39
บทที5 มาตรการปองกันและแกไข ผลกระทบสิ่งแวดลอมและ มาตรการติดตามตรวจสอบ ผลกระทบสิ่งแวดลอม

บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

บทที่ 5

มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

Page 2: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-1

บทที่ 5 มาตรการปองกนัและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

5.1 คํานํา 1) จากผลการศึกษาและประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการอางเก็บน้ําหวยรี ไดนํามาพิจารณาเพื่อกําหนดมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมท่ีเปนไปไดในทางปฏิบัติ เพื่อควบคุมใหเกิดผลกระทบสิ่งแวดลอมนอยท่ีสุด พรอมนํามาจัดทําเปนแผนการดําเนินงานที่มีรายละเอียดมาตรการฯ วิธีดําเนินการ แผนปฏิบัติ คาใชจายโดยประมาณ ระยะเวลาดําเนินการ และผูรับผิดชอบโดยจัดทําเปนเลมรายงานแผนปฏิบัติการปองกันแกไขและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIMP) ท้ังนี้พบวาการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม ตลอดจนงานสงเสริมหรือพัฒนาเฉพาะสําหรับทรัพยากรสิ่งแวดลอมและคุณคาแตละประเภทที่สําคัญจากการพัฒนาโครงการอางเก็บน้ําหวยรี ไดแก (1) การปองกันการลักลอบตัดไม เผาปา การบุกรุกแผวถางปาและลาสัตวปา ในบริเวณพื้นที่โครงการและพื้นที่ปาไมใกลเคียง (2) การอนุรักษและฟนฟูปาไมทดแทนพื้นที่น้ําทวมใหสัมฤทธิ์ผลในพื้นที่โครงการ พื้นที่ลุมน้ําหรือพ้ืนที่ใกลเคียง (3) การสงเสริมดานการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําและการประมงใหกับชุมชนพื้นที่รอบอางเก็บน้ําและดานทายน้ํา (4) การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนที่ไดรับผลกระทบและไดรับการชดเชย รวมถึงการสงเสริมอาชีพ และเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในพื้นที่รับประโยชน (5) การสงเสริมสุขภาพอนามัย และการไดรับการบริการทางดานสุขาภิบาลตางๆ ท่ีจําเปนอยางเพียงพอ เพื่อพัฒนาสภาพความเปนอยูใหดีข้ึน และเพื่อเปนการลดปญหามลภาวะในอางเก็บน้ําและพื้นที่รับประโยชน 2) สําหรับการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม ไดกําหนดแผนปฏิบัติการในการติดตามตรวจสอบผลกระทบ ท้ังดานบวกและดานลบของโครงการ ท่ีมีตอทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอม และสภาพความเปนอยูของประชาชน โดยมีประเด็นสําคัญของโครงการประกอบดวย (1) ทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอม เชน การเปลี่ยนแปลงลักษณะโครงสรางและลักษณะตามธรรมชาติ (function) ของระบบนิเวศ สภาพภูมิอากาศ อุทกวิทยาของน้ําผิวดินและน้ําบาดาล คุณภาพน้ําผิวดินในบริเวณอางเก็บน้ําและลําน้ําทายเขื่อน การกัดเซาะพังทลายของตลิ่งและขอบอางเก็บน้ํา การตกตะกอนและการสูญเสียตะกอนทายน้ํา การเปลี่ยนแปลงความหนาแนนและการกระจายของสัตวปา

Page 3: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-2

(2) สภาพความเปนอยูของประชาชน เชน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ รายไดจากการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในบริเวณอางเก็บน้ําและลําน้ําทายเขื่อน การใชน้ําของประชาชนเพื่อการเกษตร การสาธารณสุขและโภชนาการ ท้ังนี้จากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมแบบมีสวนรวม พบวามีผลกระทบทางลบที่สําคัญทางสังคมตอราษฎรที่อยูในเขตพื้นที่น้ําทวมต่ํามาก เชนเดียวกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสุขภาพแตอยางไรก็ตามจะไดจัดทํามาตรการเสริมตางๆ เพื่อลดผลกระทบตอท่ีดินทํากินของราษฎรและประเด็นทางดานสุขภาพดวย

5.2 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม 5.2.1 ทรัพยากรทางกายภาพ

5.2.1.1 สภาพภูมิประเทศ 1) ระยะกอสราง (1) หัวงานเขื่อนและอางเก็บน้ํารวมอุโมงคสงน้ํา : ในระยะแรกของการกอสรางที่มีการขุดเปดหนาดินใหเลือกสถานที่เก็บกองมูลดินทรายเศษหินที่ไมกระทบตอทางน้ํา การไหลของน้ํา ควบคุมข้ันตอนการดําเนินงานการขุด การยอย การขนสง การจัดพื้นที่สนับสนุน เชน สํานักงาน ท่ีพักคนงาน อยางจํากัดขอบเขตเทาท่ีไดรับอนุญาตการใชประโยชนและเทาท่ีจําเปนเทานั้น พื้นที่กองเก็บดังกลาวควรสรางรางระบายน้ําและบอดักตะกอน เมื่อใชพื้นที่แลวเสร็จใหมีการปรับสภาพพื้นที่และปลูกหญาเพื่อคืนสภาพพื้นที่เดิมโดยเร็วท่ีสุด ซึ่งตามแผนงานจะดําเนินการคืนสภาพพื้นที่ไดในปท่ี 3 ของการกอสราง (2) พ้ืนที่ชลประทาน : ควบคุมข้ันตอนการขุด ถม การกองดิน หิน ทราย ใหมีความเหมาะสมตามสภาพภูมิประเทศ โดยเฉพาะชวงท่ีตัดขามรองน้ํา เพื่อปองกันการชะลางพังทลาย การเลื่อนไถล และการปดกั้นทางเดินของน้ํา

2) ระยะดําเนินการ (1) หัวงานเขื่อนและอางเก็บน้ํา : ใหคืนสภาพ (Reclamation) ในพื้นที่กอสรางบริเวณหัวงานเขื่อน และมีการปรับปรุงภูมิทัศนท้ังเพื่อความสวยงามและสงเสริมการทองเที่ยว (2) พ้ืนที่ชลประทาน : ปรับปรุงสภาพภูมิประเทศตามแนวเขตทอสงน้ําโดยการใชพันธุไมตกแตงคลุมดินเพื่อเพิ่มความสวยงาม และสามารถลดการกัดเซาะหนาดินได

Page 4: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-3

5.2.1.2 สภาพภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา

1) ระยะกอสราง แมวาในระยะกอสรางไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอม แตควรมีการวางแผนงานการกอสรางที่เหมาะสมหลีกเลี่ยงปญหาสภาพอากาศที่เลวรายในชวงฤดูฝน มีการสรางทางเบี่ยงน้ํา ทางระบายน้ํา และบอดักตะกอน ในเขตกอสรางอยางเหมาะสมและครอบคลุม สวนในชวงฤดูแลงหากถนนเพื่อการขนสงมีฝุนละอองมากใหนํารถน้ํามาฉีดพรมเชาเย็นตลอดเสนทาง

2) ระยะดําเนินการ ในระยะดําเนินการไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามดวยสภาพภูมิอากาศที่มีความเปลี่ยนแปลงสูงในปจจุบัน ซึ่งอาจจะเปนผลมาจากภาวะโลกรอน หรือจากสภาพพื้นที่ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงก็ตาม จึงควรมีการติดตามตรวจสอบเฝาระวังเพื่อเตือนภัยจากสภาพฝน อุณหภูมิในระดับลุมน้ําและระดับโครงการอยางตอเนื่อง 5.2.1.3 อุทกวิทยาน้ําผวิดิน

1) ระยะกอสราง ในระยะการกอสรางไมมีผลกระทบทางดานอุทกวิทยาน้ําผิวดิน ดังนั้นจึงไมจําเปนตองมีมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ (1) การพัฒนาโครงการอางเก็บน้ําหวยรี มีวัตถุประสงคหลักเพื่อสงน้ําจากอางเก็บน้ําเขาสูระบบทอสงน้ําสําหรับการอุปโภคบริโภคและการเกษตรในพื้นที่แปลงอพยพ ซึ่งสามารถสงน้ําไดครอบคลุมพื้นที่และเพียงพอ อยางไรก็ตามควรมีการบริหารการใชน้ําท่ีดี เพื่อลดปญหาเรื่องการขาดแคลนน้ําการแยงน้ําโดยเฉพาะฤดูแลงจัด และควรใหราษฎรมีการพัฒนาสระเก็บกักน้ําไวภายในลุมน้ําหวยสองและลุมน้ําหวยหินไวใหมากที่สุด เพื่อชวยลดปญหาดานการใชน้ําดังกลาว (2) เพื่อแกไขหรือไมใหเกิดผลกระทบการใชน้ําในโครงการชลประทานดานทายเขื่อนในชวงฤดูแลง (บานกิ่วเคียน) เนื่องจากการพัฒนาโครงการอางเก็บน้ําหวยรี จึงไดกําหนดใหมีการระบายน้ําเพื่อรักษาปริมาณน้ําในชวงเดือนที่มีปริมาณน้ํานอย ไดแก เดือนธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคม ใหมีสภาพใกลเคียงกับกรณีกอนมีโครงการ ท้ังนี้เพื่อลดผลกระทบตอปริมาณน้ําทาชวงฤดูแลงท่ีไหลลงสูหวยรีเพื่อชุมชนบานกิ่วเคียนสามารถใชน้ําไดอยางปกติและสามารถสนับสนุนกิจกรรมการทองเที่ยวท่ีจะสงเสริมบริเวณทายน้ําไดดวย

Page 5: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-4

5.2.1.4 คุณภาพน้ําผิวดิน

1) ระยะกอสราง (1) วางแผนการกอสรางโครงการใหเหมาะสมเพื่อชวยลดปญหาการปนเปอนของตะกอนความขุน จากกิจกรรมการกอสราง อาทิ การเปดหนาดิน การขุดชองทางผันน้ํา โดยควรสรางอาคารดักตะกอน เพื่อทําหนาท่ีดักตะกอนที่เกิดจากการแผวถางตนไมในอางเก็บน้ําและกิจกรรมการกอสรางโครงการ

(2) การสรางที่พักคนงานและสํานักงานในบริเวณหัวงาน ควรกําหนดใหสรางหางจากหวยน้ํารีไมต่ํากวา 100 เมตร และหามสรางอาคารล้ําลําน้ํา ผูรับเหมาตองจัดระบบสุขาภิบาลเบื้องตนใหถูกตองโดยจัดใหมีระบบบําบัดชนิด On-site สําหรับหองสวม น้ําท้ิงจากหองอาบน้ํา ลานซักลาง และหองครัว แทนการปลอยลงสูแหลงน้ําโดยตรง สวนขยะมูลฝอยใหจัดถังขนาด 200 ลิตร ไวตามจุดตางๆ ในบริเวณกอสรางและที่พักเพื่อเปนที่รวบรวมขยะ และใหนําไปฝงกลบใหถูกตองตามวิธีการในพื้นที่หางลําน้ํา หามมิใหมีการท้ิงขยะของเสียใดๆ ลงสูแหลงน้ําผิวดินโดยเด็ดขาด สวนการบํารุงรักษาเครื่องจักรกลนั้น การเติมน้ํามันเครื่องจักรตางๆ ตองระมัดระวังไมใหมีการหกออกมาและควรทําในพื้นที่เฉพาะซึ่งไดออกแบบปองกันการรั่วไหลของน้ํามันลงสูแหลงน้ําไวแลว น้ํามันเครื่องท่ีทําการเปลี่ยนถายออกมาตองทําการจัดเก็บและกําจัดอยางถูกวิธี (3) จัดสรางระบบบําบัดชนิด On-site Treatment สําหรับบําบัดน้ําท้ิงจากสํานักงานและบานพักพนักงานเจาหนาท่ีท่ีจะมาปฏิบัติงานในโครงการ ซึ่งระบบบําบัดดังกลาวควรจะประกอบดวย บอดักไขมัน ถังเกรอะและกรองไรอากาศสําเร็จรูป และบอสูบ น้ําท้ิงท่ีผานการบําบัดและพักไวในบอสูบควรนําไปใชรดสนามหญาและไมประดับแทนการปลอยลงสูแหลงน้ําโดยตรง (4) พืช ตนไม และเศษซากวัสดุในบริเวณพื้นที่อางเก็บน้ํา ควรทําการแผวถางและนําออกใหหมด สวนวัชพืชและหญาในบริเวณที่รกรางควรกําจัดโดยการเผากอนทําการเก็บกักน้ํา และควรดําเนินการในชวงฤดูแลง

2) ระยะดําเนินการ (1) ปญหาคุณภาพน้ําผิวดิน จากสภาวะการยอยสลายสารอินทรียไมสมบูรณ มีผลทําใหน้ําเนาเสียไดในการเก็บกักน้ําชวงระยะแรก จึงใหมีการบริหารจัดการน้ําผานที่ปากอุโมงคผันน้ําหลายระดับ (Multiple Intake) เพื่อใหสามารถนําน้ําท่ีมีคุณภาพดีเขาสูระบบกระจายน้ําดวยระบบทอได สวนการนําน้ําเพื่อไปใชในการอุปโภค-บริโภค ถามีการใชน้ําโดยตรงควรเปดท้ิงไวในโองหรือท่ีพักน้ํา ประมาณ 3-4 ช่ัวโมงกอน ถาเปนระบบประปาควรมีการนําน้ําผานอากาศกอนเขาระบบปรับปรุงคุณภาพน้ํากอน 3-4 ช่ัวโมงเชนกัน เพื่อใหกลิ่นกาซจากภาวะน้ําเนาเสียไดถูกแสงแดดและอากาศยอยสลายไปกอน อยางไรก็ตามคาดวาภาวะเชนนี้จะเกิดในชวงระยะ 3-4 ปแรกของการเก็บกัก ท่ีสารอินทรียอยูในชวงยอยสลายเทานั้น (2) การปองกันการปนเปอนสารเคมีการเกษตรและการชะลางดินตะกอนสูแหลงน้ํา ควรแนะนําใหเกษตรกรใชสารเคมีท่ียอยสลายไดตามธรรมชาติ เชน สารปราบศัตรูพืชชนิดสารอินทรียฟอสเฟต หรือ คารบาเมต โดยในสวนของพื้นที่สวนผลไมควรสงเสริมปลูกพืชแซมในชวงระยะเริ่มปลูก รวมท้ังควรสงเสริมใหทําการรักษาหญาคลุมดินบริเวณริมฝงลําน้ํา ท้ังนี้เพื่อใหสิ่งปกคลุมดินไดดักตะกอนและสารเคมีการเกษตรไมใหปนเปอนลงสูแหลงน้ํา

Page 6: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-5

(3) การสงเสริมความรูแกเกษตรกรเกี่ยวกับปริมาณน้ําท่ีพืชตองการและการใหน้ําแกพืชในระดับที่เหมาะสม ซึ่งนอกจากจะเปนชวยเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําแลว ยังจะชวยลดการชะลางหนาดิน ซึ่งเกิดจากการใหน้ําพืชเกินความจําเปนดวย รวมทั้งการใชปุยและสารเคมีการเกษตรที่ถูกตองเหมาะสมปองกันการตกคางปนเปอนในดินและน้ํา โดยขอความรวมมือเพิ่มเติมจากกรมวิชาการเกษตร กรมชลประทาน เปนตน (4) มีการใชท่ีดินในลักษณะอนุรักษดินและน้ําเพื่อลดการชะลางพังทลายของหนาดิน (5) น้ําในแองน้ํานิ่งในชวงฤดูแลง เชน ฝายในลําน้ําหมัน อางเก็บน้ําวังชมภู ใหมีการเติมน้ําจากอางเก็บน้ําหวยรี เพื่อเพิ่มปริมาณน้ําใชประโยชนและสามารถปรับปรุงคุณภาพน้ําใหดีข้ึนไดอีกทางหนึ่ง 5.2.1.5 คุณภาพน้ําใตดิน

1) ระยะกอสราง ในระยะกอสรางไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอม ดังนั ้นจึงไมจําเปนตองมีมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ ในระยะดําเนินการผลกระทบสิ ่งแวดลอมเปนทางดานบวก ดังนั ้นจึงไมจําเปนตองมีมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

5.2.1.6 ดินและคุณภาพดิน

1) ระยะกอสราง (1) ในการกอสรางควรเปดพื้นที่เฉพาะสวนที่ตองดําเนินการเทานั้น (2) บริเวณที่มีการกอสรางเสร็จแลวตองรีบดําเนินการปลูกพืชคลุมดิน เพื่อใหหนาดินมีการชะลางพังทลายของดินใหนอยท่ีสุด (3) ปองกันชะลางพังทลายของดินในพื้นที่บริเวณรอบอางเก็บน้ําควรปลูกพืชคลุมดิน

2) ระยะดําเนินการ (1) พ้ืนที่หัวงานและอางเก็บน้ํา - ฟนฟูพื้นที่บางสวนที่ไมไดใชในการกอสรางในพื้นที่หัวงาน และแนวทอสงน้ําใหกลับมาอยูในสภาพเดิมหรือมีพืชคลุมดิน - ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ในการวางแผนการใชท่ีดินเกษตรกรรม รวมถึงประสานงานกับเกษตรกรผูใชน้ําและชุมชนในพื้นที่โครงการ เพื่อสงเสริมใหมีระบบอนุรักษดินและน้ําเพื่อลดการเสื่อมโทรมของดินและที่ดิน และการใชน้ําชลประทานอยางมีประสิทธิภาพ - ในพื้นที่ขอบอางที่อยูในระดับน้ําข้ึนลง (Draw Down Zone) ควรปลูกหญาแฝกเพื่อใหเปนแนวกรองตะกอนดิน

Page 7: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-6

(2) พ้ืนที่รับประโยชน - สงเสริมใหมีการปลูกพืชแบบผสมผสานหรือไรนาสวนผสม เพื่อลดการเกิดศัตรูพืชและเพิ่มธาตุอาหารใหดิน เนื่องจากดินในพื้นที่โครงการมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา - สงเสริมใหมีการปลูกพืชคลุมดินหรือไถกลบเศษซากพืช เพื่อรักษาความชื้นในดินและปรับปรุงคุณภาพดิน

5.2.1.7 ธรณีวิทยาและแผนดินไหว

1) ระยะกอสราง

(1) การปรับปรุงฐานรากเขื่อน : รายละเอียดดังแสดงในภาคผนวก ค.2 ไดพิจารณาการปรับปรุงฐานรากเขื่อน โดยการอัดฉีดน้ําปูนบริเวณฐานรากเพื่อประสานเนื้อหินและลดการรั่วซึมของน้ําผานช้ันหินดังนี้ - ทําการขุดรองแกนเขื่อนบริเวณแนวศูนยกลางเขื่อน จนถึงระดับช้ันหินที่มีสภาพ Moderately Weathered ถึง Fresh Rock - ปรับปรุงหินฐานรากใหมีคาการรั่วซึมอยูในระดับต่ําและเพิ่มความแข็งแรงของช้ันหิน ดวยการอัดฉีดน้ําปูน (Grouting) - ทําการปรับปรุงฐานรากใหมี Seepage Path ท่ียาวข้ึน โดยประกอบดวยมาตรการการปรับปรุงฐานรากดังนี ้ - การขุดรองแกนเขื่อนกอนการอัดฉีดน้ําปูน จะยังไมขุดถึงระดับหินที่ตองการ แตจะเหลือไว 1-2 เมตร เพื่อรักษาคุณสมบัติหินใหอยูในสภาพเดิม เนื่องจากชั้นหินฐานรากที่พบประกอบดวยหินชนวน (Slate) ซึ่งอาจมีการพองตัวหรือผุพังไดเร็วมากเมื่อสัมผัสกับอากาศและสูญเสียความชื้นเปนเวลานาน จากนั้น เมื่ออัดฉีดน้ําปูนแลวเสร็จ กอนทําการบดอัดตัวเขื่อน จึงทําการขุดรองแกนใหไดระดับตามตองการตอไป โดยขุดเปดเปนชวงๆ ชวงละ 20-30 เมตร แลวบดอัดกลับแตละชวง โดยไมปลอยท้ิงไว - ทํา Curtain Grouting ความลึกประมาณ 50 เมตร จํานวน 2 แถว ระยะหางระหวางแถว 2 เมตร โดยวางตําแหนงหลุมเจาะในลักษณะสลับฟนปลา (Staggering) ในแตละแถวมีระยะหางระหวางหลุมเจาะ 2 เมตร และมีเปาหมายลดการรั่วซึมใหไดระดับนอยกวา 5 Lugeon หรือ 5 x 10-5 cm/sec ความลึก 15.00, 35.00, 50.00 และ 65.00 เมตร - ทํา Blanket Grouting ความลึกประมาณ 10.00, 15.00 และ 25.00 เมตร จํานวน 2 แถว ทางดานเหนือน้ําและทายน้ําของ Curtain Grout ดานละแถว หางจากแนว Curtain Grout 2 เมตร ระยะหางระหวางหลุมเจาะ 2 เมตร โดยมีเปาหมายลดการรั่วซึมใหไดระดับนอยกวา 10 Lugeon - เนื่องจากสภาพของหินฐานรากในบางบริเวณมีรอยแตกคอนขางสูง ทําใหอาจมีปญหาในเรื่องของการรับน้ําหนักตัวเขื่อน ดังนั้น จึงอาจจําเปนตองทําการอัดฉีดน้ําปูนที่บริเวณผิวหนาหิน (Consolidation Grouting) ลึกประมาณ 10 เมตร เพื่อเพิ่มความแข็งแรงในชั้นหิน ท้ังนี้ แบบของการปรับปรุงฐานรากเขื่อนไดแสดงไวในรูปที่ 5.2.1-1

Page 8: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

Spillway 10 m. (Min.)ระดับน้ําสูงสุด

ชวงที่เสนอใหเพิ่มการทดสอบ Pumping Test

ในระหวางการทํางาน

รปูที่ 5.2.1-1 แบบเบื้องตนของการปรบัปรุงฐานรากเขื่อน

Page 9: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-8

โดยสรุป ราคางานปรับปรุงฐานรากเขื่อนรวมประมาณ 31.562 ลานบาท ท้ังนี้ ราคาประมาณการดังกลาว คิดเฉพาะงานปรับปรุงฐานรากเขื่อนเทานั้นไมรวมงานขุดตางๆ - เพิ่มการทดสอบ Pumping Test ในระหวางทํางาน Grout ในบริเวณฐานยันเขื่อนในชวงท่ีหินฐานรากมีคาความซึมน้ํา 5-10 Legeon เมื่อดําเนินการอัดฉีดน้ําปูนฐานรากเขื่อนใหทําการตรวจสอบคาความซึมน้ําในระดับที่ต่ํากวาระดับการอัดฉีดน้ําปูน เพื่อตรวจสอบระดับของการอัดฉีดน้ําปูนวาครอบคลุมช้ันหินฐานรากที่มีคาความซึมน้ําต่ํากวาเกณฑท่ีกําหนด (2) ดานความปลอดภัยในระหวางการกอสราง ตองทําการตรวจสภาพทางธรณีวิทยาของอุโมงคอยางใกลชิด และมีมาตรการพิเศษในการปองกันเมื่อมีการขุดเจาะเขาสูบริเวณที่มีความไมเสถียรภาพทางธรณีวิทยา นอกจากนี้ตองมีการค้ํายันในพื้นที่มีการคดโคงและการแตกหักสูง กรณีท่ีมีการระเบิดช้ันหินตองมีระยะเวลาที่แนนอน และตองประกาศใหทราบโดยทั่วกัน (3) จากมาตรการดานการขุดเจาะและกอสรางอุโมงคลําน้ําดังรายละเอียดในภาคผนวกที่ ค.3 นั้น สรุปไดวา ในการออกแบบค้ํายันอุโมงคช่ัวคราว (Initial Support) เพื่อรักษาเสถียรภาพในชวงเวลาระหวางการกอสราง จะใชคํ้ายันประเภทงานสลักยึดหิน (Rock Bolt) งานคอนกรีตพนและตะแกรงเหล็ก (Shbtcrete & Wiremesh) เปนหลัก ตามระบบ Rock Mass Rating System (RMR) สําหรับคุณภาพมวลหินระดับ IV จะมีการใชโครงเหล็ก (Steel Ribs) เสริมในบริเวณที่มวลหินแตกและผุมากและมีน้ําใตดิน ดังรูปที่ 5.2.1-2 และรูปที่ 5.2.1-3 สําหรับสภาพการใชงานถาวรจะทําการกอสรางผนังดาดคอนกรีตถาวรเพิ่มใหกับคํ้ายันชั่วคราวท่ีติดตั้งไปกอนหนา (4) พื้นที่ท้ิงวัสดุทางธรณีวิทยา ประมาณ 11,500 ลบ.ม. ตองทําการออกแบบกองวัสดุใหมีความมั่นคงแข็งแรง จัดหาสิ่งปกคลุมกองวัสดุเพื่อเสริมความแข็งแรงและลดมลภาวะทางภูมิทัศน รวมถึงการชะลางพังทลายของกองวัสดุ โดยใชพื้นที่ในเขตที่ไดขออนุญาตใชประโยชนไวจํานวน 2 บริเวณ คือ บริเวณดานหนาปากทางเขาอุโมงคสงน้ํา และบริเวณปากทางออกอุโมงคสงน้ํา

2) ระยะดําเนินการ (1) ตรวจสอบการรั่วซึมน้ําจากอางเก็บน้ําและแนวอุโมงคท่ีไดดําเนินการอัดน้ําปูนบริเวณฐานราก เพื่อประสานเนื้อหินและลดการรั่วซึมของน้ําผานชั้นหิน (2) การทรุดตัวของแนวการกอสรางอุโมงคและโครงสราง ทําการตรวจสอบการทรุดตัวเปนระยะๆ (3) มาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมจากแผนดินไหว โดยไดทําการออกแบบการกอสรางใหรองรับแผนดินไหวขนาดปานกลาง (5.1 ริกเตอร) ท่ีเคยเกิดข้ึนใกลเคียงพื้นที่โครงการ

Page 10: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รูปที่ 5.2.1-2 แสดงมาตรการการออกแบบค้ํายันอุโมงคสงน้ํา ตามระบบ RMR และการดาดผนังคอนกรีตถาวร

Page 11: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รูปที่ 5.2.1-3 แสดงมาตรการดานระบบค้ํายันอุโมงค (Tunnel Support) ทั้งงานสลักยึดหิน (Rock Bolt) งานคอนกรีตพนและตะแกรงเหล็ก (Short crete & wiremesh) และโครงเหล็ก (Steel Ribs)

Page 12: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-11

5.2.1.8 การกัดเซาะและการตกตะกอน

1) ระยะกอสราง (1) การกอสรางถนนบํารุงรักษาที่ เลียบขอบอาง ในสวนบริเวณที่ตองมีการปรับถมไหลถนน ควรดําเนินการบดอัดปองกันการชะลางลงสูอางเก็บน้ํา ในสวนของบริเวณที่ตองตัดภูเขา ควรปรับเปนขั้นบันไดเพื่อปองกันการพังทลายของไหลทาง (2) การดําเนินการกอสราง ควรดําเนินการในชวงฤดูแลง หากหลีกเลี่ยงมิไดควรสรางคันดินตลอดแนวถนนบํารุงรักษา พรอมจัดสรางบอดักตะกอนปองกันการชะลางลงสูอางเก็บน้ํา (3) ควรมีบอดักตะกอนในเขตพื้นที่กอสรางหัวงานโครงการเพื่อลดปญหาตะกอนไหลลงลําน้ํา สวนในลําน้ําหวยรีดานทายน้ําใหสรางมานดักตะกอนดวยแผนไยสังเคราะห (Geotextile)

2) ระยะดําเนินการ (1) การอนุรักษสิ่งแวดลอมรอบอางเก็บน้ํา ดําเนินการปลูกหญาแฝกเปนแนวรอบพื้นที่เก็บกักน้ํา เขตน้ําลด (Draw Down Zone) ซึ่งจะใหประโยชนอยางนอย 2 ประการ คือ - ปองกันดินพังทลายลงไปในอางเก็บน้ํา ทําใหอางเก็บน้ําไมตื้นเขิน และถาตองการนําเครื่องจักร เครื่องสูบน้ํา อุปกรณสงเสริมการทองเที่ยวทางน้ําลงในอางฯ ก็สามารถนําเครื่องจักรวิ่งขามแนวหญาแฝกเขาไปได และหญาแฝกจะไมตาย - การปลูกหญาแฝกเปนแนวรอบๆอาง จะชวยรักษาหนาดินเหนืออาง ทําใหดินอุดมสมบูรณข้ึน อันจะเปนการชวยใหปาไมในบริเวณพื้นที่รับน้ําสมบูรณข้ึนอยางรวดเร็ว การปลูกหญาแฝกในพื้นที่เก็บกักน้ําของอางเก็บน้ําควรปลูกตามแนวระดับโดยรอบอางเก็บน้ํา ระหวางขอบพื้นที่ระดับน้ําเก็บกักกับระดับน้ําสูงสุด จํานวน 3 แนว คือ แนวท่ี 1 ปลูกตามแนวระดับสูงเทากับระดับน้ําสูงสุด แนวท่ี 2 ปลูกตามแนวระดับระหวางระดับน้ําสูงสุดกับระดับน้ําเก็บกัก แนวท่ี 3 ปลูกตามแนวระดับน้ําเก็บกัก

(2) การอนุรักษดินและน้ําระดับลุมน้ํา รวมมือกับหนวยงานทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ในการอนุรักษดินและน้ําในลุมน้ําหวยรี โดยการฟนฟูปาตนน้ํา ปลูกพืชข้ันบันได การปลูกหญาแฝก เปนตน (3) การลดผลกระทบจากโอกาสในการเกิดตะกอนจากดินถลม

ระดับน้ําเก็บกัก +225.0 ระดับน้ําสูงสุด +227.0

1 ม.1 ม.

Page 13: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-12

ใหมีการกอสรางปากอุโมงคสงน้ําแบบหลายระดับ (Multiple Intake) และใหดําเนินการขุดลอกตะกอนจากดินถลมและน้ําปาไหลหลากดังกลาว 5.2.1.9 พ้ืนที่ชุมน้ํา 1) ระยะกอสราง การกอสรางควรดําเนินการในชวงฤดูแลง และควรรวมมือกับเจาหนาท่ีของกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ในการควบคุมการบุกรุกพื้นที่ปาไมของราษฎรไมใหมีการบุกรุกแผวถางปา เพื่อใชเปนพื้นที่ทํากินและตั้งถิ่นฐาน ซึ่งจะสงผลกระทบตอพื้นที่ชุมน้ําได 2) ระยะดําเนินการ หลังจากกอสรางอางเก็บน้ําหวยรีแลวเสร็จ จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีมาตรการในการจัดการดูแลพื้นที่ชุมน้ํา ซึ่งจะชวยใหประสิทธิภาพการใชงานของอางเก็บน้ําไดประโยชนสูงสุดดังนั้นจึงควรดําเนินมาตรการปองกันแกไขรวมกับมาตรการปลูกปาทดแทน อนุรักษปาไมและงานอนุรักษดินและน้ํา 5.2.2 ทรัพยากรทางชีวภาพ 5.2.2.1 นิเวศวิทยาทางน้ํา

1) ระยะกอสราง (1) หลีกเลี่ยงการตัดฟนตนไม การปรับหนาดิน และขุดดินในหนาฝนหรือชวงฝนตกหนัก เพื่อมิใหน้ําขุนไหลลงขอบอางเก็บน้ําเขื่อนสิริกิติ์ ซึ่งอาจกระทบตอความอุดมสมบูรณบริเวณดังกลาว (2) ถาหลีกเลี่ยงการทําใหเกิดน้ําขุนไมไดควรทํารองน้ําเพื่อรับน้ําขุนใหไหลลงบอพักน้ํา ซึ่งมีความจุมากพอจะทําใหน้ําตกตะกอนกอนปลอยใหไหลลงในแหลงน้ําธรรมชาติ (3) การสรางสวม ควรสรางใหถูกสุขลักษณะและหางจากแหลงน้ําไมนอยกวา 100 เมตร (4) น้ําเสียจากการอุปโภคของคนหมูมากควรเก็บกักไวในบอบําบัดน้ําเสียประเภท On Site ได (5) คนงานกอสรางเมื่ออยูรวมกันมากๆ อาจใชเวลานอกเหนือเวลางานจับสัตวน้ํา เพื่อประกอบอาหารรับประทาน ในการจับสัตวน้ําหามใชเครื่องมือผิดกฎหมายจับสัตวน้ําเปนอันขาด (6) ตนไมภายในอางบางกลุมและบางตําแหนง โดยเฉพาะบริเวณที่น้ําไหลลง (Inflow Area) ควรตัดใหมีตอเหลืออยูมีความยาวอยูระหวางระดับน้ําสูงสุดกับระดับน้ําเก็บกัก หรือ Draw Down Zone เพื่อเปนที่พักอาศัยของลูกปลาและปลาบางชนิด กับเปนที่ยึดเกาะของปลาวางไขบางชนิดดวย เพื่ออนุรักษปลาในกลุมดังกลาวไวในอาง

Page 14: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-13

2) ระยะดําเนินการ (1) พ้ืนที่อางเก็บน้ําและโดยรอบ - หามตัดไมทําลายปาบริเวณขอบอางโดยเด็ดขาด - หามทําการประมงในอางเก็บน้ําดวยการใชเครื่องมือผิดกฎหมาย เชน ไฟฟา ยาเบื่อเมา ระเบิด เครื่องมือชองตาถี่กวาท่ีกําหนด - หามทําการประมงในฤดูสืบพันธุวางไขปลา - ควรแบงบริเวณตางๆ (Zoning) ภายในอางจากขอมูลการติดตามตรวจสอบ เพื่อกําหนดเขตรักษาพืชพรรณ เขตอนุรักษ เขตเพาะเลี้ยง และการทําประมง ปลอยปลาตนน้ํา ประสานสถานีประมงเพื่อตั้งสถานีเพาะเลี้ยง (2) ปากอุโมงคผันน้ํา ติดตั้งตะแกรงดักปลา (Fish Screen) ปากเขาอุโมงคสงน้ํา (3) บริเวณทายเขื่อน หลังการสรางเขื่อนแลวเสร็จ บริเวณทายเขื่อนโดยเฉพาะในชวงบานกิ่วเคียนจะมีน้ํานอยมาก เนื่องจากลุมน้ําดานทายอางเล็กมาก จึงควรปลอยน้ําจากอางเก็บน้ําเขื่อนหวยรีใหมีน้ําไหลตลอดโดยเฉพาะหนาแลงจะชวยรักษาสภาพนิเวศวิทยาไดดี 5.2.2.2 ทรัพยากรปาไม

1) ระยะกอสราง (1) ในการตัดฟนตนไมเพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่เปนอางเก็บน้ํา โดยองคการอุตสาหกรรมปาไมนั้น เสนอแนะใหมีการระมัดระวังไมใหมีการตัดไมนอกพื้นที่ขอใชประโยชนท่ีดินปาไมท่ีไดรับอนุญาตแลวโดยเด็ดขาด การตัดฟนและการชักลากไมจากพื้นที่ดังกลาวไดดําเนินการแลวเสร็จกอนการเก็บกักน้ํา เพื่อมิใหเกิดภาวะเนาเสียของน้ํา โดยประสานงานกับกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช และกรมปาไม ทําการตรวจสอบตีตราไมตลอดทั้งพื้นที่โครงการ (2) ตนไมทุกตนที่ตัดไดชักลากออกมาจากพื้นที่โครงการทั้งหมด เพื่อเปนการใชทรัพยากรปาไมใหเกิดประโยชนสูงสุด และนําไปใชประโยชนตามชั้นคุณภาพของตนไมแตละตนกอนที่น้ําจะทวม เพื่อปองกันการเนาเสียของน้ํา (3) การตัดฟนและชักลากไมไดกระทําตามหลักวิชาการปาไม ท้ังนี้เพื่อปองกันมิใหเกิดการกัดชะพังทลายของดิน หรือจะตองเกิดข้ึนนอยท่ีสุด ไมพื้นลางไดแบงเผาเปนกองเล็กๆ และใหระมัดระวังการลุกลามของไฟเขาไปในปาท่ีเหลืออยูรอบพื้นที่โครงการ (4) ควรประสานงานกับองคการอุตสาหกรรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืชท่ีอยูใกลพื้นที่โครงการเพื่อใหการดําเนินการมีความถูกตองและรวดเร็ว

Page 15: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-14

2) ระยะดําเนินการ (1) รวมมือกับกรมอุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช กรมปาไม เพื่อใหความรูแกประชาชนโดยเฉพาะราษฎรที่พักอาศัยบริเวณพื้นที่โครงการ รวมทั้งพื้นที่ขางเคียงใหรูคุณคาของปาไม เพื่อชวยอนุรักษปาและหยุดยั้งการบุกรุกทําลายพื้นที่ปา เพื่อชวยกันอนุรักษปา และหยุดยั้งการบุกรุกทําลายพื้นที่ปาไมเพื่อเปนที่อยูอาศัยและเพื่อการเกษตรกรรม โดยเฉพาะปาเบญจพรรณซึ่งยังเหลืออยูรอบพื้นที่อางเก็บน้ํา และเริ่มฟนฟูตามธรรมชาติ ซึ่งอาจจะถูกบุกรุกจากราษฎร โดยเฉพาะราษฎรที่สูญเสียพื้นที่ทํากินจากการดําเนินโครงการและตองการพื้นที่เพื่อการเกษตรเพิ่มข้ึน (2) กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช และกรมปาไมจะตองมีมาตรการที่สามารถปองกันมิใหมีการบุกรุกทําลายปาเบญจพรรณ ท่ีเริ่มฟนตัวท่ีอยูรอบพื้นที่อางเก็บน้ํา ท้ังนี้โดยหนวยปองกันรักษาปาท่ีอยูใกลเคียงพื้นที่ จะตองหมั่นเขามาตรวจสอบดูแลอยางสม่ําเสมอ (3) กรมชลประทานควรจัดงบประมาณสําหรับการปลูกสรางสวนปาทดแทน และการดูแลรักษา เทากับของพื้นท่ีไดสูญเสียไปจากการดําเนินโครงการ คือ ประมาณ 3,000 ไร รวมถึงการปองกันการบุกรุก รวมเปนงบประมาณ 22.26 ลานบาท (4) ประสานงานกับกรมสงเสริมการเกษตร เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรปลูกไมตามหัวไรปลายนาตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวของปา 3 อยาง 4 ประโยชนแนวทางที่ทรงวางไว เพื่ออนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและแกปญหาการบุกรุกทําลายปา โดยดําเนินการปลูกไมใชสอย ปาไมผลและปาไมเชื้อเพลิงไมวาชนิดใดตางใหประโยชน 4 ท่ีสําคัญคือ อนุรักษดินและน้ํา และความชุมช้ืนเอาไว ท้ังนี้เพื่อผลประโยชนในเรื่องของการหมุนเวียนธาตุอาหารในดิน และอาจใชประโยชนจากไมท่ีปลูกทั้งในรูปของเนื้อไม รวมท้ังฟนและถาน การปลูกไมบริเวณหัวไรปลายนานั้นเปนวิธีการหนึ่งท่ีสามารถลดการลักลอบตัดไมจากปาธรรมชาติ เพื่อนํามาใชกอสราง รวมท้ังเพื่อใชเปนฟนและถานไดดวย (5) ควรรวมมือกับกรมปาไมและกรมสง เสริมการเกษตร เพื่อ ชักจูง เกษตรใหใชกระบวนการทางการเกษตรหรือระบบสวนผสมแทนที่จะปลูกพืชชนิดเดียวในรูปแบบของ Mono-Culture แตควรจะปลูกในรูปแบบของ Mixed-Culture ท้ังนี้เพื่อผลทางดานปรับปรุงระบบนิเวศใหใกลเคียงกับปาธรรมชาติ ซึ่งประกอบดวยไมหลายชนิดและมีหลายช้ันเรือนยอด การปลูกไมหลายชนิดรวมกันนั้นมีผลดีตอการลดการแพรระบาดของโรคและแมลงนอกจากนี้แลวการปลูกพืชปาไมท่ีเปนพืชตระกูลถั่ว (Leguminous Plant) ยังมีผลดีในเรื่องของการปรับปรุงคุณสมบัติของดินใหอุดมสมบูรณข้ึนดวย ท้ังนี้เนื่องจากพืชตระกูลถั่วสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศและเปลี่ยนใหอยูในรูปของไนเตรตซึ่งพืชสามารถใชประโยชนได เมื่อการแพรระบาดของโรคและแมลงลดนอยลง รวมท้ังดินมีความอุดมสมบูรณสูงข้ึนจึงเปนผลดีตอเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานอีกดวย

Page 16: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-15

5.2.2.3 ทรัพยากรสัตวปา

1) ระยะกอสราง โครงการอางเก็บน้ําหวยรีทําใหแหลงอาศัยและพื้นที่หากินของสัตวปาบางชนิดมีปริมาณลดลงหรือทําใหสภาพนิเวศตามความตองการของสัตวปาบางชนิดเปลี่ยนแปลงซึ่งเปนผลกระทบดานลบ แมวาสัตวปาในพื้นที่โครงการอางเก็บน้ําหวยรีจะไดรับผลกระทบที่ประเมินวามีระดับนอยแตกระนั้นก็ตามควรมีมาตรการที่ปองกันไมใหผลกระทบบางลักษณะเกิดข้ึนและมีมาตรการแกไขผลกระทบบางลักษณะใหมีระดับลดลงเพื่อใหสัตวปาทุกชนิดในพื้นที่โครงการอางเก็บน้ําหวยรีไดรับผลกระทบดานลบในระดับนอยท่ีสุด ขณะเดียวกันมีมาตรการที่จะอํานวยประโยชนใหกับสัตวปา (1) มาตรการในพื้นที่กอสรางเขื่อนและอางเก็บน้ํา - การตัดฟนตนไมเพื่อเตรียมพื้นที่เปนหัวงาน เพื่อใชกอสรางเขื่อน และเพื่อใหเปนอางเก็บน้ํา โดยเฉพาะการตัดฟนตนไมท่ีอยูในระดับสูงของภูเขาทางดานขางของอางเก็บน้ํา ตองดําเนินการเฉพาะที่จําเปนและโดยเฉพาะชนิดพันธุท่ีเปนพืชอาหารสัตวเพื่อใหพรรณพืชอาหารตามธรรมชาติของสัตวปาถูกตัดฟนและถูกแผวถางนอยท่ีสุดและเพื่อใหการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศของพื้นที่และการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของสิ่งแวดลอมเกิดข้ึนเปนเนื้อท่ีนอยท่ีสุด - การตัดฟนตนไมและการแผวถางไมเล็ก/ไมพุมใหเริ่มตนจากทางดานนอกสุดของพื้นที่หัวงานเขาไปยังพื้นที่ใชกอสรางเขื่อนและตอไปยังพื้นที่อางเก็บน้ําตามลําดับ และการเตรียมพื้นที่เปนอางเก็บน้ําใหเริ่มตนจากแนวฝงลําหวยรีท้ังสองขางออกไปที่ลาดไหลเขาแลวข้ึนไปบนภูเขาจนถึงแนวกันเขตของอางเก็บน้ํา สวนในพื้นที่สองขางหวยหมใหเริ่มตนจากจุดท่ีหวยหมสบกับหวยรีข้ึนไปทางตนน้ําของหวยหมและจากแนวฝงหวยหมทั้งสองขางออกไปที่ลาดไหลเขาแลวข้ึนไปบนภูเขาจนถึงแนวกันเขตของอางเก็บน้ําเพื่อบังคับใหสัตวปาท่ีหลบเลี่ยงการถูกรบกวนจากกิจกรรมการตัดฟนตนไมและการชักลากไมตองเคลื่อนยายข้ึนสูท่ีสูงของภูเขาและพนจากขอบเขตของพื้นที่อางเก็บน้ํา สัตวปาจึงไมถูกกักอยูในพื้นที่อางเก็บน้ําตลอดจนอยูในพื้นท่ีปลอดจากการถูกรบกวนในระยะกอสราง รวมท้ังอยูในพื้นที่ปลอดภัยจากน้ําทวมเมื่อมีการกักน้ําใหทวมพื้นที่เปนอางเก็บน้ํา - ระหวางการตัดฟนตนไมและการแผวถางไมเล็ก/ไมพุมเพื่อเตรียมพื้นที่สําหรับการกอสรางและตลอดระยะเวลาการกอสรางเขื่อนหากพบสัตวปาตองใหโอกาสสัตวปาไดหลบเลี่ยงออกไปไดอยางปลอดภัย หรือดวยการชวยเหลือและนําไปปลอยในพื้นที่ไมเกี่ยวของกับการกอสราง หรือประสานงานกับเจาหนาท่ีของอุทยานแหงชาติลําน้ํานานใหนําไปปลอย นอกจากนั้นตองควบคุมมิใหมีการลักลอบลาสัตวปาอยางเขมงวด - เมื่อการกอสรางเขื่อนใกลเสร็จสมบูรณควรปลูกพืชคลุมดินในพื้นที่หัวงานบริเวณที่มีการเปดหนาดินระหวางการกอสรางและไมจําเปนตองใชพื้นที่ดังกลาวเพื่อลดการถูกชะลางของหนาดินที่จะมีผลตอคุณภาพของน้ําผิวดินในลําหวยและกอผลกระทบตอสัตวปาท่ีอาศัยอยูในลําหวย และควรปลูกพรรณไมทองถิ่นโตเร็วหรือชนิดพันธุดั้งเดิมของพื้นที่รวมท้ังชนิดพันธุท่ีเปนพืชอาหารสัตวดวยเพื่อฟนฟูระบบนิเวศและคุณภาพของสิ่งแวดลอมของพื้นที่และเพื่ออํานวยประโยชนใหกับสัตวปาในระยะดําเนินการของอางเก็บน้ํา

Page 17: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-16

- ดําเนินการประชาสัมพันธโดยเฉพาะกับราษฎรทองถิ่นบริเวณใกลเคียงกับอางเก็บน้ําท่ีเคยมีพื้นที่ทํากินอยูในอางเก็บน้ําใหตระหนักถึงความสําคัญของปาและสัตวปาเพื่อใหละเลิกการลักลอบลาสัตวปา รวมทั้งใหความรูการปรับปรุงคุณภาพดิน ชนิดและประเภทพืชเกษตรที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดินและตามฤดูกาล รวมทั้งเปนพืชเกษตรตามความตองการของตลาด เพื่อใหชาวบานใชประโยชนท่ีดินอยางมีประสิทธิภาพโดยไมบุกรุกพื้นที่ปาแหงใหมเพื่อใชประโยชนท่ีดินซึ่งจะทําใหแหลงอาศัยของสัตวปาบางกลุมมีเนื้อท่ีลดลงอีก โดยกรมชลประทานควรจัดสรรงบประมาณในการลดผลกระทบดานสัตวปาเปนเงินงบประมาณรวม 3.12 ลานบาท (2) มาตรการในพื้นที่รับประโยชน - พิจารณาเพื่อใหมีการตัดฟนไมใหญและการแผวถางพรรณพืชมีนอยท่ีสุด โดยกําหนดแนวทอสงน้ําใหหลีกเลี่ยงไมใหญโดยเฉพาะแนวทอสงน้ําท่ีอยูขางเคียงทางหลวงหมายเลข 1341 และการตัดฟนไมใหญตลอดจนการแผวถางพรรณพืชตองดําเนินการเฉพาะที่จําเปนจะใชวางทอสงน้ําเพื่อใหพรรณพืชอาหารสัตวปาและไมใหญท่ีจะอํานวยประโยชนลักษณะอื่นใหกับสัตวปาถูกแผวถางและถูกตัดฟนนอยท่ีสุด - วางแผนการดําเนินงานอยางรอบคอบเพื่อใหการวางทอสงน้ําใชเนื้อท่ีนอยท่ีสุด และเพื่อใหการเปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศของพื้นที่เกิดข้ึนเปนบริเวณแคบที่สุด ตลอดจนวางแผนใหการวางทอสงน้ําเปนไปอยางตอเนื่องเพื่อใหกิจกรรมหลากหลายระหวางการวางทอสงน้ํารบกวนการดํารงชีวิตสัตวปามีขอบเขตจํากัดและเปนชวงเวลาสั้นที่สุด - ระหวางการตัดฟนตนไมและแผวถางพรรณพืชและตลอดระยะเวลาการวางทอสงน้ําหากพบสัตวปาตองใหโอกาสสัตวปาไดหลบเลี่ยงออกไปไดอยางปลอดภัยหรือดวยการชวยเหลือและนําไปปลอยในพื้นที่ไมเกี่ยวของกับการวางทอสงน้ํา นอกจากนั้นตองควบคุมมิใหมีการลักลอบลาสัตวปาอยางเขมงวด - ควรปลูกพืชคลุมดินบริเวณแนวทอสงน้ําหลังจากการวางทอสงน้ําและฝงกลบแลวเพื่อลดการถูกชะลางของหนาดินและเพื่อเรงการฟนฟูสภาพนิเวศของพื้นที่ใหกลับคืนสูสภาพเดิมในชวงเวลาสั้นที่สุด

2) ระยะดําเนินการ (1) เมื่อการกอสรางอาคารหัวงานเสร็จสมบูรณและในชวงปแรกๆ ของระยะดําเนินการ ควรปรับปรุงฟนฟูบํารุงรักษาพืชคลุมดินในพื้นที่หัวงานบริเวณที่มีการเปดหนาดินระหวางการกอสราง เพื่อลดการถูกชะลางของหนาดินที่จะไปมีผลตอคุณภาพน้ําผิวดินในรองหวยและในลําหวย และควรปลูกพรรณไมทองถิ่นโตเร็วหรือชนิดพันธุดั้งเดิมของปาเบญจพรรณเพื่อฟนฟูระบบนิเวศและคุณภาพของสิ่งแวดลอม รวมท้ังปลูกชนิดพันธุท่ีเปนพืชอาหารเสริมดวย (2) ฟนฟูสภาพปาในพื้นที่เคยผานการใชประโยชนท่ีดิน ท่ีอยูในพื้นที่ลุมน้ําใหเปนผืนปาท่ีชวยอนุรักษตนน้ําดวยการปลูกตนไมเพื่อเรงการฟนฟูสภาพของปา ซึ่งไมควรคํานึงเฉพาะพรรณไมมีคาทางเศรษฐกิจ แตควรปลูกชนิดพันธุไมดั้งเดิมของปาบริเวณนี้ท่ีโตเร็วและชนิดพันธุพืชอาหารสัตวปาเสริมเพื่อเพิ่ม

Page 18: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-17

ศักยภาพของผืนปาในดานเปนแหลงอาศัยและหากินของสัตวปา โดยเฉพาะพืชอาหารของนกซึ่งเปนกลุมสัตวปาท่ีจะเขามาใชประโยชนไดดีกวาและมากกวาสัตวปากลุมอื่น (3) ใหอุทยานแหงชาติลําน้ํานาน ดําเนินการประชาสัมพันธใหราษฎรในทองถิ่นบริเวณใกลเคียงอางเก็บน้ําและในพื้นที่ลุมน้ํา ใหตระหนักถึงความสําคัญของปาและสัตวปาเพื่อใหละเลิกการบุกรุกพื้นที่ปาและการลักลอบลาสัตวปา 5.2.3 คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 5.2.3.1 การใชประโยชนที่ดิน

1) ระยะกอสราง (1) หัวงานเขื่อนและอาคารประกอบ : - จํากัดพื้นท่ีเพื่อใชประโยชนในการกอสรางที่จําเปนเทานั้น เพื่อลดผลกระทบตอการใชประโยชนทรัพยากรที่ดินและปาไม โดนเฉพาะงานประเภทถากถางและลนตนไม ขุดลอกหนาดิน งานดินขุด ดินถม งานกอสรางสํานักงานสนาม ท่ีพัก เสนทางลําเลียง และระบบสาธารณูปโภค - การสรางบอดักตะกอน คันคูระบายน้ําในเขตพื้นที่กอสรางโครงการ - ในระยะสุดทายหรือปท่ี 3 ของการกอสรางใหดําเนินการปรับสภาพพื้นที่ ปลูกหญา ปูหินเรียง กอสรางรางระบายน้ําถาวร เพื่อเพิ่มศักยภาพของที่ดินที่ไมไดใชประโยชนในระหวางการกอสรางแลว - ฟนฟูพื้นที่กอสรางและพื้นที่ลุมน้ํารวมกับหนวยงานอื่นโดยการปรับสภาพพื้นที่ดวยการทําคันดินขวางตามความลาดเท บอดักตะกอน และฝายตนน้ํา การใชแถบพืช (แฝก) เพื่อการอนุรักษดินและน้ํา การปลูกไมโตเร็ว และไมยืนตนที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ (2) พ้ืนที่ชลประทาน : จํากัดใหมีการใชประโยชนเพื่อการกอสรางระบบชลประทานเฉพาะเขตทอสงน้ําเทานั้น และปรับสภาพพื้นที่เพื่อคืนสภาพโดยเร็วภายหลังเสร็จสิ้นการกอสราง

2) ระยะดําเนินการ (1) หัวงานและอาคารประกอบ : เมื่อเริ่มดําเนินการเก็บกักน้ําใหจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํารอบพื้นที่อางเก็บน้ํา เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง มีการใชประโยชนท่ีดินเพื่อการเกษตรในพื้นที่ท่ีอยูใกลชุมชนบานกิ่วเคียนและบานทรายงาม โดยการปลูกหญาแฝกระหวางระดับน้ําเก็บกักกับระดับน้ําสูงสุด จํานวน 3 แนว สวนพื้นที่ลุมน้ําหวยรีใหมีการอนุรักษดินและน้ําเพื่อเปนตนน้ําถาวร และมีสวนชวยลดการกัดเซาะชะลางพังทลายตะกอนดินลงสูอางเก็บน้ํา

Page 19: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-18

(2) พ้ืนที่ชลประทาน : การที่เกษตรกรไดรับน้ําเพื่อการปลูกพืชอยางเพียงพอ จะสงผลใหมีการใชประโยชนท่ีดินเขมขนมากยิ่งข้ึน ทําใหการเสื่อมโทรมของดินจะเพิ่มมากขึ้นดวย จึงมีความจําเปนตองมีการอนุรักษดินและน้ํา พรอมท้ังการปรับปรุงบํารุงดินควบคูกันไป เพื่อรักษาสถานภาพของความอุดมสมบูรณของดินไวใหสามารถเพาะปลูกไดอยางยั่งยืน

5.2.3.2 การเกษตรกรรมและปศุสัตว

1) ระยะกอสราง ในระยะกอนการกอสรางโครงการ กรมชลประทานควรดําเนินการจายคาชดเชยที่ดินและทรัพยสิน ในลักษณะคาพัฒนาที่ดินและทรัพยสินใหแกผูไดรับผลกระทบอยางเปนธรรม

2) ระยะดําเนินการ ควรมีการอบรมใหความรูแกเกษตรกรในดานการใชสารเคมีท่ีถูกตอง เพื่อใหเกิดผลกระทบตามมา รวมท้ังการจัดตั้งกลุมสหกรณการเกษตรเพื่อชวยสนับสนุนกิจกรรมการผลิตของเกษตรกร และสงเสริมใหเกษตรกรทําการเกษตรทฤษฎีใหมตามแนวพระราชดําริ เพื่อความเปนอยูอยางพอเพียง - วางแผนกิจกรรมการปลูกพืชและเลี้ยงสัตวใหชัดเจน โดยรวมมือกับกลุมผูนําในชุมชนและภาคเอกชนที่เขาไปรวมสงเสริมการเกษตร โดยคํานึงถึงระบบการเกษตร ท่ีเกื้อกูลกันระหวางพืชตางชนิดและสัตวในระบบฟารมใหมากขึ้น สงเสริมการปลูกพืชและเลี้ยงสัตวตามความตองการของทองถิ่น เชน พืชสวนเพื่อการสงออก ทุงหญาเลี้ยงสัตว การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําในอาง เปนตน - ดําเนินมาตรการลดตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในทองถิ่น เพื่อการผลิตพืชและสัตวแบบครบวงจร ในการทําการเกษตรชลประทาน เพื่อเพิ่มพูนรายไดใหแกเกษตรกร - แนะนําและอบรมเรื่องการกําจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (Integrated Pest Management) โดยใชวิธีการตางๆ ท่ีมีอยูหลากหลายวิธี เชน การใชตัวห้ํา ตัวเบียน ในการชวยควบคุมศัตรูพืช ใชกับดักกาวเหนียว ใชสมุนไพรปราบศัตรูพืช สวนสารเคมีควรใชในเวลาที่มีความจําเปนจริงๆ เทานั้น และเมื่อตองการใชสารเคมีก็เลือกใชชนิดท่ีเหมาะสมกับอาการของโรคหรือแมลงที่ระบาด ไมใชอัตราที่มากกวาท่ีฉลากแนะนํา ท้ังควรฉีดพนดวยการระวังอันตรายที่อาจเกิดข้ึนกับผูพนสารเคมีดวย - แนะนําใหเกษตรรูจักและทําความเขาใจกับชนิดของดิน ท้ังสภาพทางเคมีท่ีมีแรธาตุตางๆ ควรมีลักษณะทางกายภาพ ในแงความเปนดินทราย ดินรวน ดินเหนียว และจุลินทรียท่ีมีในดิน เพื่อใหเขาใจถึงความจําเปนของปุยอินทรีย ปุยชีวภาพ นอกเหนือจากการปุยเคมีเพียงประการเดียวและควรเขาใจถึงการอนุรักษดินและน้ําท่ีเหมาะสม - เสนอใหกรมสงเสริมการเกษตร กรมปศุสัตว กรมปาไม กรมประมง และ อบต. ฝกอบรมและถายทอดความรูเกี่ยวของกับการเกษตร ใหกับราษฎรในพื้นที่โครงการ โดยมีงบประมาณรวม 9.0 ลานบาท

Page 20: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-19

5.2.3.3 การใชน้ําเพื่อวัตถุประสงคตางๆ

1) ระยะกอสราง กิจกรรมการกอสรางองคประกอบตางๆ ของโครงการ มีผลกระทบตอการใชน้ําดานตางๆ นอยและชวงระยะเวลาสั้น ดังนั้นจึงไมจําเปนตองมีมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมในชวงการกอสราง

2) ระยะดําเนินการ (1) ควรมีการจัดตั้งกลุมองคกรผูใชน้ําในระดับทองถิ่น เพื่อชวยรับผิดชอบในการจัดสรรน้ําและบํารุงรักษาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ และเปนการลดปญหาการแยงชิงน้ํา (2) การลดผลกระทบตอการใชน้ําในพื้นที่ และการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ําของน้ําในลําน้ําบริเวณพื้นที่โครงการและใกลเคียง ซึ่งอาจเกิดจากกิจกรรมตางๆ เชน จากบานเรือนและการเกษตร เพื่อปองกันปญหาที่อาจเกิดข้ึน ดังนั้นจึงควรมีการแนะนําและใหความรูเรื่องการใชปุยและสารปราบศัตรูพืชอยางเหมาะสม และมีการบําบัดน้ําเสียเบื้องตนในระดับครัวเรือน โดยใชบอเกรอะ บอซึมและบอดักไขมัน

5.2.3.4 ระบบชลประทานและการบริหารการใชน้ํา

1) ระยะกอสราง (1) การกอสรางองคประกอบโครงการระบบชลประทานควรกําหนดใหมีวัสดุกั้นบริเวณกอสราง เพื่อปองกันและลดปญหาตะกอนและเศษวัสดุกอสราง ในลําน้ําธรรมชาติท่ีมีการกอสรางใกลลําน้ํา รวมท้ังจําเปนที่จะตองมีการจัดการที่ดีและเหมาะสมเพื่อมิใหเกิดผลกระทบตอการสงน้ําไปยังพื้นที่ชลประทานดวยระบบฝายขนาดเล็กเดิมท่ีมีอยูในลําน้ําธรรมชาติ เชน การจัดกองใหเปนระเบียบหรือการขนยายไปทิ้งในบริเวณที่เหมาะสมที่หางไกลจากทางน้ําพอสมควร เปนตน (2) การใชพื้นที่เพื่อการกอสรางระบบทอสงน้ํา เสนอใหมีการเวนคืนที่ดินเทาท่ีจําเปนตอการกอสรางองคประกอบตางๆ เทานั้น กรณีท่ีมีความจําเปนเสนอใหใชเขตทางของที่สาธารณะและพยายามหลีกเลี่ยงบริเวณชุมชนหรือบานเรือน เพื่อลดผลกระทบตอราษฎร กรณีท่ีจําเปนตองเวนคืนและชดเชยทรัพยสินควรกําหนดราคาอยางเปนธรรมและเหมาะสม เพื่อไมเปนการสรางความเดือดรอนใหกับผูเสียผลประโยชนเหลานี้มากเกินไป (3) การบริหารจัดการระบบทอสงน้ําควรมีการจัดตั้งกลุมผูใชน้ํา 2 ระดับ คือ ระดับทอสงน้ําหลักและทอสงน้ํารอง เพื่อชวยรับผิดชอบในการจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา รวมท้ังการจัดใหมีกลุมผูใชน้ํายอยแยกไปตามสวนตางๆ ของระบบทอสงน้ําสายซอย โดยใหผูแทนจากหนวยงานที่เกี่ยวของและคณะกรรมการของผูใชน้ํา เขารวมและมีบทบาทในกิจกรรมทุกขั้นตอนของการวางระบบชลประทานและการจัดสรรน้ํา นอกจากนี้กรมชลประทานควรดําเนินการดานการพัฒนาองคกรและการประชาสัมพันธ ควบคูไปกับงานออกแบบกอสรางโครงการ

Page 21: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-20

2) ระยะดําเนินการ ถึงแมวาผลกระทบดานการชลประทานและการระบายน้ํา สวนใหญจะเปนผลกระทบดานบวก แตการดําเนินการในระยะยาวอาจกอใหเกิดผลกระทบดานลบได เนื่องจากความขัดแยงดานความตองการใชน้ําเพื่อกิจกรรมตางๆ จึงควรมีการกําหนดมาตรการ เพื่อควบคุมการจัดสรรน้ําในปริมาณที่เหมาะสมกับความตองการใชน้ําของพืชและมีระบบระบายน้ําท่ีดี โดยจัดตั้งคณะกรรมการบริหารการใชน้ํา ท้ังนี้ตองอาศัยเจาหนาท่ีสงน้ําและบํารุงรักษา ของกรมชลประทานที่มีความรูและมีจํานวนเพียงพอ รวมท้ังจะตองอาศัยความรวมมือเปนอยางดีจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น พรอมกันนี้จะตองมีการดูแลบํารุงรักษาทอสงน้ําสายหลักและสายรองอยางสม่ําเสมอ ท้ังนี้ใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการควบคุมบริหารจัดการระบบทอสงน้ําหลัก และทอน้ํายอย โดยใหคณะองคกรผูใชน้ําในพื้นที่โครงการ และหัวหนาโครงการชลประทานอุตรดิตถ รับผิดชอบบริหารจัดการ และบํารุงรักษาระบบทอสงน้ํา

5.2.3.5 การคมนาคมขนสง

1) ระยะกอสราง มาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนตอผูใชเสนทางและยานชุมชนในดานฝุนละออง ควันและอุบัติเหตุ อันเนื่องมาจากการขนสงวัสดุและอุปกรณกอสรางเขาสูพื้นที่กอสรางโครงการ และเนื่องจากการใชรถใชถนนที่เกี่ยวของกับการกอสรางโครงการ มีดังตอไปนี้ (1) กําหนดและควบคุมความเร็วการขับขี่ของรถบรรทุกวัสดุและอุปกรณหรือรถบรรทุกดิน รวมถึงรถประเภทอื่นที่มีสวนเกี่ยวของกับการกอสรางโครงการในชวงท่ีผานชุมชนที่พักอาศัย โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณสถานที่สําคัญและบริเวณที่มีเด็ก ผูสูงอายุ และผูปวย เชน วัด โรงพยาบาล และโรงเรียน เปนตน โดยใหใชความเร็วไดไมเกิน 40 กม./ชม. ควรขับขี่ดวยความระมัดระวัง เพื่อใหเกิดความปลอดภัย ลดปญหาดานฝุนละออง ความสั่นสะเทือน และความเดือดรอนรําคาญ (2) ควบคุมน้ําหนักบรรทุกและกําหนดมาตรการควบคุมมิใหวัสดุตกหลนบนถนน ในขณะขนสง กลาวคือ จะตองมีผาใบคลุมอยางมิดชิดเพื่อปองกันมิใหอุปกรณกอสรางและวัสดุอื่น เชน ดิน หิน และทราย รวงหลนลงสูพื้นผิวจราจร นอกจากนี้จะตองมีการตรวจสอบสภาพของรถบรรทุกอยางสม่ําเสมอ เพื่อลดปญหาการกีดขวางการจราจรและอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนได (3) ควบคุมการจราจรโดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณถนนพื้นที่กอสรางโครงการ (ทางหลวง #1341) และทางแยกเขาสูหัวงานโครงการ โดยใชปายจราจร และเครื่องหมายจราจรที่แสดงความหมายอยางชัดเจน สามารถมองเห็นไดจากระยะไกล (4) ติดตั้งอุปกรณไฟฟาและแสงสวางใหเพียงพอเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในเวลากลางคืน หรือในเวลากลางวันถาทัศนวิสัยไมดี โดยเฉพาะอยางยิ่งทางหลวง 1341 ชวงพื้นที่กอสรางโครงการ

2) ระยะดําเนินการ ไมมีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

Page 22: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-21

5.2.3.6 แหลงแรและการทําเหมืองแร

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะเวลาดําเนินการ ไมมีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

5.2.3.7 การอุตสาหกรรม

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะเวลาดําเนินการ (1) การดําเนินการโครงการอางเก็บน้ําหวยรี การสงน้ําใหพื้นที่ชลประทานของโครงการจะมีผลทําใหผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มข้ึน มีแนวโนมใหเกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรมการเกษตรในพื้นที่ได ฉะนั้นตองมีการดูแลและควบคุมมิใหโรงงานอุตสาหกรรมที่อาจจะเกิดข้ึนตามมานี้ปลอยมลพิษตางๆ เชน น้ําเสียจากกระบวนการผลิตท่ีไมผานระบบบําบัดลงสูแหลงน้ําโดยตรง ซึ่งอาจทําใหเกิดมลภาวะทางน้ําได ซึ่งหลักปฏิบัติในปจจุบันกรมโรงงานอุตสาหกรรมและกรมควบคุมมลพิษเปนผูควบคุมและดูแลใหโรงงานเหลานี้ปฏิบัติตามกฎหมายดังกลาว (2) การจัดตั้งองคกรเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมพลังงานจากการเกษตร (ออย) เนื่องจากการพัฒนาโครงการจะมีผลทําใหผลผลิตทางดานการเกษตรเพิ่มข้ึน และมีปริมาณมากพอที่จะนําไปใชเปนวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรมได ดังนั้นจําเปนตองมีหนวยงานดําเนินการรับผิดชอบดานอุตสาหกรรม โดยใหความชวยเหลือและสนับสนุนในดานตางๆ ท้ังทางดานสาธารณูปโภค การลงทุน และการประชาสัมพันธรวมกันระหวางฝายโรงงานและเกษตรกร

5.2.3.8 การจัดการลุมน้ํา

1) ระยะกอสราง การควบคุมการใชท่ีดินปาไมบริเวณดานเหนืออางเก็บน้ํา เปนแนวทางในการดําเนินงานรวมกับเจาหนาท่ีของกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ในการควบคุมการบุกรุกพื้นที่ปาไมของราษฎรไมใหมีบุกรุกแผวถางปา เพื่อใชเปนพื้นที่ทํากินและตั้งถิ่นฐาน การทํารีสอรทหรือการใชพื้นที่ในลักษณะอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณริมขอบอางเก็บน้ํา อันจะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสัดสวนของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปาไมเปนพื้นที่การใชประโยชนอื่นสูงมากขึ้น จะสงผลกระทบตอการพังทลายของดินลงสูลําน้ํา สวนปริมาณการใชน้ําท่ีสูงข้ึน จะสงผลตอปริมาณน้ําท่ีจะไหลลงสูอางเก็บน้ํา เชน การกอสรางแหลงน้ําดานเหนือน้ําของหนวยงานราชการหรือเอกชน การกอสรางฝายขนาดเล็กของราษฏรในทองถิ่นและใชน้ําทําการเกษตรกรรมหรือทํารีสอรท เปนตน โดยใชงบประมาณประจําปในการบริหารงาน

Page 23: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-22

การดูแลรักษาพื้นที่โดยรอบอางเก็บน้ํา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชจะตองดําเนินการดูแลไมใหมีการบุกรุกพื้นที่บริเวณริมอางเก็บน้ําเพื่อใชประโยชนของตนน้ํา และมีแนวทางที่จะดําเนินการใหเปนรูปธรรมที่ชัดเจนที่ราษฎรสามารถเห็นแนวเขตที่ชัดเจน นอกจากการปกปายแลวก็คือ การปลูกแนวตนไมอยางนอย 3 - 5 แถว ไวโดยรอบพื้นที่ท่ีมีความเสี่ยงตอการบุกรุกของราษฎร รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น

2) ระยะดําเนินการ หลังจากการกอสรางอางเก็บน้ําเสร็จแลว จําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองมีมาตรการในการบริหารลุมน้ํา ซึ่งจะชวยใหประสิทธิภาพการใชงานของอางเก็บน้ําไดประโยชนสูงสุด และมีอายุการใชงานที่ยาวนาน ดังนี้ (1) มาตรการการบริหารจัดการลุมน้ํา - ควบคุมการใชประโยชนท่ีดินในพื้นที่รับน้ําใหเปนไปตามมาตรการการใชประโยชนท่ีดินของรัฐ และรักษาสภาพปาตนน้ําลําธารที่เหลืออยูในปจจุบัน โดยรวมมือกับหนวยจัดการตนน้ําในการปองกันการบุกรุกทําลายปาตนน้ําท่ีมีอยูในพื้นที่ลุมน้ํา โดยการสํารวจและตรวจสอบพื้นที่ปาไมบริเวณเหนืออางเก็บน้ําและบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่โครงการอยางสม่ําเสมอ รวมท้ังการใหความรูแกประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นที่ลุมน้ําในเรื่องของการใชประโยชนท่ีดินในแตละช้ันคุณภาพลุมน้ําใหเปนไปตามหลักการที่รัฐกําหนด ความรูในดานการอนุรักษดินและน้ํา และการใชสารเคมีทางการเกษตรอยางถูกตอง - ฟนฟูสภาพปาไมท่ีเปนแหลงตนน้ําลําธาร จากการสูญเสียพื้นที่ปาไมจํานวน 657 ไร ดังนั้นจึงควรมีมาตรการปลูกปาเพิ่มเติมในพื้นที่เหนืออางเก็บน้ําและบริเวณโดยรอบที่มีสภาพเสื่อมโทรมทดแทน ท้ังนี้เพื่อรักษาพื้นที่ตนน้ําลําธารและลดปญหาการตกสะสมของตะกอนในอางเก็บน้ําไดทางหนึ่งดวย - มาตรการปองกันและลดผลการชะลางพังทลายของดิน : สามารถทําไดโดยวิธีการอนุรักษดินและน้ําแบบงายๆ คือ พื้นที่มีอันตรายการชะลางพังทลายสูงกวาคามาตรฐานที่ยอมรับเพียงเล็กนอย ดําเนินการโดยการปลูกพืชจําพวกหญาหรือพืชตระกูลถั่ว เพื่อใชในการคลุมดินหลังการกอสรางเสร็จ หรือปลูกตนไมท่ีเปนไมโตเร็ว ท่ีแผกิ่งกานสาขาคลุมพื้นที่ไดมากรวมดวย สวนพื้นที่ท่ีมีความเสี่ยงตอการชะลางพังทลายในขั้นวิกฤติหลังการดําเนินโครงการ จําเปนจะตองมีใชมาตรการอนุรักษน้ําดวยสิ่งกอสรางแบบงาย (Simple construction conservation) เขาชวยเสริม มีรายละเอียดดังนี้

• พื้นท่ีท่ีมีความเสี่ยงตอการชะลางพังทลายในระดับวิกฤติ : พื้นที่ท่ีมีความลาดชันสูงบริเวณลาดไหลเขารอบอางเก็บน้ํา การลดอัตราและปริมาณการชะลางพังทลายของดินบริเวณลาดเขา ควรทําเครื่องกีดขวางทางน้ําเปนชวงๆ ตามลาดเขา โดยการกําหนดระยะทางที่เหมาะสมเพื่อรวมน้ําไหลลงมาตามลาดเขาแลวเบี่ยงเบนทางเดินและระบายออกไป และชะลอความเร็วของน้ําไหลบาหนาดินกอนที่น้ําไหลบาจะมีพลังและเปนตัวการกอใหเกิดการชะลางพังทลาย การแบงความยาวของความลาดเทใหสั้นหลายๆ ช้ันนั้น จะยาวมากนอยเพียงใดนั้น ตองพิจารณาวาการแบงความลาดชันจะตองไมยาวจนทําใหเกิดรองริ้วและรองลึกได จนกลายเปนสาเหตุใหเกิดการชะลางพังทลายได

Page 24: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-23

• พื้นที่ท่ีมีความเสี่ยงตอการชะลางพังทลายในระดับปานกลาง : พื้นที่บริเวณรอบอางเก็บน้ํา และบริเวณรอบอาคาร ควรใชวิธีการปกคลุมดินดวยพืช (Bioengineering) เพื่อลดการทําลายจากพลังของการตกกระทบของเม็ดฝน ทําใหอนุภาคดินแตกกระจายและยังชวยลดความเร็วของน้ําท่ีไหลบาหนาดินอีกดวย ซึ่งจะเปนการชะลอใหน้ําซึมผานผิวดินไดในปริมาณที่มากกวาเดิม ชวยลดปริมาณตะกอนที่จะสะสมในอางเก็บน้ํา ขณะเดียวกันยังเปนการเพิ่มอินทรียวัตถุท่ีเพิ่มข้ึนนี้จะไปปรับปรุงคุณภาพดินในสวนของการซาบซึมและการเก็บกักน้ําใหมีคุณภาพดีข้ึน (2) การเพ่ิมสมรรถภาพในการซาบซึมน้ําและศักยภาพในการเก็บกักน้ําของดิน : เนื่องจากการดําเนินโครงการ คาดวาจะสงผลกระทบตอสมรรถนะในการซึมน้ําและศักยภาพในการเก็บกักน้ําของดิน ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่จะตองมีการปรับปรุงสมบัติของดินเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการซึมและเก็บกักน้ํา ในบริเวณที่มีการเคลื่อนยายผิวหนาดินและพื้นที่ท่ีมีการบดอัดดินทําใหความหนาแนนของดินเพิ่มข้ึน อันจะเปนผลใหสมบัติทางกายภาพของดินบริเวณดังกลาวเลวลงได มีรายละเอียดดังนี้ - พื้นท่ีท่ีตองมีการปลูกตนไมคลุมดินใหม : การเพิ่มสมรรถนะในการซึมน้ําไดดีท่ีสุดสําหรับบริเวณที่ตองขุดดินชั้นบนออก ไดแก พื้นที่รอบๆ อาคารทําการ และริมถนน ตองทําการปลูกตนไมคลุมเพิ่มใหม ท้ังการปลูกพืชท่ีใชคลุมดินและไมยืนตน วัตถุประสงคเพื่อลดแรงตกกระทบของเม็ดฝนและชะลอความเร็วของน้ําไหลบาหนาดิน ซึ่งจะเปนการเพิ่มโอกาสในการซึมผานของน้ําท่ีผิวดินลงสูดินช้ันลางไดมากยิ่งข้ึน นอกจากนี้ควรมีการเพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดินดวย เพราะอินทรียวัตถุจะเปนตัวชวยในการปรับปรุงสมบัติดินในสวนของโครงสรางดินเกิดเปนเม็ดดินที่เหมาะสมตอการอุมน้ํา การระบายน้ําและอากาศ ชวยเพิ่มขนาดของชองวางในดินทําใหการซึมน้ําและการระบายน้ําดีข้ึน และยังชวยใหโครงสรางของดินมีความเสถียรมากขึ้นดวย นอกจากนี้ยังจะเปนการเพิ่มความอุดมสมบูรณใหกับดินซึ่งจะเปนผลดีกับตนไมท่ีนําไปปลูกรอดตายสูงและเจริญเติบโตเร็วข้ึน - พื้นที่ท่ีมีความลาดชันสูงและมีการบดอัดดิน : สําหรับพื้นที่ท่ีมีความลาดชันสูงและมีการบดอัดดิน ไมสามารถปลูกตนไมไดนั้น จะตองมีการกอสรางรองระบายน้ําท้ิงบนที่ชัน (Protective Ditch หรือ Diversion Channel) ซึ่งมีลักษณะเปนรองลึก ยกคันกั้นน้ําสูง เพื่อลดความรุนแรงของน้ําไหลบาหนาดินที่ เกิดกับพื้นที่ ท่ีไมมีสิ่งปกคลุมเหนือรองน้ําข้ึนไป เพื่อใหการบริหารจัดการน้ําเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

5.2.4 คุณคาตอคุณภาพชีวิต 5.2.4.1 สภาพเศรษฐกิจและสังคม

1) ระยะกอสราง (1) ชี้แจงวัตถุประสงคและเปาหมายการดําเนินงานโครงการใหชัดเจน : กอนที่โครงการจะเริ่มกอสรางเจาหนาท่ีของโครงการจะตองเรียกประชุมช้ีแจงใหประชาชนผูมีสวนไดเสียไดรับทราบอยางชัดเจน ตลอดจนการบอกถึงปญหาที่คาดวาจะเกิดข้ึนและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดปญหา ไมวาจะเปนปญหาดาน

Page 25: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-24

การคมนาคมหรือสาธารณูปโภคตางๆ และควรประชุมแตละระดับใหมีความเขาใจตรงกันทั้งประชาชนทั่วไป ผูนําทองถิ่น และขาราชการในพื้นที่ ท้ังนี้เพื่อปองกันความขัดแยงท่ีอาจเกิดข้ึนไดในอนาคต (2) การควบคุมมลภาวะและเหตุรําคาญ : แมวาจะมีการช้ีแจงวัตถุประสงคตลอดจนปญหาท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนใหประชาชนไดรับทราบแลว เมื่อมีการกอสรางจริงเจาหนาท่ีจําเปนตองกวดขันผูรับเหมาใหปฏิบัติตามดวย เชน ไมใหเศษวัสดุตกหลนตามถนน การขับรถเร็ว รถเสียงดัง เปนตน ท้ังนี้อาจมีการตั้งคณะกรรมการรวมเพื่อการรวมเพื่อแกไขปญหาดังกลาวดวยก็ได (3) จัดหาสาธารณูปโภคใหเพียงพอ : ในชวงการกอสรางที่ตองใชสาธารณูปโภค เชน น้ําดื่ม น้ําใช ไฟฟาเพิ่มข้ึน อาจไปกระทบตอการใชของประชาชนในทองถิ่น ดังนั้นตองมีการเตรียมจัดหาสาธารณูปโภคดังกลาวใหเพียงพอในระยะกอสรางดวย

2) ระยะดําเนินการ (1) เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจของครัวเรือนของตําบลในพื้นที่แปลงอพยพจากเขื่อนสิริกิติ์ เปนรองครัวเรือนของตําบลขางเคียงโดยรอบ เหตุผลหลัก คือ โอกาสในการทําการเกษตรมีนอยกวา เนื่องจากจากการขาดแคลนน้ํา และลักษณะภูมิประเทศที่เปนที่สูงๆ ต่ําๆ ทําใหรายไดจากพืชไร/นา นอยกวาอยางเห็นไดชัด ดังนั้น การจัดลําดับการจัดสรรน้ําเมื่อมีโครงการอางเก็บน้ําหวยรี จึงควรเนนไปที่พื้นที่ของราษฎรที่อพยพมาจากเขื่อนสิริกิติ์กอน (2) ในกรณีของตําบลโดยรอบนั้น พื้นที่ท่ีขาดแคลนน้ํามากที่สุด คือ พื้นที่ตําบลวังดิน สวนหาดงิ้วและบานดานนั้น พื้นที่สวนใหญใกลกับแมน้ํานานมากกวา ดังนั้น ถาตองมีการจัดสรรน้ําใหกับพื้นที่ตําบลอื่น พื้นที่ตําบลวังดิน จึงควรไดรับการพิจารณากอนในลําดับตนๆ และเนนใหมีการใชน้ําเพื่ออุปโภคบริโภคใชเพียงพอกอน (3) พื้นที่สวนใหญในการเกษตรของครัวเรือนในพื้นที่แปลงอพยพฯ คือ พืชสวน การจัดสรรน้ําในหนาแลง จึงควรใหน้ําหนักที่พืชสวนมากกวาพืชไร เนื่องจากเปนพืชท่ีครัวเรือนเพาะปลูกอยูแลว โดยเฉพาะสวนลําไย (4) จากความตองการน้ําท่ีแตกตางในในแตละพื้นที่ โดยเฉพาะอยางยิ่งในหนาแลง การจัดสรรน้ําจึงเปนเรื่องท่ีจําเปน ดังนั้น จึงควรมีคณะกรรมการที่ดูแลเรื่องการจัดสรรน้ํา ซึ่งควรจะมาจากทุกพื้นที่ของตําบลในพื้นที่แปลงอพยพฯ และตําบลโดยรอบ และมีผูแทนจากหนวยงานของรัฐเขาเปนคณะกรรมการดวย (5) ควรสงเสริมและพัฒนาการเกษตร โดยเฉพาะดานการปลูกพืชสวนที่เปนพืชเศรษฐกิจใหมหรือพืชสงออก เชน มะละกอพันธุฮอลแลนด การจัดทําสหกรณทุงหญาเลี้ยงสัตว เพื่อสรางแบรนดทองถิ่น เชน โคขุนทาปลา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ท้ังในราษฎรสวนที่ไดรับผลกระทบจากการมีพื้นที่อยูทํากินในอางเก็บน้ําและราษฎรกลุมผูไดรับผลประโยชนท่ีอพยพมาจากอางฯสิริกิติ์

Page 26: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-25

5.2.4.2 การชดเชยที่ดนิและทรัพยสิน

1) ระยะกอสราง (1) การชดเชยที่ดนิ และทรัพยสิน - จัดตั้งองคกรเพื่อบริหารงานการชดเชยทรัพยสิน การดําเนินงานเพื่อการชดเชยทรัพยสินควรมีหนวยงานหรือองคกรที่มีหนาท่ีดูแลรับผิดชอบโดยตรงเพื่อความสะดวกรวดเร็ว ถูกตอง และแกไขปญหาที่เกิดข้ึนใหสอดคลองกับนโยบายที่วางไว ซึ่งองคกรที่กลาวถึงนี้เปนเพียงรูปแบบที่วางไวเปนแนวทาง สามารถเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสมของสถานการณ โดยเปนองคกรเพื่อการตรวจสอบและจายเงินคาชดเชย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

• คณะกรรมการจัดซื้อและกําหนดคาชดเชยทรัพยสิน : มีหนาท่ีกําหนดและควบคุมนโยบายการจายเงินคาชดเชย คณะกรรมการควรประกอบดวยบุคลากรตอไปนี้ * ผูวาราชการจังหวัดอุตรดิตถ เปนประธานกรรมการ * เจาพนักงานที่ดินจังหวัดอุตรดติถ เปนกรรมการ * นายอําเภอทาปลา เปนกรรมการ * ผูอํานวยการกองกฎหมายและที่ดิน เปนกรรมการ กรมชลประทาน

* กรมชลประทานในฐานะ เปนกรรมการ ผูจัดการโครงการอางเก็บน้ําหวยร ี * กํานันในทองท่ี หรือ อบต. เปนกรรมการ หรือตวัแทนราษฎรที่ไดรับผลกระทบ หัวหนาฝายจัดหาที่ดิน กองกฎหมาย กรมชลประทาน เปนกรรมการและเลขานุการ ในการดําเนินการใหจัดตั้งคณะอนุกรรมการ 2 คณะ ประกอบดวย

• คณะอนุกรรมการตรวจสอบทรัพยสิน : มีหนาท่ีตรวจสอบสภาพทรัพยสินทุกชนิดท่ีถูกเขตชลประทาน คํานวณคาชดเชยตามราคาที่กรรมการกําหนดไว จัดทําบัญชีรายละเอียดเสนอคณะกรรมการจัดซื้อฯ พิจารณาอนุมัติ รวมท้ังแกไขปญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึน ประกอบดวย * นายอําเภอทาปลา เปนประธานอนุกรรมการ * เจาหนาท่ีบริหารงานที่ดินอําเภอทาปลา เปนอนุกรรมการ * กํานันหรือผูใหญบานทองท่ี หรือ อบต. เปนอนุกรรมการ * กรมชลประทานในฐานะ เปนอนุกรรมการ ผูจัดการโครงการอางเก็บน้ําหวยร ี * เจาหนาท่ีบริหารงานอุทยานแหงชาติ เปนอนุกรรมการ * ตัวแทนของราษฎรที่ไดรับผลกระทบ เปนอนุกรรมการ * หัวหนาฝายจัดหาที่ดิน เปนอนุกรรมการและเลขานุการ กองกฎหมาย กรมชลประทาน

Page 27: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-26

• คณะอนุกรรมการจายเงินคาชดเชยทรัพยสิน : มีหนาท่ีควบคุมดูแล และรับผิดชอบการจายเงิน ประกอบดวย * นายอําเภอทาปลา เปนประธานอนุกรรมการ * กรมชลประทานในฐานะผูจัดการ เปนอนุกรรมการ โครงการอางเกบ็น้ําหวยร ี * หัวหนาฝายจัดหาที่ดิน เปนอนุกรรมการและเลขานุการ กองกฎหมาย กรมชลประทาน - คณะกรรมการพิจารณากําหนดราคาคาชดเชยทรัพยสินที่ เหมาะสมแลว ประกาศใหผูท่ีไดรับผลกระทบทราบ เพื่อรับฟงขอคิดเห็นและขอทวงติง เพื่อพิจารณากําหนดราคาเปนครั้งสุดทายแลวปดประกาศใหทราบทั่วกัน - สํารวจรายละเอียดท่ีดิน พืชพรรณและทรัพยสินที่จะเสียหายของจํานวนราษฎรที่ไดรับความเสียหายแลวรีบประกาศใหราษฎรรับทราบ - ทําการตรวจสอบทรัพยสินและจัดทําบัญชีทรัพยสิน โดยคณะอนุกรรมการตรวจสอบทรัพยสิน - ดําเนินการจายคาชดเชย โดยคณะกรรมการจายเงินชดเชยทรัพยสิน การจายเงินชดเชยตองทําใหเสร็จกอนการเริ่มเก็บกักน้ําในอางเก็บน้ํา และควรจายใหครบทั้งหมดในครั้งเดียว คาดําเนินการชดเชยทรัพยสินประเมินไวในเบื้องตนรวมทั้งหมดประมาณ 70.55 ลานบาท (ท่ีระดับน้ําสูงสุด +227 ม.รทก.) โดยชวงปกอนการสรางโครงการควรใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการฯ และดําเนินการตรวจสอบภายใน 1 ป จากนั้นควรดําเนินการจายคาชดเชยใหแลวเสร็จในชวงปกอนเริ่มเก็บกักน้ํา

(2) มาตรการตั้งถิ่นฐานใหม พื้นที่แปลงจัดสรรอพยพ สําหรับราษฎรที่ไดรับผลกระทบ ท่ีประสงคท่ีจะใหทางราชการจัดสรรที่ดินทํากินใหใหม มีแปลงที่ดินที่สามารถจัดสรรได คือ ใชแปลงที่ดินของนิคมสรางตนเองลําน้ํานาน มาจัดสรรใหกับราษฎร ผานศูนยตอสูเอาชนะความยากจน (ศตจ.) ในงบประมาณป 2549 มีพื้นที่จํานวน 800 ไร ตั้งอยูในพื้นที่ ต.จริม ต.หาดลา และ ต.รวมจิต ซึ่งในพื้นที่ดังกลาว อยูในเขตชลประทานจากโครงการอางเก็บน้ําหวยรี ซึ่งทางกรมชลประทานไดทําหนังสือของความอนุเคราะหจัดสรรที่ดินทํากินใหกับผูท่ีไดรับผลกระทบจากการกอสราง โครงการอางเก็บน้ําหวยรีเบื้องตน ลงวันที่ 1 พฤษภาคม 2549 ถึงนายอําเภอทาปลา และผูปกครองนิคมสรางตนเองลําน้ํานาน 2) ระยะดําเนินการ ในระยะดําเนินการไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอม ดังนั้นจึงไมจําเปนตองมีมาตรการปองกันแกไข และลดผลกระทบสิ่งแวดลอม

Page 28: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-27

5.2.4.3 การสาธารณสุขและภาวะโภชนาการ

1) ระยะกอสราง (1) จัดเตรียมท่ีพักคนงานอยางถูกสุขลักษณะ จัดเตรียมหองสวมใหเพียงพอ คืออัตราสวน 1 หองตอคนงาน 15 คน และมีการควบคุมคนงานอยางเขมงวดใหมีการขับถายในสวมทุกคน เพื่อเปนการตัดวงจรชีวิตของโรคพยาธิใบไมตับ จัดเตรียมน้ําสะอาดไวดื่มและใชอยางเพียงพอ พรอมกับการจัดเตรียมท่ีรวบรวมและกําจัดขยะใหเปนที่เปนทาง ตองจัดใหมีแสงสวางเพียงพอ (2) ตรวจสุขภาพคนงานที่จะเขามาปฏิบัติงานทุกคน พรอมกับใหความรูเกี่ยวกับการสาธารณสุขและโรคติดตอท่ีสําคัญ รูถึงปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรคตางๆ พรอมการปองกันและควบคุมโรคดวย (3) บริษัทรับเหมากอสรางตองกวดขันและเขมงวดตอเจาหนาท่ีและคนงานใหเพิ่มความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน เพื่อเปนการลดการเกิดอุบัติเหตุตอคนงาน ตองจัดใหมีหนวยปฐมพยาบาลในพื้นที่ และตองติดตอกับโรงพยาบาลใกลเคียงไวเพื่อจัดสงคนไขท่ีมีอาการหนักตอโรงพยาบาลได

2) ระยะดําเนินการ (1) ลดผลกระทบดานพยาธิใบไมตับและพาหะกึ่งกลาง โดยการรณรงคไมใหประชาชนรับประทานอาหารปลาดิบ หรือดิบๆ สุกๆ รณรงคใหประชาชนทุกครัวเรือนสรางสวมและถายอุจจาระในสวมทุกคน เพื่อเปนการตัดวงจรชีวิตของโรคพยาธิใบไมตับ (2) ลดผลกระทบดานโรคที่มียุงเปนพาหะ โดยใหประชาชนคอยคนหาลูกน้ํายุงลายตามภาชนะเก็บน้ําใชภายในบานหรือตามภาชนะแตกชํารุดท่ีมีน้ําขังเปนประจํา อยางนอยอาทิตยละหนึ่งครั้ง ใชทรายอะเบทใสในภาชนะเก็บน้ํา ใชสารฆาแมลงชุบมุง (เพอรเมทริน) และใชผาชุบสารฆาแมลงเฟอรเมทรินไวตามคอกปศุสัตวดวย (3) ลดผลกระทบดานภาวะโภชนาการของเด็ก โดยจัดอาหารเสริมใหกับเด็กอายุ 0-5 ป ท่ีมีภาวะทุพโภชนาการ จัดอาหารเสริมใหเด็กนักเรียนประถมศึกษาที่มีภาวะทุพโภชนาการในพื้นที่โครงการ และจัดอาหารเสริมใหมารดาที่มีบุตร 0-5 ป ท่ีมีภาวะทุพโภชนาการ (4) ลดผลกระทบดานอนามัยสิ่งแวดลอมโดยการฝกอบรมผูนําทองถิ่นและประชาชนใหเฝาระวังคุณภาพน้ําดื่ม-น้ําใช ดวยการสงน้ําตรวจทางดานชีวภาพอยางสม่ําเสมอ เรงรัดใหประชาชนและโรงเรียนมีสวมใชและใชสวม 100 เปอรเซ็นต สงเสริมใหประชาชนใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก การใชสมุนไพรฆาแมลง เพื่อเปนการลดพิษของสารเคมีในสิ่งแวดลอม

5.2.4.4 แหลงโบราณคดีและประวัติศาสตร

1) พื้นที่อาง เก็บน้ํ า ไมมี เนื่องจากไม เกิดผลกระทบตอสิ่ งแวดลอมทางดานโบราณคดี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม 2) พื้นที่ชลประทาน ไมมีเนื่องจากไมเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทางดานโบราณคดี ประวัติ-ศาสตร และวัฒนธรรม

Page 29: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-28

5.2.4.5 การทองเที่ยวและพักผอนหยอนใจ

1) ระยะกอสราง แมวาไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอม แตควรมีการควบคุมและกําหนดระเบียบวินัยในการทํางาน ระหวางการกอสรางไมใหมีการทําลายสภาพธรรมชาติในสวนที่ไมเกี่ยวของ ควรมีการพัฒนาบริเวณริมเขื่อน โดยการกอสรางอาคารอเนกประสงค ศาลาชมวิวและพักผอน อาคารหองสุขาและที่จอดรถ รวมถึงการจัดใหมีการอบรมและพัฒนาคนในทองถิ่นใหมีทักษะความรูเกี่ยวกับการจัดการและบริการทองเที่ยว งบประมาณรวม 9.0 ลานบาท

2) ระยะดําเนินการ (1) การกําหนดมาตรการกักเก็บน้ําและปลอยน้ําลงทายน้ําใหเปนไปอยางมีระบบ โดยประชาสัมพันธใหประชาชนไดรับทราบอยูตลอดเวลา เพื่อไมใหมีผลกระทบตอประชากรและทรัพยากรตางๆ รวมถึงสามารถสงเสริมดึงดูดนักทองเที่ยวใหสามารถมีกิจกรรม อยางตอเนื่อง (2) ติดตามควบคุมการลงทุนของเอกชนที่อาจเกิดข้ึนดานการพักผอนและการทองเที่ยวโดยเฉพาะอยางยิ่ง การสรางรีสอรทและการจัดเรือนําเที่ยว โดยเนนไมใหมีการกอมลภาวะตอลําน้ํา เชน การท้ิงน้ําเสียและขยะมูลฝอยลงสูลําน้ํา ตลอดจนระวังไมใหมีการปลูกสรางสิ่งรุกล้ําลําน้ําดวย

5.3 มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

5.3.1 ทรัพยากรทางกายภาพ

5.3.1.1 สภาพภูมิประเทศ

ใหดําเนินการติดตามตรวจสอบการขุดถมการปรับปรุงเพื่อคืนสภาพพื้นที่ท้ังหัวงานโครงการ อุโมงคผันน้ํา และระบบชลประทานดวยทอสงน้ํา ตลอดชวงระยะเวลากอสราง 3 ป โดยโครงการกอสราง 1 สํานักชลประทานที่ 3 และติดตามตรวจสอบการฟนคืนสภาพพื้นที่ในชวงระยะเวลา 3 ปแรกของการดําเนินการ โดยโครงการชลประทานอุตรดิตถ

5.3.1.2 สภาพภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา

1) ระยะกอสราง ในระยะกอสรางไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม แตในชวงสุดทายของระยะการกอสราง ใหติดตั้งสถานีวัดขอมูลภูมิอากาศและสถานีวัดน้ําฝนเพื่อติดตามตรวจสอบในระยะดําเนินการโครงการไดอยางตอเนื่องและใชเปนประโยชนเพื่อการบริหารจัดการน้ําในอนาคตตอไป

Page 30: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-29

2) ระยะดําเนินการ การดําเนินโครงการอางเก็บน้ําหวยรี แมวาจะไมกอใหเกิดผลกระทบทางดานสภาพภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา แตเพื่อเปนการตรวจสอบแนวโนมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยเฉพาะจากสภาวะโลกรอนอยางเปนระบบอยางตอเนื่องและสามารถใชเปนขอมูลพื้นฐานบริเวณพื้นที่โครงการ เพื่อเปรียบเทียบสภาวะที่มีอยูเดิม รวมท้ังเปนประโยชนในการวิเคราะหขอมูลดานอุตุนิยมวิทยาระดับภูมิภาคในอนาคตดวย ดังนั้นจึงเสนอใหกรมชลประทานทําการติดตั้งสถานีวัดขอมูลภูมิอากาศและสถานีวัดน้ําฝนเพิ่ม 1 แหง บริเวณหัวงานโครงการ งบประมาณในการดําเนินงานชวงระยะ 10 ป เทากับ 1.68 ลานบาท

5.3.1.3 อุทกวิทยาน้ําผวิดิน

1) ระยะกอสราง ในระยะการกอสรางไมมีผลกระทบทางดานอุทกวิทยาน้ําผิวดิน ดังนั้นจึงไมจําเปนตองมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ การดําเนินโครงการอางเก็บน้ําหวยรี จะมีผลกระทบทางบวกตออุทกวิทยาทางน้ําผิวดินในระดับปานกลาง และเพื่อเปนการติดตามตรวจสอบปริมาณน้ําทาและระดับน้ําในลําน้ําหวยรี ดังนั้นจึงเสนอใหกรมชลประทานดําเนินการติดตามตรวจสอบผลกระทบทางดานอุทกวิทยา ซึ่งมีงบประมาณ ในระยะดําเนินโครงการ 10 ป รวมเปนเงินทั้งหมด 0.51 ลานบาท ประกอบดวย (1) ติดตั้งเสาวัดระดับน้ํา จํานวน 3 จุด คือ ลําน้ําหวยรีกอนไหลลงสูอางเก็บน้ํา อางเก็บน้ําหวยรี และทางดานทายน้ําหวยรี รวมท้ังบันทึกปริมาณน้ําท่ีปลอยผาน ท้ังจากอาคารระบายน้ําลน อาคารระบายน้ําลงลําน้ําเดิม และปริมาณน้ําท่ีผันเขาสูระบบชลประทาน รวมท้ังจัดทํารายงานเพื่อสรุปผลการดําเนินการอยางตอเนื่อง ตั้งแตปท่ี 4 ของการดําเนินการ (2) ติดตั้งสถานีอุทกวิทยา ประมวลผลปริมาณน้ํา 1 แหง บริเวณหัวงานโครงการ เพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงน้ําทาท่ีเกิดจากการดําเนินโครงการ ทําการรวบรวมขอมูลและทํารายงานสรุปทุกๆ 5 ป

5.3.1.4 คุณภาพน้ําผิวดิน

1) ระยะกอสราง ทําการตรวจสอบคุณภาพน้ําผิวดินที่คาดวาจะไดรับผลกระทบจากการกอสรางอางเก็บน้ํา โดยทําการเก็บตัวอยางน้ําผิวดิน ในลําน้ําหวยรี บริเวณบานทรายงาม และบริเวณอางเก็บน้ํา ดําเนินการปละ 2 ครั้ง คือ ในฤดูฝนและฤดูแลง ในปท่ี 2 และ 3 ของการดําเนินโครงการ หนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมชลประทาน งบประมาณที่ใชในการดําเนินการ เทากับ 0.54 ลานบาท

Page 31: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-30

2) ระยะดําเนินการ ทําการเก็บตัวอยางคุณภาพน้ําผิวดิน บริเวณพื้นที่โครงการ จํานวน 4 สถานี คือ ในลําน้ําหวยรีกอนไหลลงสูอางเก็บน้ํา ในอางเก็บน้ํา และแหลงน้ําในพื้นที่รับประโยชน บริเวณบานน้ําสิงหใต และบานยางจุม ทําการตรวจสอบปละ 2 ครั้ง คือ ในฤดูฝนและฤดูแลง ดําเนินการในปท่ี 4 7 และ 10 ของการดําเนินโครงการ หนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมชลประทาน งบประมาณที่ใชในการดําเนินการ เทากับ 1.62 ลานบาท

5.3.1.5 คุณภาพน้ําใตดิน

1) ระยะกอสราง ในระยะกอสรางไมมีผลกระทบสิ่งแวดลอม ดังนั ้นจึงไมจําเปนตองมีติดตามตรวจสอบ ผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ การติดตามตรวจสอบผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนตอสภาพน้ําใตดิน ท้ังดานปริมาณและดานคุณภาพ ภายหลังการดําเนินโครงการในพื้นที่อางเก็บน้ําและพื้นที่ชลประทาน จํานวน 4 สถานี ดังนี้

สถานี ตําแหนงสถานี ตัวแทน 1 บานกิ่วเคียน ต.จริม ทายน้ําหวยรี 2 บานเลิศชัย ต.จริม พ้ืนที่รับประโยชน 3 บานโปงแกว ต.หาดลา พ้ืนที่รับประโยชน 4 บานหวยหัวชาง ต.รวมจิต พ้ืนที่รับประโยชน

ดัชนีคุณภาพน้ําท่ีทําการตรวจสอบ เชน สี ความขุน pH ความกระดาง เหล็ก ทองแดง คลอไรด ไนเตรท ซัลเฟต สารหนู ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เปนตน โดยทําการวัดระดับน้ําและคุณภาพน้ําปละ 2 ครั้ง คือ ในชวงฤดูฝนและฤดูแลง โดยเริ่มดําเนินการติดตามตรวจสอบตั้งแตปท่ี 4 ถึงปท่ี 8 ของการดําเนินโครงการ งบประมาณในการดําเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําใตดินในชวงระยะเวลา 10 ป รวมเปนเงินทั้งสิ้น 1.2 ลานบาท หนวยงานที่รับผิดชอบ คือ กรมชลประทาน

5.3.1.6 ดินและคุณภาพดิน

1) ระยะกอสราง ติดตามตรวจสอบเพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดินรวมกับมาตรการดานการตกตะกอนและการกัดเซาะ

Page 32: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-31

2) ระยะดําเนินการ พื้นที่ขอบอางเก็บน้ําเสนอแนะใหมีการปลูกไมยืนตนและปลูกหญาแฝก เพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดิน รวมกับแผนงานดานตกตะกอนและการกัดเซาะ สวนพื้นที่ชลประทานเสนอแนะใหกรมพัฒนาที่ดิน ติดตามตรวจสอบความเสื่อมโทรมของดินและเสนอแนะใหมีการอบรมเกษตรกรดําเนินการปรับปรุงบํารุงดินอยางตอเนื่อง รวมกับงานสงเสริมและพัฒนาการเกษตรหลังมีโครงการ

5.3.1.7 ธรณีวิทยาและแผนดินไหว

1) ระยะกอสราง เสนอใหกรมชลประทาน ทําการติดตั้งเครื่องมือวัดความสั่นสะเทือน จํานวน 3 จุด และจัดทํารายงานสรุปผลการศึกษาตามกําหนด โดยเริ่มดําเนินการตั้งแตปท่ี 1 ถึง 3 ของปท่ีดําเนินการ งบประมาณในการดําเนินการชวงการกอสราง เทากับ 7.0 ลานบาท

2) ระยะดําเนินการ เสนอใหกรมชลประทาน ดําเนินการติดตามตรวจสอบดานแผนดินไหว ในสถานีท่ีท่ีทําการติดตั้งไว โดยดําเนินการในปท่ี 4 6 8 และ 10 ของปท่ีดําเนินการ งบประมาณในระยะดําเนินการ เทากับ 2.0 ลานบาท 5.3.1.8 การกัดเซาะและการตกตะกอน

1) ระยะกอสราง ใหผูรับเหมากอสรางทํารายงานมาตรการปองกันแกไขและลดผลกระทบดานตะกอนและการกัดเซาะ สงตอกรมชลประทานทุกเดือนตลอดระยะเวลาการกอสราง

2) ระยะดําเนินการ ดําเนินการตรวจสอบปริมาณตะกอนในอางเก็บน้ํา และตรวจสอบตะกอนและการกัดเซาะ ในลําน้ําหวยน้ํารี ชวงกอนไหลลงสูอางเก็บน้ํา ในอางเก็บน้ํา และดานทายน้ําหวยรี ซึ่งทําการวัดปละ 1 ครั้ง ตั้งแตปท่ี 5 ของการดําเนินการ โดยเสนอใหกรมชลประทานเปนผูดําเนินการ งบประมาณในการติดตามตรวจสอบ ในชวง 10 ปแรกของการดําเนินการ เทากับ 2.24 ลานบาท

5.3.1.9 พ้ืนที่ชุมน้ํา

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

Page 33: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-32

5.3.2 ทรัพยากรทางชีวภาพ

5.3.2.1 นิเวศวิทยาทางน้ํา

1) ระยะกอสราง ทําการเก็บตัวอยางแพลงกตอน สัตวหนาดินปลาและวัชพืชน้ํา ในชวงฤดูฝนและฤดูแลง ในปท่ี 2 และ 3 ของการกอสราง จํานวน 4 สถานี คือ ในลําน้ําหวยรี กอนไหลลงสูอางเก็บน้ํา บริเวณอางเก็บน้ําหวยรี และในพื้นที่รับประโยชน 2 สถานี ซึ่งเปนพื้นที่ดําเนินการกอสรางระบบทอสงน้ําดวย

2) ระยะดําเนินการ ทําการเก็บตัวอยางในชวงฤดู และสถานีเดียวกันกับระยะกอสราง โดยทําการเก็บตัวอยางในปท่ี 5 , 7 และ 10 ของปท่ีดําเนินการ ดําเนินการการติดตามตรวจสอบทางดานนิเวศวิทยาทางน้ํา และการประมง ท้ังในระยะกอสราง และระยะดําเนินการ โดยเสนอใหกรมประมงเปนผูรับผิดชอบ งบประมาณในการดําเนินโครงการรวม 10 ป เปนเงิน 3.00 ลานบาท

5.3.2.2 ทรัพยากรปาไม

1) ระยะกอสราง ติดตามการตัดไมพื้นที่หัวงานและอางเก็บน้ําท่ีดําเนินการ โดยองคการอุตสาหกรรมปาไม (ออป.) ใหถูกตองท้ังขอบเขตที่ตองตัดไมออก การชักลาก การเก็บริบสุมเผาไมขนาดเล็ก ใหนําไมมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนการปองกันน้ําเนาเสีย เนื่องจากน้ําทวมไมท่ียังมิไดชักลากออกมา รวมท้ังการเนาเสียของน้ําอันเกิดจากไมขนาดเล็กที่มิไดตัดฟนออก

2) ระยะดําเนินการ (1) ทําการตรวจสอบพื้นที่ปาไมและระบบนิเวศของปาไม รวมทั้งพื้นที่อยูอาศัยบริเวณใกลเคียงโครงการและรูปแบบของการทําเกษตรกรรม โดยใชการสํารวจดวยภาพถายดาวเทียม ภาพถายทางอากาศรวมกับการสํารวจภาคสนาม โดยทําการสํารวจปละ 1 ครั้ง ติดตามเปนระยะเวลา 5 ป (2) ทําการตรวจสอบพื้นที่ปาไมและระบบนิเวศของปาไม จากมาตรการปลูกปาเสริม มาตรการปองกันการลักลอบตัดไม และการบุกรุกทําลายปาเพื่อการเกษตรกรรม ท้ังนี้โดยกระทําปละ 1 ครั้ง รวมไปกับการสํารวจในขอ (1) โดยวัดอัตราการเจริญเติบโต ท้ังในรูปของอัตราการเจริญเติบโตสมบูรณ (Absolute Growth Rate) และอัตราการเจริญเติบโตสัมพัทธ (Relative Growth Rate) สภาพการสืบพันธุตามธรรมชาติของไมแตละชนิด โดยเฉพาะอยางยิ่งชนิดท่ีเปนไมเดน โดยมุงเนนในเรื่องของความสามารถในการผลิตเมล็ด การงอก การรอดตาย การตั้งตัว และการเจริญเติบโตของกลาไมสูสภาพของลูกไมและไมใหญ ท้ังนี้เพื่อจะไดสามารถคาดการณไดวาในอนาคตนั้น ระบบนิเวศของปาไมในบริเวณพื้นที่ใกลเคียงจะยังคงอยูในสภาพเดิมหรือเปลี่ยนแปลงไป

Page 34: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-33

การติดตามตรวจสอบดานปาไม ดําเนินการโดยกรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช โดยรอบพื้นที่อางเก็บน้ําอยูในเขตอุทยานแหงชาติลําน้ํานาน และปาสงวนแหงชาติลําน้ํานานฝงขวา และช้ันคุณภาพลุมน้ําช้ันที่ 1A ซึ่งในการดําเนินการทั้งในระยะกอสราง และระยะดําเนินการ มีงบประมาณในการดําเนินโครงการชวง 10 ปแรกเทากับ 3.0 ลานบาท

5.3.2.3 ทรัพยากรสัตวปา

1) ระยะกอสราง ในระยะการกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามให

ผูรับเหมากอสรางทํารายงานติดตามตรวจสอบดานผลกระทบสิ่งแวดลอมดานสัตวปาท่ีอาจพบเห็นเปนเฉพาะกรณีไป โดยรายงานอยางตอเนื่องเปนประจําทุกเดือน

2) ระยะดําเนินการ โครงการอางเก็บน้ําหวยรี ทําใหสัตวปาตองโยกยายออกไปอาศัยและหากินในพื้นที่ขางเคียงอางเก็บน้ํา จึงควรติดตามตรวจสอบผลกระทบตอสัตวปาในระยะดําเนินการของอางเก็บน้ําโดยศึกษาความหลากชนิดของสัตวปาท้ัง 4 กลุม บริเวณพื้นที่โดยรอบขอบอางเก็บน้ําแลวเปรียบเทียบกับการศึกษากอนหนาการมีโครงการ แลววิเคราะหการเปลี่ยนแปลงความหลากชนิด ระดับความชุกชุม และการกระจายของสัตวปา เพื่อติดตามตรวจสอบผลกระทบวาเปนแนวโนมท่ีทําสัตวปาไดรับผลกระทบในดานลบเพิ่มข้ึนหรือสัตวปาสามารถปรับตัวอาศัยอยูบริเวณพื้นท่ีอางเก็บน้ําในระยะดําเนินการได ดังนั้น จึงเสนอใหกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช ดําเนินการติดตามตรวจสอบ การสูญหาย และการเปลี่ยนแปลงของสัตวปา เริ่มดําเนินการหลังจากการกักเก็บน้ํา เปนระยะเวลา 5 ป ตอเนื่อง (ดําเนินงานในปท่ี 4 ถึง 8 ของปท่ีดําเนินการ) งบประมาณในการดําเนินการเทากับ 1.0 ลานบาท

5.3.3 คุณคาการใชประโยชนของมนุษย

5.3.3.1 การใชประโยชนที่ดิน

1) ระยะกอสราง ติดตามตรวจสอบสภาพการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนท่ีดินเพื่อการกอสรางหัวงานเขื่อนและอาคารประกอบใหอยูในขอบเขตอยางจํากัด และมีการดําเนินการตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด

2) ระยะดําเนินการ (1) เขื่อน อางเก็บน้ําและพื้นที่ลุมน้ํา : ติดตามตรวจสอบการใชประโยชนท่ีดิน การฟนฟูพื้นที่ในเขตรอบหัวงานเขื่อนและอางเก็บน้ํา รวมถึงการอนุรักษดินและน้ําในลุมน้ําหวยรี ตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด

Page 35: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-34

(2) พ้ืนที่ชลประทาน : ติดตามตรวจสอบการเพิ่มประสิทธิภาพและการใชประโยชนท่ีดินแบบเขมขนในเขตพื้นที่ชลประทานที่สนับสนุนใหราษฎรเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ การทําทุงหญาเลี้ยงปศุสัตว รวมถึงติดตามการปรับปรุงท่ีดินเพื่อสนับสนุนการเพาะปลูกพืชดังกลาว

5.3.3.2 การเกษตรกรรมและปศุสัตว

1) ระยะกอสราง ติดตามตรวจสอบราษฎรที่ไดรับผลกระทบใหไดรับคาทดแทนพืชผลทางการเกษตรอยางเปนธรรม 2) ระยะดําเนินการ ติดตามตรวจสอบระบบการปลูกพืชและเลี้ยงสัตวตามแนวทางการสงเสริมพัฒนาการเกษตร (Intensive Agriculture) การใชเทคโนโลยีดานการเกษตร เพื่อลดตนทุนการผลิตและการรักษาสิ่งแวดลอมรวมกับการศึกษาดานเศรษฐกิจสังคม

5.3.3.3 การใชน้ําเพื่อวัตถุประสงคตางๆ

1) ระยะกอสราง เสนอใหมีการตรวจสอบกิจกรรมและการใชน้ํา โดยเฉพาะบริเวณชุมชนบานกิ่วเคียน บริเวณทายน้ําของพื้นที่โครงการ โดยมีงบประมาณ 0.18 ลานบาท

2) ระยะดําเนินการ เสนอใหมีการติดตามกิจกรรมการใชน้ําท่ีไดรับการจัดสรรน้ําตามความตองการของผูใชน้ํา โดยใหผูแทนกรมชลประทานในฐานะหัวหนาโครงการชลประทานอางเก็บน้ําหวยรี และองคกรกลุมผูใชน้ําเปนผูรับผิดชอบในการบริหารจัดการ งบประมาณที่ใชในชวงระยะเวลาดําเนินการ เทากับ 0.42 ลานบาท ซึ่งเปนงบประมาณจากองคกรผูใชน้ําในพื้นที่

5.3.3.4 ระบบชลประทานและการบริหารการใชน้ํา

1) ระยะกอสราง ติดตามตรวจสอบผลกระทบกิจกรรมการกอสรางระบบทอสงน้ําใหมท่ีมีตอระบบทอสงน้ําเดิม (พื้นที่ 2,030 ไร)

Page 36: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-35

2) ระยะดําเนินการ กรมชลประทานควรติดตามตรวจสอบการพัฒนาปรับปรุงระบบชลประทานในพื้นที่โครงการ รวมท้ังประสิทธิภาพของการใชน้ําและการบํารุงรักษาระบบทอสงน้ําท้ังสายหลักและสายยอย (ทอบริการ) นอกจากนี้ควรพิจารณาผลประโยชนของโครงการเปรียบเทียบกับสภาพในปจจุบันกรณีไมมีโครงการ ในกรณีท่ีพบวาการบริหารการใชน้ําหรือระบบเกษตรชลประทานไมเปนไปตามแผนงานที่กําหนดไวและ/หรือทําใหเกิดผลไมดีก็ควรเสนอแนะใหปรับปรุงแกไข การติดตามตรวจสอบดังกลาวจะตองกระทําทุกๆ 6 เดือน ภายหลังการพัฒนาปรับปรุงระบบสงน้ํา โดยงานสวนหนึ่งจะเกี่ยวของกับการติดตามตรวจสอบผลกระทบดานเกษตร และงานอีกสวนหนึ่งจะเกี่ยวของกับการติดตามตรวจสอบดานสภาพเศรษฐกิจสังคม จึงไมมีคาใชจายในงานสวนนี้และใหมีการติดตามตรวจสอบองคกรผูใชน้ํา ถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของคณะองคกรผูใชน้ํา โดยมีงบประมาณ 0.42 ลานบาท

5.3.3.5 การคมนาคมขนสง

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามควรมีการติดตามเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับการใชถนนเพื่อการขนสงวัสดุกอสราง พื้นผิวถนน ฝุนละออง เสียงดังรบกวน ความปลอดภัยในการใชรถใชถนนของราษฎรในทองถิ่น เพื่อใหผูรับเหมาและกรมชลประทานแกไขใหทันทวงที

2) ระยะดําเนินการ ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

5.3.3.6 แหลงแรและการทําเหมืองแร

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

5.3.3.7 การอุตสาหกรรม

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ (1) ดําเนินการติดตามตรวจสอบการผลิตพืชและสัตว เพื่อใชในอุตสาหกรรมการเกษตรอยางตอเนื่อง

Page 37: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-36

(2) กรมชลประทานติดตามตรวจสอบกิจกรรมการใชน้ําในแตละประเภทอุตสาหกรรมเกษตรและแรงงานในภาคอุตสาหกรรมในทองถิ่นวามีผลกระทบตอคุณภาพน้ําในแหลงน้ําธรรมชาติในเขตพื้นที่โครงการอยางตอเนื่อง ปละ 2 ครั้ง 5.3.3.8 แหลงแรและการทําเหมืองแร

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5.3.4 คุณคาตอคุณภาพชีวิต

5.3.4.1 สภาพเศรษฐกิจสังคม

1) ระยะกอสราง ในปท่ี 2 ของการดําเนินการเสนอใหสํานักชลประทานที่ 3 ทําการติดตามตรวจสอบผูท่ีไดรับผลกระทบ และผูท่ีไดรับประโยชนจากโครงการ โดยใชแบบสอบถามสัมภาษณครัวเรือนตัวอยาง ในพื้นที่โครงการ งบประมาณ 0.5 ลานบาท

2) ระยะดําเนินการ เสนอใหสํานักงานชลประทานที่ 3 ติดตามผลจากการดําเนินโครงการวาราษฎรไดใชน้ําในการปรับปรุงคุณภาพชีวิตความเปนอยูอยางสัมฤทธิ์ผลหรือไม โดยใชแบบสอบถามสัมภาษณครัวเรือน ตัวอยางในพื้นที่โครงการ ดังนี้ (1) กลุมผูไดรับผลกระทบ : ติดตามคุณภาพชีวิตของราษฎรที่ไดรับการชดเชย ดําเนินการในปแรกของการดําเนินโครงการ (2) กลุมผูไดรับผลประโยชน : ประเมินสภาพเศรษฐกิจสังคม/คุณภาพชีวิตท่ีเปลี่ยนแปลงเพื่อนํามาปรับแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ รวมถึงวิธีการจัดสรรน้ํา ดําเนินการในปท่ี 4,6 และ 8 ของการดําเนินการงบประมาณในการติดตามตรวจสอบ เทากับ 1.5 ลานบาท ท้ังนี้เนื่องจากผูไดรับผลกระทบมีสวนหนึ่งท่ีอยูในพื้นที่รับประโยชน ใหดําเนินการติดตามตรวจสอบอยางตอเนื่องดวยเชนกัน

5.3.4.2 การชดเชยที่ดนิและทรัพยสิน

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

Page 38: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-37

2) ระยะดําเนินการ เสนอแนะใหใชมาตรการรวมกับการติดตามตรวจสอบในประเด็นดานเศรษฐกิจสังคม เพื่อประเมินคุณภาพชีวิตภายหลังการไดรับการชดเชยวามีความมั่นคงในชีวิตอยางนอยเทากับท่ีเคยเปนอยูกอนมีโครงการหรือไม

5.3.4.3 การสาธารณสุขและภาวะโภชนาการ

เปนการเสนอแนะมาตรการในการติดตามตรวจสอบผลกระทบในระยะดําเนินการดังนี้ 1) ติดตามตรวจสอบผลกระทบดานภาวะโภชนาการของเด็กเล็กและเด็กนักเรียน โดย (1) ตรวจสุขภาพและสํารวจภาวะโภชนาการเด็กอายุต่ํากวา 5 ปๆ ละ 1 ครั้ง โดยสถานีอนามัยในทองท่ี (ในพื้นที่) ทุกปเปนระยะเวลา 5 ป (2) ตรวจสุขภาพและสํารวจภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 ปละ 1 ครั้ง โดยสถานีอนามัยในพื้นที่และครูสุขศึกษาในโรงเรียนเปนเวลา 5 ป (3) ตรวจสุขภาพและสํารวจภาวะโภชนาการของแมท่ีมีบุตร 0-5 ป ปละ 1 ครั้ง โดยสถานีอนามัยในพื้นที่และฝายโภชนาการศูนยสงเสริมสุขภาพเขตดําเนินการ 2) ติดตามตรวจสอบผลกระทบดานพยาธิใบไมตับและพาหะกึ่งกลาง โดย (1) สุมตรวจอุจจาระ (5-10%) ประชากรในพื้นที่ โดยโรงพยาบาลชุมชน (2) ตรวจอุจจาระผูติดเชื้อพยาธิใบไมตับซ้ําจากผูท่ีเคยตรวจพบและไดรับการรักษาแลว โดยโรงพยาบาลชุมชน (3) ตรวจหาหอย Bithynia sp. ในพื้นที่โครงการ โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ท้ังนี้ใชงบประมาณรวม 9 ลานบาท และสามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมไดหากไมมีผลกระทบที่มีนัยยะสําคัญ 3) ติดตอตรวจสอบผลกระทบดานโรคที่มียุงเปนพาหะ โดย (1) เจาะเลือดผูมีไขและสงสัยวาเปนโรคมาลาเรีย โดยจัดใหมีกลองจุลทรรศนในสถานีอนามัยใชเปนที่ดําเนินการทุกแหง ดําเนินการโดยสวนมาลาเรียและสถานีอนามัย สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ทุกปเปนเวลา 5 ป (2) สํารวจลูกน้ํายุงกนปลองตามแหลงน้ําตางๆ และจับยุงกนปลองโดยสวนมาลาเรียของจังหวัด ทุกป ท้ังนี้เปนงบประมาณรวม 1 ลานบาท 4) การติดตามตรวจสอบผลกระทบดานอนามัยสิ่งแวดลอมโดย (1) ดูอัตราการปวยและตายเนื่องจากน้ําและอาหารเปนสื่อ (การระบาดของโรค) ทุกป โดยเจาหนาท่ีสถานีอนามัยในทองถิ่นทุกป ไมตองใชงบประมาณ (2) ติดตามการกําจัดขยะของประชาชนในพื้นที่ และดูจากการรองเรียนของประชาชนใกลเคียง โดยเจาหนาท่ีสถานีอนามัยในทองถิ่นดําเนินการทุกปเปนเวลา 5 ป

Page 39: บทที่ 5 มาตรการป องกันและแก ไข ผลกระทบสิ่งแวดล อมและ ...eiadoc.onep.go.th/eialibrary/5water/52/huayree/บทที่

รายงานหลัก กรมชลประทาน

บทที่ 5 มาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม 5-38

5.3.4.4 แหลงโบราณคดีและประวัติศาสตร

1) พื้นที่อาง เก็บน้ํ า ไมมี เนื่องจากไม เกิดผลกระทบตอสิ่ งแวดลอมทางดานโบราณคดี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม 2) พื้นที่ชลประทาน ไมมี เนื่องจากไมเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทางดานโบราณคดี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม 5.3.4.5 การทองเที่ยวและพักผอนหยอนใจ

1) ระยะกอสราง ไมมีมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม

2) ระยะดําเนินการ เสนอใหกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช และองคการปกครองสวนทองถิ่น (ต.น้ําหมันและต.จริม) สํารวจพื้นที่บริเวณอางเก็บน้ําท่ีมีศักยภาพ ท่ีจะพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว และกําหนดเขตพื้นท่ีท่ีจะพัฒนาเปนแหลงทองเที่ยว รวมท้ังติดตามตรวจสอบการสงเสริมดานการทองเที่ยว (ทายน้ําบริเวณบานกิ่วเคียน) มีงบประมาณในการดําเนินการเทากับ 0.3 ลานบาท