33
บทที3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P. บทที3 Visual C++ 6.0 เนื่องจากในแบบเรียนเลมนี้ไดอางอิงการใชภาษา C++ บน Microsoft Visual C++ 6.0 ดังนั้น จึงเปนการดีหากผูศึกษาจะไดทําความรูจัก และเตรียมการติดตั้งโปรแกรมที่จําเปนใหเรียบรอยกอนจะ นําไปใชงานจริง ในบทนีจะแนะนํา Visual C++ และการติดตั้งโปรแกรม Visual C++ 6.0 รวมถึง สภาพแวดลอมใน Visual C++ เพื่อใหการใชงานโปรแกรมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ดังนั้น ควรจะตองทําความเขาใจกับตัวเลือกตางๆ ในการติดตั้ง เมื่อเกิดปญหาในการติดตั้งก็จะสามารถแกไขได ดวยตนเอง ความรูเกี่ยวกับ Visual C++ ในการพัฒนาโปรแกรมวินโดวสในยุคแรก จะใชเครื่องมือ ที่เรียกวา SDK (Software Development Kit) ซึ่งจะเปนชุดพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวส แตในปจจุบันนี้ไดมีการสรางเครื่องมือทีชวยในการพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวสขึ้นมามากมาย เชน Microsoft Visual Basic Visual C++ Delphi หรือ Power Builder เปนตน ซึ่งโดยมากจะเปนโปรแกรมประเภท Visual นั่นคือ รูปแบบการพัฒนา โปรแกรมจะอยูในลักษณะ WYSIWYG คําวา WYSIWYG ยอมาจาก What you see is what you get หมายความวา คุณเห็นอยางไรคุณก็จะไดอยางนั้นเปนสโลเกนที่นิยมใชกันมากสําหรับโปรแกรมประเภท Visual ตางๆ เมื่อสรางโปรแกรม หรือสรางงานขึ้นมา ผลที่ไดก็จะมีลักษณะเหมือนกับตอนที่เราสราง เราถึงไดเรียกวา WYSIWYG นั่นเอง Microsoft Visual C++ เปนโปรแกรมประเภท Visual อีกตัวหนึ่งที่ไดรับการพัฒนาใหมีความ ยืดหยุและมีประสิทธิภาพสูงขึ้นมาจากภาษา C++ และไดสนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมในหลายๆ ดาน ไมวาจะเปนการสรางโปรแกรมทั่วไป การสรางโปรแกรมจัดการฐานขอมูล การสรางโปรแกรมบน ระบบเครือขาย หรือมัลติมิเดียอยางครบครัน Visual C++ ไดรับการพัฒนาขึ้นมาจาก Microsoft C/C++ ใหเปน IDE ที่ทํางานบน ระบบปฏิบัติการวินโดวสไดอยางเต็มทีรองรับการพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวสโดยมี MFC (Microsoft Foundation Class) เปนไลบรารีที่จะชวยอํานวยความสะดวกในการพัฒนาโปรแกรม ในยุคทีMFC ยังไมถือกําเนิด เมื่อจะพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวสเราก็จะตองใช SDK และ คอมไพเลอรภาษา C เชน Microsoft C++ Borland C++ ชวยในการเขียนโปรแกรม โคดโปรแกรมที่เขียน ขึ้นดวย SDK นี้คอนขางซับซอน และสรางความลําบากใหการศึกษาทําความเขาใจจึงไดมีการสรงคลาส ขึ้นมาชุดหนึ่ง เขียนขึ้นโดยใชโครงสราง OOP ดวยภาษา C++ ชื่อวา MFC หรือ Microsoft Foundation

บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 35

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

บทท่ี 3 Visual C++ 6.0

เนื่องจากในแบบเรียนเลมนีไ้ดอางอิงการใชภาษา C++ บน Microsoft Visual C++ 6.0 ดังนั้น จึงเปนการดีหากผูศึกษาจะไดทําความรูจัก และเตรียมการติดต้ังโปรแกรมท่ีจําเปนใหเรียบรอยกอนจะนําไปใชงานจริง ในบทนี้ จะแนะนํา Visual C++ และการติดต้ังโปรแกรม Visual C++ 6.0 รวมถึงสภาพแวดลอมใน Visual C++ เพื่อใหการใชงานโปรแกรมเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ดงันั้น ควรจะตองทําความเขาใจกับตัวเลือกตางๆ ในการติดต้ัง เม่ือเกิดปญหาในการติดต้ังก็จะสามารถแกไขไดดวยตนเอง

ความรูเก่ียวกับ Visual C++ ในการพัฒนาโปรแกรมวินโดวสในยุคแรก ๆ จะใชเคร่ืองมือ ท่ีเรียกวา SDK (Software Development Kit) ซ่ึงจะเปนชุดพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวส แตในปจจุบันนี้ไดมีการสรางเคร่ืองมือท่ีชวยในการพฒันาโปรแกรมบนวินโดวสข้ึนมามากมาย เชน Microsoft Visual Basic Visual C++ Delphi หรือ Power Builder เปนตน ซ่ึงโดยมากจะเปนโปรแกรมประเภท Visual นั่นคือ รูปแบบการพัฒนาโปรแกรมจะอยูในลักษณะ WYSIWYG คําวา WYSIWYG ยอมาจาก What you see is what you get หมายความวา

“คุณเห็นอยางไรคุณก็จะไดอยางนั้น” เปนสโลเกนท่ีนิยมใชกันมากสําหรับโปรแกรมประเภท Visual ตางๆ เม่ือสรางโปรแกรมหรือสรางงานข้ึนมา ผลท่ีไดก็จะมีลักษณะเหมือนกับตอนท่ีเราสราง เราถึงไดเรียกวา WYSIWYG นั่นเอง Microsoft Visual C++ เปนโปรแกรมประเภท Visual อีกตัวหนึ่งท่ีไดรับการพัฒนาใหมีความยืดหยุน และมีประสิทธิภาพสูงข้ึนมาจากภาษา C++ และไดสนับสนุนการพัฒนาโปรแกรมในหลายๆ ดาน ไมวาจะเปนการสรางโปรแกรมท่ัวไป การสรางโปรแกรมจัดการฐานขอมูล การสรางโปรแกรมบนระบบเครือขาย หรือมัลติมิเดียอยางครบครัน Visual C++ ไดรับการพัฒนาข้ึนมาจาก Microsoft C/C++ ใหเปน IDE ท่ีทํางานบนระบบปฏิบัติการวินโดวสไดอยางเต็มท่ี รองรับการพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวสโดยมี MFC (Microsoft Foundation Class) เปนไลบรารีท่ีจะชวยอํานวยความสะดวกในการพัฒนาโปรแกรม ในยุคท่ี MFC ยังไมถือกําเนดิ เม่ือจะพัฒนาโปรแกรมบนวินโดวสเราก็จะตองใช SDK และคอมไพเลอรภาษา C เชน Microsoft C++ Borland C++ ชวยในการเขียนโปรแกรม โคดโปรแกรมท่ีเขียนข้ึนดวย SDK นี้คอนขางซับซอน และสรางความลําบากใหการศกึษาทําความเขาใจจงึไดมีการสรงคลาสข้ึนมาชุดหนึ่ง เขียนข้ึนโดยใชโครงสราง OOP ดวยภาษา C++ ช่ือวา MFC หรือ Microsoft Foundation

Page 2: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 36

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

จากความยืดหยุน และประสิทธิภาพของ MFC นี้เองทําให MFC ไดรับความนิยมอยางแพรหลายมากยิ่งข้ึน และไดถูกรวมเปนไลบรารีหนึ่งของ Microsoft C/C++ เวอรชัน 7 และคอมไพเลอร ตัวอ่ืนๆ ดวย ในตอนนี้ สามารถบอกไดวา MFC นั้นเปนสวนหนึ่งของ Visual C++ เลยทีเดียว เพราะ Visual C++ เปนเคร่ืองมือในการพัฒนาโปรแกรมบนวนิโดวสท่ีมี MFC และไลบรารีชวยอํานวยความสะดวก แทนการใช SDK ซ่ึงทําให MFC ไดรับการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึนไปพรอมกับ Visual C++ จนถึงทุกวันนี ้ การเขียนโปรแกรมบนวินโดวสดวย Visual C++ ใหดี และมีประสิทธิภาพ จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองศึกษารายละเอียดและหลักการของ MFC ใหเขาใจ อาจจะไมตองศึกษาใหลึกจนถึงระบบซอรสโคดหรือการทํางานของ MFC เพียงแตศึกษาวาการเขียนโปรแกรมดวย MFC นั้นทําอยางไรและ MFC ใหอะไรกับเราบางก็เพียงพอแลว

ความตองการทางดานฮารดแวร กอนท่ีจะทําการติดต้ังโปรแกรม Visual C++ 6.0 ควรจะตรวจสอบเคร่ืองคอมพิวเตอรใหพรอมดวย สวนประกอบทางดานฮารดแวร มีดังตอไปนี ้

1. หนวยความจําไมควรต่าํกวา 16 MB เปนอยางนอย 2. Mouse และจอภาพ VGA หรือท่ีสูงกวา 3. เนื้อท่ีวางในฮารดดิสกประมาณ 100 MB ข้ึนไป 4. ไดรฟซีดรีอมสําหรับการติดต้ัง visual C++ 6.0

สวนประกอบของ visual C++ 6.0 ตองการระบบฮารดแวรท่ีคอนขางสูง ถามีระบบฮารดแวรท่ีไมเหมาะสมอาจจะพบกับความลาชาบางในการพัฒนาโปรแกรม เชน ความเร็วของซีพียู หรือหนวยความจําท่ีนอยเกนิไป เปนตน

Page 3: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 37

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

ความตองการทางดานซอฟตแวร หากเคยใช visual C++ 5 มากอน คงจะทราบขอกําหนดในการติดต้ัง visual C++ 5 กันแลว ก็คือ ในวนิโดวสจะตองติดตั้ง Internet Explorer เวอรชัน 3 เสียกอน เชนเดียวกนักับการติดต้ัง visual C++ เวอรชัน 6 เราก็จะตองติดต้ัง Internet Explorer เหมือนกนั แตจะตองติดต้ัง Internet Explorer เวอรชัน 4 ข้ึนไป เพราะ visual C++ 6 จะใชสวนประกอบของ Internet Explorer ในการทํางานของโปรแกรมดวย เพราะฉะนั้น ความตองการซอฟตแวรท่ีจะตองมี คือ

1. ระบบปฏิบัติการ Windows 95/98 หรือ Windows NT/ME หรือ Windows XP 2. โปรแกรม Microsoft Internet Explorer 4.01 หรือสูงกวา 3. โปรแกรมติดต้ัง Microsoft Visual C++ เวอรชัน 6.0

Microsoft Internet Explorer เปนโปรแกรมเว็บบราวเซอรจากบริษัทไมโครซอฟต และ เปนสวนประกอบที่สําคัญท่ีจะตองติดตั้งลงไปกอน ถาในระบบไมมีโปรแกรมติดตั้งกจ็ะทําการติดต้ัง IE4 ให หรืออาจจะทําการติดต้ัง IE เวอรชันต้ังแต 4 ข้ึนไป ดวยตนเองกอนก็ได ขั้นตอนตางๆ ในการติดตั้ง เม่ือเร่ิมติดต้ังโปรแกรม Visual C++ 6 โดยการใสแผนซีดรีอมท่ีใชติดต้ังลงในไดรฟซีดีรอม จากนั้นเรียกโปรแกรม Setup หรืออาจจะรอให โปรแกรม Auto Run ของแผนซีดีรอมทํางานกไ็ด โดยข้ันตอนท่ียกตัวอยางนีเ้ปนการติดต้ังบนระบบปฏิบัติการ Windows XP ( มี IE6 ใหมาแลว) ซ่ึงข้ันตอนการตดิต้ัง มีดังนี ้

Page 4: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 38

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

จากรูปสามารถกดปุมเพื่อแสดงไฟลชวยเหลือ หรือ Click ท่ีปุม View Readme เพื่อแสดงไฟลชวยเหลือ หรือ Click ท่ีปุม Next > เพื่อใหโปรแกรมติดต้ัง Visual C++ 6 ทํางานตอไป ตอบรับ License Agreement และ CD- Key จากนั้นก็จะพบกับไดอะล็อก End User License Agreement ใหเลือก I Accept the Agreement เพือ่ตอบตกลง

1. เลือกหัวขอนี้เพื่อตอบตกลง 2. click mouse ไปข้ันตอนตอไป

Page 5: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 39

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

จากนั้นจะพบกับไดอะล็อก Product Number and User ID ใหใสคา CD – Key ท่ีสามารถพบไดบนสติ๊กเกอรท่ีอยูบนผลิตภัณฑ การติดตั้ง Virtual Machine for Java จากนั้นโปรแกรมติดต้ังจะใหอัพเดต Microsoft Virtual Machine for Java (หากเครื่องมีเวอรชันลาสุดแลว จะขามข้ันตอนนี้) ดังรูป ใหกดปุม Next > เพื่อทําการอัพเดต Virtual Machine เม่ืออัพเดต Java เสร็จแลว โปรแกรมติดต้ังจะใหบูตเคร่ืองใหม ใหกดปุม OK เพื่อทําการรีบูต

Page 6: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 40

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

จากนั้นจะเปนการแสดงสถานการณตดิต้ังจนกระท่ังเสร็จ จะปรากฏไดอะล็อกใหรีบูต

การกําหนดตัวเลือกในการติดตัง้และไดเร็กทรอร่ี หลังจากติดต้ัง Java แลว กจ็ะเขาสูการกําหนดตัวเลือกในการติดต้ัง ซ่ึงจะมีใหเลือก 3 แบบ ดังรูป

Page 7: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 41

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

Page 8: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 42

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

ในท่ีนีใ้หเลือกไปท่ี Custom เพื่อติดต้ังแบบกําหนดตัวเลือกท่ีตองการไดและกดปุม โปรแกรมติดต้ังจะใหกําหนดไดเร็กทอร่ีท่ีจะติดต้ัง Visual C++ ลงใน ดังรูป ในการกําหนดไดเร็กทอร่ี โปรแกรมติดต้ังจะกําหนดเอาไวแลว คือ \Program Files\Microsoft Visual Studio\Common หากเครื่องมีหลายไดรฟ และในไดรฟ C: นั้นเนื้อท่ีไมเพยีงพอตอการติดต้ัง เราจะตองเปล่ียนใหไปติดต้ังลงไดรฟอ่ืนแทนเชน D: หรือ E: สมมติวาติดต้ังใน D: ตองพิมพ ดังนี ้D:\ Files\Microsoft Visual Studio\Common จะพบกับตัวเลือกในการติดต้ังแบบ Custom ดังรูป

1. click mouse ท่ี เพื่อไปข้ันตอนตอไป

Page 9: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 43

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

2. จากนั้นจะไดหนาท่ีโชวเลข ID ใหเรา click ท่ีปุม

3.จะไดหนาตางนี้

Page 10: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 44

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

4.ให click ท่ี ถาเราตองการ

ใหเคร่ืองหมายถูกเปนสีดําแบบน้ี ให click

ถูกที่

5. ก็จะไดหนาตางนี้ให click ท่ี ปุม แลว click ท่ี

ตอ

6.click เลือกท่ี แลวก็เลือก แลวไดหนาตางนีใ้ห click ตอท่ี

Page 11: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 45

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

7.ไดหนาตางตอไปให click ตอท่ี แลว click

Page 12: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 46

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

8. click เลือกท่ี

Page 13: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 47

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

9.แลวมา click ตอท่ี ให click ท่ี

Page 14: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 48

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

10.ไดหนาตอไปให click ท่ี แลว click ท่ี

Page 15: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 49

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

หากตองการตดิต้ัง Visual C++ เพียงตัวเดยีว ให Click Mouse เลือกตัวเลือก ดังนี ้

· Microsoft Visual C++ 6.0 · ActiveX · Data Access · Enterprise Tools · Tools

หากตองการตดิต้ังโปรแกรมตัวอ่ืนๆ ดวยกใ็ห Click ลงไป เชน Visual 6.0 ฯลฯ แตในท่ีนี้ จะ

แนะนําการติดต้ังใน 3 ตวัท่ีกลาวมาเทานั้น เม่ือเลือกแลวกดปุม เพื่อเขาสูการ Copy ไฟลโปรแกรม ดังรูป

11.ไดหนาตางนี้เลือก click ท่ี แลว click ท่ี

Page 16: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 50

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

12.รอการ Setup

Page 17: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 51

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

13.ไดหนาตางนี้ click

14.มาหนาตางสุดทายของการติดต้ังให click ท่ี เปนการเสร็จส้ินข้ันตอน

การติดตั้ง MSDN (Microsoft Developer Network) MSDN เปนระบบ Online-Help ของ Visual Studio 6.0 ประกอบดวยเอกสารอางอิงมากมายโดยใหเปล่ียนแผนซีดีรอมไปเปนแผน Microsoft Developer Network และกดปุม Next > เพื่อทําการ

Page 18: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 52

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

โดยข้ันตอนการติดต้ังในท่ีนีจ้ะไมขอกลาวถึง เนื่องจากใจข้ันตนเปนการทํางานแบบไม เจาะลึก การติดต้ัง MSDN นั้นจะพบกับ License Agreement และเลือกสวนประกอบในการติดต้ังโดยข้ันตอนตางๆ ก็คลายกับการติดต้ัง Visual C++ 6.0 นั่นเอง การติดตั้งสวนประกอบอ่ืน จากนั้น โปรแกรมติดต้ังจะใหติดต้ังอุปกรณตัวอ่ืนๆ ท่ีจําเปน เชน Install Shield สําหรับการนําเอาโปรแกรมไปใชงานจริง หรือโปรแกรมสําหรับ Sever ตางๆ หากตองการติดต้ังโปรแกรมตัวใด กใ็หเลือกท่ีโปรแกรมตัวนั้นและกดปุม Install ดังรูป

Page 19: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 53

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

Page 20: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 54

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

เม่ือทําการติดต้ังเสร็จส้ิน โปรแกรมจะใหทําการลงทะเบียนกับบริษัท Microsoft ทาง

อินเตอรเน็ต หากไมตองการใหคลิก ออก แลวกดปุม Finish เพื่อจบการติดต้ัง ดังรูป

Page 21: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 55

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

พรอมใชงานโปรแกรม เม่ือโปรแกรมทําการติดต้ังเสร็จเรียบรอยแลว กลุมโปรแกรม Visual C++ 6.0 จะถูกสราง

และปรากฏในปุม สามารถเรียกใชโปรแกรมไดทันที โดยคลิกท่ีไอคอน Microsoft Visual C++ 6.0 ดังรูป

Page 22: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 56

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

1.click mouse เลือก

Page 23: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 57

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

2.เขาสูโปรแกรม Microsoft Visual C++ 6.0 การลบ Visual C++ ออกจากระบบ การ Uninstall โปรแกรม Visual C++ 6.0 ออกจากระบบปฏิบัติการ มีข้ันตอนดังนี ้ 1. ใหเขาไปท่ี Start แลวเลือก Control Panel 2. เลือกไอคอน Add/Remove Program 3. เลือก Microsoft Visual Studio 6.0 เม่ือทําการ Uninstall เร่ิมตนจะเขาสูหนาตางการติดต้ัง ซ่ึงจะใหเลือกวาตองการเอาออกหรือเพิ่มเติมโปรแกรมบางสวน (Add/Remove) ติดต้ังโปรแกรมใหมท้ังหมด (Reinstall) หรือถอดโปรแกรมท่ีติดต้ังออกจากระบบท้ังหมด สภาพแวดลอมใน Visual C++ 6.0

Page 24: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 58

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

เม่ือติดต้ังโปรแกรมพรอมใชงานแลว จากนั้นจะเร่ิมมาศึกษาและทําความรูจักกับสภาวะแวดลอมในการพัฒนาโปรแกรมดวย Visual C++ ซ่ึงประกอบดวย

· โปรเจ็กตเวิรกสเปซ (Project Workspace) · การจัดการโปรเจ็กตเวิรกสเปซ · คอมไพเลอรและลิงคเกอร · ทูลบารและเมนูบารของ Visual C++ · รายละเอียดและการใชงาน Help

โปรเจ็กตเวิรกสเปซ (Project Workspace) เม่ือทําการสรางโปรแกรมโดยใช Visual C++ อันดับแรกที่ตองทํา ก็คือ การสรางโปรเจ็กตเวิรกสเปซใหม ซ่ึงเปนการกาํหนดพ้ืนท่ีในการเก็บโปรเจ็กตท่ีตองการสราง และกําหนดตัวเลือกตางๆ โปรเจ็กตไฟลของ Visual C++ 6.0 จะเรียกวา “เวิรกสเปซ” โดยจะใชนามสกุล .dsw เปนไฟลท่ีเก็บตัวเลือกตางๆ ของโปรเจ็กต และสามารถโหลดโปรเจ็กตท่ีเขียนดวย Visual C++ เวอรชันท่ีต่ํากวานี้ได เชน .mak หรือ .mdp เปนตน ประโยชนของโปรเจ็กตไฟล สามารถสรุปไดดังนี ้

1. โปรเจ็กตไฟลจะเก็บรายช่ือของไฟลท่ีเปนซอรสโคดโปรแกรมท้ังหมาด ท่ีใชรวมกันในโปรเจ็กต เชน ซอรสโคดโปรแกรม .h, .cpp รวมท้ังไฟลฐานขอมูลโปรแกรมท่ีใชใน Class Wizard เปนตน

2. โปรเจ็กตไฟลจะเก็บคาตัวเลือกสําหรับการคอมไพล และลิงคกับไลบรารีใด หรือมีการสรางสวนประกอบอื่นๆ อีกหรือไม เชน สวนประกอบในการดบัีก

3. โปรเจ็กตไฟลจะเก็บคาตัวเลือกท่ีแสดงวาโปรเจ็กตนี้เปนโปรเจ็กตแบบใดเม่ือทําการคอมไพล เชน Windows Application (.EXE) หรือ Dynamic-Link Library (.DLL) เปนตน

เวิรกสเปซ, โปรเจ็กตเวิรกสเปซ และโปรเจ็กตไฟล ก็คือตัวเดยีวกัน แตเรียกไดหลายช่ือตามเวอรชันของ Visual C++ เชน เรียกวา Make File เพราะใชไฟลนามสกุล .mak Visual C++ 4.0 จะใชไฟลนามสกุ .mdp เปนโปรเจ็กตไฟล เพราะยอมาจาก Microsoft Developer Project สวน Visual C++ 6 จะใชไฟล .dsw ซ่ึงยอมาจาก Developer Studio Workspace ถึงไฟลจะนามสกุลไมเหมือนกันในแตละเวอรชัน แตการทํางานก็ยังใชหลักการเดียวกัน การจัดการโปรเจ็กตเวิรกสเปซ ในการเร่ิมตนเขียนโปรแกรมดวย Visual C++ ทุกคร้ัง จะตองทําการสรางโปรเจ็กตเวิรกสเปซ (Project Workspace) ข้ึนมากอน โดยสามารถเลือกไดวาจะสรางโปรเจ็กตแบบใด ซ่ึงมีใหเลือกหลายแบบ ในการสรางโปรเจ็กตเวิรกสเปซสําหรับโปรแกรมใหม เราจะเลือกคําส่ัง File>New เม่ือไดอะล็อก New ปรากฏ ใหเลือกไปท่ีแท็บ Projects ดังรูป

Page 25: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 59

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

1.เลือกเมนู File > New

2. เลือกแท็บ แลวไปที่

จากไดอะล็อก New จะพบกบัตัวเลือกของโปรเจ็กตแบบตางๆ มีอยูดวยกัน 14 ตวัเลือก ดังนี ้

Page 26: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 60

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

ATL COM AppWizard เปนการสรางโปรเจ็กต ActiveX Control โดยใช ActiveX Template Library (ATL) Custom AppWizard เปนการสรางตัวเลือกของ AppWizard ตัวใหม ที่สามารถ กําหนดคาตางๆ ของ โปรเจ็กตใหเหมาะกับงานที่ตองการได

Database Project สําหรับสวนประกอบของ Database ใชสําหรับเพ่ิมเขาไปในโปรเจ็กต DevStudio Add – in Wizard เปนการสรางสวนประกอบใหมที่ใชรวมกับ Visual Studio ISAPI Extension Wizard เปนการสรางโปรแกรม ISAPI ซึ่งเปน DLL ที่ทํางานเหมือนกับ CGI ตัวหน่ึงใช สําหรับสื่อสารและจัดการขอมูล ระหวาง Server และ ClientMake File เปนการสรางโปรเจ็กตไฟลแบบ Make File ที่มีความยืดหยุนในการกําหนดคาของ โปรเจ็กตดวยตนเอง MFC ActiveX เปนการสราง ActiveX Control โดยใชไลบรารี MFC โดยจะมีขั้นตอนการสราง Control Wizard เปนลําดับขั้นๆ ในการสราง MFC AppWizard(DLL) เปนการสราง Dynamic Link Library (.DLL) โดยใชไลบรารี MFC MFC AppWizard(EXE) เปนการสรางโปรแกรมบนวินโดวส (.EXE) โดยใชไลบรารีMFC New Database Wizard เปนการสราง Database บน SQL Server และจัดการ ขอมูลตางๆ ทางดาน Database Win 32 Application เปนการสรางโปรแกรมบนวินโดวส (.EXE) แตจะตองเขียน โคดโปรแกรมดวยตัวเองWin 32 Console Application เปนการสรางโปรแกรมในโหมดคอนโซล (ดอสโหมด)Win 32 Dynamic – Link Linrary เปนการสราง Dynamic Link Library (.DLL) Win 32 Static Library เปนการสราง Static Library (.LIB)

การสรางโปรเจ็กตเวิรกสเปซแตละแบบจะมีลักษณะท่ีตางกัน หากตองการเขียนโปรแกรมบนวินโดวส จะตองเลือกตวัเลือก MFC AppWizard หรือ Win 32 Application หรือถาหากตองการสรางโปรแกรมในโหมดดอส (Console) จะตองเลือกไปท่ี Win 32 Console Application เปนตน เนื้อหาของการเขียนโปรแกรมในเลมนี้ จะใช Win 32 Console Application เปนหลักในการสรางโปรเจ็กต เนื่องจากเปนการใชงานเบ้ืองตนท่ีจะดูผลการ Run ของ DOS และเปนการงายตอการทําความเขาใจสําหรับผูเร่ิมตน สวน MFC AppWizard และ Win 32 Application ซ่ึงจะกลาวถึงเพียงเล็กนอย เพราะเปนการนําลักษณะของ MFC มาใช ดังนั้น ตองเขาใจสวนประกอบและหลักของการใชโปรแกรมเชิงวัตถุใหดีเสียกอน จึงจะใชไดอยางมีประสิทธิภาพ

Page 27: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 61

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

3. เลือกรูปแบบ Project ท่ีตองการในข้ันตน เลือกแบบ กอน

4. click Finish ส้ินสุดการสราง

Page 28: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 62

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

สังเกตวามี เพียง 2 แท็บซ่ึงตางจากการเลือก Project แบบ Wizard คือ และ

Page 29: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 63

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

นี่คือ ตําแหนง ทูลบาร ตาง ๆ

นี่คือ ตําแหนง เมนูบาร นี่คือ code Editor

Page 30: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 64

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

เม่ือไดสรางโปรเจ็กตเวิรกสเปซใหมแลว จะพบวาภายในเวิรกสเปซประกอบไปดวยแท็บซอนๆ กัน 3 แท็บดวยกัน คือ Class View,Resource View และ File View ซ่ึงโดยปกติแลว ถายังไมมีการสรางและแกไขโปรเจ็กตใดๆ จะไมมีแท็บใดปรากฏเลย รายละเอียดของแท็บตางๆ ของโปรเจ็กตสเปซ มีดังนี้ ***แค็บเจอร 4 รูป หนา69-70

1. Class View จะใชสําหรับรายละเอียดภายในของคลาสตางๆ ท่ีอยูในโปรเจ็กตนี้ สามารถทราบไดวามีคลาสอะไรบางในโปรเจ็กต และสมาชิกของคลาสแตละตัวเปนแบบ Protect หรือแบบ Public และตัวแปรโกลบอลมีอะไรบาง โดยจะใชสัญลักษณตอไปนี้ ในการบอกระดับของสมาชิก

· รูปแมกญุแจ หมายถึง สมาชิกคลาสท่ีเปนแบบ Private · รูปดอกกุญแจ หมายถึง สมาชิกคลาสท่ีเปนแบบ Protect · รูปกลอง หมายถึง สมาชิกคลาสแบบ Public

2. Resource View ใชสําหรับแสดงรีซอรสท่ีมีในโปรเจ็กต เชน รูปไอคอนของโปรแกรม, ไดอะล็อก, ทูลบาร , เมนู ซ่ึงส่ิงเหลานี้สามารถสรางข้ึนโดยใชรีซอรสอิดิตเตอร

Page 31: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 65

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

3. file View ใชสําหรับแสดงรายช่ือไฟลท่ีอยูในโปรเจ็กตขณะนั้น โดย file View จะแยกไฟล สวนหัว (.H), ไฟลโปรแกรม (.CPP) และไฟลรีซอรส (.ICO, .RC2) เอาไวตางหากดวย

การบันทึกและการโหลดโปรเจ็กตเวิรกสเปซ

เม่ือทําการแกไขโปรแกรม เราสามารถบันทึกขอมูลลงดิสกไดโดยเลือกคําส่ัง File>Save ซ่ึงจะเปนการบันทึกไฟลท่ีแกไขอยู หรือสามารถเลือกคําส่ัง File>Save Workspace โดยจะพบกับไดอะล็อก Open Workspace ใหเปดไฟลท่ีมีนามสกุล .DSW โปรเจ็กตจะถูกโหลดข้ึนมาและสามารถแกไขตอได

คอมไพเลอรและลิงคเกอร ส่ิงหนึ่งท่ีจะตองทําความรูจกั ก็คือ คอมไพเลอร (Compiler) และลิงคเกอร (Linker) เม่ือสราง ซอรสโคดโปรแกรมข้ึนมาจะตองมีการแปลภาษา การพัฒนาโปรแกรมบนวนิโดวสนั้นจะตางจากการพัฒนาโปรแกรมในระบบดอส เชน การคอมไพลซอรสโคด และการคอมไพลรีซอรส เพราะฉะนั้น เคร่ืองมือหลักๆ ท่ีใชในกระบวนการ Build ของ Visual C++ มีดังนี้

· C/C++ Compiler เปนคอมไพเลอรภาษา C/C++ ของ Visual C++ ซ่ึงจะเปนโปรแกรมตรวจสอบขอผิดพลาดของซอรสโคด

· Resource Compiler เปนตัวแปลภาษาของรีซอรสสคริปต (Resource Scripts) เปนโปรแกรมท่ีตรวจเช็คความถูกตองของรีซอรส ผลท่ีไดจากการคอมไพล ก็คือ ออบเจ็กตไฟลของ

รีซอรส (.res) · Linker ลิงคเกอรของ Visual C++ นั้น จะเร่ิมตนท่ีการคอมไพลรีซอรสเสียกอนจากน้ัน

คอมไพเลอรจะทําการแปลภาษา (ตรวจสอบซอรสโคด) และสรางออบเจ็กตไฟลข้ึนมา (สรางไฟล .obj) และลิงคเกอรจะทําการเช่ือมโยงเหลานั้นกับไลบรารไฟลใหเปนไฟล Execute (สราง .exe) ดังนั้น ควรจะนํามาทําความเขาใจกบักระบวนการ Build นี้อีกคร้ังเม่ือไดทดลองสรางโปรแกรมกันแลว

ทูลบารและเมนูบารของ Visual C++ ทูลบาร ทูลบารของโปรแกรม Visual C++ มีมากมายและหลายหนาท่ี การใชงานหลัก ๆ ของโปรแกรมจะมีอยู 8 ทูลบารดวยกัน ดังนี ้

Page 32: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 66

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

1. Standard เปนทูลบารท่ีประกอบดวยคําส่ังพื้นฐาน เชน New, Open Save, Copy, Paste, Undo, Redo เปนตน

2. Build เปนทูลบารท่ีใชในการกําหนดตัวเลือกตางๆ ของโปรเจ็กตและคอมไพลโปรเจ็กต 3. Build MiniBar เปนทูลบารท่ีใชสําหรับ Build แตจะเล็กกวาและมีสวนประกอบที่ใช

สําหรับ Build และการ Execute โปรแกรมโดยเฉพาะ 4. ATL เปนทูลบารสําหรับ ActiveX Template Library (ATL) โดยจะตองสรางโปรเจ็กต

ใหรองรับกับ ATL นี้ จึงสามารถใชงาน ATL Object Wizard จากทูลบารนี้ได 5. Resource เปนทูลบารของรีซอรสสามารถสรางรีซอรสตางๆ ไดอยางรวดเร็ว โดยกดปุม

ตางๆ ภายในเปนทูลบารนี้เพื่อทําการสรางรีซอรส 6. Edit เปนทูลบารท่ีใชสําหรับเพิ่มความสามารถในการแกไขซอรสโคด เชน การเพิม่บุก

มารค, คนหาคําท่ีอยูในซอรสโคด 7. Debug เปนทูลบารท่ีใชในการดีบักโปรแกรม เชน Restart, Stop Into, Step Over 8. Database ใชสําหรับเพิม่และแกไขสวนประกอบของโปรเจ็กตท่ีเกี่ยวกับฐานขอมูลโดย

โปรแกรมท่ีสรางนั้นจะตองมีการติดตอกบัสวนประกอบเหลานี้ดวย

เมนูบาร เมนูบาร (Menu Bar) ของ Visual C++ มีลักษณะพิเศษอยางหนึ่ง ก็คือ เปนเมนูท่ีสามารถ

ถอดออกมาจากวินโดวสได รายละเอียดของเมนูแตละตัว มีดังนี ้

1. เมนู File เปนเมนูพืน้ฐานท่ีสามารถพบไดเกือบทุกๆ โปรแกรม ใชสําหรับสรางซอรสโคดใหมหรือเปดโปรเจ็กตข้ึนมาแกไข

2. เมน ูEdit เปนเมนูท่ีใชในการแกไขซอรสโคด เชน Copy, Paste เปนตน 3. เมน ูView ใชสําหรับแสดงหนาตางและเปล่ียนมุมมองการแกไขโปรเจ็กต เชน การ

แสดงหนาตาง Properties, หนา Output หรือการปรับใหอยูในโหมด Full Screen, รวมท้ังการเรียกโปรแกรม Class Wizard

4. เมน ูInsert ใชสําหรับเพิม่คลาสใหม, รีซอรส หรือสวนประกอบของ ATL (Active Template Library)

5. เมน ูProject ใชสําหรับปรับแตงตัวเลือกตางๆ ของโปรเจ็กต เชน การเพิ่มซอรสไฟลเขาไปในโปรเจ็กต, การกําหนดตัวเลือกการคอมไพล เปนตน

6. เมน ูBuild เปนเมนูท่ีใชในการคอมไพลโปรเจ็กต และการรันโปรแกรม

Page 33: บทที่ 3 Visual C++ 6bls.buu.ac.th/~s54143/15Feb21/suwannaP/lesson3.pdf · บทที่3 : Visual C++ 6.0 35 การโปรแกรมเชิังวตถุ

บทที่ 3 : Visual C++ 6.0 67

การโปรแกรมเชิงวัตถุ C++ (3901-2006) By: Suwanna P.

7. เมน ูTools เปนเมนูท่ีใชสําหรับเรียกใชเคร่ืองมือตางๆ และใชในการปรับแตงโปรแกรม

8. เมน ูWindow เปนเมนูท่ีใชสําหรับจัดเรียงวินโดวสภายในโปรแกรม เชน Cascade, เรียงวนิโดวสในแนวนอนและแนวต้ัง, ปดวนิโดวสท้ังหมด เปนตน

9. เมน ูHelp ใชสําหรับแสดงระบบชวยเหลือและรายละเอียดของผลิตภัณฑตางๆ รวมท้ังการกําหนดบุกมารคใหกับ InfoViewer