธีการทํางานสองวิธีของแผนกแล คือ การแลแลวดึงกาง (วิธีการเดิม) และ

การแลแลวเจาะกาง (วิธีการใหม) ตลอดจนเพื่อหาโอกาสในการลดระยะทางการเคลื่อนที่ของ

พนักงานในขณะทํางาน โดยใชแผนภูมิกระบวนการผลิตตอเนื่องประเภทคน (Flow Process Chart -

Man Type) และไดอะแกรมการเคลื่อนที่ (Flow Diagram) เปนเครื่องมือในการวิเคราะหผล

การศึกษาพบวาในระยะเวลาการทํางานที่เทากัน 8 ช่ัวโมง วิธีการแลแลวเจาะกางจะทําใหผลผลิต

เพิ่มขึ้น 31.81 เปอรเซ็นต และมีผลกําไรเพิ่มขึ้น 29.30 เปอรเซ็นต [7]

สุนันท ฤกษศิระทัย (2552) ไดศึกษาเพื่อเพิ่มผลผลิตของเครื่องจักรทดสอบเอชจีเอ ซ่ึงเปน

ขั้นตอน การทํางานของกระบวนการทดสอบหัวอานฮารดดิสกที่โรงงานตัวอยางแหงหนึ่งจาก 122

เปน 134 ช้ินตอช่ัวโมงตอเครื่อง หรือประมาณ 10 เปอรเซ็นต ดวยวิธีการศึกษาการทํางานและการ

ระดมสมอง ผานกิจกรรมกลุมคุณภาพ โดยมีขั้นตอนการวิจัยเร่ิมดวยการศึกษาสภาพปจจุบันของ

ปญหาและ วิเคราะหรายละเอียดของงานยอย ซ่ึงผลการวิจัยพบวาเครื่องจักรมีเวลาสูญเปลาจากการ

รอคอย ขณะที่พนักงานทําการตรวจสอบชิ้นงาน จากนั้นจึงประยุกตใชแผนภูมิคนและเครื่องจักร

พรอมกับ หลักการขจัดความสูญเปลาของลีนและวิธีการระดมสมองเพื่อลดความสูญเปลา ซ่ึงได

วิธีการ ทํางานแบบใหม 3 วิธีเพื่อลดเวลาการทํางานของพนักงานประจําเครื่องจักร คือ (1)

กําหนดใหมี สถานีตรวจสอบชิ้นงานกอนนําชิ้นงานเขาเครื่องจักร และหลังจากนําชิ้นงานออกจาก

เครื่องจักร (2) กําหนดใหมีสถานีตรวจสอบชิ้นงานกอนนําชิ้นงานเขาเครื่องจักร (3) กําหนดใหมี

สถานีตรวจสอบ ช้ินงานหลังจากนําชิ้นงานออกจากเครื่องจักร โดยพบวาวิธีที่มีประสิทธิภาพมาก

ที่สุดคือวิธีที่ (1) กําหนดใหมีสถานีตรวจสอบชิ้นงานกอนนําเขาเครื่องจักรและหลังจากนําชิ้นงาน

ออกจาก เครื่องจักร เนื่องจากเปนการลดขั้นตอนการทํางานของพนักงานประจําเครื่องจักรลงมาก

ที่สุด จึงเปนผลใหเครื่องจักรทํางานอยางตอเนื่องและไดอัตราการผลิตมากขึ้น โดยกระบวนการ

ทดสอบ หัวอานฮารดดิสก มีอัตราการผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิม 122 ช้ินตอช่ัวโมงเปน 163 ช้ินตอช่ัวโมง

หรือเพิ่มขึ้น 33.6 เปอรเซ็นต ทําใหโรงงานแหงนี้ สามารถลดตนทุนทางดานเครื่องจักรลงได

สุดทายนี้ จากการปรับปรุงโดยวิธีการทํางานใหมช้ินงานบกพรองไดถูกตรวจสอบและคนพบกอน

นําเขา เครื่องจักรและจํานวนชิ้นงานบกพรองของทั้งระบบไมเปลี่ยนแปลง [8]

Page 36: บทที่ 2 PDF - research-system.siam.eduresearch-system.siam.edu/images/independent/The_Service_Efficiency... · พัฒนาวิธีการทํางานท

43  

กัญจนา เบ็ญจศิริวรรณ (2551) ไดทําการศึกษาโรงงานผลิตชิ้นสวนเฟอรนิเจอรไมซ่ึงมี

ปญหาดานความคลองตัวของกระบวนการผลิต เนื่องจากเครื่องจักรถูกจัดวางแบบไมตอเนื่องและ

ระยะทางระหวางเครื่องจักร แตละเครื่องนั้นอยูไกลกัน ทําใหขาดความตอเนื่องในการผลิต ผูศึกษา

ไดนําเทคนิคแผนภูมิการไหลของขบวนการผลิต (Flow Process Chart) มาใชทําการศึกษา

กระบวนการทํางานตั้งแตวัตถุดิบเขามาในโรงงานจนกระทั่งทําสําเร็จเปนผลิตภัณฑพรอมที่จะทํา

การจัดสงภายหลัง การปรับปรุงสามารถสรุประยะทาง ระยะเวลา และขั้นตอนการทํางานไดดังนี้

(1) ขั้นตอนไมเขา มาในโรงงาน เวลาลดลงจากเดิม 8.50 ช่ัวโมง เหลือ 7 ช่ัวโมง เวลาลดลงทั้งสิ้น

1.50 ช่ัวโมง หรือ ลดลง 17.65% (2) ขั้นตอนแปรรูปไมทอน ระยะทางลดลงจากเดิม 330.5 เมตร

เหลือ 141.5 เมตร ระยะทางลดลงทั้งสิ้น 189 เมตร หรือ ลดลง 57.19% เวลาลดลงจากเดิม 25 นาที

เหลือ 17 นาที เวลาลดลงทั้งสิ้น 8 นาที หรือลดลง 32% และข้ันตอนการทํางานลดลงจากเดิม 34

ขั้นตอน เหลือ 31 ขั้นตอน ขั้นตอนลดลงทั้งสิ้น 3 ขั้นตอน หรือ ลดลง 8.82% (3) ขั้นตอนนําไมเขา

อบ เวลาลดลงจากเดิม 28 นาที เหลือ 22 นาที เวลาลดลงทั้งสิ้น 6 นาที หรือ ลดลง 21.42% และ

ขั้นตอนการทํางานลดลงจากเดิม 9 ขั้นตอน เหลือ 7 ขั้นตอน ขั้นตอนลดลงทั้งสิ้น 2 ขั้นตอนหรือ

ลดลง 22.22% (4) ขั้นตอนขึ้นรูปชิ้นงาน ระยะทางลดลงจากเดิม 209.1 เมตร เหลือ 161.6 เมตร

ระยะทางลดลงทั้งสิ้น 47.5 เมตร หรือ ลดลง 22.72% เวลาลดลงจากเดิม 33 นาที เหลือ 29 นาที เวลา

ลดลงทั้งสิ้น 4 นาที หรือลดลง 12.12% และขั้นตอนการทํางานลดลงจากเดิม 47 ขั้นตอนเหลือ 42

ขั้นตอน ขั้นตอนลดลงทั้งสิ้น 5 ขั้นตอน หรือ ลดลง 10.64% สรุปคาเฉลี่ยขั้นตอนที่ (1) ถึงขั้นตอนที่

(4) ระยะทางลดลงทั้งสิ้น 39.96% เวลาลดลงทั้งสิ้น 20.8% และขั้นตอนลดลงทั้งสิ้น13.89%

โรงงานสามารถเพิ่มผลผลิตไดถึง 1,075 มัด คิดเปน 408,500 บาท ตอเดือน และสามารถลด

คาใชจายในการจางแรงงานไดถึง 12,000 บาท ในแตละเดือน [9]