73
เอกสารประกอบการเรียนการสอนกิจกรรมยุวกาชาดมิติใหม ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อเสริมสรางสุขภาวะและจริยธรรม ยุวกาชาดระดับ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที3 กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนที1 โดย เรวัติ เพ็ชรเอม โรงเรียนจานกรอง อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

เอกสารประกอบการเรียนการสอนกิจกรรมยุวกาชาดมิติใหม ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อเสริมสรางสุขภาวะและจริยธรรม

ยุวกาชาดระดับ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1

โดย เรวัติ เพ็ชรเอม

โรงเรียนจานกรอง อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

Page 2: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

เอกสารประกอบการเรียนการสอนกิจกรรมยุวกาชาดมิติใหม ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อเสริมสรางสุขภาวะและจริยธรรม

ยุวกาชาดระดับ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3

กลุมกิจกรรมสขุภาพ ภาคเรยีนที่ 1

โดย เรวัติ เพ็ชรเอม

โรงเรียนจานกรอง อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

Page 3: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

คํานํา

เอกสารประกอบการเรียนการสอนกิจกรรมยุวกาชาดมิติใหม ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อเสริมสรางสุขภาวะและจริยธรรม ยุวกาชาดระดับ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1 จัดทําขึ้นจากประสบการณการสอน การศึกษาคนควาจากหนังสือ เอกสารและขอความรูทางอินเทอรเนต แลวรวบรวมนํามาปรับปรุงใหสอดคลองกับแผนการจัดกิจกรรม ยุวกาชาด เพื่อใชควบคูกับแผนการจัดกิจกรรมโดยมุงแกปญหายุวกาชาดที่เรียนชา ขาดเรียน หรือยายโรงเรียนระหวางป เปนแนวทางใหยุวกาชาดไดศึกษา คนควา ทั้งกอนเรียน ระหวางเรียนและหลังเรียนใหเกิดการเรียนรู สรางองคความรูดวยตนเอง สงเสริมใหเกิดความคิดสรางสรรค คิดวิจารณญาณ คิดวิเคราะหวิจารณ คิดแก ปญหาและบูรณาการ รวมทั้งมุงเนนใหเขารวมกิจกรรมอยางสนุกสนานใหเกิดสุขภาวะ โดยการรวมเรียนรูจากเพลงที่ผูจัดทําไดแตงเพิ่มเติมขึ้น ใหมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงาม โดยสอดแทรกคติธรรมหรือเร่ืองสั้นที่เปนคติไวในทุก ๆ เร่ืองที่เรียน ปรับปรุงเนื้อหาใหเหมาะสม มีประโยชน ทันเหตุการณ สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดจริง จัดประสบการณที่มีคุณคาเพื่อใหสมาชิกยุวกาชาดไดพัฒนาตนเองไดเต็มศักยภาพ เปนคนไทยที่สมบูรณ สงางามในยุคสมัยของสังคมและเศรษฐกิจฐานความรู มีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่คาดหวังโดยยึดหลักสูตรของกิจกรรมยุวกาชาดที่ไดกําหนดไวในปจจุบันเปนบรรทัดฐาน

เอกสารประกอบการเรียนการสอนกิจกรรมยุวกาชาดมิติใหม ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อเสริมสรางสุขภาวะและจริยธรรม ยุวกาชาดระดับ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1 แบงออกเปน 5 เร่ือง ประกอบดวย

เร่ืองที่ 1 ปฐมพยาบาลยุวกาชาดบริการอาสาสมัคร เร่ืองที่ 2 ยุวกาชาดขอบอกไขเลือดออกปองกันได เร่ืองที่ 3 สืบสานสมุนไพรไทยยุวกาชาดทําไดอยางพอเพียง เร่ืองที่ 4 อาศรมฤษีนําเสนอวิธีนวดตัวดัดตน เร่ืองที่ 5 ปฏิบัตติามนาฬิกาชีวิตเพื่อพิชิตโรคภัย ผูจัดทําขอขอบพระคุณ ผูทรงคุณวุฒิทุกทานที่กรุณาตรวจสอบความถูกตอง ชวยแกไขและ

แนะนําในสิ่งที่มีคุณคายิ่ง ซ่ึงประกอบดวย ดร.กาญจนา วัฒายุ ครูเชี่ยวชาญ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นายเกียรติคุณ กังวาลวงศไพศาล และนางนันทวรรณ ภมรกูล ครูเชี่ยวชาญโรงเรียนจานกรอง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิษณุโลก เขต 1 และขอขอบคุณทุกทานที่ใหการสนับสนุนเปนกําลังใจในการทํางาน จนสําเร็จลุลวงดวยดีทุกประการ

เรวัติ เพ็ชรเอม

Page 4: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

สารบัญ

เร่ือง หนา

คํานํา สารบัญ จุดประสงคเอกสารประกอบการเรียนการสอน 1 คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนสําหรับครูผูสอน 2 คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนสําหรับยุวกาชาด 3 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 4 แบบทดสอบกอนเรียน 5 ปฐมพยาบาลยุวกาชาดบริการอาสาสมัคร 7 แบบปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 19 คติธรรม ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ 20 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 21 ยุวกาชาดขอบอกไขเลือดออกปองกันได 22 แบบปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 25 คติธรรม สุขา สงฺฆสฺส สามัคคี 26 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมที่ 3 27 สืบสานสมุนไพรไทยยุวกาชาดทําไดอยางพอเพียง 28 แบบปฏิบัติกิจกรรมที่ 3 33 คติธรรม อตฺตนา โจทยตฺตานํ 34 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4 35 อาศรมฤษีนําเสนอวิธีนวดตัวดัดตน 36 แบบปฏิบัติกิจกรรมที่ 4 39 คติธรรม วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ 40 ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมที่ 5 41 ปฏิบัติตามนาฬิกาชีวิตเพื่อพิชิตโรคภัย 42 แบบปฏิบัติกิจกรรมที่ 5 46 คติธรรม นตฺถิ ปฺญาสมา อาภา 47 แบบทดสอบหลังเรยีน 48

Page 5: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

สารบัญ ( ตอ )

เร่ือง หนา

บรรณานุกรม 50 ภาคผนวก 52 กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรียน 53 กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน 54 เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนเรียน 55 เฉลยคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน 56 แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 57 แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 58 แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 3 59 แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4 60 แบบประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 5 61 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคที่ 1 62 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคที่ 2 63 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคที่ 3 64 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคที่ 4 65 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคที่ 5 66 แบบสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 67 แบบสรุปผลการสอบกอนเรียนและหลังเรียน 68

Page 6: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

1

กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1

เร่ืองที่ 1 ใหการชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุได เร่ืองที่ 2 เสนอแนะวิธีปองกันโรคไขเลือดออกได เร่ืองที่ 3 บอกสรรพคุณทางยาของสมุนไพรใกลตวัได เร่ืองที่ 4 ดัดตนตามทาฤษีดัดตนขัน้พืน้ฐานได เร่ืองที่ 5 ปฏิบัติตนตามหลักนาฬิกาชวีิตไดถูกตอง

เร่ืองที่ 1 ขอ 1 สามารถประเมินการบาดเจบ็ได ขอ 2 หามเลือดและใชผาพันแผลไดอยางถูกวิธี เร่ืองที่ 2 ขอ 1 อธิบายเกี่ยวกบัสาเหตุและอาการของผูปวยโรคไขเลือดออกได ขอ 2 บอกวิธีการกําจัดลูกน้ํายุงลายได เร่ืองที่ 3 ขอ 1 ระบุช่ือสมุนไพรใกลตัวได ขอ 2 แยกประเภทชนิดของสารเคมีในสมุนไพรใกลตัวได เร่ืองที่ 4 ขอ 1 อธิบายวิธีดัดตนในทาฤษดีัดตนขั้นพื้นฐานได ขอ 2 บอกประโยชนของการดัดตนในทาฤษดีัดตนขั้นพื้นฐานได เร่ืองที่ 5 ขอ 1 อธิบายการทํางานของระบบภายในรางกายที่เกี่ยวของกับหลักนาฬิกาชวีิตได ขอ 2 บรรยายถึงพฤติกรรมที่สอดคลองกับหลักนาฬิกาชวีิตได

จุดประสงคเอกสารประกอบการเรียนการสอน

จุดประสงคปลายทาง

จุดประสงคนําทาง

กอนจะเริ่มศึกษาขอใหอานคําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนใหเขาใจแลวอานหนาตอไปไดเลยคะ

Page 7: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

2

เอกสารประกอบการเรียนการสอนกิจกรรมยุวกาชาดมิติใหม ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อเสริมสรางสุขภาวะและจริยธรรม ยุวกาชาดระดับ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมกิจกรรมสุขภาพ ใชประกอบการจัดกิจกรรมยุวกาชาด ในแผนการจัดกิจกรรมยุวกาชาดที่ 6 – 10 ของภาคเรียนที่ 1

เพื่อใหครูผูสอนไดเตรียมความพรอมกอนที่จะดําเนินกิจกรรม ครูผูสอนควรปฏิบัติดังนี้ 1. พิจารณาจุดประสงคการจัดกิจกรรมเพื่อใหทราบวา เมื่อผูเรียนไดศึกษาเนื้อหาและเขารวม

กิจกรรมแลวไดความรูอะไรบาง ตองปฏิบัติกิจกรรมอยางไรและไดเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในเรื่องใด 2. ดําเนินการสอนและปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในแตละคาบเรียนตามที่ไดระบุไว 3. วัดผลและประเมินผลโดยใชแบบประเมินผลสวนของครูผูสอนในภาคผนวก 4. สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมและผลการสอบกอนเรียนและหลังเรียนลงในแบบสรุปผล

การปฏิบัติกิจกรรม และแบบสรุปผลการสอบกอนเรียนและหลังเรียนในภาคผนวก 5. ในทุก ๆ คาบที่ปฏิบัติกิจกรรมใหประสานกับหัวหนาหนวยหรือรองหัวหนาหนวยสําหรับ

หนวยที่มีสมาชิกยุวกาชาดที่ยังไมไดปฏิบัติกิจกรรม และมอบเอกสารประกอบการเรียนการสอนใหสมาชิกยุวกาชาดที่ยังไมไดปฏิบัติกิจกรรม ไดศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมพรอมทั้งวัดผลและประเมินผลให ในโอกาสที่เหมาะสมตามสภาพจริง

คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนสําหรับครผููสอน

Page 8: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

3

เอกสารประกอบการเรียนการสอนกิจกรรมยุวกาชาดมิติใหม ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อเสริมสรางสุขภาวะและจริยธรรม ยุวกาชาดระดับ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมกิจกรรมสุขภาพ ใชประกอบการจัดกิจกรรมยุวกาชาด ในแผนการจัดกิจกรรมยุวกาชาดที่ 6 – 10 ของภาคเรียนที่ 1

เพื่อใหสมาชิกยุวกาชาดไดศึกษาคนควาหาความรูทั้งกอนเรียน ระหวางเรียนและหลังเรียนดวยตนเอง สามารถนําเอกสารประกอบการเรียนการสอนไปใชใหเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน สมาชิกยุวกาชาดควรปฏิบัติดังนี้

1. ศึกษาจุดประสงคการจัดกิจกรรมเพื่อใหทราบวา เมื่อศึกษาเนื้อหาและเขารวมกิจกรรมแลวไดความรูอะไรบาง ตองปฏิบัติกิจกรรมอยางไรและไดเรียนรูคุณธรรมจริยธรรมในเรื่องใด

2. อานคําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนใหเขาใจตามขั้นตอน 3. ศึกษาขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมในแตละคาบเรียนใหเขาใจอยางชัดเจน 4. กอนการปฏิบัติกิจกรรมในครั้งแรก ใหสมาชิกยุวกาชาดทุกคนทําแบบทดสอบกอนเรียนใน

เอกสารประกอบการเรียนการสอน จํานวน 10 ขอ โดยตอบลงในกระดาษคําตอบที่ครูผูสอนแจกให 5. ศึกษาเนื้อหาทีละเรื่องใหเขาใจและปฏิบัติกิจกรรมของแตละเรื่องตามที่กําหนด 6. ในกิจกรรมบางเรื่องที่มีคําตอบตองเฉลย ใหตรวจจากเฉลยแบบปฏิบัติกิจกรรมในภาคผนวก 7. อานคติธรรมหรือเร่ืองสั้นที่เปนคติดวยความตั้งใจจริง และพิจารณาขอคิดหรือสาระสําคัญที่

เปนประโยชนเพื่อยึดถือใหเปนอุดมคติในศานติสุขแหงชีวิต 8. หัวหนาหนวยประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคภายในหนวยของตน 9. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรื่องที่ 5 เสร็จเรียบรอยแลว ใหสมาชิกยุวกาชาดทุกคนทําแบบทดสอบ

หลังเรียนในเอกสารประกอบการเรียนการสอน จํานวน 10 ขอ โดยตอบลงในกระดาษคําตอบที่ครูผูสอนแจกใหและตรวจคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนในภาคผนวก

คําแนะนําการใชเอกสารประกอบการเรียนการสอนสําหรับยุวกาชาด

Page 9: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

4

1. พิธีเปดกิจกรรมยุวกาชาด 2. ครูผูสอนเรียกแถวหนากระดานหนวยปดระยะ 3. สมาชิกยุวกาชาดทุกคนทําแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 10 ขอ 4. ครูผูสอนสอนและรวมรองเพลง “ อาสาสมัครปฐมพยาบาล ” กับสมาชิกยุวกาชาด 5. สมาชิกยุวกาชาดศึกษาขอความรูเร่ือง ปฐมพยาบาลยุวกาชาดบริการอาสาสมัคร จาก

เอกสารประกอบการเรียนการสอน 6. สมาชิกยุวกาชาดทุกคนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 คิดสังเคราะหลําดับขั้นตอนในการชวยเหลือผู

ประสบอุบัติเหตุหมดสติ 7. ครูผูสอนสรุปเนื้อหาและสอนคติธรรม “ ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ ” 8. หัวหนาหนวยประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคภายในหนวยของตน 9. พิธีปดกิจกรรมยุวกาชาด 10. ครูผูสอนประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 1 ปฐมพยาบาลยุวกาชาดบริการอาสาสมัคร

เตรียมตัวทํา แบบทดสอบกอนเรียนนะคะ

Page 10: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

5

แบบทดสอบกอนเรียน กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนท่ี 1

คําชี้แจง ใหสมาชิกยุวกาชาดทําเครื่องหมาย ทับคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคาํตอบเดียว

1. ขอใดคือการประเมินการบาดเจ็บ ขั้นที่ 1 ก. ตรวจการหายใจ ข. สัมภาษณผูบาดเจ็บ ค. ตรวจสีผิวและอุณหภูม ิง. ตรวจรางกายตัง้แตศีรษะจรดเทา

2. ในการใชผามวนยดืพันแผล เพราะเหตุใดจึงพันสวนปลายไปหาสวนโคนเสมอ ก. เพื่อเปนการไลเลือดดํากลับสูหัวใจ ข. เพื่อความสะดวกในการจับผาโดยหงายมวนผา ค. เพื่อใหผูบาดเจ็บมีความรูสึกวาไดรับการรักษาแลว ง. ถูกทุกขอ

3. อาการของผูปวยโรคไขเลือดออกในขอใดเปนอาการทีอั่นตรายที่สุด ก. มีไขสูง ข. มีภาวะช็อก ค. กระสับกระสาย ง. มีจุดแดง ๆ ตามลําตัว

4. ขอใดเปนการปองกันโรคไขเลือดออกที่ไดผลดีที่สุด ก. ระวังอยาใหยุงกัด ข. ลดแหลงเพาะพันธุยุง ค. ปดฝาภาชนะเก็บน้ําใหมิดชดิ ง. ใสน้ําสมสายชูลงในจานรองตู

5. ถามีอาการประจําเดือน ไม ปกติ ควรใชยาสมุนไพรในขอใด ก. บอระเพ็ด ข. เพชรสังฆาต ค. เถาวัลยเปรียง ง. เสลดพังพอนตัวเมีย

Page 11: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

6

6. สมุนไพรในขอใดมีสรรพคุณแกไข เจ็บคอ แกแผลบวมอักเสบ ลดความดันโลหิต ก. มะระขี้นก ข. ชุมเห็ดเทศ ค. ฟาทะลายโจร ง. เสลดพังพอนตัวเมีย

7. ภาพนี้เปนทาฤษีดัดตนทีแ่กอาการเจ็บปวดสวนใดของรางกาย ก. แกขดัแขน ข. แกลมขอมือ ค. แกกรอนกษัย ง. แกลมเจ็บศรีษะและตามัว

8. ภาพนี้เปนทาฤษีดัดตนทีแ่กอาการเจ็บปวดสวนใดของรางกาย ก. แกกรอนกษัย ข. แกตะโพกสลักเพชร ค. แกเสนมหาสนุกระงับ ง. แกลมเจ็บศรีษะและตามัว

9. คนที่ปวดศีรษะบอย มักพบความผิดปกตขิองอวัยวะในขอใด ก. ไต ข. ตับ ค. มาม ง. ปอด

10. ชวงเวลา 17.00 – 19.00 น. ควรทําใจใหสดชื่น ไมงวงเหงาหาวนอน เพราะเปนชวงเวลาของอวยัวะในขอใด ก. ไต ข. ตับ ค. มาม ง. ปอด

Page 12: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

7

เพลง อาสาสมัครปฐมพยาบาล

คํารอง เรวัติ เพ็ชรเอม ทํานอง เพลงรําวง

ปฐมพยาบาล ยุว ฯ สืบสานอาสาสมัคร พวกเราทกุคนนารัก ... ( ซํ้า ) ทําใหประจักษเพื่อพี่นองไทย เห็นคนหมดสติ ยุว ฯ เร็วซิรีบเขาใกล ๆ จัดการพยาบาลทันใด ... ( ซํ้า ) ชวยใหปลอดภัยอยางถูกวิธี ... ( ซํ้า )

1. หลักการปฐมพยาบาล

การปฐมพยาบาล หมายถึง การชวยเหลือผูบาดเจ็บ ณ ที่เกิดเหตุโดยใชเครื่องมือเทาที่จะหาไดในขณะนั้นกอนสงตอแพทย วัตถุประสงค

1. เพื่อชวยชีวติผูบาดเจ็บ 2. ปองกันความพิการ 3. บรรเทาความเจ็บปวดและปองกันอนัตรายที่จะเกิดขึน้

คุณสมบัตขิองนักปฐมพยาบาล • มีความรูและทกัษะในการปฐมพยาบาล • สามารถควบคุมสติตนเองเเละมีจิตวิทยาในการใหกําลังใจ • มีความละเอียดรอบคอบในการสังเกตลักษณะอาการตางๆ • สามารถประยุกตอุปกรณที่มอียูในขณะนั้นได หลักการปฏิบตัิการปฐมพยาบาล 1. สํารวจสถานการณ และแนะนําตวั 2. การประเมนิการบาดเจ็บขั้นที่ 1 3. การขอความชวยเหลือ 4. การประเมนิการบาดเจ็บขั้นที่ 2

1. ปฐมพยาบาลยุวกาชาดบริการอาสาสมัคร

Page 13: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

8

สํารวจสถานการณและแนะนําตัว ใชเวลาเพยีงสัน้ ๆ โดยประเมินสถานการณ ดังนี้

1. ความปลอดภยั 2. จํานวนผูบาดเจ็บ 3. ความรุนเเรง • กลุมอาการชวยเหลือดวน ไดแก หยดุหายใจ หัวใจหยุดเตน หมดสติ เสียเลือด • กลุมอาการชวยเหลือรอง ไดแก ความเจบ็ปวด การบาดเจ็บของกระดูกและขอ อัมพาต

2. การประเมินการบาดเจ็บ การประเมินการบาดเจ็บขั้นท่ี 1

โดยใหการชวยเหลือผูบาดเจ็บที่มีอาการสาหัสกอน ไดแก 1. การหมดความรูสึก ประเมินโดย การปลุกเขยาตัว ถาผูบาดเจ็บไมรูสึกตัวตองระวังในเรื่อง

ทางเดินหายใจอุดตัน ใหสํารวจสิ่งแปลกปลอมภายในชองปากและจมูก แลวลวงออกเพื่อเปนการเปดทางเดินหายใจใหโลง

2. การหายใจ ตรวจการหายใจโดยใชตาดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือหนาทอง หูฟงเสียง ลมหายใจที่เปาออกมา แกมสัมผัสลมหายใจที่มากระทบอยางนอย 10 วินาที ผูใหญหายใจประมาณ 12 – 20 คร้ัง / นาที เด็กประมาณ 20 – 30 คร้ัง / นาที

Page 14: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

9

3. การเตนของหัวใจ โดยการจับชีพจรของผูบาดเจ็บบริเวณซอกคออยางนอย 10 วินาที ผูใหญชีพจรเตนประมาณ 60 – 90 คร้ัง / นาที เด็กประมาณ 100 – 120 คร้ัง / นาที

4. การเสียเลือด จากปริมาณเลือดที่ออกจากบาดแผลและจากอาการแสดง การขอความชวยเหลือ

เมื่อมีผูบาดเจ็บที่จําเปนตองสงโรงพยาบาล การขอความชวยเหลือควรใหขอมูลที่จําเปนเพื่อใหการชวยเหลือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ไดแก

• เหตุการณที่เกดิขึ้นและเวลาที่เกิดเหตุถาสามารถทราบได • สถานที่เกิดเหตุโดยละเอยีด • จํานวนผูบาดเจ็บและอาการของผูบาดเจ็บที่ประเมินได • การปฐมพยาบาลที่ไดชวยเหลือไปเเลวเเละที่กําลังชวยอยู • จํานวนผูชวยเหลือ • ช่ีอ – นามสกุล ของผูเเจงเเละเบอรโทรศัพทติดตอกลับ

การประเมินการบาดเจ็บขั้นท่ี 2 เปนการประเมินการบาดเจ็บอื่น ๆ ที่ไมรุนเเรง มีขั้นตอนดังนี้

1. สัมภาษณผูบาดเจ็บ โดยใชคําถามงาย ๆ ไมใชเวลานาน

2. ตรวจการหายใจ ชีพจร สีผิวและอุณหภูมิ การหายใจผิดปกติไดแก หายใจมีเสียงผิดปกติ หายใจ

เร็วหรือชากวาปกติ หายใจเเลวรูสึกเจ็บ เปนตน ชีพจรที่ผิดปกติ ไดแก เตนเร็วหรือชา จังหวะเเละ ความเเรงไมสม่ําเสมอ เปนตน สีผิวและอุณหภูมิ เชน ผิวหนังซีดขาวเเละเย็น แสดงวามีการเสียเลือด ผิวหนังแดงเเละรอนเเสดงวามีเลือดมาคั่งมาก เปนตน

Page 15: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

10

3. การตรวจรางกายตั้งแตศีรษะจรดเทา

• ควรตรวจตั้งแตศีรษะ ใบหนา คอ ไหล แขน 2 ขาง มือ ทรวงอก หลัง ทอง สะโพก ขา 2 ขาง และเทา ตามลําดับ

• ตรวจจมูก หู ปาก สังเกตเลือดหรือน้ําที่ไหลออกมา

• ตรวจคอ ใหผูบาดเจ็บหันคอ สังเกตความเจ็บปวดการเคลื่อนไหว ที่ผิดปกติ

• ตรวจไหล ใหผูบาดเจ็บยกไหล สังเกตความเจ็บปวดการเคลื่อนไหว ที่ผิดปกติ

• ตรวจทรวงอกและทอง ใหผูบาดเจ็บหายใจเขาออกลึก ๆ สังเกตความ

เจ็บปวด การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ

Page 16: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

11

• ตรวจเเขนทีละขาง ใหผูบาดเจ็บขยับแขนทีละขาง หมุนแขน งอแขน สังเกตความเจ็บปวด การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ

• ตรวจขาทีละขาง ใหผูบาดเจ็บขยับนิ้วเทา ขอเทา ยกเทาเเละงอเขา สังเกตความเจ็บปวด การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ

สัญญาณชีพ ( ในผูใหญ ) ชีพจร 60 – 90 คร้ัง / นาที การหายใจ 12 – 20 คร้ัง / นาที อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ความดันโลหิต 90/60 – 140/90 มิลลิเมตรปรอท

3. การหามเลือดและการใชผาพันแผล การเสียเลือด

หมายถึง การที่เลือดออกจากหลอดเลือด เนื่องจากหลอดเลือดถูกทําลายหรือถูกตัดขาด โดยสาเหตุตาง ๆ ฉะนั้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุผูบาดเจ็บอาจมีการเสียเลือด

การบาดเจ็บของหลอดเลือด หลอดเลือดในรางกายมี 3 ชนิด สามารถสังเกตเพื่อจําแนกชนิดของหลอดเลือดที่ไดรับบาดเจ็บ

ได ดังนี้ 1. หลอดเลือดเเดง : เลือดที่ออกจะพุงตามจังหวะการเตนของหัวใจ มีสีแดงสด 2. หลอดเลือดดํา : เลือดที่ออกมีสีแดงคล้ํา ไหลรินไมแรง และไมพุงตามจังหวะการเตนของ

หัวใจ 3. หลอดเลือดฝอย : เลือดที่ออกจะมีลักษณะซึมตามบาดแผล

Page 17: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

12

ประเภทของการเสียเลือด มี 2 ชนิด คือ 1. การเสียเลือดภายใน ( lnternal Hemorrhage ) คือ เลือดออกภายในรางกาย ไมไหลออกภายนอก

เชน แผลที่ปอด หัวใจ แผลในกระเพาะอาหาร ลําไส ตับ มาม ไต เปนตน 2. การเสียเลือดภายนอก ( External Hemorrhage ) คือ เลือดออกจากบาดแผลที่อยูภายนอกรางกาย

เชน บาดแผลที่แขนขา ลําตัว ศีรษะ เปนตน และ / หรืออวัยวะภายในอาจไดรับบาดเจ็บ อาการของการเสียเลือด

ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบา เร็ว หายใจเร็ว หอบถ่ี กระสับกระสายไมอยูนิ่ง กระหายน้ํามาก ความดันโลหิตต่ํา

การหามเลือด เลือดที่ออกจากรางกาย โดยปกติเเลวประมาณ 3 – 10 นาที จะเเข็งตัวไดเอง ( clot ) เปน

ล่ิมเลือดอุดรูของเสนเลือดที่ฉีกขาด ในกรณีที่มีบาดแผลรุนแรงอาจทําใหผูบาดเจ็บมีการเสียเลือด ส่ิงแรกที่ควรกระทําคือ การหามเลือด ซ่ึงการหามเลือดมี 3 วิธี ไดแก การใชมือกดบนบาดแผล การใชผากดบนบาดเเผล การกดบนหลอดเลือดแดงใหญ

การใชมือกดบนบาดแผล ในกรณีผูบาดเจ็บรูสึกตัวดีอาจใชนิ้วมือหรือมือของผูบาดเจ็บกดบนบาดเเผลโดยตรง

การใชผากดบนบาดแผล ใชผาสะอาดขยุมกดบนบาดแเผลโดยตรง นาน

ประมาณ 5 – 10 นาที ถาผาปดแผลชุมเลือดไมควรเอาออก ใหใชผาสะอาดอีกชิ้นปดทับผาชิ้นแรก เพราะถาเอาผาชิ้น เเรกออก อาจทําใหล่ิมเลือดหลุดออกไปดวย ถามีบาดแผลบริเวณสวนแขน ขา ตองยกสวนนั้นใหสูงกวาระดับหัวใจ ( ตองไมมีกระดูกหัก ) จะชวยลดแรงดันเลือดในหลอดเลือด ทําใหเลือดหยดไดงาย

Page 18: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

13

ขอสังเกต ใชผาพันยึดใหแนนพอสมควร สังเกตสีผิวหนัง หรือ

คลําชีพจรสวนปลายได

การกดบนหลอดเลือดแดงใหญ โดยใชนิ้วมือกดบนหลอดเลือดแดงเหนือบาดแผล

จะทําใหเลือดออกจากบาดเเผลนอยลง

การใชผาพันแผล ผาสามเหลี่ยม

ควรใชผาซึมซับน้ําไดดี เชน ผาลินิน ผาดิบ ผาฝาย ขนาดผาสี่เหล่ียมจัตรัสยาวดานละ 36 – 40 นิ้ว แบงทแยงมุม จะไดผาสามเหลี่ยม 2 ช้ิน

การใชผาสามเหลี่ยมหามเลือด

Page 19: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

14

การใชผาสามเหลี่ยมกรณีบาดแผลบริเวณมือ แผลฉีกขาดเลือดออกไมมาก

การใชผาสามเหลี่ยมหามเลือดปากแผลบริเวณศีรษะ

Page 20: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

15

การใชผาสามเหลี่ยมคลองแขนกรณีบาดเจ็บท่ีแขน

ผามวนยดื หลักการใชผามวน

• มวนผาใหแนน • ผาตองเเหงและสะอาด • หงายมวนผาเสมอ • พันจากสวนปลายไปหาสวนโคน ( เพื่อเปนการไลเลือดดํากลับสูหัวใจ )

การใชผามวนยืดหามเลือด

Page 21: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

16

การใชผามวนยืดพันขอมือ

การใชผามวนยืดพันกรณีมือขาด

Page 22: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

17

การใชผามวนยืดพันขอเทา

การทําแผล วัตถุประสงค 1. เพื่อปองกันบาดแผลจากการติดเชื้อ 2. ชวยทําใหแผลหายไดเร็ว อุปกรณการทําแผล 1. เครื่องมือทําแผลที่สะอาดปราศจากเชื้อโรค ประกอบดวย • ถวยสําหรับใสน้ํายา 2 ใบ • ปากคีบ 2 อัน • กรรไกร

2. สําลี หรือไมพันสําลี 3. ผาปดแผล ( ผากอส ) 4. น้ําเกลือ 0.9 % ลางแผล หรือน้ําตมสุก 5. แอลกอฮอล 70 % 6. น้ํายาฆาเชื้อใสแผล 7. พลาสเตอรหรือผาพันเเผล 8. ถุงหรือภาชนะสําหรับใสของสกปรก

Page 23: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

18 วิธีการทําแผล 1. ควรลางมือใหสะอาดกอนทําแผลทุกครั้ง 2. ใชสําลีชุบแอลกอฮอล 70 % เช็ดรอบแผล โดยวนจากขอบแผลออกนอกแผล 3. ใชสําลีชุบน้ําเกลือหรือน้ําตมสุก เช็ดแผลใหสะอาด ( หามถูไปมาแรง ) 4. ใชสําลีชุบแอลกอฮอล 70 % เช็ดรอบเเผลอีกครั้ง (หามใชแอลกอฮอลใสแผล ) 5. ใสยาฆาเชื้อโรค หรือไมใสก็ได ถาแนใจวาแผลสะอาดดีก็ไมตองใส 6. ใชผากอสปดแผล 7. ติดพลาสเตอรหรือใชผาพันแผลยึดไวเเลวเเตความเหมาะสม

Page 24: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

19

แบบปฏบิัติกิจกรรมที ่ 1

เรื่อง ปฐมพยาบาลยุวกาชาดบริการอาสาสมัคร เวลา 20 นาที กิจกรรมยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1

คําชี้แจง ใหสมาชิกยุวกาชาดลําดับขั้นตอนในการชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุมีอาการหมดสติ และม ี

บาดแผลที่ศีรษะ มือ และเทา ตามขอความรูที่ยวุกาชาดไดศึกษา

ลําดับขั้นตอนการชวยเหลือ ขั้นตอนที่ 1 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 2 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 3 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 4 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 5 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 6 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 7 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 8 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 9 ................................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 10 ...............................................................................................................................

สรุปประเด็นที่สําคัญในการชวยเหลือ ตามความคิดเหน็ของยุวกาชาด คือ ................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

ลงชื่อ ......................................................... ผูปฏิบัติกิจกรรม

( ..................................................... ) กลุมที่ ......... หนวยสี .......................

Page 25: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

20

ททํ มิตฺตานิ คนถติ ผูใหยอมผูกไมตรไีวได

ให หมายถึงสละใหปนสิ่งของของตนที่ควรใหแกคนที่ควรให เปนการเฉลี่ยความสุขเเกผูอ่ืน แสดงใหเห็นน้ําใจอันดีงาม คือ ความเอื้อเฟอเผ่ือแผโอบออมอารี

ให มี สามอยาง คือ หนึ่ง อนุเคราะห สอง สงเคราะห สาม บูชาคุณ

อนุเคราะห ไดแกการใหที่คิดชวยเหลือ คือใหแกคนที่มีฐานะดอยกวา ใหเพื่อชวยเหลือเขาใหมีความสุขสบายขึ้น เปนเหตุใหผูรับนึกถึงบุญคุณตลอดไป

สงเคราะห ไดแกการใหดวยความโอบออมอารี คือใหแกผูที่มีฐานะเสมอกับเรา ใหเพื่อแสดงน้ําใจเผื่อแผอารีและนับถือในเขา เปนเหตุใหผูรับนึกชอบใจในไมตรีจิตของเรา

บูชาคุณ ไดแกการใหดวยระลึกบุญคุณของทานคือ ใหแกทานผูใหญที่มีอายุ ฐานะคุณความดีสูงกวาเชน บิดามารดา ครูอาจารย เปนตน

ยังมีการใหอีกชนิดหนึ่ง เรียกวาใหอภัย คือใหความไมมีเวร ไมมีภัย ไดแก ยกโทษให ผูที่จะใหอภัยไดตองเปนผูมีจิตใจสูง

การใหทั้งหมดนี้ แตละอยางลวนผูกใจคนไวได เพราะทําใหคนเคารพรักใครและ นับถือ จึงเปนการผูกไมตรีไดอยางดี ฉะนั้นพระพุทธเจาจึงตรัสวา ผูใหยอมผูกไมตรีไวได

“ ยุวกาชาดพงึประพฤติตนเปนผูให ”

คติธรรม

Page 26: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

21

1. พิธีเปดกิจกรรมยุวกาชาด 2. ครูผูสอนเรียกแถวหนากระดานหนวยปดระยะ 3. ครูผูสอนสอนและรวมรองเพลง “ ยุงลายรายยิ่งกวาเสือ ” กับสมาชิกยุวกาชาด 4. สมาชิกยุวกาชาดศึกษาขอความรูเร่ือง ยุวกาชาดขอบอกไขเลือดออกปองกันได จาก

เอกสารประกอบการเรียนการสอน 5. สมาชิกยุวกาชาดปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 คิดสังเคราะหเพื่อหลอมรวมวิธีปองกันโรค

ไขเลือดออก 6. ครูผูสอนสรุปเนื้อหาและสอนคติธรรม “ สุขา สงฺฆสฺส สามัคคี ” 7. หัวหนาหนวยประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคภายในหนวยของตน 8. พิธีปดกิจกรรมยุวกาชาด 9. ครูผูสอนประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 2 ยุวกาชาดขอบอกไขเลือดออกปองกันได

Page 27: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

22

เพลง ยุงลายรายยิง่กวาเสือ คํารอง เรวัติ เพ็ชรเอม ทํานอง เพลงรําวง

ยุงลายรายยิ่งกวาเสือ จะกนิเลือดเนือ้กันอีกเทาไร รายที่สุดก็คือยงุลาย รายที่สุดก็คือยงุลาย ไขเลือดออกนัน้อันตราย ไขเลือดออกนัน้อันตราย ลูกน้ํามากมายอยาใหกลายเปนยุง ลูกน้ํามากมายอยาใหกลายเปนยุง

ไขเลือดออกอันตรายใกลตัว ปจจุบันโรคไข เ ลือดออก กลายเปนปญหาสําคัญทางดานสาธารณสุขและการแพทยของบานเรา โรคไขเลือดออกเกิดขึ้นไดตลอดทั้งป แตจะระบาดมากในชวงหนาฝนเพราะ ชวงหนาฝนนั้น ยุงซึ่งเปนพาหะนําโรคนี้จะเพาะพันธุไดงาย

ยุงลายตัวรายนําโรค ยุงลายในบานเราที่เปนพาหะนําโรคไขเลือดออกไดแก ยุงลายบานและยุงลายสวน ซ่ึงชอบวางไขในน้ํานิ่ง ชอบหากินในชวงกลางวัน ยุงลายที่เปนพาหะและมีเชื้อไวรัสไขเลือดออก คือ ยุงลายตัวเมีย ชอบอยูในที่มืดและที่อับชื้น

2. ยุวกาชาดขอบอกไขเลอืดออกปองกันได

Page 28: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

23

การแพรกระจายของโรค โรคไข เ ลือดออกติดตอกันไดโดยมียุงลายตัว เมีย เปนตัวนําเชื้อ ที่สําคัญ ยุงลายจะวางไขไดจะตองดูดเลือดคนเปนอาหาร เมื่อไปกัดคนปวยที่มีเชื้อไวรัสไขเลือดออกอยูในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเขาสูกระเพาะยุงไปอยูในเซลลที่ ผนังกระเพาะ เพิ่มจํานวนมากขึ้นแลวแพรกระจายไปยัง ตอมน้ําลายพรอมจะเขาสูคนที่ถูกกัดตอไป ซ่ึงระยะฟกตัวในยุงก็ประมาณ 8 – 10 วัน เมื่อเชื้อเขาสูรางกายคนผานระยะฟกตัวประมาณ 5 – 8 วัน ก็จะทําใหเกิดอาการของโรคได เพราะ เชื้อไวรัสไขเลือดออกจะอยูในตัวยุงลายไดตลอดชีวิตของยุง คือ ประมาณ 1 เดือน ในชวงนี้จึงมีโอกาสที่จะไปกัดและปลอยเชื้อสูคนไดมาก

อาการแสดง โรคไขเลือดออกมีอาการแสดงสําคัญที่ เปนรูปแบบคอนขางเฉพาะอยู 4 อยาง เรียงลําดับดังนี้ • ไขสูงประมาณ 2 – 7 วัน • มีอาการเลือดออกสวนใหญจะพบบริเวณผิวหนัง • มีตับโต กดเจ็บ • การไหลเวียนของเลือดลมเหลว เกิดภาวะช็อก

ผู ป วยโรคไข เ ลือดออกส วนใหญจะมี ไข สู ง เกิน 38.5 องศาเซลเซียส ผูปวยจะปวดเมื่อยตามตัว มีหนาแดง มีจุดแดง ๆ ตามตัว อาเจียนและเบื่ออาหาร อาการโดยทั่วไปคลายเปนไขหวัดแตจะไมไอ ไมมีน้ํามูก ประมาณ 1 ใน 3 ของผูปวยจะมีภาวะไหลเวียนเลือดลมเหลว เนื่องจากมีอาการรั่วของพลาสมา ( สวนน้ําของโลหิต ) ไปยังชองปอดและชองทองซึ่งเรียกวา “ ช็อก ” ถาไมไดรับการรักษาจะเสียชีวิต

Page 29: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

24

ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น 1. เม็ดเลือดขาวต่ํากวาปกติ 2. เกล็ดเลือดลดลงอยางรวดเร็ว 3. ระดับความเขมขนของเลือดจะเพิ่มขึ้น 4. จะพบน้ําในเยื่อหุมปอดไดเสมอ

การควบคุมแหลงเพาะพันธุยุงลาย

1. ปดปากภาชนะเก็บน้ําอยางมิดชิด 2. หมั่นเปลี่ยนน้ําในภาชนะเล็ก ๆ เชน แจกัน ทุก ๆ 7 วัน 3. เก็บทําลายเศษวัสดุ 4. เล้ียงปลากินลูกน้ํา 5. ใชทรายกําจัดลูกน้ํา ( ทรายเคลือบสารออรแกโนฟอสเฟต ) 6. ใชเกลือแกง น้ําสมสายชู ผงซักฟอก ใสในจานรองขา

ตูกับขาว การปองกันตนเองจากยุงลาย

1. กรุหนาตาง ประตู และชองลมดวยมุงลวด 2. เวลาเขา – ออก ควรใชผาปดประตูมุงลวดกอน 3. เก็บของในบานใหเปนระเบียบเรียบรอยอยูเสมอ 4. ขณะอยูในบานควรอยูในบริเวณที่มีลมพัดผาน 5. ใชยากันยุงที่ปลอดสาร deet เชน ตะไครหอม ยูคาลิปตัส

กระเทียม น้ํามันถ่ัวหลือง เปนตน

Page 30: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

25

แบบปฏบิัติกิจกรรมที ่ 2

เรื่อง ยุวกาชาดขอบอกไขเลือดออกปองกันได เวลา 20 นาที กิจกรรมยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1

คําชี้แจง ใหสมาชิกยุวกาชาดระดมสมองภายในหนวยของตนคิดสังเคราะหเพื่อหลอมรวมวิธีปองกัน

โรคไขเลือดออก

วิธีปองกันโรคไขเลือดออก ควรปฏิบตัิดงันี้

1. ................................................................................................................................................. 2. ................................................................................................................................................. 3. ................................................................................................................................................. 4. ................................................................................................................................................. 5. ................................................................................................................................................. 6. ................................................................................................................................................. 7. ................................................................................................................................................. 8. ................................................................................................................................................. 9. ................................................................................................................................................. 10. ...............................................................................................................................................

ลงชื่อ ......................................................... ผูปฏิบัติกิจกรรม ( ..................................................... ) กลุมที่ ......... หนวยสี .......................

Page 31: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

26

สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี ความสามัคคีของหมูทําใหเกิดสุข

คําวา สามัคคี แปลวา ความพรอมเพรียงไดแกความพรอมเพรียงกันทางกายวาจา ใจ พรอมเพรียงชวยกันทํางาน โดยไมมีความบาดหมางกัน เเละไมเกี่ยงกัน มีแตความกลมเกลียวเปนน้ําหนึ่งใจเดียวกัน พรอมเพรียงชวยกันทํากิจที่บังเกิดผลเปนคุณประโยชนแกสวนรวม พรอมเพรียงกันทํางานในหนาที่ของตน หลักธรรมสี่ประการของความสามัคคี หนึ่ง ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ ไมคับแคบเห็นแกตัว สอง พูดไพเราะออนหวาน ไมหยาบคาย สาม ทําตนใหเปนประโยชนเเกผูอ่ืน ไมใจดํา หรือนิ่งดูดาย ส่ี วางตนเสมอตนเสมอปลาย ไมเปนคนถือตัว เมื่อประพฤติไดตามนี้ความสามัคคียอมจะเกิดมีขึ้น เมื่อเกิดสามัคคีขึ้นแลวการงานทุกอยางแมจะมากสักเทาไรจะหนักสักเทาไร จะยากสักเทาไร ก็กลายเปนไมมาก ไมหนักและไมยาก เพราะสามัคคีสามารถทํางานมากใหเปนงานนอย ทํางานหนักใหเปนงานเบา ทํางานยากใหเปนงานงาย เมื่อเปนเชนนี้ การงานทุกอยางยอมเปนไปโดยสะดวกสบาย ผลิตผลเปนความสุขความเจริญ ชีวิตจะมีแตความราบรื่นรมเย็น

“ ยุวกาชาดพงึประพฤติตนเปนผูมีสามัคคธีรรม ”

คติธรรม

Page 32: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

27

1. พิธีเปดกิจกรรมยุวกาชาด 2. ครูผูสอนเรียกแถวหนากระดานหนวยปดระยะ 3. ครูผูสอนสอนและรวมรองเพลง “ ยาสมุนไพร ” กับสมาชิกยุวกาชาด 4. สมาชิกยุวกาชาดศึกษาขอความรูเร่ือง สืบสานสมุนไพรไทยยุวกาชาดทําไดอยางพอเพียง

จากเอกสารประกอบการเรียนการสอน 5. สมาชิกยุวกาชาดปฏิบัติกิจกรรมที่ 3 ออกแบบปายโฆษณายาสมุนไพร 6. ครูผูสอนสรุปเนื้อหาและสอนคติธรรม “ อตฺตนา จทยตฺตานํ ” 7. หัวหนาหนวยประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคภายในหนวยของตน 8. พิธีปดกิจกรรมยุวกาชาด 9. ครูผูสอนประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 3 สบืสานสมุนไพรไทยยุวกาชาดทําไดอยางพอเพียง

Page 33: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

28

เพลง ยาสมุนไพร

คํารอง เรวัติ เพ็ชรเอม ทํานอง เพลงรําวง

ลําเอย ลําไส โรคหัวใจและกระเพาะอาหาร ขางลางริดสีดวงทวาร ... ( ซํ้า ) อีกทั้งเบาหวานเปนกนัอยูมากมาย ลําเอย ลําไส โรคหัวใจและกระเพาะอาหาร ขางลางริดสีดวงทวาร ... ( ซํ้า ) เรามาสมานดวยยาสมุนไพร ... ( ซํ้า )

การใชสมุนไพรใหถูกตอง ควรใชใหถูกตน ใชใหถูกสวน ใชใหถูกขนาด ใชใหถูกวิธี ใชให ถูกโรค และตองระมัดระวังเรื่องความสะอาดตลอดจนเครื่องมือที่ใชเตรียมยาสมุนไพรตองใหสะอาดดวย

กลวยน้ําวา ผลดิบรสฝาด ฤทธิ์ฝาดสมานรักษาแผลในกระเพาะอาหาร แกอาการทองเสียที่ไมรุนแรง โดยรับประทานทั้งเปลือกหรือตากแหง แลวบดเปนผงชงน้ําดื่ม ผลดิบมีสาร Tannin Scrotonin Dopaminc Norepinephrine

มะระขี้นก เนื้อผลมีรสขม สรรพคุณเจริญอาหาร บํารุงน้ําดี แกโรคของตับและมาม รักษาเบาหวาน ขับพยาธิ น้ําคั้นจากผลมะระเปนยาระบายออน ๆ อมแกปากเปอยเปนขุย มีสารสําคัญคือ Charantin แสดงฤทธิ์ ลดน้ําตาลในเลือด ในผลออนมีวิตามินซีสูงมาก

3. สบืสานสมุนไพรไทยยุวกาชาดทําไดอยางพอเพียง

Page 34: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

29

ฟาทะลายโจร รสขมเย็น แกไข เจ็บคอ แกแผลบวมอักเสบ ลดความดันโลหิต รับประทานสดหรือผ่ึงลมใหแหงหรือเปนแคปซูล ประกอบดวยสารเคมีหลายกลุม แตที่เปนสารสําคัญในการออกฤทธิ์คือ กลุม Lacton ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่ทําใหเกิดหนองและแบคทีเรียในลําไสที่ทําใหทองเสีย

ขิง รสหวานเผ็ดรอน แกลมจุกเสียด แกเสมหะ บํารุงธาตุ แกคล่ืนไสอาเจียน แกหวัด ใชเหงาสดเทาหัวแมมือทุบใหแตก ตมเอาน้ําดื่ม ควรดื่มวันละ 3 – 4 คร้ัง หลังอาหาร ในเหงาขิงแกมีน้ํ ามันหอมระเหย ( Volatile oil ) ซ่ึงมีฤทธิ์ขับลม ขับน้ําดี

ชุมเห็ดเทศ รสเบื่อเอียน ใชตําทาแกกลากเกลื้อน โรคผิวหนัง ดอกและใบตมดื่มแกทองผูก ใบมีสารสําคัญกลุม Anthraquinone qlycoside ซ่ึงมีฤทธิ์กระตุนการเคลื่อนไหวของลําไส และมีฤทธิ์ในการฆาเชื้อราที่เปนสาเหตุของโรคกลากเกลื้อน

เพชรสังฆาต รสรอนขมคัน แกริดสีดวงทวาร ขับลมในลําไส แกโรคลักปดลักเปด แกประจําเดือนไมปกติ ใชสวนเถาลางใหสะอาด หั่นตากแหง บดใหเปนผง บรรจุแคปซูล รับประทาน 1 – 2 แคปซูล กอนอาหารเชาและเย็น

Page 35: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

30

เสลดพังพอนตัวเมีย รสจืดแกแมลงสัตวกัดตอย แกโรคผิวหนัง รักษาแผลเปอย แผลสด แกฝแกคางทูม แกงูสวัด เริมและอีสุกอีใส นําใบสดตําใหละเอียดเติมเหลาขาวพอชุม ปดฝาใหมิดชิด ประกอบดวยสารเคมีสําคัญคือ Lupenol Stigmasterol

เถาวัลยเปรียง รสเฝอนเอียน แกปวดเมื่อย ขับปสสาวะ ลดไข ขับเสมหะ บํารุงโลหิต นําเถามาลางทําความสะอาด ฝานเปนชิ้นตากแหง แลวนํามาตมน้ําดื่มเปนประจํา สารเคมีที่พบในเถาวัลยเปรียง เชน Eturunagarone , robustic acid , sandinone , warangalone เปนตน

บอระเพ็ด รสขมจัด เย็น มีสรรพคุณระงับความรอน แกรอนใน แกไขทุกชนิด ชวยเจริญอาหาร เปนยาอายุวัฒนะ ใชเถาบอระเพ็ด ตําคั้นเอาน้ําดื่มกอนอาหาร วันละ 2 คร้ัง เชา – เย็น เมื่อมีอาการ สาร N – trans – feruloyltyramine ในบอระเพ็ดมีฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ

ตะไคร รสปรา กล่ินหอม บํารุงไฟธาตุ แกโรคทางเดินปสสาวะ ขับลม ในลําไส เจริญอาหาร แกคาว ใชตนแกสดหั่นบางๆ ตมน้ําดื่มวันละ 3 คร้ัง ๆ ละ 1 ถวยชา กอนอาหาร สารสําคัญคือ citral , Myrcene , citronellal

Page 36: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

31 หญาหนวดแมว ขับปสสาวะ ลดความดันโลหิต ขับนิ่วกอนเล็ก ๆ ชวยการทํางานของไต นําใบหญาหนวดแมวมาตากแหง และชงกับ น้ํารอนดื่มวันละ 3 คร้ังหลังอาหาร หญาหนวดแมวมีโปรแตสเซี่ยมสูง มี alkaloid , organic acid และ fatty oil

หญาดอกขาว รักษาแผลสด แผลเรื้อรัง หามเลือด ขับปสสาวะ ลดความดันโลหิต รักษาผิวหนังพุพอง ใชทั้งตนและรากตากแหง บดเปนผง พอกที่แผล หรือใชใบสดตําพอกปดแผล

รางจืด รสจืดเย็น ลดไข ถอนพิษเบื่อเมา แกรอนในกระหายน้ํา แกปวดบวม ตําคั้น หรือเอารากฝนกับน้ํา หรือตมเอาน้ําดื่ม แกปวดบวมตํ าพอกบริ เ วณที่ เ ป น สามารถขั บสารพิ ษได โดย เพิ่ มปริ ม าณ เอมไซมโคลีนเอสเตอเรส ( cholinesterases )

ขี้เหล็ก ใชดอกตูมและใบออน รสขมชวยระบายทอง ดอกตูมทําให นอนหลับ เจริญอาหาร ใชใบออนและแก หรือแกน ตมกับน้ําใหเดือด สักครึ่งชั่วโมง ดื่มกอนอาหารเชาครั้งเดียว ใบออนและดอกมีสาร Anthraquinones มีฤทธิ์ระบายและสงบประสาท ชวยใหนอนหลับ

Page 37: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

32

รายการยาสมนุไพร ศูนยสงเสริมสุขภาพแผนไทย สํานกังานสาธารณสุข จังหวัดพษิณุโลก

ลําดับ ชื่อยาสมุนไพร สรรพคุณ ขนาดบรรจุ หนวย ราคา ยาในบัญชยีาหลักแหงชาต ิ

1 ฟาทะลายโจรแคปซูล แกเจ็บคอ แกทองเสีย 60 แคปซูล กระปอง 60 2 ขมิ้นชันแคปซลู แกทองอืดเฟอ โรคกระเพาะอาหาร 60 แคปซูล กระปอง 60 3 ยาหารากแคปซูล ถอนพิษ ดับพษิตาง ๆ แกไขพิษ ไขกาฬ 60 แคปซูล กระปอง 65 4 ประสะไพลแคปซูล แกปวดประจําเดือน ตกขาว 60 แคปซูล กระปอง 60 5 ชุมเห็ดเทศชาชง แกทองผูก 5 ซอง หอ 30 6 เสลดพังพอนทิงเจอร แกเริม งูสวดั 30 มิลลิลิตร ขวด 35 7 เสลดพังพอนคาลาไมน แกผดผ่ืนคัน ตุมคันอีสุกอีใส 60 มิลลิลิตร ขวด 35 8 ไพลจีซาลเจล คลายกลามเนือ้ 30 กรัม หลอด 65

ยานอกบัญชียาหลักแหงชาต ิ9 เจลวานหางจรเข แผลไฟไหม น้ํารอนลวก 30 กรัม หลอด 45 10 กลวนน้ําวาลูกกลอน แกโรคกระเพาะอาหาร 150 เม็ด กระปอง 60 11 เถาวัลยเปรียงแคปซูล คลายกลามเนือ้ เพิ่มภูมิตานทาน 60 แคปซูล กระปอง 60 12 ขี้เหล็กแคปซลู เจริญอาหาร ชวยใหนอนหลับ 60 แคปซูล กระปอง 65 13 มะระขี้นกแคปซูล ลดน้ําตาลในเลือด 60 แคปซูล กระปอง 90 14 บอระเพ็ดแคปซูล ลดไข เจริญอาหาร 60 แคปซูล กระปอง 60 15 เพชรสังฆาตแคปซูล แกริดสีดวงทวาร 60 แคปซูล กระปอง 80 16 สหัสธาราแคปซูล แกปวดเมื่อย อัมพฤกษ อัมพาต 60 แคปซูล กระปอง 80 17 ชาชงขิง แกทองอืดเฟอ แนนจุกเสียด 10 ซอง หอ 35 18 รางจืดแคปซูล ถอนพิษเบื่อเมา ลดสารพิษในรางกาย 60 แคปซูล กระปอง 60 19 เถาวัลยเปรียงชาชง คลายกลามเนือ้ เพิ่มภูมิตานทาน 10 ซอง หอ 35 20 หญาหนวดแมวชาชง ขับปสสาวะ ขับนิ่วกอนเล็ก ๆ 10 ซอง หอ 35 21 หญาดอกขาวชาชง ขับปสสาวะ ชวยลดการสูบบุหร่ี 10 ซอง หอ 35 22 รางจืดชาชง ถอนพิษเบื่อเมา ลดสารพิษในรางกาย 10 ซอง หอ 35 23 ตะไครชาชง บํารุงไฟธาตุ ขับลมในลําไส เจริญอาหาร 10 ซอง หอ 35 24 ยาอมมะแวง แกไอ แกเจ็บคอ 20 เม็ด 20 เม็ด ซอง 10 25 กระเทยีมแคปซูล ลดไขมันในเสนเลือด 350 มิลลิกรัม แคปซูล 4

Page 38: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

33

แบบปฏบิัติกิจกรรมที ่ 3

เรื่อง สืบสานสมุนไพรไทยยุวกาชาดทําไดอยางพอเพียง เวลา 30 นาที กิจกรรมยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1

คําชี้แจง ใหสมาชิกยุวกาชาดปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนตอไปนี้

1. หัวหนาหนวยรับอุปกรณและสีจากครูผูสอนหนวยละ 1 ชุด 2. ยุวกาชาดทุกคนออกแบบปายโฆษณายาสมุนไพรไทย โดยใชอุปกรณและสีรวมกันกับ

สมาชิกภายในในหนวยของตน

ลงชื่อ ......................................................... ผูปฏิบัติกิจกรรม ( ..................................................... ) กลุมที่ ......... หนวยสี .......................

Page 39: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

34

อตฺตนา โจทยตฺตานํ จงเตือนตนดวยตน

คําวา ตน แปลวา สภาพที่เสวยความสุข ความทุกข หมายถึง รางกายพรอมทั้งจิตใจหรือรางกายทั้งสิ้นซึ่งมีวิญญาณครองที่ยึดถือกันวาเปนเรา เปนเขา เปนสัตว เปนบุคคล กลาวใหเขาใจงาย ตนคือตัวเรานี่เอง ตัวเราไดแกกายกับใจ กายกับใจนี้แหละเปนตัวเรา ฉะนั้นคําวา ตน จึงหมายถึงกายและใจ

แตถาจะกลาวรวม ตน ก็คือใจ นั้นเอง เพราะกายอยูในอํานาจของใจ มีใจเปนใหญกายจะทําอยางไร พูดอยางไร ยอมแลวแตใจสั่ง ฉะนั้น จึงสําคัญอยูที่ใจและที่วา เตือนตนก็คือ เตือนใจนี้เอง

ที่ตองเตือนตน ก็เพราะ “ ตนเปนที่รักอยางยิ่ง ” จึงตองเตือนใหเวนชั่ว ใหประพฤติชอบ ใหประกอบแตความดี เพื่อใหตนมีความสุขความเจริญยิ่ง ๆ ขึ้นไป เมื่อเตือนตนไดเชนนี้ก็ ช่ือวาทําตนใหเปนที่พึ่งของตนได

ถาไมเตือนตน ปลอยตนไปตามยถากรรม ก็จะถูกสิ่งแวดลอมตาง ๆ ชักจูงไปในทางไมดีไมงาม ทําใหมัวเมาลุมหลงหรือเพลิดเพลินไปในทางชั่ว ตัวเองก็จะเดือดรอนและจะเดือดรอนไปถึงผูอ่ืนดวย ฉะนั้นพระพุทธเจาจึงตรัสวา จงเตือนตนดวยตน ดังนี้

“ ยุวกาชาดพงึเตือนตนดวยตน ”

คติธรรม

Page 40: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

35

1. พิธีเปดกิจกรรมยุวกาชาด 2. ครูผูสอนเรียกแถวหนากระดานหนวยปดระยะ 3. ครูผูสอนสอนและรวมรองเพลง “ ฤษีดัดตน ” กับสมาชิกยุวกาชาด 4. สมาชิกยุวกาชาดศึกษาขอความรูเ ร่ือง อาศรมฤษีบอกวิธีนวดตัวดัดตน จากเอกสาร

ประกอบการเรียนการสอน 5. ครูผูสอนสรุปเนื้อหาและสอนคติธรรม “ วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ ” 6. หัวหนาหนวยประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคภายในหนวยของตน 7. พิธีปดกิจกรรมยุวกาชาด 8. ครูผูสอนประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 4 อาศรมฤษีบอกวิธีนวดตัวดัดตน

Page 41: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

ทาที่ 1

ทาที่ 3

ทาที่ 2

36

เพลง ฤษีดัดตน

คํารอง เรวัติ เพ็ชรเอม ทํานอง เพลงรําวง

อาศรม อาศรมฤษี จะบอกวิธีนวดตัวดดัตน ยุวกาชาดทุกคน ... ( ซํ้า ) พอเร่ิมดัดตนจติใจก็ผอนคลาย นวดหนา นวดเอว นวดไหล ยืดเสน ยืดสาย หายใจโลงอก ตะโพกนัน้ตองรีบยก ... ( ซํ้า ) ทํานิ้วกระดกหายใจสบาย ... ( ซํ้า )

ทาฤษีดัดตนขัน้พื้นฐาน

ประโยชน คือ แกลมปวดศีรษะ ปวดทอง และขอเทา เมื่อฝกทานี้ตอเนื่องกันเปนการบริหารขอไหล เมื่อทําทานี้ครบชุด นาจะมีผลในการแกปญหาที่ไหล คอ ทอง และสงผลตอระบบไหลเวียนเลือดไปที่ศีรษะและแขน

ประโยชน คือ แกลมขอมือและแกลมในลําลึงค เปนการเริ่มตนเตรียมความพรอมของรางกายและฝกลมหายใจ ไดผลทั้ง 2 ทาง คือ เปนการบริหารขอมือและยังเพิ่มการขมิบกน เปนการบริหารบริเวณ ฝเย็บอีกดวย

ประโยชน แกลมเจ็บศีรษะและตามัว เปนทางาย ๆ ที่ใชกันบอย คือ บิดขี้เกียจ โดยประยุกตใหเคลื่อนไหวขอไหลครบทุกทิศ ทั้งซาย ขวา หนา และยกชูขึ้นเหนือศีรษะ เปนการยืดบริหารแขน

4. อาศรมฤษีบอกวิธีนวดตัวดัดตน

Page 42: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

ทาที่ 4

ทาที่ 5

ทาที่ 6

ทาที่ 7

37

ประโยชน คือ แกขัดแขน แขนขัด เปนการบริหารหัวไหลและตนแขน ชวยลดอาการแขนขัดซึ่งมักพบไดบอย

ประโยชน คือ แกกรอนกษัย แกขัดเขา เปนการบริหารบริเวณเขา หลังเอว ( คําวา “ กรอน ” คือ ความเสื่อม “ กรอนกษัย ” คือ โรคเร้ือรัง มีความเสื่อมของอวัยวะ นั่นเอง )

ประโยชน คือ แกกรอนปตคาต และแกเสนมหาสนุกระงับ เปน ทาตอเนื่องจากทาที่ 5 มีผลที่อก และขา ถาหากยืนก็ทําทาแกกรอนปตคาตทาเดียว หากนั่งทําทาตอเนื่องไดเลย ( “ กรอนปตคาต ” โบราณหมายถึง ภาวะอาการขัดเจ็บของกลามเนื้อบริเวณตาง ๆ อันเนื่องมากจากความเสื่อมจากการใชงานผิดปกติของกลามเนื้อและ เสนเลือดภายใน )

ประโยชน คือ แกลมในแขน เปนการบริหารสวนแขน ขอมือ และ นิ้วมือ

Page 43: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

ทาที่ 8

ทาที่ 9

38

ประโยชน คือ แกตะโพกสลักเพชร แกไหล ตะโพกขัด เปนทายืนที่ทําตอเนื่องจนมือจรดพื้น โดยเนนทําเทาที่ทําไดตามสภาพหลังของแตละคน ทําโดยไมตองฝน เปนการบริหารไหล สะโพกและหลัง ขอควรระวัง ผูที่มีอาการปวดหลัง ปวดราว ชาลงไปตามขา เสียวแปรบที่หลัง ควรหลีกเลี่ยงทานี้และขณะกมลงถามือไมสามารถแตะพื้นไดก็ไมตองฝน

ประโยชน คือ แกไหล ขา ขาขัด เปนการบริหารเอว อก ขา ไหล ( เปนการบริหารแบบเกลียวบิด )

Page 44: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

39

แบบปฏบิัติกิจกรรมที ่ 4

เรื่อง อาศรมฤษีบอกวธินีวดตัวดัดตน เวลา 30 นาที กิจกรรมยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1

คําชี้แจง ใหสมาชิกยุวกาชาดฝกดัดตนตามทาฤษีดัดตนขั้นพื้นฐานและเมื่อฝกปฏิบัติเสร็จเรียบรอยแลว

ใหระบุทาฤษีดัดตนที่ชอบพรอมทั้งบอกเหตุผลที่ชอบ

ทาฤษีดัดตนทีช่อบ คือ ..........................

สาเหตุที่ชอบเพราะ 1. ........................................................................................................................................ 2. ........................................................................................................................................ 3. ........................................................................................................................................ 4. ........................................................................................................................................ 5. ........................................................................................................................................

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการดัดตนในทาฤษดีดัตนขั้นพืน้ฐานตามความคิดเห็นของยวุกาชาด ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

ลงชื่อ ......................................................... ผูปฏิบัติกิจกรรม ( ..................................................... ) กลุมที่ ......... หนวยสี .......................

Page 45: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

40

วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ คนลวงทุกขไดเพราะความเพียร

คําวา ทุกข แปลวา ธรรมชาติอันบุคคลพึงทนไดยาก เร่ืองหรือส่ิงที่ทนไดยาก หมายถึง ความยาก ความลําบาก ความพิบัติ ความชั่วราย ความเดือดรอน รวมความไดแก ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ นั่นเอง

คําวา ความเพียร แปลวา ความเปนผูกลา ไดแกกลาแข็งในการทํางาน ไมกลัวตอรอนหนาว ลมแดดหรือความยากลําบากตาง ๆ มีความบากบั่นกาวหนา ไมหยุดนิ่งหรือ ถอยหลัง มีน้ําใจเขมแข็งในการทํางาน ไมยอทอตอการกระทํา ไมทอแทตอความลําบาก ไมทอถอยตอความยากที่ติดขัด มีใจเด็ดเดี่ยวกลาหาญในการทํา ไมทํา ๆ หยุด ๆ ไมจับจดรวนเรทําติดตอกันไป มุงทํา ไมเห็นแกเหนื่อยยากเพื่อใหงานสําเร็จ

ความเพียรเปนเหตุใหพนทุกข เปนเครื่องชวยคนเราใหพนจากความทุกขยากในดานตาง ๆ เชน อานหนังสือไมออก เปนทุกข ก็เพียรศึกษาเลาเรียนจนอานออกเขียนได ก็ หมดทุกข ไมมีทรัพยจะจับจายใชสอย เปนทุกข ก็เพียรประกอบอาชีพการงานจนไดทรัพยมาใชสอย ก็หมดทุกข ทํางานไมสําเร็จ เปนทุกข ก็เพียรทําจนสําเร็จ เมื่อมีความเพียร ก็ตองไดพบความสําเร็จ เพราะความเพียรมีที่ไหน ความสําเร็จก็มีที่นั่น เมื่องานสําเร็จก็หมดทุกข ความเพียรเปนเครื่องชวยคนเราใหพนทุกขได อยางนี้แหละพระพุทธเจาเมื่อจะตรัสตอบปญหาของอาฬวกยักษที่ทูลถามวา คนจะลวงทุกขไดเพราะอะไร พระองคจึงตรัสวาคนลวงทุกขไดเพราะความเพียร

“ ยุวกาชาดพงึถึงพรอมดวยความเพียร ”

คติธรรม

Page 46: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

41

1. พิธีเปดกิจกรรมยุวกาชาด 2. ครูผูสอนเรียกแถวหนากระดานหนวยปดระยะ 3. ครูผูสอนสอนและรวมรองเพลง “ นาฬิกาชีวิต ” กับสมาชิกยุวกาชาด 4. สมาชิกยุวกาชาดศึกษาขอความรูเร่ือง นาฬิกาชีวิต จากเอกสารประกอบการเรียนการสอน 5. สมาชิกยุวกาชาดปฏิบัติกิจกรรมที่ 5 แตงกลอนเรื่อง “ นาฬิกาชีวิต ” 6. ครูผูสอนสรุปเนื้อหาและสอนคติธรรม “ นตฺถิ ปฺญา สมา อาภา ” 7. หัวหนาหนวยประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคภายในหนวยของตน 8. สมาชิกยุวกาชาดทุกคนทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ขอ และตรวจคําตอบจาก

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนในภาคผนวก 9. พิธีปดกิจกรรมยุวกาชาด 10. ครูผูสอนประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 5 ปฏิบัติตามนาฬิกาชีวิตเพื่อพิชิตโรคภัย

Page 47: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

42

เพลง นาฬิกาชีวิต

คํารอง เรวัติ เพ็ชรเอม ทํานอง เพลงสาวงามพิจิตร

นาฬิกาชวีิตนาคิดชวนมอง ทําใหสอดคลองถูกตองหลักธรรมชาติ กลางคืน กลางวัน ชวยกนัอยาใหขาด เพื่อแสดงมิใหพลาด จิตใจ รางกายใหสะอาด หลักธรรมชาติชวยใหแข็งแรง

นาฬิกาชีวิต ( Biological clock )

ชวงเวลา ระบบที่เกี่ยวของ ขอควรปฏิบัติ 01.00 – 03.00 น. ตับ นอนหลับพักผอนใหหลับสนิท 03.00 – 05.00 น. ปอด ตื่นนอน สูดอากาศบริสุทธิ์ 05.00 – 07.00 น. ลําไสใหญ ขับถายอุจจาระ 07.00 – 09.00 น. กระเพาะอาหาร กินอาหารเชา 09.00 – 11.00 น. มาม พูดนอย กินนอย ไมนอนหลบั 11.00 – 13.00 น. หัวใจ หลีกเลี่ยงความเครียดท้ังปวง 13.00 – 15.00 น. ลําไสเล็ก งดกินอาหารทกุประเภท 15.00 – 17.00 น. กระเพาะปสสาวะ ทําใหเหงื่อออก ( ออกกําลังกายหรืออบตัว ) 17.00 – 19.00 น. ไต ทําใหสดชื่น ไมงวงเหงาหาวนอน 19.00 – 21.00 น. เยื่อหุมหวัใจ ทําสมาธิ หรือสวดมนต 21.00 – 23.00 น. ระบบความรอนของรางกาย หามอาบน้ําเย็น หามตากลม ทํารางกายใหอบอุน 23.00 – 01.00 น. ถุงน้ําดี ดื่มน้ํากอนเขานอน

5. ปฏิบัติตามนาฬิกาชีวิตเพื่อพิชิตโรคภัย

Page 48: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

43

การแพทยตะวันออกถือวา กลางวันและกลางคืนมีความสัมพันธกับสุขภาพของมนุษยอยางแยก ไมออก โดยมองลึกลงไปอีกวา ชวงเวลา 24 ช่ัวโมงในหนึ่งวันนั้น ภายในรางกายของมนุษยยังมีการไหลเวียนของพลังชีวิตที่ผานอวัยวะภายในของรางกายซึ่งประกอบดวย อวัยวะตันและอวัยวะกลวง

อวัยวะตัน หมายถึง หัวใจ เยื่อหุมหัวใจ ปอด มาม ตับ ไต อวัยวะกลวง หมายถึง กระเพาะอาหาร ถุงน้ําดี ลําไสใหญ ลําไสเล็ก กระเพาะปสสาวะ

ระบบความรอนของรางกาย ( ชานเจียว )

การไหลเวียนของพลังชีวิต ( ลมปราณ ) ที่ผานแตละอวัยวะนั้นจะใชเวลาสองชั่วโมง ทั้งหมดมี 12 อวัยวะ รวม 24 ช่ัวโมง คือ หนึ่งวัน เรียกวา “ นาฬิกาชีวิต ”

ตัวอยาง เชนการไหลเวียนของเสนลมปราณปอด จะมีพลังไหลเวียนเริ่มตนที่เวลา 03.00 น. และสูงสุดในชวงประมาณ 04.00 น. จากนั้นจะคอย ๆ ลดลง และออกจากเสนลมปราณปอดไปยังเสนลมปราณลําไลใหญ เวลา 05.00 น. การรักษาโรคของเสนลมปราณปอดที่ใหประสิทธิภาพสูงสุดจึงควรอยูระหวางเวลา 0.00 – 05.00 น. ไดมีการศึกษาวิจัยพบวา ผลของการใชยาตะวันตกคือ ยาดิติตาลิสในการรักษาโรคหัวใจลมเหลว ( มีการคั่งของน้ําในปอด ) ควรใหยาในชวงเวลา 04.00 น. จะใหผลออกฤทธิ์ประมาณสี่สิบเทาของการใหเวลาอื่น เปนตน การเคลื่อนไหวของพลังชีวิตของอวัยวะภายในมีกฎเกณฑที่แนนอนและสัมพันธเกี่ยวของกับเวลา ( นาฬิกาชีวิต ) รางกายเราจึงมีกลไกการปรับตัวมีการสรางสารคัดหล่ังฮอรโมน การทํางานของระบบตาง ๆ ฯลฯ เปนไปตามสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไป

การดําเนินชีวิตและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจําวันใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ จึงเปนหลักฐานของการมีสุขภาพที่ดีและมีอายุยืน ปราศจากโรค โดยแบงเปนชวงเวลาดังนี้

01.00 – 03.00 น. เปนชวงเวลาของตับ ควรนอนหลับพักผอน ถาใครนอนหลับไดดีเปนประจําในชวงเวลานี้ ตับจะหลั่งสารมีราโทนิน ( meratonine ) เพื่อฆาเชื้อโรค ทําใหหนาออนกวาวัย นอกจากรางกายจะหลั่งมีราโทนินประจําแลว ยังหล่ังสารเอนโดรฟน ( endrophin ) ออกมาดวยจึงไมควร กินอาหาร เพราะจะทําใหตับทํางานหนักและเสื่อมเร็ว หนาที่หลักของตับคือ ขจัดสารพิษในรางกาย สวนหนาที่รอง คือ

1. ชวยไตในการดูแลผม ขน เล็บ ถาตับมีปญหา ผม ขน เล็บจะไมสวย 2. ชวยกระเพาะยอยอาหาร ถากินบอย ๆ จะทําใหตับทํางานหนักตับจะหลั่งน้ํายอยออกมามาก

จึงไมไดทําหนาที่หลัก เปนเหตุใหสารพิษตกคางในตับ 03.00 – 05.00 น. เปนชวงเวลาของปอด จึงควรตื่นนอนลุกขึ้นเพื่อสูดอากาศที่บริสุทธิ์ และรับ

แสงแดดในยามเชา ผูที่ตื่นนอนชวงนี้เปนประจําปอดจะดี ผิวดีขึ้น และจะเปนคนที่มีอํานาจในตัว

Page 49: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

44

05.00 – 07.00 น. เปนชวงเวลาของลําไสใหญ ควรขับถายอุจจาระทําใหเปนนิสัยทุกเชา ถาไมถายใหใชวิธีกดจุดที่ตําแหนงสองขางของจมูก ถายังไมถายใหดื่มน้ําอุน 2 แกว ถายังไมถายใหดื่มน้ําผ้ึงผสมมะนาว โดยใชน้ํา 1 แกว + น้ําผ้ึง 1 ชอนโตะ + น้ํามะนาว 4 – 5 ลูก ทําดื่มจนกวาจะถายหรือบริหารโดยยืนตรง หายใจเขาแลวกมลงพรอมทั้งหายใจออก เอามือทาวเขาแขมวทองจนเหมือนวาหนาทองไปติดสันหลัง

07.00 – 09.00 น. เปนชวงเวลาของกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารจะทํางาน ถากินอาหารเชาในชวงเวลานี้ทุกวัน กระเพาะอาหารจะแข็งแรง ถาปลอยใหกระเพาะอาหารออนแอ จะสงผลใหเปนคนตัดสินใจชา ขี้กังวล ขาไมคอยมีแรง ปวดเขา หนาแกเร็วกวาวัย

09.00 – 11.00 น. เปนชวงเวลาของมาม มามจะอยูชายโครงดานซาย มีหนาที่ควบคุมเม็ดเลือด สรางน้ําเหลือง ควบคุมไขมัน คนที่ปวดศีรษะบอยมักมาจากความผิดปกติของมาม อาการเจ็บชายโครงสาเหตุมาจากมามกับตับ

- มามโต มามจะไปเบียดปอดทําใหเหนื่อยงาย ผอมเหลือง ตาเหลือง สรางเม็ดเลือดขาวไดนอย - มามชื้น อาหารและน้ําที่กินเขาไปจะแปรสภาพเปนไขมันจึงทําใหอวนงาย ผูที่มักนอนหลับในชวงเวลา 09.00 – 11.00 น. มามจะออนแอ นอกจากนี้มามยังโยงถึงริมฝปาก

ผูที่พูดบอย ๆ หรือพูดเกง ๆ มามจะชื้น จึงควรพูดนอยกินนอย มามจึงแข็งแรง 11.00 – 13.00 น. เปนชวงเวลาของหัวใจ หัวใจทํางานหนักในชวงเวลานี้ จึงควรหลีกเลี่ยง

ความเครียด เหตุที่ทําใหตองใชความคิดหนัก และหาทางระงับอารมณตื่นเตนหรืออาการตกใจใหได 13.00 – 15.00 น. เปนชวงเวลาของลําไสเล็ก จึงควรงดการกินอาหารทุกประเภทเพื่อเปดโอกาส

ใหลําไสทํางาน ลําไสเล็กมีหนาที่ดูดซึมสารอาหารที่เปนน้ําทุกชนิด เชน วิตามินซี บี โปรตีนเพื่อสรางกรดอะมิโนสรางเซลลสมอง ซอมแซมสวนที่สึกหรอ สรางไขสําหรับผูหญิง ถากรดอะมิโนนอย ไขจะมาไมครบทุกเดือน ผูหญิงมีลําไสยาวกวาผูชาย 11 ฟุต เพื่อใหการดูดซึมไดนานกวา เนื่องจากตองใชกรดอะมิโนมากกวาผูชาย เมื่อมีลําไสยาวกวาจึงมีกระดูกซี่โครงมากกวาผูชายขางละ 1 ซ่ี

15.00 – 17.00 น. เปนชวงเวลาของกระเพาะปสสาวะ แนวพลังของกระเพาะปสสาวะเริ่มจาก หัวตา ผานหนาผาก ศีรษะ ทายทอย แผนหลังทั้งแผน สะโพก ดานหลังขา หัวเขา นอง สนเทา นิ้วกอย กระเพาะปสสาวะจะเกี่ยวของกับระบบความจํา ไทรอยดและระบบเพศทั้งหมด

ชวงเวลานี้จึงควรทําใหเหงื่อออก อาจจะออกกําลังกายหรืออบตัว กระเพาะปสสาวะจะไดแข็งแรง ขอควรระวัง ถาเหงื่อมีโซเดียมปนออกมามากไตจะวาย แตถามีโปตัสเซียมปนออกมามาก หัวใจ

จะวาย แกไขเรื่องหัวใจวายดวยการใหดื่มน้ําสมหรือน้ํามะนาวเพื่อเติมโปตัสเซียม ( ผูที่มีโปตัสเซียมนอยตองระวังเรื่องการฉีดยาชา เพราะยาชา จะทําใหโปตัสเซียมลดลงอยางรวดเร็ว หัวใจอาจวายไดงาย )

Page 50: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

45 การอั้นปสสาวะบอย ๆ ปสสาวะจะถูกดูดซึมเขาสูกระแสเลือด ทําใหเหงื่อที่ออกมามีกล่ินเหม็น

เหมือนปสสาวะ 17.00 – 19.00 น. เปนชวงเวลาของไต จึงควรทําใจใหสดชื่น ไมงวงเหงาหาวนอนในชวงเวลานี้

ผูใดมีอาการงวงนอนชวงเวลานี้ แสดงวามีปญหาเรื่องไตเสื่อม ถานอนหลับแลวเพอแสดงวาอาการ หนักมาก

- ไตซายจะคุมสมองดานขวา ซ่ึงควบคุมดานความคิดสรางสรรค อารมณสุนทรีย รักสวยรักงาม ชอบแตงตัว ถาไตซายมีปญหา อารมณรักสวยรักงามจะหมดไป กลายเปนคนปลอยเนื้อปลอยตัว และเปนคนขี้รอน

- ไตขวาจะคุมสมองดานซาย ซึ่งควบคุมดานความจํา ถาไตขวามีปญหา ความจําจะเสื่อม และเปนคนขี้หนาว ( ผูที่ไตแข็งแรงจะเปนคนมีอายุยืน เปนคนกลา )

ถาลําไสเล็กมีไขมันเกาะมาก อาหารที่อยูในรูปของสารละลายจะผานลําไสเล็กไมได จึงตกเปนภาระของไต เปนผลใหไตทํางานหนัก จึงกลายเปนโรคไต ผูที่เปนโรคไต สมองจะเสื่อม ปวดหลัง เปนหวัดงาย มีเสลดในคอ

การดูแลคือ ตอนเชาอาบน้ําเย็น ตอนเย็นใหอาบน้ําอุน กรณีที่อาบน้ําไมได ใหใชวิธีแชเทา แตน้ําควรใสสมุนไพรที่ถูกกับโฉลกของผูปวย เชน ขิง ขา กระชาย อยางใดอยางหนึ่ง

19.00 – 21.00 น. เปนชวงเวลาของเยื่อหุมหัวใจ ชวงเวลานี้ควรจะสวดมนต ทําสมาธิ ปญหาเกี่ยวกับเยื่อหุมหัวใจ คือหัวใจโต หัวใจรั่ว เสนโลหิตหัวใจตีบ ดังนั้นผูปวยตองระวังเรื่องตื่นเตน ดีใจ การหัวเราะ กรณีเสนเลือดขอด ตองดูแลเยื่อหุมหัวใจใหแข็งแรง ควรใสเสื้อผาชุดสีดํา เทา เอาเทาแช ในน้ําอุน

21.00 – 23.00 น. เปนชวงเวลาที่ตองทําใหรางกายอบอุน จึงหามอาบน้ําเย็นในชวงเวลานี้ เพราะจะทําใหเจ็บปวยไดงาย อยาไปตากลม เพราะเปนชวงที่ลมเปนพิษ

23.00 – 01.00 น. เปนชวงเวลาของถุงน้ําดี ( ถุงน้ําดีเปนถุงสํารองเก็บน้ํายอยที่ออกมาจากตับ ) อวัยวะใดในรางกายเมื่อขาดน้ํา จะมาดึงน้ําจากถุงน้ําดี ทําใหถุงน้ําดีขน เปนผลใหอารมณฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกจะบวม ปวดฟน นอนไมหลับ ตื่นกลางดึก หรือตอนเชาจะจาม ( ถุงน้ําดีจะโยงไปถึงปอด ) จะปวดศีรษะขางเดียวหรือสองขางโดยไมทราบสาเหตุ ( ผูที่ตัดถุงน้ําดีออก เมื่อตรวจดวยลูกดิ่งจะพบวา ถุงน้ําดีขน มักมีอาการปวดขา ปวดสะโพก )

ทางแกคือ อยาใสชุดนอนที่เปนผาใยสังเคราะห ไนลอน ชุดนอนที่ทําจากใยสังเคราะหจะไปดูดน้ําในรางกาย ควรสวมชุดผาฝายดีที่สุดไมควรนอนบนที่นอนสูง ๆ เพราะจะทําใหเสียน้ําในรางกาย ดังนั้นควรดื่มน้ํากอนเขานอน หรือกอนเวลา 23.00 น.

Page 51: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

46

แบบปฏบิัติกิจกรรมที ่ 5

เรื่อง ปฏิบัติตามนาฬิกาชีวิตเพื่อพิชิตโรคภัย เวลา 30 นาที กิจกรรมยุวกาชาด ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1

คําชี้แจง ใหสมาชิกยุวกาชาดแตงกลอนเกี่ยวกับ “ นาฬิกาชีวิต ”

บทกลอนนาฬกิาชีวิต

......................................................... .........................................................

......................................................... .........................................................

......................................................... .........................................................

......................................................... .........................................................

......................................................... .........................................................

......................................................... .........................................................

......................................................... .........................................................

......................................................... .........................................................

ลงชื่อ ......................................................... ผูปฏิบัติกิจกรรม

( ..................................................... ) กลุมที่ ......... หนวยสี .......................

Page 52: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

47

นตฺถิ ปฺญาสมา อาภา แสงสวางเสมอดวยปญญา ไมมี

ปญญา แปลวา ธรรมชาติรูชัด หรือธรรมชาติเปนเครื่องรูชัด ไดแกความเฉลียวฉลาดสามารถรูทางเสื่อมทางเจริญ คือรอบรูส่ิงที่เปนประโยชน รูทั้งคดีโลกคดีธรรม รูชัดไมมีความสงสัย ปญญามีสองประเภทคือ

โลกิยปญญา คือความสามารถปกครองตนใหมีความสุข ความเจริญในทางโลก แมเมื่อมีภัยอันตรายเกิดขึ้น ก็สามารถทําใหพนภัยและใหถึงความสวัสดีได

โลกุตตรปญญา คือความสามารถทําใหรูสภาวะธรรมตามเปนจริง รูจริง รูถูก รูตรง รูไมคลาดเคลื่อนในทุกสิ่งทุกอยาง คือรูอริยสัจ สามารถกําจัดกิเลสทุกชนิด ที่มีอยูในสันดานใหหมดสิ้นไปไดบรรลุ วิมุตติ ถึงวิสุทธิ ประสบสันติไดก็ดวย โลกุตตรปญญานี้

ทางใหเกิดปญญามี สามทาง คือ หนึ่ง สุตะ การสดับตรับฟง การศึกษาเลาเรียน สอง จินตา คิดอาน ตริตรอง ใครครวญ พิจารณาเหตุผลดวยตนเอง สาม ภาวนา ฝกฝน อบรม ทดลองปฏิบัติจนเกิดความฉลาดเขาใจชัด ปญญาเปนแสงสวางยอดเยี่ยมในโลก เพราะสามารถสองใหเห็นทางแหงสมบัติและ

วิบัติ แสงสวางแหงดวงอาทิตย ดวงจันทรและดวงประทีปทุกอยาง สามารถสองใหจักษุเห็นภาพไดเฉพาะในที่ที่ไมมีอะไรบัง แตถามีอะไรมากั้นมาบังเสียแลว ก็สองใหเห็นไมได สวนแสงสวาง คือ ปญญา สามารถสองใหใจรูเห็นทุกสิ่งทุกอยางไดแจมชัด แมจะมีเครื่องกั้นเครื่องบังก็ยังเห็นได ไมมีแเสงสวางอยางอื่นเสมอเหมือน ฉะนั้น พระพุทธเจาจึงตรัสวา แสงสวางเสมอดวยปญญา ไมมี ดังนี้

“ ยุวกาชาดมปีญญาเปนอาวุธ ”

คติธรรม

Page 53: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

48

แบบทดสอบหลังเรียน กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนท่ี 1

คําชี้แจง ใหสมาชิกยุวกาชาดทําเครื่องหมาย ทับคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคาํตอบเดียว 1. ในการใชผามวนยดืพันแผล เพราะเหตุใดจึงพันสวนปลายไปหาสวนโคนเสมอ

ก. เพื่อเปนการไลเลือดดํากลับสูหัวใจ ข. เพื่อเปนความสะดวกในการจับผาโดยหงายมวนผา ค. เพื่อใหผูบาดเจ็บมีความรูสึกวาไดรับการรักษาแลว ง. ถูกทุกขอ

2. ขอใดคอืการประเมินการบาดเจ็บ ขั้นที่ 1 ก. ตรวจการหายใจ ข. สัมภาษณผูบาดเจ็บ ค. ตรวจสีผิวและอุณหภูม ิง. ตรวจรางกายตัง้แตศีรษะจรดเทา

3. ขอใดเปนการปองกันโรคไขเลือดออกที่ไดผลดีที่สุด ก. ระวังอยาใหยุงกัด ข. ลดแหลงเพาะพันธุยุง ค. ปดฝาภาชนะเก็บน้ําใหมิดชดิ ง. ใสน้ําสมสายชูลงในจานรองตู

4. อาการของผูปวยโรคไขเลือดออกในขอใดเปนอาการทีอั่นตรายที่สุด ก. มีไขสูง ข. มีภาวะช็อก ค. กระสับกระสาย ง. มีจุดแดง ๆ ตามลําตัว

5. สมุนไพรในขอใดมีสรรพคุณแกไข เจ็บคอ แกแผลบวมอักเสบ ลดความดันโลหิต ก. มะระขี้นก ข. ชุมเห็ดเทศ ค. ฟาทะลายโจร ง. เสลดพังพอนตัวเมีย

Page 54: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

49

6. ถามีอาการประจําเดือน ไม ปกติ ควรใชยาสมุนไพรในขอใด ก. บอระเพ็ด ข. เพชรสังฆาต ค. เถาวัลยเปรียง ง. เสลดพังพอนตัวเมีย

8. ภาพนี้เปนทาฤษีดัดตนทีแ่กอาการเจ็บปวดสวนใดของรางกาย ก. แกกรอนกษัย ข. แกตะโพกสลักเพชร ค. แกเสนมหาสนุกระงับ ง. แกลมเจ็บศรีษะและตามัว

7. ภาพนี้เปนทาฤษีดัดตนทีแ่กอาการเจ็บปวดสวนใดของรางกาย ก. แกขดัแขน ข. แกลมขอมือ ค. แกกรอนกษัย ง. แกลมเจ็บศรีษะและตามัว

9. ชวงเวลา 17.00 – 19.00 น. ควรทําใจใหสดชื่น ไมงวงเหงาหาวนอน เพราะเปนชวงเวลาของอวัยวะในขอใด

ก. ไต ข. ตับ ค. มาม ง. ปอด

10. คนที่ปวดศีรษะบอย มกัพบความผิดปกติของอวัยวะในขอใด ก. ไต ข. ตับ ค. มาม ง. ปอด

Page 55: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

บรรณานุกรม

Page 56: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

51

บรรณานกุรม

กระทรวงสาธารณสุข. (ม.ป.ป.). คูมือปองกันโรคไขเลือดออก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพกองสุขศึกษา. นวลฉวี ทรรพนันทน. (2548). นาฬิกาชีวิต (Biological Clock). กรุงเทพฯ : บริษัทฟาอภัยจํากัด. นันทา เล็กสวสัดิ์. (2545). การปฏิบตัิการชวยชีวิตขั้นสงู : ความทันสมยัในปจจุบัน (Advance Cardiac life support : An Update). เชียงใหม : ภาควิชาการพยาบาล ศัลยศาสตร มหาวิทยาลัยเชยีงใหม โรงพยาบาลบางกระทุม. (ม.ป.ป.). สมุนไพรบางกระทุม. กรุงเทพฯ : กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ศูนยฝกอบรมปฐมพยาบาลและสุขภาพอนามัยสภากาชาดไทย. (2552). คูมือปฐมพยาบาล. (พิมพคร้ังที่ 10). กรุงเทพฯ : บริษัทเซเวนพร้ินติ้งกรุปจํากัด ศูนยพัฒนาตําราการแพทยแผนไทยสถาบันสงเสริมการแพทยแผนไทย. (2547). คูมือกายบริหาร แบบไทยทาฤษีดัดตนพืน้ฐาน 15 ทา (ฉบบัปรับปรงุใหม). กรุงเทพฯ : บริษัทสามเจริญ การพิมพ สํานักงานปลดักระทรวงศึกษา. (2548). หลักสูตรกิจกรรมยุวกาชาด (ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พทุธศักราช 2544). กรุงเทพฯ : สํานักการลูกเสือยุวกาชาดและกจิการ นักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ

Page 57: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

ภาคผนวก

Page 58: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

53

กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอนเรียน

กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนท่ี 1

ชื่อ ............................................................................. กลุมท่ี ...................... หนวยสี ................................. คําสั่ง ใหยุวกาชาดกาเครื่องหมาย ลงใน ขอ ก. ข. ค. หรือ ง. ที่ถูกตองเพยีงคําตอบเดยีว

แบบทดสอบกอนเรียน

ขอ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รวมคะแนน

ช่ือ .......................................................................... ผูตรวจ / กรอกคะแนน

Page 59: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

54

กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน

กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนท่ี 1

ชื่อ ............................................................................. กลุมท่ี ...................... หนวยสี ................................. คําสั่ง ใหยุวกาชาดกาเครื่องหมาย ลงใน ขอ ก. ข. ค. หรือ ง. ที่ถูกตองเพยีงคําตอบเดยีว

แบบทดสอบหลังเรียน

ขอ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รวมคะแนน

ช่ือ .......................................................................... ผูตรวจ / กรอกคะแนน

Page 60: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

55

เฉลยคําตอบแบบทดสอบกอนเรียน

กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนท่ี 1

ขอ คําตอบ 1 ก 2 ก 3 ข 4 ก 5 ข 6 ค 7 ง 8 ค 9 ค 10 ก

Page 61: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

56

เฉลยคําตอบแบบทดสอบหลังเรียน

กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนท่ี 1

ขอ คําตอบ 1 ก 2 ก 3 ก 4 ข 5 ค 6 ข 7 ค 8 ง 9 ก 10 ค

Page 62: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

57

แบบประเมนิผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 1 การลําดับขั้นตอนในการชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุ

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ในชองรายการประเมนิและเกณฑทีต่องการประเมิน

เกณฑการประเมิน 4 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 3 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี2 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 1 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

รายการประเมิน

หนวยสี

สรุปการชวยเหลือ

ไดตรงประเด็น

ลําดับขั้นตอน ไดถูกตอง

ความต้ังใจ ปฏิบัติกิจกรรม

ปฏิบัติกิจกรรมตรงตามเวลา

คะแนนเต็ม 16 คะแนน

รวมคะแนน

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1 เหลือง ชมพู เขียว แสด ฟา

ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน ( ................................................ ) ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ........... / .................... / .................

สรุปผลการประเมิน 13 – 16 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 11 – 12 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี 9 – 10 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 4 – 8 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 11 – 16 คะแนน ใหผาน

Page 63: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

58

แบบประเมนิผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 2 การคิดสังเคราะหเพื่อหลอมรวมวิธีปองกันโรคไขเลือดออก

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ในชองรายการประเมนิและเกณฑทีต่องการประเมิน

เกณฑการประเมิน 4 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 3 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี2 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 1 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

รายการประเมิน

หนวยสี

ความคิดสรางสรรค

ใชภาษา สละสลวย

ความถูกตอง

เนื้อหาสาระ คะแนนเต็ม 16 คะแนน

รวมคะแนน

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

เหลือง ชมพู เขียว แสด ฟา

ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน ( ................................................ ) ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ........... / .................... / .................

สรุปผลการประเมิน 13 – 16 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 11 – 12 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี 9 – 10 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 4 – 8 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 11 – 16 คะแนน ใหผาน

Page 64: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

59

แบบประเมนิผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 3 การออกแบบปายโฆษณายาสมุนไพรไทย

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ในชองรายการประเมนิและเกณฑทีต่องการประเมิน

เกณฑการประเมิน 4 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 3 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี2 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 1 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

รายการประเมิน

หนวยสี

ความถูกตอง ตรงประเด็น

ความต้ังใจ ในการปฏิบัติ

ความรวดเร็ว ทันเวลา

เนื้อหาสาระ คะแนนเต็ม 16 คะแนน

รวมคะแนน

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

เหลือง ชมพู เขียว แสด ฟา

ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน ( ................................................ ) ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ........... / .................... / .................

สรุปผลการประเมิน 13 – 16 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 11 – 12 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี 9 – 10 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 4 – 8 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 11 – 16 คะแนน ใหผาน

Page 65: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

60

แบบประเมนิผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 4 การฝกดัดตนและระบุทาดัดตนที่ชอบ

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ในชองรายการประเมนิและเกณฑทีต่องการประเมิน

เกณฑการประเมิน 4 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 3 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี2 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 1 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

รายการประเมิน

หนวยสี

ความต้ังใจ ความ

กระตือรือลน ความรวดเร็วทันเวลา

ความถูกตอง ตรงประเด็น

คะแนนเต็ม 16 คะแนน

รวมคะแนน

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

เหลือง ชมพู เขียว แสด ฟา

ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน ( ................................................ ) ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ........... / .................... / .................

สรุปผลการประเมิน 13 – 16 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 11 – 12 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี 9 – 10 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 4 – 8 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 11 – 16 คะแนน ใหผาน

Page 66: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

61

แบบประเมนิผลการปฏิบัติกิจกรรมที่ 5 การแตงกลอนเรื่อง “ นาฬิกาชีวิต ”

คําชี้แจง ใสเครื่องหมาย ในชองรายการประเมนิและเกณฑทีต่องการประเมิน

เกณฑการประเมิน 4 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 3 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี2 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 1 หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

รายการประเมิน

หนวยสี

ความคิดสรางสรรค

ความรวดเร็วทันเวลา

ความถูกตองตรงประเด็น

สัมผัสถูกตอง คะแนนเต็ม 16 คะแนน

รวมคะแนน

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

4

3

2

1

เหลือง ชมพู เขียว แสด ฟา

ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน ( ................................................ ) ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ........... / .................... / .................

สรุปผลการประเมิน 13 – 16 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ดมีาก 11 – 12 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ด ี 9 – 10 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ปานกลาง 4 – 8 คะแนน หมายถึง ผลการปฏิบัติอยูในระดับ ตองปรับปรุง

เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 11 – 16 คะแนน ใหผาน

Page 67: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

62 แบบประเมนิคุณลักษณะอันพึงประสงคกิจกรรมที่ 1

ชื่อผูประเมิน............................................................. หัวหนาหนวยสี...................... กลุมท่ี........... ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี.......... คําชี้แจง 1. หัวหนาหนวยเปนผูสังเกตและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสมาชิก รวมทั้งประเมินตนเองดวย 2. ใสเครื่องหมาย ลงในชองที่ตองการประเมินตามเกณฑการประเมินดังนี้

สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบทุกคนได 4 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 7 คนได 3 คะแนน สมาชิกในหนวยมพีฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 6 คนได 2 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินนอยกวา 6 คนได 1 คะแนน

3. รวมคะแนนประเมินในแตละรายการจนครบ 5 รายการ ใสในชองคะแนนรวม ลงช่ือรับรองและ นําแบบประเมินสงผูนํากลุมยุวกาชาด หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรม

รายการประเมิน ระดับการปฏิบัติกิจกรรม 4 3 2 1

( ความมีระเบียบวินัย ) 1. แตงกายถูกตองตามระเบียบ 2. เขาเรียนตรงเวลา

( ความรับผิดชอบ ) 3. ปฏิบัติกิจกรรมตรงตามเวลาที่กําหนด

( ความสามัคคี ) 4. รวมมือปฏิบัติกิจกรรม

( ความอดทน ) 5. มีความพยายามในการปฏิบัติกิจกรรม

รวม รวม

ลงช่ือ ................................................... หัวหนาหนวย ( ................................................ )

ลงช่ือ ................................................... ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ( ................................................ ) ........... / .................... / ................

สรุปผลการประเมิน 16 – 20 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดีมาก 14 – 15 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดี 12 – 13 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ปานกลาง 5 – 11 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ตองปรับปรุง เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 14 – 20 คะแนน ใหผาน

Page 68: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

63 แบบประเมนิคุณลักษณะอันพึงประสงคกิจกรรมที่ 2

ชื่อผูประเมิน............................................................. หัวหนาหนวยสี...................... กลุมท่ี........... ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี.......... คําชี้แจง 1. หัวหนาหนวยเปนผูสังเกตและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสมาชิก รวมทั้งประเมินตนเองดวย 2. ใสเครื่องหมาย ลงในชองที่ตองการประเมินตามเกณฑการประเมินดังนี้

สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบทุกคนได 4 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 7 คนได 3 คะแนน สมาชิกในหนวยมพีฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 6 คนได 2 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินนอยกวา 6 คนได 1 คะแนน

3. รวมคะแนนประเมินในแตละรายการจนครบ 5 รายการ ใสในชองคะแนนรวม ลงช่ือรับรองและ นําแบบประเมินสงผูนํากลุมยุวกาชาด หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรม

รายการประเมิน ระดับการปฏิบัติกิจกรรม 4 3 2 1

( ความมีระเบียบวินัย ) 1. แตงกายถูกตองตามระเบียบ 2. เขาเรียนตรงเวลา

( ความรับผิดชอบ ) 3. ปฏิบัติกิจกรรมตรงตามเวลาที่กําหนด

( ความสามัคคี ) 4. รวมมือปฏิบัติกิจกรรม

( ความอดทน ) 5. มีความพยายามในการปฏิบัติกิจกรรม

รวม รวม

ลงช่ือ ................................................... หัวหนาหนวย ( ................................................ )

ลงช่ือ ................................................... ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ( ................................................ ) ........... / .................... / ................

สรุปผลการประเมิน 16 – 20 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดีมาก 14 – 15 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดี 12 – 13 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ปานกลาง 5 – 11 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ตองปรับปรุง เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 14 – 20 คะแนน ใหผาน

Page 69: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

64 แบบประเมนิคุณลักษณะอันพึงประสงคกิจกรรมที่ 3

ชื่อผูประเมิน............................................................. หัวหนาหนวยสี...................... กลุมท่ี........... ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี.......... คําชี้แจง 1. หัวหนาหนวยเปนผูสังเกตและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสมาชิก รวมทั้งประเมินตนเองดวย 2. ใสเครื่องหมาย ลงในชองที่ตองการประเมินตามเกณฑการประเมินดังนี้

สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบทุกคนได 4 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 7 คนได 3 คะแนน สมาชิกในหนวยมพีฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 6 คนได 2 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินนอยกวา 6 คนได 1 คะแนน

3. รวมคะแนนประเมินในแตละรายการจนครบ 5 รายการ ใสในชองคะแนนรวม ลงช่ือรับรองและ นําแบบประเมินสงผูนํากลุมยุวกาชาด หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรม

รายการประเมิน ระดับการปฏิบัติกิจกรรม 4 3 2 1

( ความมีระเบียบวินัย ) 1. แตงกายถูกตองตามระเบียบ 2. เขาเรียนตรงเวลา

( ความรับผิดชอบ ) 3. ปฏิบัติกิจกรรมตรงตามเวลาที่กําหนด

( ความสามัคคี ) 4. รวมมือปฏิบัติกิจกรรม

( ความอดทน ) 5. มีความพยายามในการปฏิบัติกิจกรรม

รวม รวม

ลงช่ือ ................................................... หัวหนาหนวย ( ................................................ )

ลงช่ือ ................................................... ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ( ................................................ ) ........... / .................... / ................

สรุปผลการประเมิน 16 – 20 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดีมาก 14 – 15 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดี 12 – 13 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ปานกลาง 5 – 11 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ตองปรับปรุง เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 14 – 20 คะแนน ใหผาน

Page 70: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

65 แบบประเมนิคุณลักษณะอันพึงประสงคกิจกรรมที่ 4

ชื่อผูประเมิน............................................................. หัวหนาหนวยสี...................... กลุมท่ี........... ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี.......... คําชี้แจง 1. หัวหนาหนวยเปนผูสังเกตและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสมาชิก รวมทั้งประเมินตนเองดวย 2. ใสเครื่องหมาย ลงในชองที่ตองการประเมินตามเกณฑการประเมินดังนี้

สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบทุกคนได 4 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 7 คนได 3 คะแนน สมาชิกในหนวยมพีฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 6 คนได 2 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินนอยกวา 6 คนได 1 คะแนน

3. รวมคะแนนประเมินในแตละรายการจนครบ 5 รายการ ใสในชองคะแนนรวม ลงช่ือรับรองและ นําแบบประเมินสงผูนํากลุมยุวกาชาด หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรม

รายการประเมิน ระดับการปฏิบัติกิจกรรม 4 3 2 1

( ความมีระเบียบวินัย ) 1. แตงกายถูกตองตามระเบียบ 2. เขาเรียนตรงเวลา

( ความรับผิดชอบ ) 3. ปฏิบัติกิจกรรมตรงตามเวลาที่กําหนด

( ความสามัคคี ) 4. รวมมือปฏิบัติกิจกรรม

( ความอดทน ) 5. มีความพยายามในการปฏิบัติกิจกรรม

รวม รวม

ลงช่ือ ................................................... หัวหนาหนวย ( ................................................ )

ลงช่ือ ................................................... ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ( ................................................ ) ........... / .................... / ................

สรุปผลการประเมิน 16 – 20 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดีมาก 14 – 15 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดี 12 – 13 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ปานกลาง 5 – 11 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ตองปรับปรุง เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 14 – 20 คะแนน ใหผาน

Page 71: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

66 แบบประเมนิคุณลักษณะอันพึงประสงคกิจกรรมที่ 5

ชื่อผูประเมิน............................................................. หัวหนาหนวยสี...................... กลุมท่ี........... ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี.......... คําชี้แจง 1. หัวหนาหนวยเปนผูสังเกตและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสมาชิก รวมทั้งประเมินตนเองดวย 2. ใสเครื่องหมาย ลงในชองที่ตองการประเมินตามเกณฑการประเมินดังนี้

สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบทุกคนได 4 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 7 คนได 3 คะแนน สมาชิกในหนวยมพีฤติกรรมตามรายการประเมินครบ 6 คนได 2 คะแนน สมาชิกในหนวยมีพฤติกรรมตามรายการประเมินนอยกวา 6 คนได 1 คะแนน

3. รวมคะแนนประเมินในแตละรายการจนครบ 5 รายการ ใสในชองคะแนนรวม ลงช่ือรับรองและ นําแบบประเมินสงผูนํากลุมยุวกาชาด หลังจากเสร็จสิ้นการปฏิบัติกิจกรรม

รายการประเมิน ระดับการปฏิบัติกิจกรรม 4 3 2 1

( ความมีระเบียบวินัย ) 1. แตงกายถูกตองตามระเบียบ 2. เขาเรียนตรงเวลา

( ความรับผิดชอบ ) 3. ปฏิบัติกิจกรรมตรงตามเวลาที่กําหนด

( ความสามัคคี ) 4. รวมมือปฏิบัติกิจกรรม

( ความอดทน ) 5. มีความพยายามในการปฏิบัติกิจกรรม

รวม รวม

ลงช่ือ ................................................... หัวหนาหนวย ( ................................................ )

ลงช่ือ ................................................... ผูนํา / รองผูนํากลุมยุวกาชาด ( ................................................ ) ........... / .................... / ................

สรุปผลการประเมิน 16 – 20 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดีมาก 14 – 15 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ดี 12 – 13 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ปานกลาง 5 – 11 คะแนน หมายถึง ผลของการปฏิบัติกิจกรรมอยูในระดับ ตองปรับปรุง เกณฑการผาน มีพฤติกรรมอยูในระดับ 14 – 20 คะแนน ใหผาน

Page 72: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

67 สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรมยุวกาชาด ยุวกาชาดระดับ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา .......................

หมูยุวกาชาดโรงเรียนจานกรอง กลุมท่ี ................ กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1

เลขที ่คะแนนการปฏิบัติกจิกรรมระหวางเรียน สรุปผล คะแนนคุณลกัษณะอันพึงประสงค สรุปผล

ก. 1 16 คะแนน

ก. 2 16 คะแนน

ก. 3 16 คะแนน

ก. 4 16 คะแนน

ก. 5 16 คะแนน

ผาน ไมผาน

ก. 1 20 คะแนน

ก. 2 20 คะแนน

ก. 3 20 คะแนน

ก. 4 20 คะแนน

ก. 5 20 คะแนน

ผาน ไมผาน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40

ลงช่ือ ................................................... ผูนํากลุมยุวกาชาด ( ................................................ )

Page 73: ที่เน นผู เรียนเป นสําคัญเพื่อ ... · 2011-09-23 · ยุวกาชาดระด ... สํานักงานคณะกรรมการการศ

68 แบบสรุปผลการสอบกอนเรียนและหลังเรียนกิจกรรมยุวกาชาด ยุวกาชาดระดับ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 3

หมูยุวกาชาดโรงเรียนจานกรอง กลุมท่ี ................ กลุมกิจกรรมสุขภาพ ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา ......................

เลขที ่ สอบกอนเรียน สอบหลังเรียน การพัฒนา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40

ลงช่ือ ................................................... ผูนํากลุมยุวกาชาด ( ................................................ )