11
ดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ ๑ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ผู้เรียบเรียง ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรวรรณ ขมวัฒนา นาวาอากาศตรีหญิงวีร์สุดา บุนนาค ผู้ตรวจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชูเกียรติ วงฆ้อง อาจารย์จุรี ทรงสกุล อาจารย์พรพรรณ วัฑฒนายน บรรณาธิการ อาจารย์นรีรัตน์ พินิจธนสาร

ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

ดนตรี-นาฏศิลป์กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ผู้เรียบเรียง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรวรรณ ขมวัฒนา

นาวาอากาศตรีหญิงวีร์สุดา บุนนาค

ผู้ตรวจ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชูเกียรติ วงฆ้อง

อาจารย์จุรี ทรงสกุล

อาจารย์พรพรรณ วัฑฒนายน

บรรณาธิการ

อาจารย์นรีรัตน์ พินิจธนสาร

Page 2: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

สงวนลิขสิทธิ์

สำานักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำากัด

พ.ศ. ๒๕๕๗

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

๗๐๑ ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐

โทร. ๐-๒๒๔๓-๘๐๐๐ (อัตโนมัติ ๑๕ สาย), ๐-๒๒๔๓-๑๘๐๕

แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : ๐-๒๒๔๑-๔๑๓๑, ๐-๒๒๔๓-๗๖๖๖

website : www.iadth.com

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ได้จัดทำาตามมาตรฐาน

การเรยีนรู้ตวัชีว้ดัและสาระการเรยีนรูแ้กนกลางของหลกัสตูรแกนกลางการศกึษาขัน้พืน้ฐานพทุธศกัราช

๒๕๕๑โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ เพลงไทยเพลงสากลการปฏิบัติตามตัวโน้ตวงดนตรีคุณภาพของเสียง

องค์ประกอบดนตรีดนตรีกับสังคมไทยการแสดงนาฏศิลป์สร้างสรรค์กิจกรรมการแสดงและละครไทย

เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้สอนและผู้เรียนหนังสือเรียนเล่มนี้จึงได้จัดทำาเนื้อหาที่ทันสมัย

มีกิจกรรมการเรียนรู้ และคำาถามพัฒนากระบวนการคิดที่ เหมาะสมกับวัยของผู้ เรียน กระตุ้น

กระบวนการคิด นอกจากนี้ยังได้สอดแทรกข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพน่ารู้ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ปลอดภัยไว้ก่อน เว็บไซต์แนะนำา คำาศัพท์สำาคัญ จุดประกายความรู้ ความรู้เพิ่มเติมและกิจกรรม

พัฒนาความสามารถในการอ่าน

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานดนตรี-นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

จะช่วยพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ

คณะผู้จัดทำา

คำ�นำ�

Page 3: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

หน้า

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การแสดงนาฏศิลป์ ๙๓

อิทธิพลด้านการแสดงของไทย ๙๔

นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง ๑๐๖

ภาษาท่าภาษาท่าทางนาฏศิลป์และการตีบท ๑๐๙

ท่าทางเคลื่อนไหวที่แสดงสื่อทางอารมณ์ ๑๑๔

ระบำาเบ็ดเตล็ด ๑๑๔

รำาวงมาตรฐาน ๑๒๒

การแสดงนาฏศิลป์ไทยนาฏศิลป์พื้นเมืองและนาฏศิลป์สากล ๑๒๖

ผังสาระการเรียนรู้นาฏศิลป์ ๙๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ สร้างสรรค์กิจกรรมการแสดง ๑๓๖

การสร้างสรรค์กิจกรรมการแสดง ๑๓๗

หลักในการชมการแสดง ๑๔๑

มารยาทในการชมการแสดง ๑๔๒

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ ละครไทย ๑๔๕

ประเภทของละครไทย ๑๔๖

ละครไทยในแต่ละยุคสมัย ๑๕๓

ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ ๑๕๖

บรรณานุกรม ๑๖๐

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต ๗

เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี ๘

การอ่านตัวโน้ตบทเพลงไทยและสากล ๑๕

เสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่างๆ ๒๑

การร้องและบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการร้อง ๒๘

หน้า

ผังสาระการเรียนรู้ดนตรี ๖

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ วงดนตรี คุณภาพของเสียง และองค์ประกอบดนตรี ๔๔

วงดนตรีไทย ๔๕

วงดนตรีพื้นเมือง ๕๗

วงดนตรีสากล ๖๑

การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง ๖๗

การประเมินคุณภาพของบทเพลง ๗๐

การนำาเสนอบทเพลง ๗๑

การใช้และบำารุงรักษาเครื่องดนตรี ๗๓

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ดนตรี กับสังคมไทย ๘๔

บทบาทและอิทธิพลของดนตรีในสังคม ๘๕

องค์ประกอบของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม ๘๗

สารบัญ

Page 4: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

๑สาระที่ ๒ ดนตรี

ศ ๒.๑

ผังสาระการเรียนรู้ดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑เพลงไทย เพลงสากลและการปฏิบัติตามตัวโน้ตตัวชี้วัดข้อ ๑ อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล

ตัวชี้วัดข้อ ๒ เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรี

ที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน

ตัวชี้วัดข้อ ๓ ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบ

การร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ

ตัวชี้วัดข้อ ๔ จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจาก

วัฒนธรรมต่าง ๆ

ตัวชี้วัดข้อ ๕ แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มี

ความเร็วของจังหวะและความดัง-เบาแตกต่างกัน

ตัวชี้วัดข้อ ๖ เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการฟังดนตรี

แต่ละประเภท

ตัวชี้วัดข้อ ๗ นำาเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบและอภิปราย

ลักษณะเด่นที่ทำาให้งานนั้นน่าชื่นชม

ตัวชี้วัดข้อ ๘ ใช้เกณฑ์สำาหรับประเมินคุณภาพงานดนตรี

หรือเพลงที่ฟัง

ตัวชี้วัดข้อ ๙ ใช้และบำารุงรักษาเครื่องดนตรีอย่างระมัดระวัง

และรับผิดชอบ

ศ ๒.๒

ตัวชี้วัดข้อ ๑ อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของ

ดนตรีที่มีต่อสังคมไทย

ตัวชี้วัดข้อ ๒ ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรี

ในวัฒนธรรมต่างกัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑เพลงไทย เพลงสากลและการปฏิบัติตามตัวโน้ต

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑เพลงไทย เพลงสากลและการปฏิบัติตามตัวโน้ต

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒วงดนตรี คุณภาพของเสียงและองค์ประกอบดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒วงดนตรี คุณภาพของเสียงและองค์ประกอบดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒วงดนตรี คุณภาพของเสียงและองค์ประกอบดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒วงดนตรี คุณภาพของเสียงและองค์ประกอบดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒วงดนตรี คุณภาพของเสียงและองค์ประกอบดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒วงดนตรี คุณภาพของเสียงและองค์ประกอบดนตรี

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ดนตรีกับสังคมไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ดนตรีกับสังคมไทย

โน้ตบทเพลงไทย

โน้ตบทเพลงสากล

การเทียบตัวโน้ตเป็นอักษรไทย

เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ในบทเพลง

บทเพลงพื้นบ้าน

บทเพลงปลุกใจ

บทเพลงไทยเดิม

บทเพลงประสานเสียง ๒ แนว

บทเพลงรูปแบบ ABA

บทเพลงประกอบการเต้นรำา

วิธีการขับร้อง

เครื่องดนตรีที่ใช้ในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ

๑. อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล (ศ ๒.๑ ม.๑/๑)๒. เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน (ศ ๒.๑ ม.๑/๒)๓. ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบ (ศ ๒.๑ ม.๑/๓)

๑. การอ่าน เขียน ร้อง และบันทึกโน้ตเพลงจะทำาให้เข้าใจบทเพลงได้ง่ายขึ้น สามารถบรรเลงบทเพลงหรือขับร้อง ได้ถูกต้องตามจังหวะ และอารมณ์เพลง๒. ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง ๆ ในท้องถิ่น เป็นสิ่งที่เกิดจากภูมิปัญญา ของคนในท้องถิ่น สร้างความสุข สนุกสนานให้กับคนในท้องถิ่น๓. บทเพลงแต่ละบทเพลงมีรูปแบบลักษณะที่แตกต่างกัน ให้อารมณ์ความรู้สึกแก่ผู้ฟังแตกต่างกัน และแต่ละบทเพลง ยังสอดแทรกข้อคิดที่ผู้ฟังสามารถนำามาปรับใช้ในชีวิตประจำาวันได้

ผังสาระการเรียนรู้

สาระสำาคัญ

การอ่านตัวโน้ต

บทเพลงไทยและสากล

เสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรี

ในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ

เพลงไทย เพลงสากลและการปฏิบัติตามตัวโน้ต

เครื่องหมายและ

สัญลักษณ์ทางดนตรี

การร้องและบรรเลง

เครื่องดนตรีประกอบการร้อง

เพลงไทย เพลงสากลและการปฏิบัติตามตัวโน้ต

ตัวชี้วัด

Page 5: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

๕ เส้น

บรรทัด

๔ ช่องบรรทัด

ตัวอย่าง บรรทัด ๕ เส้น

นักเรียนรู้จักเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีอะไรบ้าง

บรรทัด ๕ เส้น มีไว้สำาหรับบันทึกตัวโน้ตรวมทั้งเครื่องหมายหยุดทั้ง ๗ ลักษณะ และทำาให้รู้ถึง

ระดับเสียงสูง-ตำ่าของโน้ตต่าง ๆ บรรทัด ๕ เส้น มีลักษณะเป็นเส้นตรงเรียงขนานกันไป ๕ เส้น

( ) เพื่อให้เห็นเสียงสูง-ตำ่าของตัวโน้ตลักษณะต่าง ๆ ในการบรรเลงดนตรีนั้นต้องบันทึกสัญลักษณ์

ตัวโน้ตให้ชัดเจน เพื่อให้การบรรเลงดนตรีเป็นไปอย่างถูกต้อง ไพเราะน่าฟัง

จุดประกายความคิด

เครื่องหมาย

โยงเสียง

การประจุด

ลาวจ้อย

เนื้อร้อง : คัดจากลิลิตพระลอ ทำานอง : ลาวเซิ้ง (ลาวจ้อย)

เสน้นอ้ย

คำาถามท้าทาย

เส้นน้อย

เส้นที่อยู่ตำ่านับจากด้านล่างลงไป เสียงตัวโน้ตจะเป็นเสียงที่ตำ่า บรรทัด ๕ เส้นจะมีกุญแจ

ประจำาหลักซอล ( ) ที่ทำาให้ตัวโน้ตของกุญแจประจำาหลักนี้มีเสียงปานกลางถึงเสียงสูง ส่วนกุญแจ

ประจำาหลักฟา ( ) หรือเรียกเต็ม ๆ ว่าฟาเบสจะทำาให้โน้ตในกุญแจประจำาหลักฟานี้มีเสียงตำ่า

ถึงตำ่าที่สุด

เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี

๒. เส้นน้อย

การบันทึกโน้ตโดยทั่วไปจะใช้กุญแจซอล ( ) เป็นหลัก การบันทึกตัวโน้ตที่มีเสียงสูง-ตำ่าเกิน

บรรทัด ๕ เส้น จะใช้วิธีการขีดเส้นสั้น ๆ เฉพาะตัวโน้ตที่จะบันทึกเท่านั้น ถ้าตัวโน้ตนั้นมีเสียง

สูงกว่าบรรทัด ๕ เส้น จะใช้ขีดเส้นสั้น ๆ เหนือบรรทัด ๕ เส้น แต่ถ้ามีเสียงตำ่ากว่าบรรทัด ๕ เส้น จะใช้

ขีดเส้นสั้น ๆ ใต้บรรทัด ๕ เส้น ซึ่งเรียกเส้นสั้น ๆ นี้ว่า เส้นน้อย เป็นการเพิ่มโน้ตที่มีเสียงสูงขึ้นหรือ

เสียงตำ่าลงกว่าบรรทัด ๕ เส้น ดังภาพ

เส้นกั้นห้องมีเพื่อให้การอ่านโน้ตและการบันทึกตัวโน้ตลงจังหวะตามที่ต้องการ โดยเมื่อจบ

๑ ห้องเพลงจะขีดเส้นกั้นห้อง ๑ เส้น และเมื่อจบบทเพลงจะขีดเส้นกั้นห้องสองเส้น เรียกว่า เครื่องหมาย

จบเพลง

๓. เส้นกั้นห้อง

เส้นกั้นห้อง เครื่องหมายจบเพลง

เครื่องหมายจบท่อนเพลง

๑. บรรทัด๕เส้น

นักเรียนคิดว่าถ้าการบันทึกโน้ตไม่มีบรรทัด ๕ เส้น จะเป็นอย่างไร

8 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑ 9เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต

Page 6: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

��������������������������

คำาถามท้าทาย

ตัวโน้ต เป็นเครื่องหมายชนิดหนึ่งที่ใช้บันทึกแทนเสียงดนตรี และเสียงขับร้อง มีชื่อเรียกตาม

ลักษณะต่าง ๆ และมีอัตราจังหวะที่แตกต่างกัน ดังนี้

๔. ตัวโน้ต

อัตราจังหวะชื่อเรียกลักษณะตัวโน้ต อัตราส่วนเปรียบเทียบ

ตัวกลม

ตัวขาว

ตัวดำา

ตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น

ตัวเขบ็ตสองชั้น

ตัวเขบ็ตสามชั้น

ตัวเขบ็ตสี่ชั้น

๑๔

๑๘

๑๒

๑๑๖

หรือ

หรือ

หรือ

หรือ

หรือ

หรือ

*ใช้โน้ตตัวกลมเป็นเกณฑ์

การเปรียบเทียบอัตราโน้ต

ตัวกลม ๑ ตัว

มีค่าเท่ากับโน้ตตัวขาว ๒ ตัว

มีค่าเท่ากับโน้ตตัวดำา ๔ ตัว

มีค่าเท่ากับโน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น ๘ ตัว

มีค่าเท่ากับโน้ตตัวเขบ็ตสองชั้น ๑๖ ตัว

มีค่าเท่ากับโน้ตตัวเขบ็ตสามชั้น ๓๒ ตัว

การเขียนจัดกลุ่มโน้ต นิยมใช้กับโน้ตตัวเขบ็ตลักษณะต่าง ๆ ดังตัวอย่าง

๕. การเขียนจัดกลุ่มโน้ต

มีค่าเท่ากับโน้ตตัวเขบ็ตสี่ชั้น ๖๔ ตัว

๑. = หรือ =

๒. = หรือ =

๓. = หรือ =

๔. = หรือ =

๕. = หรือ =

๖. = หรือ =

การเขียนจัดกลุ่มโน้ตในบทเพลง

๖. ตัวหยุด

ตัวหยุด หรือเครื่องหมายหยุด เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการบันทึกร่วมกับตัวโน้ตทั้ง ๗ ลักษณะ

เพื่อจะทำาให้เกิดเสียงเงียบหรือหยุดในขณะที่บรรเลงดนตรี ซึ่งจะหยุดนานเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับเครื่องหมายหยุด

ที่จะมีระยะเวลาต่างกันไปตามลักษณะและอัตราความยาวของตัวหยุด เครื่องหมายหยุดมี ๗ ลักษณะ

แตกต่างกันออกไป ดังนี้

สัญลักษณ์แทนเครื่องหมายหยุดชื่อเครื่องหมาย

( ) หยุดตัวกลม มีอัตราที่ยาวที่สุด

( ) หยุดตัวขาว มีอัตราครึ่งหนึ่งของหยุดตัวกลม

( ) หยุดตัวดำา มีอัตราครึ่งหนึ่งของหยุดตัวขาว

( ) หยุดตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น มีอัตราครึ่งหนึ่งของหยุดตัวดำา

( ) หยุดตัวเขบ็ตสองชั้น มีอัตราครึ่งหนึ่งของหยุดตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น

( ) หยุดตัวเขบ็ตสามชั้น มีอัตราครึ่งหนึ่งของหยุดตัวเขบ็ตสองชั้น

( ) หยุดตัวเขบ็ตสี่ชั้น มีอัตราครึ่งหนึ่งของหยุดตัวเขบ็ตสามชั้น

ตัวโน้ตมีความสำาคัญต่อบทเพลงอย่างไร

10 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑ 11เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต

Page 7: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

คำาถามท้าทาย

สรุป

ถ้าไม่มีกุญแจประจำาหลัก บทเพลงจะเป็นอย่างไร

ความรู้เพิ่มเติม

อาชีพน่ารู้

๗. กุญแจประจำาหลัก

การบันทึกกุญแจประจำาหลักนั้นจะบันทึกไว้ในตอนเริ่มต้นของบรรทัด ๕ เส้น เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายกำากับ และเพื่อทำาให้อ่านชื่อของตัวโน้ตตามกุญแจประจำาหลักได้ กุญแจประจำาหลัก ได้แก่กุญแจประจำาหลักซอล และกุญแจประจำาหลักฟา

๗.๑ กุญแจซอล()

กุญแจซอลมีหน้าที่กำาหนดเสียงตัวโน้ตอยู่ในบรรทัด ๕ เส้น หัวของกุญแจซอลจะอยู่บน คาบเส้นที่ ๒ ของบรรทัด ๕ เส้น ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นโน้ตตัวใดเมื่อบันทึกลงบนคาบเส้นที่ ๒ ของกุญแจซอลจะเรียกว่า โน้ตตัวซอล ทั้งสิ้น และเมื่อไล่เสียงขึ้นไปในช่องที่ ๒ จะเป็นโน้ตตัวลา ต่อจากโน้ตตัวลา คาบเส้นที่ ๓ จะเป็นโน้ตตัวที และในช่องที่ ๓ ของบรรทัด ๕ เส้น จะเป็นโน้ตตัวโด (สูง) ถ้าไล่เสียงลงมาจากโน้ตตัวซอลในช่องที่ ๑ ของบรรทัด ๕ เส้น จะเป็นโน้ตตัวฟา และคาบเส้นที่ ๑ ก็จะเป็นโน้ตตัวมี แล้วใต้เส้นบรรทัดที่ ๑ ก็จะเป็นโน้ตตัวเรและโด ตามลำาดับ

กุญแจประจำาหลักฟา

กุญแจประจำาหลักซอล

๗.๒กุญแจฟา()

กุญแจฟา คือ เครื่องหมายที่กำาหนดเสียงตัวโน้ตอยู่ในบรรทัด ๕ เส้น หัวของกุญแจฟาจะอยู่คาบเส้นที่ ๔ ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นโน้ตตัวใดเมื่อบันทึกลงบนคาบเส้นที่ ๔ ของกุญแจฟา จะเรียกว่า โน้ตตัวฟา แล้วจึงไล่เสียงเหมือนกับการไล่เสียงของกุญแจซอล

ตัวซี มักจะบันทึกว่า ที(ซี) เพราะถ้าเขียนเป็นสัญลักษณ์ตัวเดียวจะซำ้ากับเสียงของโน้ตตัวซอล จึงมักเขียนเป็น ที หรือ ที(ซี)

อาชีพผู้ผลิตหรือโปรดิวเซอร์เพลง เป็นอาชีพที่มีความสำาคัญมากในการผลิตผลงานเพลง ต้องมีความรู้ทุกเรื่องเกี่ยวกับการผลิตเพลง เริ่มตั้งแต่เลือกแนวเพลง หาจุดเด่นของศิลปิน วางแผนการทำางานทั้งหมด เป็นอาชีพที่ต้องมีความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานอยู่เสมอ

๘. เครื่องหมายกำากับจังหวะ

เครื่องหมายกำากับจังหวะ คือ เครื่องหมายที่มีส่วนในการบันทึกตัวโน้ตเพื่อให้ผู้แต่งเพลง ผู้ร้องเพลง

ผู้บรรเลงเพลงสามารถเข้าใจอารมณ์ของบทเพลงได้ เครื่องหมายกำากับจังหวะมีลักษณะ ดังนี้

เครื่องหมายกำากับจังหวะ

จะเขียนเหมือนเลขเศษส่วนแต่จะไม่มีขีดคั่นกลาง ซึ่งความหมายของเลขตัวล่าง หมายถึง ลักษณะ

ของตัวโน้ตที่นับเป็น ๑ จังหวะ ส่วนเลขตัวบนหมายถึง จำานวนจังหวะใน ๑ ห้อง เช่น 42 มีความหมาย

ว่าให้มีโน้ตตัวดำา ( ) ๒ ตัว ใน ๑ ห้อง แต่ถ้าไม่ใช่โน้ตตัวดำา ๒ ตัวจะใช้โน้ตตัวอื่นแทนก็ได้

แต่ต้องมีลักษณะของตัวโน้ตรวมกันให้ได้โน้ตตัวดำา ๒ ตัว เช่น การเขียนเครื่องหมาย

กำากับจังหวะจะเขียนต่อจากกุญแจประจำาหลัก

เครื่องหมายและสัญลักษณ์เป็นสิ่งสำาคัญในการบันทึกบทเพลง ทำาให้ผู้ร้อง

และผู้บรรเลงเข้าใจจังหวะ ทำานองของบทเพลงได้ง่ายขึ้น สามารถขับร้องและบรรเลงดนตรี

ได้ถูกต้องตามจังหวะและทำานองของบทเพลง

12 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑ 13เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต

Page 8: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

เว็บไซต์แนะนำา

เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี

คำาศัพท์สำาคัญ

bar line (บา ไลนฺ) เส้นกั้นห้อง

44

๑. ตัวหยุดมีความสำาคัญต่อบทเพลงอย่างไร

๒. การกระจายตัวโน้ตมีประโยชน์อย่างไร

๓. กุญแจประจำาหลักมีความสำาคัญกับบทเพลงอย่างไร

๔. บทเพลงที่ใช้เครื่องหมายกำากับจังหวะ นั้น หมายความว่าอย่างไร

๕. การบันทึกโน้ตเพลงมีความสำาคัญอย่างไร

๑. ให้นักเรียนเขียนตัวโน้ต ๔ ห้องเพลง โดยใช้กุญแจประจำาหลักซอล โน้ตที่ใช้คือตัวโด ตัวมี

และตัวซอล ใช้เครื่องหมายกำากับจังหวะ 44

๒. ให้นักเรียนเติมตัวหยุดและตัวโน้ตให้สัมพันธ์กัน

๒.๑ ๒.๒ ๒.๓

๒.๔ ๒.๕ ๒.๖

producer (โพรดิว' เซอะ) ผู้ผลิต ผู้สร้าง

rest (เรสทฺ) พัก หยุด

timesignature (ไทมฺ ซิก' นะเชอะ) เครื่องหมายกำากับจังหวะ

symbol (ซิม' เบิล) สัญลักษณ์ เครื่องหมาย

โน้ตสากล www.earth.prohosting.com

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑

คำาถามพัฒนากระบวนการคิด

๓. ให้นักเรียนเขียนกระจายตัวโน้ตลงในแผนภูมิ

การอ่านตัวโน้ตบทเพลงไทยและสากล

๑. โน้ตบทเพลงไทย

๑.๑ การอ่านโน้ตบทเพลงไทย

การถ่ายทอดทำานองเพลงของไทยไม่ได้มีการบันทึกด้วยการเขียน ส่วนใหญ่ถ่ายทอด

ตอ่เนือ่งกนัมาดว้ยการจำา และการปฏบิตัซิำา้ เพือ่ใหเ้กดิความจำาอยา่งแมน่ยำา ตอ่มาเมือ่เริม่มกีารศกึษาเรือ่ง

โน้ตสากล จึงเห็นความสำาคัญในการบันทึกโน้ตเพลงไทยด้วยการเขียน เพื่อเป็นการถ่ายทอดต่อเนื่อง

อย่างเป็นแบบแผน แต่การใช้โน้ตในการบันทึกเพลงไทยยังไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัว

ในทางดนตรไีทยบางครัง้นยิมบนัทกึโนต้เพลงไทยดว้ยตวัเลข บางครัง้กบ็นัทกึดว้ยโนต้สากล

แต่ส่วนใหญ่มักใช้การบันทึกโน้ตเพลงไทยด้วยตัวอักษรไทยแทนตัวโน้ตสากล เช่น ใช้ตัว ด แทนตัว โด

ใช้ตัว ร แทนตัว เร โดยเรียกว่า โน้ตเพลงไทยหรือการบันทึกโน้ตเพลงไทย

โนต้เพลงไทยแบบทีก่ลา่วถงึนีใ้ชบ้นัทกึดว้ยอกัษรไทยแทนการออกเสยีงของโนต้เพลงสากล คอื

นักเรียนจะใช้เครื่องดนตรีไทยชนิดใดมาประกอบจังหวะในการอ่านโน้ต

ตัว ด ใช้แทนเสียง โด ตัว ร ใช้แทนเสียง เร

ตัว ม ใช้แทนเสียง มี ตัว ฟ ใช้แทนเสียง ฟา

ตัว ซ ใช้แทนเสียง ซอล ตัว ล ใช้แทนเสียง ลา

ตัว ท ใช้แทนเสียง ที, ซี

14 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑ 15เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต

Page 9: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

การบันทึกโน้ตเพลงไทยแต่ละบรรทัดแบ่งเป็น ๘ ห้องเพลง ในหนึ่งห้องเพลงจะมี ๔ จังหวะ

ใช้เครื่องหมายลบ หรือขีด (-) แทนจังหวะในห้องเพลงนั้น ๆ

---- -ซลท -มรำท -ล-ซ ---ล ทลซร -ซ-ร -ซ-ดำ

---- -รำ-ดำ ---ล -ซ-ฟ ---ร -ฟ-ซ ---ล -ดำ-รำ

---- ----ล -ดำ-ท -ล-รำ -ท-รำ -ทรำล -ดำ-ท -ล-รำ

---- -ททรำ -ททรำ -ซลท ---- -ซลท -มรำท -ล-ซ

---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ ---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ

๑.๒ โน้ตบทเพลงไทยอัตราจังหวะ๒ชั้น

อัตราจังหวะ ๒ ชั้น คือ อัตราจังหวะที่มีความเร็วปานกลาง ไม่ช้ามากและไม่เร็วมากเป็น

จังหวะที่ฟังสบาย ๆ ให้ความรู้สึกผ่อนคลาย บทเพลงไทยอัตราจังหวะ ๒ ชั้น มีมากมายหลายบทเพลง

ซึ่งบทเพลงไทยอัตราจังหวะ ๒ ชั้น มีที่มา ดังนี้

๑. ศิลปิน หรือผู้ประพันธ์แต่งขึ้นเพื่อเป็นเพลงที่มีอัตราจังหวะ ๒ ชั้นโดยตรง

๒. ถอืกำาเนดิจากเพลงอืน่ เชน่ นำาเพลงชัน้เดยีวมาขยายหรอืปรบัใหเ้ปน็เพลงทีม่อีตัราจงัหวะ

๒ ชั้น เพื่อใช้บรรเลงหรือขับร้องประกอบการแสดงโขนและละคร

ตัวอย่าง โน้ตบทเพลงไทยอัตราจังหวะ ๒ ชั้น

เพลงลาวลำาปาง

---รำ ---ซ ---ล -ดำ-รำ -มำ-ล -ด-รำ -ซำ-มำ -รำ-ดำ

---- -ลลล -รำดำล -ซ-ฟ ---ร -ฟ-ซ ---ล -ดำ-รำ

---- ---ล -ดำ-ท -ล-รำ -ท-รำ -ทรำล -ดำ-ท -ล-รำ

---- -ททรำ -ททรำ -ซลท ---- -ซลท -มำรำท -ล-ซ

---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ ---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ

-รำฟํซำ ฟํรำฟํดำ -ท-ล -ซ-รำ -รำฟํซำ ฟํรำฟํดำ -ท-ล -ซ-รำ

---- -ททรำ -ททรำ -ซลท ---- -ซลท -มำรำท -ล-ซ

---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ ---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ

---- ---ดำ ---ดำ ---ดำ -รำ-มำ -ซำ-รำ ---ดำ มำรำดำล

---รำ มำรำดำล ---ซ ฟลซฟ ---- -ซ-ด --รม -ซ-ร

---- ---ล -ดำ-ท -ล-รำ -ท-รำ -ทรำล -ดำ-ท -ล-รำ

---- -ททร -ททรำ -ซลท ---- -ซลท -มำรำท -ล-ซ

---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ ---ล ทลซร -ซ-ดำ -ร-ซ

เพลงลาวดำาเนินทราย

---- ---- -รำดำล -ซ-ม --ซม รดรม -ซ-ล ซมซล ---- รมซล -ดำ-รำ ดำมำรำรำ ---- ---- -ลซม -รมซ

---- -ด-ม -ซดร มรดล ---- รมซล ซลดำล -ซซซ

---- รมซล ซลดำล -ซซซ -ดรม -ซ-ล -ด-ม -ร-ซ ---- ---ซ ---ร มรซม ---- ---- ซลซม -รมซ ---- -ด-ม -ซดร มรดล --ดล ซมซล -ดำรำมำ -รำ-ดำ

---- ---- -รำดำล ดำซลดำ ---- ---- -ลซม ซรมซ

---- ---- -มซล ซลดลำ --ซม ---- รมซล ซลดซ

--มล ---- -ซ-ม -มมม -ซซซ -ด-ร -ม-ร -ด-ล

-รดล ดลซม -มซล ดำซ-ล -ม-ม ---ล ---ดำ ---ล

---- ---- ซลดำล ซม-ซ ---- ---- ลซดำล ซมซล

---- ---ล -ลลล -ล-ล -ม-ม ---ซ -มซล ดำซ--

-มซล ดำลซม -มซล ดำซ-- -ดรม ซมรด --มร ซม--

มซดร มรดล มรซม -ร-ด ---- มซดร มรดล ดำซ-ล -มซล -รำดำลำ -มำรำดำ -ซมร ---- -ด-ม ---ร ดมรด

---- ---ด -ดดด -ด-ด ---- มซดร มรดล ดำซ-ล -มซล -รำดำล -มำรำดำ -ซมร ---- ---- -ม-ร ซมมม -ม-ร ซมมม -ลซม -ร-ด

ท่อน ๑

ท่อน ๒

(กลับต้น)

(กลับต้น)

ดำ ใช้แทนเสียงโดสูง ดฺ ใช้แทนเสียงโดตำ่า

ใช้จุดเป็นสัญลักษณ์แสดงเสียงที่สูงหรือตำ่ากว่าเสียงเดิม โดยใส่จุดเหนืออักษรทุกตัว

ถ้าต้องการเสียงสูง และใส่จุดใต้อักษรทุกตัว ถ้าต้องการเสียงตำ่ากว่าเดิม เช่น

16 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑ 17เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต

Page 10: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

โด ดเร รมี มฟา ฟซอล ซลา ลที(ซี) ท

คำาถามท้าทาย ถ้าไม่มีการบันทึกโน้ตด้วยตัวอักษรภาษาไทย นักเรียนคิดว่า

ควรบันทึกโดยใช้สัญลักษณ์อะไร

มี ซอล

ซอล

ที

ทีที

เร

เรเร

ฟา

ฟา

ฟา

ฟา

ลา

ลาลา

โด

โดโด

มี

มีมี

ซอล

ซอลซอล

มี ซอล

ซอล

ที

ทีที

เร

เรเร

ฟา

ฟา

ฟา

ฟา

ลา

ลาลา

โด

โดโด

มี

มีมี

ซอล

ซอลซอล

ซอล

ที

ทีที

เร

เรเร

ฟา

ฟาฟา

ลา ลา

ลาลา

โด

โดโด

มี

มีมี

ซอล

ซอลซอล

ซอล

ที

ทีที

เร

เรเร

ฟา

ฟาฟา

ลา ลา

ลาลา

โด

โดโด

มี

มีมี

ซอล

ซอลซอล

กอนจะ จากกันไป

เมื่อวัน นั้น มาเยือน ฝาก จิต ใจ ไว ซึ้ง ใจ ใฝเตือน

คิดถึง กัน มิ ลืมเลือน ยังเหมือน ใจ ได ชิด กัน

แต หัว ใจ สุข สันต แลว คง ได พบ กัน

เครื่องหมายโยงเส้น

การประจุด

๒.๑ การอ่านโน้ตบทเพลงสากลในกุญแจซอล

ในการเขียนกุญแจซอลจะเขียนให้หัวกุญแจคาบเส้นที่ ๒ ดังนั้น การอ่านโน้ตทุกตัวที่บันทึก

ลงบนคาบเส้นที่ ๒ จะเป็นเสียงซอล แล้วไล่ระดับเสียงสูง-ตำ่า ตามบรรทัด ๕ เส้น ดังนี้

๒. โน้ตบทเพลงสากล

๒.๒การอ่านโน้ตบทเพลงสากลในกุญแจฟา

ในการเขียนกุญแจฟาจะเขียนให้หัวกุญแจคาบเส้นที่ ๔ ดังนั้น การอ่านโน้ตทุกตัวที่บันทึกลง

บนคาบเส้นที่ ๔ จะเป็นเสียงฟา แล้วไล่ระดับเสียงสูง-ตำ่า ตามบรรทัด ๕ เส้น ดังนี้

การเรียนรู้ทางด้านดนตรีไทย แต่เดิมไม่มีการบันทึกด้วยอักษรหรือสัญลักษณ์อะไร ต่อมาได้มีการ

บันทึกเพลงไทยด้วยการเทียบตัวโน้ตเป็นอักษรไทย ดังนี้

๔.๑ เครื่องหมายแปลงเสียง

เครื่องหมายแปลงเสียงมี ๓ ลักษณะ ดังนี้

๑) เรียกว่า ชาร์ป (sharp) คือ เครื่องหมายแปลงเสียงตัวโน้ตที่กำากับอยู่นั้นให้มีเสียง

สูงขึ้นครึ่งเสียง

๒) เรียกว่า แฟลต (flat) คือ เครื่องหมายแปลงเสียงตัวโน้ตที่กำากับอยู่นั้นให้มีเสียงตำ่าลง

ครึ่งเสียง

๓) เรียกว่า แนเชอรัล (natural) คือ เครื่องหมายแปลงเสียงตัวโน้ตที่ถูกเครื่องหมาย

หรือ กำากับอยู่นั้นให้มีเสียงปกติ/โดยจะบันทึกไว้ด้านหน้าของโน้ตตัวนั้น

๔.๒เครื่องหมายโยงเสียง()

เครื่องหมายโยงเสียง คือ การโยงโน้ตสองตัวเข้าด้วยกัน ทำาให้ค่าความยาวของตัวโน้ต

เพิ่มขึ้นเท่ากับโน้ตสองตัวรวมกัน

๔.๓การประจุด()

การประจุด คือ การเพิ่มจังหวะของตัวโน้ตที่ประจุดให้มีจังหวะยาวขึ้นมาอีกครึ่งเสียงของ

ตัวโน้ตนั้น เช่น โน้ตตัวดำาประจุด หมายถึง จังหวะจะเพิ่มขึ้นอีกครึ่งของ ๑ คือ ๑/๒ (มีความยาว

๑ จังหวะ) รวมเป็น ๑ จังหวะครึ่ง = + = + +

๓. การเทียบตัวโน้ตเป็นอักษรไทย

๔. เครื่องหมายต่างๆที่ใช้ในบทเพลง

ลาก่อนเนื้อร้อง - ทำานอง ณรุทธ์ สุทธจิตต์

18 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑ 19เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต

Page 11: ดนตรี-นาฏศิลป์academic.obec.go.th/textbook/web/images/book/1003386... · 2014-01-06 · วงดนตรีสากล ๖๑ การ ... ในแต่ละวัฒนธรรมจะมีเครื่องดนตรีแตกต่างกันใช้ประกอบบทเพลงต่าง

ความรู้เพิ่มเติม

เว็บไซต์แนะนำา

๑. การอ่านโน้ตเพลงไทยและโน้ตเพลงสากลมีประโยชน์อย่างไร

๒. เมื่อนักเรียนฟังเพลงไทยอัตราจังหวะ ๒ ชั้น นักเรียนรู้สึกอย่างไร

๓. เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ในบทเพลงมีความสำาคัญต่อบทเพลงอย่างไร

๔. การเทียบตัวโน้ตเป็นอักษรไทยส่งผลต่อการอ่านและบันทึกโน้ตเพลงไทยอย่างไร

๕. หากโน้ตเพลงไม่มีการประจุด จะทำาให้บทเพลงหรือจังหวะเพลงเป็นอย่างไร

เครื่องหมายแปลงเสียง www.tlcthai.com

การเรียกชื่อตัวโน้ตที่มีเครื่องหมาย กำากับอยู่ ให้เรียกชื่อโน้ตตัวนั้น แล้วตามด้วยชื่อเครื่องหมายแปลงเสียง เช่น โดชาร์ป โดแฟลต โดแนเชอรัล

การอ่านตัวโน้ตบทเพลงไทยและสากล

๑. ให้นักเรียนบันทึกโน้ตเพลงไทย ๑ เพลง เช่น เพลงลาวลำาปาง ลาวดำาเนินทราย แล้วออกมา

อ่านหน้าชั้นเรียน

๒. ให้นักเรียนฝึกเขียนโน้ตสากลลงในบรรทัด ๕ เส้น แล้วอ่านโน้ตที่ตนเองเขียนหน้าชั้นเรียน

๓. ให้นักเรียนฝึกเขียนโน้ตสากลในกุญแจซอลและฟาในบันไดเสียง C major ลงในบรรทัด

๕ เส้น แล้วอ่านโน้ตที่เขียนหน้าชั้นเรียน

๔. ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมายแปลงเสียงและโน้ตสากล จากนั้นออกมาอ่านโน้ตที่เขียน

หน้าชั้นเรียน

เสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ

๑. วธิกีารขบัรอ้ง

นักเรียนมีวิธีการขับร้องเพลงอย่างไรให้ไพเราะคะ

การขับร้อง คือ การเปล่งเสียงร้องหรือคำาร้องให้เป็นทำานองสอดคล้องกับจังหวะที่กำาหนด

การขับร้องนั้นมีอยู่หลายประเภท แบ่งออกเป็น

๑.๑ การขับร้องเดี่ยว คือ การขับร้องหรือการร้องเพลงคนเดียว อาจมีดนตรีบรรเลงคลอไปด้วย

หรือไม่มีดนตรีก็ได้

๑.๒ การขับร้องประกอบดนตรี คือ การร้องเพลงที่มีดนตรีบรรเลงประกอบ ซึ่งผู้ขับร้อง

จะต้องพึงระวังและรักษาระดับของเสียงให้สอดคล้องกับดนตรีโดยจะต้องขับร้องอย่างไม่ผิดเพี้ยนและ

ให้ตรงกับจังหวะของเครื่องทำาจังหวะ

๑.๓ การขับร้องเพลงหมู่ แบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ ดังนี้

๑. การขับร้องหมู่ในทำานองเดียวกัน ผู้ขับร้องทุกคนจะร้องเพลงที่มีเนื้อร้อง ทำานองและ

ระดับเสียงเหมือนและเท่ากัน จำาเป็นจะต้องเน้นหนักในเรื่องของความถูกต้องและความพร้อมเพรียง

๒. การขับร้องหมู่ในลักษณะของการประสานเสียง จะเป็นการขับร้องเพลงเดียวกัน

การขับร้องหมู่

แต่แบ่ งกลุ่มผู้ ขับร้องออกไปตามระดับ

เสียง และร้องคนละทำานองพร้อมกัน หรือ

ไม่พร้อมกัน ซึ่งจะเป็นไปตามการเรียบเรียง

เสยีงประสาน สว่นมากจะใชว้ธิขีบัรอ้งประสาน

เสียงตามแนวทางของสากล โดยจะแบ่งระดับ

เสยีงในการขับร้อง แต่ในการขับร้องเพลงไทย

จะไม่มีการแบ่งระดับเสียงเหมือนการขับร้อง

เพลงสากล

การขับร้องเพลงทำาให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ช่วยสร้างความสุขใจ

กิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๒

คำาถามพัฒนากระบวนการคิด

20 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑ 21เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต