105
คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูล การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรปกครองสวนทองถิ่น ( ) เมืองพัทยา ( ) เทศบาลนคร ..................................... ( ) เทศบาลเมือง .................... ( ) เทศบาลตําบล .................................. ( ) องคการบริหารสวนตําบล ........................................................................ จังหวัด ........................................................................................................... กรุณาสงขอมูลดังกลาวมายัง สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค............................ ที่ติดตอ......................................................... ……………………………................................... โทรศัพท...................................................... โทรสาร....................................................... ขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

ขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูล

การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

องคกรปกครองสวนทองถิน่

( ) เมืองพัทยา ( ) เทศบาลนคร .....................................

( ) เทศบาลเมือง .................... ( ) เทศบาลตําบล ..................................

( ) องคการบริหารสวนตําบล ........................................................................

จังหวัด ...........................................................................................................

กรุณาสงขอมูลดังกลาวมายัง

สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค............................

ที่ติดตอ.........................................................

……………………………...................................

โทรศัพท......................................................

โทรสาร.......................................................

ขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

Page 2: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

คํานํา

กรมควบคุมมลพิษ โดยสํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย ไดดําเนินโครงการจัดทํา

ระบบขอมูลและเครือขายขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่งขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอย ถือเปนหนึ่ง

ในขอมูลสําคัญดานการจัดการมลพิษของประเทศไทย โดยทองถิ่น และหนวยงานที่เกี่ยวของดานการจัดการ

ขยะมูลฝอยจะสามารถนําขอมูลดังกลาวไปใชในการวางแผนจัดการขยะมูลฝอยในระดับตางๆ กันไป

แตเนื่องจากในปจจุบัน การรายงานขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอยมีเพียงบางทองถิ่นที่ดําเนินจัดเก็บขอมูล

และรายงาน แตอยางไรก็ตามขอมูลที่ไดดําเนินการจัดเก็บเอาไว ยังไมครบถวนและไมเปนระบบเทาที่ควร

เปนไปในลักษณะตางคนตางทําทําใหขาดความเชื่อมโยงในการดําเนินงาน ขาดการถายทอดความรูความเขาใจ

ในการจัดการขอมูลอยางเปนระบบใหกับเจาหนาที่ผูรับผิดชอบดานขอมูล ทําใหการจัดเก็บขอมูลดาน

การจัดการขยะมูลฝอยโดนละเลยมาโดยตลอด ซึ่งสงผลใหการนําขอมูลดังกลาวมาใชในการวางแผนงาน

ไมสะทอนสภาพความเปนจริงในการแกปญหาดานขยะมูลฝอยที่เปนปจจุบัน

กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะหนวยงานสวนกลางที่มีหนาที่ในการพัฒนาระบบ รูปแบบ

แนวทาง และวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ จึงไดจัดทําโครงการการจัดทําระบบ

ขอมูลและเครือขายขอมูลดานการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อใหเปนศูนยกลางขอมูลในการดําเนินงานดานการ

จัดการขยะมูลฝอยของประเทศ โดยเปนการสรางความมีสวนรวมระหวาง กรมควบคุมมลพิษ สํานักงาน

สิ่งแวดลอมภาคที่ ๑ - ๑๖ (สสภ. ๑ - ๑๖) สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดทั้ง ๗๖

จังหวัด (ทสจ.) และองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) สําหรับการบริหารจัดการขอมูลดานการจัดการขยะ

มูลฝอยของประเทศซึ่งในระยะแรก ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลผานทางแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะ

มูลฝอย โดยมุงเนนให อปท. เปนผูดําเนินการกรอกขอมูลให ทั้งนี้ เพื่อใหการกรอกขอมูลเปนไปไดอยาง

มีประสิทธิภาพ กรมควบคุมมลพิษ จึงไดจัดทําคูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยสําหรับ

เปนคูมือฯ คําอธิบายในการกรอกขอมูล

กรมควบคุมมลพิษ หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือเลมนี้จะสามารถชวยใหผูทําการกรอกขอมูล

สามารถดําเนินการกรอกขอมูลไดอยางถูกตอง เหมาะสม ซึ่งทําใหไดขอมูลที่มีคุณภาพสําหรับใชในการ

วางแผนการจัดการขยะมูลฝอยไดอยางเหมาะสมและถูกตองตอไป

Page 3: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

1

องคกรปกครองสวนทองถิน่

( ) เมืองพัทยา ( ) เทศบาลนคร .....................................

( ) เทศบาลเมือง .................... ( ) เทศบาลตําบล ..................................

( ) องคการบริหารสวนตําบล ........................................................................

จังหวัด ...........................................................................................................

กรุณาสงขอมูลดังกลาวมายัง

สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค............................

ที่ติดตอ.........................................................

……………………………...................................

โทรศัพท......................................................

โทรสาร.......................................................

วันที่กรอกขอมูล ….......................

Page 4: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

2

สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป

1.1 ชื่อผูใหขอมูล :

( ) นาย ( ) นาง ( ) นางสาว………………………………………ตําแหนง………………………..………………...…

1.2. องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ( ) เมืองพัทยา ( ) เทศบาลนคร ................................................

( ) เทศบาลเมือง ........................................ ( ) เทศบาลตําบล .............................................

( ) องคการบริหารสวนตําบล ..............................................

สํานักงานตั้งอยูเลขที่………….ถนน……………………หมูที่………ตําบล…….………..อําเภอ …………..…….…..

จังหวัด…………………รหัสไปรษณีย…………..โทรศัพท (……)…………….…โทรสาร (……)…………………….

ตําแหนงพิกัดทางภูมิศาสตรขององคกรปกครองสวนทองถิ่น x ……………………….. y ……………………………..

(บริเวณที่จับพิกัด เสาธงดานหนาสํานักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือดานหนาสํานักงาน)

1.3. พื้นที่เขตปกครอง/รับผิดชอบในปจจุบัน………………………………….…………………..ตารางกิโลเมตร

1.4. จํานวนประชากรและครัวเรือนที่อยูในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ขอมูล ณ สิ้นป พ.ศ................................ )

1.4.1 จํานวนประชากรตามทะเบียนราษฎร ………………………………………………..คน

1.4.2 จํานวนครัวเรือนตามทะเบียนราษฎร ……………..………………………………..หลังคาเรือน

1.4.3 จํานวนประชากรแฝง นักทองเที่ยว……………..……………………………..คน

แรงงาน .........................................................คน

( ) จากการศึกษา ................. ( ) จากหนวยงาน......................... ( ) จากการคาดการณ

1.5 ขอมูลรายไดประชากร .................................... บาทตอหัวตอป

( ) ขอมูลรายไดเฉลี่ยของ อปท. ( ) ขอมูลรายไดเฉลี่ยของจังหวัด ( ) อื่นๆ(โปรดระบุ...................

1.6 อาชีพหลักของประชากรในพื้นที่

(1) ................................................................................

(2) .................................................................................

(3) .................................................................................

1.7 ลักษณะของชุมชน (ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ)

( ) ชุมชนเมือง ( ) ชุมชนอุตสาหกรรม ( ) อื่นๆ ..................................

( ) ชุมชนเกษตรกรรม ( ) ชุมชนทองเที่ยว

1.8 ขอมูลแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

( ) ครัวเรือน แหง ( ) ตลาด แหง

( ) สถานศึกษา แหง ( ) โรงงาน แหง

( ) โรงแรม\ที่พัก แหง ( ) สถานที่ทองเที่ยว แหง

( ) สถานที่ราชการ แหง ( ) ศาสนสถาน แหง

( ) รานคา แหง ( ) รานอาหาร แหง

( ) ปมน้ํามัน แหง ( ) โรงพยาบาล แหง

( ) สถานประกอบการ แหง ( ) หางสรรพสินคา แหง

( ) อื่นๆ (โปรดระบุรายการ และจํานวนแหลง)

...........................................................แหง ...........................................................แหง

...........................................................แหง ...........................................................แหง

Page 5: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

3

สวนที่ 2 ปริมาณและองคประกอบขยะมูลฝอย

2.1 ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น................... (ตันตอวัน)

( ) จากการคาดประมาณ ( ) จากการชั่งน้ําหนัก

2.2 องคประกอบขยะมูลฝอย ณ จุดทิ้ง องคประกอบขยะมูลฝอยทางกายภาพ (รอยละโดยน้ําหนัก) ขอมูล ณ วันที่...........................................

เศษอาหาร กระดาษ พลาสติก แกว โลหะ ยาง/หนัง ผา ไม/ใบไม หิน/กระเบ้ือง อื่นๆ รวม

100

*** หมายเหตุ : อื่นๆ อาทิ วัสดุที่ถอดแยกจากซากเครื่องใชไฟฟา ฯลฯ ***

2.3 หนวยงานของทานมีการชั่งปริมาณขยะกอนเก็บขนหรือไม

( ) มี ความถี่ในการชั่ง .................................... ครั้งตอสัปดาห

( ) ไมมี

สวนที่ 3 ขอมูลดานการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

3.1 องคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมีระบบเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

( ) ไมมี ( ) มี ดําเนินการกรอกขอมูลตั้งแตขอ 3.2 – 3.11

3.2 ลักษณะการจัดวางภาชนะรองรับขยะมูลฝอยในชุมชนในปจจุบัน

( ) การจัดวางแบบถังเดี่ยว (ทิ้งรวมทุกประเภท)

( ) การจัดวางแบบแยกประเภท (ระบุประเภท)....................................................................................................................

( ) ไมมีการจัดวางถัง

3.3 ชนิดของถังขยะที่ใชในพื้นที่ (แนบแผนที่จุดวางถังขยะแตละประเภท)

( ) คอนเทนเนอร ขนาด.........................ลิตร จํานวน.....................................ตู

ขนาด.........................ลิตร จํานวน.....................................ตู

( ) พลาสติก ขนาด.........................ลิตร จํานวน.....................................ใบ

ขนาด.........................ลิตร จํานวน.....................................ใบ

( ) ยาง ขนาด.........................ลิตร จํานวน ................................... ใบ

( ) อื่นๆ (ระบุประเภทและจํานวน ........................................

3.4 การบริหารการเก็บขนขยะมูลฝอยดําเนินการโดย

( ) องคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินการเองทั้งหมด

( ) ใหเอกชนดําเนินการบางสวน ระบุชื่อ........................................ อัตราคาจาง .................. บาท/ตัน

( ) จางเหมาเอกชนทั้งหมด ระบุชื่อ........................................... อัตราคาจาง ...................บาท/ตัน

ปที่เริ่มดําเนินการจาง.............................. ปที่สิ้นสุดสัญญา ....................................

สาเหตุที่ตองจางเอกชนบริหาร เนื่องจาก.....................................................................................................

จํานวนพนักงานกวาดขยะ...........................................คน

Page 6: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

4

3.5 รายละเอียดรถยนตเก็บขนมูลฝอยที่ใชงานอยูในปจจุบัน

ประเภทของรถ ความจ ุ

อายุ

การ

ใช

งาน

สภาพการใชงาน

จํานวน

พนักงานประ

ชํารถ

ระยะ

ทางการ

วิ่งตอวัน

กระบอกสูบ

เครื่องยนต

ลําดับ

ที่

ทะ

เบียน

รถ

เปด

ขางเท

ทาย

แบบ

อัด

ทาย

คอน

เทน

เนอร

บรรทุ

กเท

ทาย ปคอัพ

อื่นๆ

(ระบุ) (CC)

พื้นที ่

(ลบ.ม)

ป ดี ซอม

บอย ชํารุด

พนัก

งาน

เก็บ

ขน

ขยะ

พนัก

งาน

ขับ

รถ

Km

จํานวนเทีย่ว

ตอวัน

หมายเหตุ : กรุณาระบุใหครบตามจํานวนที่มีอยู หรือพิมพเปนเอกสารแนบจดัสงมาพรอมแบบสํารวจหากตารางไมพอ โดยยึดตามตารางทีก่ําหนดให

3.6 ปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมไดในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่นประมาณวันละ ................ตัน (ขอมูลป..............)

( ) คาเฉลี่ยที่ไดจากการชั่งน้ําหนักมูลฝอย ( ) การคาดประมาณ

3.7 องคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอย.................... ตรกม. และครอบคลุมพื้นที่รอยละ

................ ของพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหมด

3.8 จํานวนครัวเรือนที่ไดรับการบริการเก็บขนขยะมูลฝอยจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ................หลังคาเรือน คิดเปน

รอยละ...................................................จากหลังคาเรือนทั้งหมด 3.9. หนวยงานทานเก็บคาธรรมเนียมในการใหบริการเก็บขนขยะมูลฝอยหรือไม (หากมีเทศบัญญัติในเรื่องการเก็บคาธรรมเนียมกรุณาแนบมาดวย) ( ) ไมเก็บคาธรรมเนียม ( ) เก็บคาธรรมเนียมเก็บขนขยะมูลฝอย ดังนี้ 3.8.1 อัตราคาธรรมเนียมที่จัดเก็บตอครัวเรือน บาทตอเดือน 3.8.2 อัตราคาธรรมเนียมที่จัดเก็บตอรานอาหาร บาทตอเดือน 3.8.3 อัตราคาธรรมเนียมที่จัดเก็บตอโรงงาน บาทตอเดือน

3.8.4 อัตราคาธรรมเนียมที่จัดเก็บตอสถานประกอบการ บาทตอเดือน

3.10 รายไดจากคาธรรมเนียมจากการเก็บขนขยะมูลฝอย บาทตอป (กรุณาแนบรายไดจาก

การจัดเก็บคาธรรมเนียมเก็บขนขยะมูลฝอย 3 ปยอนหลังมาดวย)

แหลงขยะ

อัตราคาธรรมเนียม

(บาท/เดือน)

จัดเก็บ

ไดจริง

คิดเปน

รอยละ

รายไดจากการจัดเก็บอัตรา

คาธรรมเนียม

(บาท/ป)

ครัวเรือน

สถานศึกษา

โรงแรม\ที่พัก

สถานที่ราชการ

ปมน้ํามัน

Page 7: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

5

แหลงขยะ

อัตราคาธรรมเนียม

(บาท/เดือน)

จัดเก็บ

ไดจริง

คิดเปน

รอยละ

รายไดจากการจัดเก็บอัตรา

คาธรรมเนียม

(บาท/ป)

สถานประกอบการ

ตลาด

โรงงาน

สถานที่ทองเที่ยว

ศาสนสถาน

รานอาหาร

โรงพยาบาล

รานคา\ หาง

อื่นๆ

รวม

3.11 คาใชจายในการเก็บขนขยะมูลฝอย (เงินเดือน+คาน้ํามันเชื้อเพลิง+คาบํารุงและรักษาอื่นๆ) รวม บาท

ตอป (หากมีขอมูลกรุณาแนบเอกสารมาดวย)

สวนที่ 4 ขอมูลดานการคัดแยกและใชประโยชนจากขยะมูลฝอย

4.1 ในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีโครงการ/กิจกรรมการใชประโยชนขยะรีไซเคิลอะไรบาง

การใชประโยชนจากขยะอินทรีย

ปุยหมัก จํานวน ............. แหง รวมปริมาณทั้งหมด ............................. กิโลกรัมตอวัน

น้ําหมัก จํานวน ............. แหง รวมปริมาณทั้งหมด ............................. กิโลกรัมตอวัน

ระบุ............. จํานวน ............. แหง รวมปริมาณทั้งหมด ............................. กิโลกรัมตอวัน

รวมปริมาณขยะอินทรีย ....................... กิโลกรัมตอวัน

การใชประโยชนจากวัสดุรีไซเคิล

ศูนยวัสดุรีไซเคิล จํานวน ............. แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด ........... กิโลกรัมตอวัน

ธนาคารขยะ จํานวน ............. แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด ........... กิโลกรัมตอวัน

รานรับซื้อของเกา จํานวน ............. แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด ........... กิโลกรัมตอวัน

ขยะแลกไข/สิ่งของ จํานวน ............. แหง รวมปริมาณทั้งหมด ............................. กิโลกรัมตอวัน

ผาปารีไซเคิล จํานวน ............. ครั้ง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด ........... กิโลกรัมตอวัน

สิ่งประดิษฐจากวัสดุเหลือใช จํานวน ............. ครั้ง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด ........... กิโลกรัมตอวัน

อื่น ๆ (ระบุ) จํานวน ............. แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด ........... กิโลกรัมตอวัน

รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด ........... กิโลกรัมตอวัน

Page 8: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

6

4.2 จํานวนรานรับซ้ือของเกาในพื้นที่ จํานวน ....................แหง

(ขอความกรุณาแนบรายชื่อและรายละเอียด หรือกรอกขอมูลลงในตาราง)

หมายเหตุ : กรุณาระบุใหครบตามจํานวนที่มีอยู หรือพิมพเปนเอกสารแนบจดัสงมาพรอมแบบสํารวจหากตารางไมพอ โดยยึดตามตารางทีก่ําหนดให

4.3 รอยละประมาณการขยะรีไซเคิลที่คัดแยก (ขอมูลจากการศึกษาและสํารวจ)

จากแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย รอยละ ...............................................................................................................

จากถังขยะมูลฝอย รอยละ ...............................................................................................................................

จากรถเก็บขนขยะมูลฝอย รอยละ ...................................................................................................................

จากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย รอยละ................................................................................................................

สวนที่ 5 การกําจัดขยะมลูฝอย 5.1 หนวยงานของทานมีสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยเปนของตนเองหรือไม

( ) ม ี

( ) ไมมี โดยไปกําจัดยังสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของหนวยงานอื่น ระบุ ..................................... ........................

คาธรรมเนียมในการนําไปกําจัดที่อื่นตอป.......................................บาท/ตัน

5.2 ชื่อสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย (ตามปาย) ..........................ตั้งอยูที่ หมูที่ ถนน

ตําบล อําเภอ จังหวัด

5.3 สภาพแวดลอมบริเวณสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย (แนบแผนที่ตั้ง และแบบแปลนของพื้นที่มาพรอม)

5.3.1 แหลงน้ําสาธารณะ เชน แมน้ํา ลําธาร คลอง หวย ที่อยูใกลเคียงกับสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

อยูหางจากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยประมาณ กิโลเมตร มีการใชประโยชนเพื่อ

( ) เกษตรกรรม ( ) อุตสาหกรรม ( ) คมนาคม ( ) อุปโภค บริโภค

5.3.2 ชุมชนที่อยูใกลเคียงสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย อยูหางประมาณ กิโลเมตร จํานวน

หลังคาเรือน

5.3.3 สภาพทั่วไปของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

( ) ที่ลุม ( ) ที่ดอน ( ) ที่ราบ ( ) ติดแมน้ํา/แหลงน้ํา ( ) ติดทะเล ( ) อื่น ๆ

ประเภทวัสดุที่รับซื้อ (ตัน/วัน)

ชื่อรานคา

ที่ตั้ง/เบอร

โทรติดตอ

กระดาษ

แกว

ทองแดง

ทองเหลือง

พลาสติก

ไม

ยาง

เหล็ก

อลูมิเนียม

อื่นๆ

ปริมาณ

รวม(ตัน

ตอวัน)

Page 9: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

7

5.3.4 สภาพการใชประโยชนพื้นที่โดยรอบทั้ง 4 ทิศ (ระบุรายทิศ)

ทิศเหนือ ( ) ที่วางเปลา ( ) การเกษตรกรรม ( ) การอุตสาหกรรม ( ) อ่ืน ๆ……............

ทิศตะวันออก ( ) ที่วางเปลา ( ) การเกษตรกรรม ( ) การอุตสาหกรรม ( ) อ่ืน ๆ………...........

ทิศตะวันตก ( ) ที่วางเปลา ( ) การเกษตรกรรม ( ) การอุตสาหกรรม ( ) อ่ืน ๆ…………........

ทิศใต ( ) ที่วางเปลา ( ) การเกษตรกรรม ( ) การอุตสาหกรรม ( ) อ่ืน ๆ…………........

5.3.5 ลักษณะดินในพื้นที่

( ) ดินเหนียว ( ) ดินทราย ( ) ดินรวน ( ) ดินลูกรัง ( ) อ่ืนๆ………………………..

5.4 ตําแหนงพิกัดทางภูมิศาสตรของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย (UTM) x …………………y …………………

(บริเวณที่จับพิกัด กึ่งกลางประตูทางเขาสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย )

5.5 สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยมีพื้นที่ทั้งหมด ไร เริ่มใชกําจัดขยะมูลฝอยเมื่อป พ.ศ. ……..….

5.6 สภาพการเปนเจาของที่ดินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

( ) องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดซื้อเอง เมื่อป พ.ศ.

( ) ที่ดินของหนวยราชการอื่น ระบุชื่อหนวยงาน

( ) กําจัดในที่ดินของเอกชน

โดยไมเสียคาใชจาย

เสียคาใชจาย โดยมีคาเชา บาทตอป ตั้งแตป พ.ศ. ถึง

( ) อื่น ๆ ระบุ

5.7 สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยอยูหางจากสํานักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นประมาณ กิโลเมตร

5.8 ปริมาณขยะมูลฝอยที่นํามากําจัดในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมทั้งหมด ณ ป

พ.ศ..................... เปนจํานวน..................................................... ตัน

5.8.1 เฉพาะขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเองนําขยะมูลฝอยมากําจัด ประมาณวันละ …………..ตัน

5.8.2 หนวยงานอ่ืนๆนําขยะมูลฝอยมากําจัดประมาณวันละ………….……ตัน (ระบุปริมาณขยะมูลฝอยตอวันของอปท.อ่ืน

ๆ ที่ทิ้งรวมเปนเอกสารแนบมาพรอม)

5.9 กรณีที่มีหนวยงานอื่นมากําจัดรวม คิดคากําจัดหรือไม

( ) ไมคิดคากําจัด จํานวน .................... แหง เพราะ .................................................................................................

( ) คดิคากําจัด อัตราคากําจัด คิดโดย เหมาจาย ในอัตรา.......................................................................

คดิตามปริมาณ ในอัตรา...............................................................

Page 10: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

8

5.10 วิธีการกําจัดขยะมูลฝอยที่ใชอยูในปจจุบัน

โดยดําเนินดวยวิธี (หากทานดําเนินการในรูปแบบใด ขอใหแนบรายละเอียดมาพรอมนี้)

( ) การเทกอง/ฝงกลบ

( ) Open Dump

( ) กองบนพื้น (Open Dumping) ( ) กองบนพื้นแลวเผา (Open Burning)

( ) Control Dump

จํานวนบอฝงกลบที่ออกแบบไว..........บอ บอละ..............ชั้น (กรุณาแนบสําเนาแผนผังการออกแบบ)

ปจจุบันใชบอที่........ชั้นที่..........ใชพื้นที่ไปคิดเปนรอยละ..............ของบอฝงกลบ

( ) Engineer Landfill

จํานวนบอฝงกลบที่ออกแบบไว..........บอ บอละ..............ชั้น (กรุณาแนบสําเนาแผนผังการออกแบบ)

ปจจุบันใชบอที่........ชั้นที่..........ใชพื้นที่ไปคิดเปนรอยละ..............ของบอฝงกลบ

( ) Sanitary Landfill

จํานวนบอฝงกลบที่ออกแบบไว..........บอ บอละ..............ชั้น (กรุณาแนบสําเนาแผนผังการออกแบบ)

ปจจุบันใชบอที่........ชั้นที่..........ใชพื้นที่ไปคิดเปนรอยละ..............ของบอฝงกลบ

( ) เตาเผา

( ) เผาในเตาเผา (Incineration) ขนาด……..ตันตอวัน ระบบที่ใช

สามารถผลิตพลังงานได.............กิโลวัตตตอชั่วโมง (kW/h)

( ) Gasification ขนาด ..............ตันตอวัน ระบบที่ใช ..........................…………………………….

สามารถผลิตพลังงานได ...............................

( ) เตาแบบ Pyrolysis ขนาด .................... ตันตอวัน ระบบที่ใช...................................................

สามารถผลิตน้ํามัน...............................ลิตร/วัน หรือ................................กิโลกรัม/วัน

( ) ขนไปกําจัด ณ สถานที่กําจัดอื่นๆ เชน เตาเผาปูนซีเมนต (ระบุชื่อ).....................จํานวน..............ตันตอครั้ง

( ) ผสมผสาน

( ) หมักทําปุย (Composting) ขนาดที่ออกแบบ ตันตอวัน

ระบบที่ใช ใชอากาศ (Aerobic digestion)

ไมใชอากาศ (Anaerobic digestion) สามารถผลิตพลังงานได.............กิโลวัตตตอชั่วโมง

( ) ทํา RDF โดยสงผลผลิตใหกับ ...................................................................................................................

( ) อื่น ๆ เชน ระบบ MBT หรือ ผสมผสาน โดยโปรดระบุรายละเอียด ปริมาณขยะที่เขาสูระบบ รายละเอียด

การออกแบบ อายุการใชงาน และสําเนาแผนผังของระบบ

5.11 คาใชจายในการกําจัดขยะมูลฝอย (เงินเดือน+คานํ้ามันเชื้อเพลิง+คาบํารุงรักษา+คาสารเคมี+คาดินกลบทับ)

รวม บาทตอป (กรุณาแนบรายละเอียดคาใชจายมาพรอมแบบสํารวจฉบับนี้)

Page 11: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

9

5.12 อุปกรณและเครื่องจักรกลที่ใชอยูในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยในปจจุบัน (กรุณาระบุใหหมด)

อายุการใชงาน สภาพการใชงาน

จํานวนชั่วโมง

การใชงาน

ลําดับที ่ ชนิด รุน แรงมา ป ดี

ซอม

บอย ชํารุด ชั่วโมง/วัน

หมายเหตุ : กรุณาระบุใหครบตามจํานวนที่มีอยู หรือพิมพเปนเอกสารแนบจดัสงมาพรอมแบบสํารวจหากตารางไมพอ โดยยึดตามตารางทีก่ําหนดให

5.13 มีปญหาในการดําเนินการจัดการขยะมูลฝอยในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยหรือไม อยางไร

( ) ไมมีปญหา

( ) มีปญหาในการดําเนินการ คือ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ปญหาคาใชจาย ประสิทธิภาพของระบบ

ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู

ปญหาการตอตานจากชุมชน เครื่องจักรชํารุด

อื่นๆ ระบุ .............................

อธิบายรายละเอียดของปญหา......................................................................

5.14 (โปรดแนบแผนงาน นโยบาย ดานการจัดการขยะมูลฝอยของพื้นที่ในอนาคต)

Page 12: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

10

สวนที่ 6 ขอมูลดานผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

6.1 หนวยงานของทานไดรับการรองเรียนจากประชาชนเก่ียวกับสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยหรือไม

( ) ไมมี

( ) ม ี

เรื่อง ............................................................ การแกไข .............................................................

เรื่อง ............................................................ การแกไข .............................................................

เรื่อง ............................................................ การแกไข .............................................................

6.2. สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทาน มีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมดานใดมากที่สุด (ใสหมายเลขขางหนา เรียงลําดับ

ความสําคัญ โดย 1 มีความสําคัญมากที่สุด และ 5 มีความสําคัญนอยที่สุด)

( ) กลิ่นเหม็น

( ) น้ําเสีย

( ) ทัศนะอุจาด

( ) แมลง สัตวพาหะนําโรค

( ) อื่นๆ ระบุ.................................................................................................................................................

6.3 สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานมีบอสังเกตการณน้ําใตดิน (Monitering Well ) หรือไม

มี จํานวน ............................. บอ และมีการตรวจสอบคุณภาพน้ําใตดินจํานวน .........................ครั้ง/ป

(กรุณาแนบผลการตรวจสอบมาดวย)

ไมมี

สวนที่ 7 ขอมูลการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน

7.1 การคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชนในปจจุบัน

( ) มี (ตอบขอตอไป)

( ) ไมมี และยังไมมีนโยบายคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน

( ) ไมมี แตมีนโยบายจะคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน

7.2 วิธีการแยกทิ้งและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

( ) แยกทิ้งหนาบานตามเวลา

( ) แยกทิ้งตามจุดที่กําหนด

( ) แยกทิ้งในวันพิเศษ

Page 13: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

11

7.3 ภาชนะรองรับของเสียอันตราย

( ) กรณีแยกทิ้งหนาบาน ใชภาชนะ..............................................................................................

( ) กรณีแยกทิ้งตามจุดที่กําหนด

( ) ภาชนะรองรับของเสียอันตรายตามแบบของ คพ. ( ) ภาชนะตามที่ อปท.กําหนด

( ) กรณีแยกทิ้งในวันพิเศษ ใชภาชนะ .......................................................................................... 7.4 ยานพาหนะเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน

( ) มียานพาหนะเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชนโดยเฉพาะ

( ) ใชยานพาหนะเก็บรวบรวมมูลฝอยทั่วไป ในการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน

( ) อื่นๆ ระบุ ................................................................................................................................ 7.5 ปริมาณของเสียอันตรายที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นเก็บรวบรวมได.......................................กิโลกรัมตอป

ประเภทที่รวบรวมได

( ) หลอดฟลูออเรสเซนต ......................... กิโลกรัม/ป

( ) แบตเตอรี่แหงปฐมภูมิ ......................... กิโลกรัม/ป

( ) แบตเตอรี่แหงทุติยภูมิ (เชน ถานชารจ แบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่)......................กิโลกรัม/ป

( ) ภาชนะบรรจุสารเคมี , กระปองสเปรย ……………………………………… กิโลกรัม/ป

( ) อื่นๆ ระบุ ...........................................................................................กิโลกรัม/ป 7.6 สถานที่เก็บกักของเสียอันตรายชุมชน

( ) ไมมี

( ) มี โดยที่ตั้งของสถานที่เก็บกักของเสียอยูที่ .................................................................................................. 7.7 การขนสงไปกําจัด / รีไซเคิลของเสียอันตรายชุมชน

( ) ขนสงเอง ( ) จางบริษัทขนสง (ระบุ)

ปละ ครั้ง คาใชจายในการขนสงและกําจัด................................บาท/ป

7.8 สถานที่รับกําจัด/รีไซเคิล

( ) หลอดไฟ ( ) แบบตรง วิธีการจัดการ ( ) รีไซเคิล ( ) กําจัดดวยวิธี ............................สถานที่จัดการ..............................

( ) แบบอื่นๆ วิธีการจัดการ ( ) รีไซเคิล ( ) กําจัดดวยวิธี .........................สถานที่จัดการ .............................

( ) แบตเตอรี่แหงปฐมภูมิ(ถานไฟฉาย) วิธีการจัดการ ( ) รีไซเคิล ( ) กําจัด/รีไซเคิลดวยวิธี ...............................................

สถานที่จัดการ ...............................................................................................................................................................

( ) แบตเตอรี่แหงทุติยภูมิ (ถานชารจและแบตเตอรี่โทรศัพทมือถือ)

วิธีการจัดการ ( ) รีไซเคิล ( ) กําจัดดวยวิธี..............................................................................................

สถานที่จัดการ................................................................................................................................................

( ) ภาชนะบรรจุสารเคมี/กระปองสเปรย วิธีการจัดการ ( ) รีไซเคลิ ( ) กําจัดดวยวิธี.................................................

สถานที่จัดการ .........................................................................................................................................................................

( ) อื่นๆ ไดแก วิธีการจัดการ ( ) รีไซเคิล ( ) กําจัดดวยวิธี.......................................................

สถานที่จัดการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….

Page 14: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

12

สวนที่ 8 ขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

8.1. ในเขตพื้นที่ของทานมีจํานวนสถานบริการสาธารณสุข/หองปฏิบัติการ เทาใด (กรุณาแนบรายชื่อมาดวย)

โรงพยาบาล ........... แหง

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอเตียงตอวัน

คลินิก ........... แหง

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอวัน

สถานีอนามัย / โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล...... ........... แหง

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอวัน

สถานพยาบาลสัตว ........... แหง

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอเตียงตอวัน

หองปฏิบัติการเชื้ออันตราย ........... แหง

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอวัน

8.2. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

เผาในเตาเผา (โปรดระบุ) ชื่อ.........................................ที่อยู...........................................................................

เตาเผาขยะชุมชนทั่วไป

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอวัน

ขนาดเตา ........... กิโลกรัมตอชั่วโมง

เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ (โปรดระบุ) ชื่อ.........................................ที่อยู...........................................................

องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอวัน

ขนาดเตา ........... กิโลกรัมตอชั่วโมง

โรงพยาบาล ชื่อ.........................................ที่อยู....................................................................................

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอวัน

ขนาดเตา ........... กิโลกรัมตอชั่วโมง

เอกชน (โปรดระบุชื่อ/ที่อยู)

ชื่อ ........................................ ที่อยู ........................................

ชื่อ ........................................ ที่อยู ........................................

ชื่อ ........................................ ที่อยู ........................................

ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อโดยรวม ........... กิโลกรัมตอวัน

ฝงกลบ ........... กิโลกรัมตอวัน (โปรดระบุ) ชื่อ.........................................ที่อยู

........................................................

อื่น โปรดระบุ .......................................................................................................................................................

Page 15: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

13

สวนที่ 1

ขอมูลทั่วไป

Page 16: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

14

ขอมูลในสวนที่ 1 ขอมูลทั่วไป

ผูดําเนินการกรอกขอมูลจะตองดําเนินการกรอกขอมูลที่เปนขอมูลพื้นฐานของหนวยงานทาน ไดแก

ชื่อผูดําเนินการกรอกขอมูล ลักษณะและขอมูลองคกรปกครองสวนทองถิ่น ขอมูลประชากรและครัวเรือน

พรอมทั้งขอมูลจํานวนของแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย

ขอ 1.1 ชื่อผูที่ทําการกรอกแบบสอบถามฉบับน้ีและตาํแหนงของผูที่ทําการกรอกแบบสอบถาม

โดยผูที่ดําเนินการกรอกขอมูลในสวนนี้ คือผูที่ไดรับมอบหมายใหดําเนินการรวบรวมขอมูลดานการ

จัดการขยะมูลฝอยของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ๆ ซึ่งหนวยงานสวนกลาง (กรมควบคุมมลพิษ) และ

หนวยงานสวนภูมิภาค (สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค และสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด)

สามารถติดตอเพื่อสอบถามขอมูลไดในภายหลัง

Page 17: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

15

ขอ 1.2 ขอมูลองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ที่ต้ัง และพิกัดภูมิศาสตร

1. ผูกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ใหตรงกับระดับหรือหนวยงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของ

ทานและกรอกชื่อองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานดานทาย

2. กรอกที่อยูตามทะเบียนบานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน

3. กรอกคาพิกัดบริเวณเสาธงดานหนาสํานักงานของทาน หรือดานหนาสํานักงานของทาน โดยคา

พิกัดจากเครื่อง GPS บริเวณเสาธงดานหนาสํานักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน โดยใหระบุเปน

พิกัดแบบ UTM Datum WGS1984 ทั้งนี้หากเครื่อง GPS ของทานไมสามารถตั้งคาเปนระบบพิกัด UTM ได

โปรดระบุพิกัดแบบ องศา ลิปดา ฟลิปดา หรือพิกัดแบบองศาและตามดวยทศนิยมสี่ตําแหนงเปนอยางต่ําก็ได

โดยการใชเครื่องมือ GPS อาจใชโทรศัพทมือถือที่สามารถจับพิกัดได และหากทานไมมีเครื่องรับสัญญาณ GPS

ใหทานวัดคาพิกัดดวยสายตาจากแผนที่ของกรมแผนที่ทหาร L7018 หรือแบบแปลนการรังวัดอื่น ๆ ได

ขอ 1.3 ขอมูลพื้นที่เขตการปกครองขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

ใหผูดําเนินการกรอก กรอกตัวเลขพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมดขององคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน

โดยมีหนวยเปนตารางกิโลเมตร

ขอ 1.4 จํานวนประชากร ครัวเรือน และประชากรแฝงในองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล กรอกป พ.ศ. ของขอมูลจํานวนประชากรและครัวเรือนที่นํามากรอกในขอ

4.1 – 4.3 โดยใหใชขอมูล ณ ฐานสิ้นปนั้น ๆ เชน ทานดําเนินการกรอกขอมูลในเดือนเมษายน 2556 ใหทานใช

ขอมูล ประชากรและครัวเรือน ณ สิ้นป 2555

1.4.1 กรอกจํานวนประชากรที่อาศัยอยูในเขต อปท.ของทานตามที่ขึ้นทะเบียนราษฏรไว

1.4.2 กรอกจํานวนหลังคาเรือนที่ตั้งอยูในเขต อปท.ของทาน ตามที่ขึ้นทะเบียนบานเลขที่ ไว

1.4.3 กรอกจํานวนประชากรที่เขามาในรูปแบบแรงงาน หรือเขามาทํางานตาง ๆ หรือนักทองเที่ยว

ที่เขามาอาศัยอยูในพื้นที่นานกวา 1 เดือน แตไมไดข้ึนทะเบียนราษฏรไว

โปรดระบุแหลงที่มาของขอมูลประชากรแฝง ซึ่งอาจไดมาหลายวิธี เชน จากการศึกษาของอปท. หรือ

การศึกษาวิจัย งานวิทยานิพนธ จากการรายงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ หรือจากการคาดการณของอปท.

โดยการทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( )

Page 18: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

16

คําอธิบาย 1. จํานวนประชากรและครัวเรือนตามทะเบียนราษฎร ใหกรอกขอมูลตามที่ทานมีอยูจริง ณ ปจจุบัน

2. ประชากรแฝง หมายถึง ประชากรที่ไมไดมีชื่ออยูในทะเบียนบานเขตพื้นที่ อบต. ของทาน ซึ่งอพยพหรือ

เขามาทํางานในเขตพื้นที่ อบต. อาทิ ครู นักเรียน พอคา แมคา แรงงาน ผูมาติดตอราชการ รวมไปถึง นักทองเที่ยว (ใน

บางแหงที่อาจมีสถานที่ทองเที่ยวในเขต อบต.)

3. การประมาณจํานวนประชากรแฝง อาจประมาณจากจํานวนพอคาแมคาที่มาจากนอกพื้นที่ ครู นักเรียน

นอกพื้นที่ ผูทํางานและแรงงานรับจางนอกพื้นที่ที่เขามาทํางานในพื้นที่ เปนจํานวนคนตอป กรณีที่เปนผูที่เขามาทํางานใน

เขต อบต. ครู นักเรียน ที่เขาโรงเรียนซึ่งตั้งอยูในเขต อบต.และมีตัวเลขตอวันที่แนนอน อาจจะคํานวณเปนจํานวน

ประชากรแฝงตอวันแลวคูณดวย 365วัน

4. กรณีที่ประชากรตามทะเบียนราษฎรในเขต อบต. มีการอพยพหรือไปทํางานที่อื่น และไมมีสถานที่

ทองเที่ยวที่สําคัญในพื้นที่ ใหคิดประชากรแฝงเทากับศูนย

5. สําหรับพื้นที่ อบต. ที่เปนแหลงทองเที่ยว อาจทําการประมาณจํานวนนักทองเที่ยวไดจากขอมูลของ

หนวยงานที่ไดเคยทําการศึกษา หรือจัดเก็บขอมูลไว เชน อุทยานแหงชาติ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย หรือในกรณีที่

ไมมีผูที่เคยเก็บขอมูลหรือศึกษา ทานอาจดําเนินการคาดประมาณจํานวนนักทองเที่ยวคราว ๆ ไดเชนกัน

ขอ 1.5 ขอมูลรายไดประชากร

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล กรอกตัวเลขรายไดของประชากรใน อปท.ของทาน เปนรายป/หัว และ

ขอมูลรายไดประชากรใน อปท.ของทาน ไดมาโดยวิธีการใด โดยการทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) ทั้งนีข้อมลู

ดังกลาวอาจไดจากการเก็บขอมูลของ อปท. หรือจากการศึกษาจากหนวยงานตาง ๆ หรือจากการรายงานของ

สํานักงานสถิติจังหวัด หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ

Page 19: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

17

ขอ 1.6 อาชีพหลักของประชากรในพื้นที่

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลดําเนินการกรอกขอมูลอาชีพหลักของประชาชนในพื้นที่ ซึ่งอาจไดขอมูล

จาก สถานที่ซึ่งประชาชนในพื้นที่เขาทํางาน เชน สถานที่ทองเที่ยว โรงงานอุตสาหกรรม บานเรือนและหอพัก

เปนตน โดยทานจักตองกรอกขอมูลจํานวน 3 อาชีพเรียงจากมากสุดไปนอยสุดตามลําดับ เชน อาชีพ

เกษตรกรรม อาชีพรับจางโรงงาน อาชีพบริการทองเที่ยว อาชีพรับราชการ เปนตน

ขอ 1.7 ลักษณะชุมชน

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) ตามลักษณะของชุมชนที่มีอยูในพื้นที่

องคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน โดยสามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ และใสหมายเลข 1 – 5 ไวดานหลัง

ของชุมชนที่ทานเลือก ทั้งนี้ลักษณะของชุมชนสามารถกําหนดไดจาก ลักษณะอาชีพของประชากรในพื้นที่

ลักษณะของสถานที่เชน มีสถานที่ทองเที่ยวเปนจํานวนมาก (ทองเที่ยว) หรือมีโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เปน

จํานวนมาก (อุตสาหกรรม) หรือมีหอพัก คอนโด บานพักอาศัยรวมทั้งแหลงสถานบันเทิง (เมือง) หรือ

ประชาชนในพื้นที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (เกษตรกรรม) เปนตน หรือแบงไดดังรายละเอียดตอไปนี้

Page 20: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

18

ขอ 1.8 ขอมูลแหลงกําเนิดขยะมลูฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล โดยทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) และกรอกจํานวนแหงของสถานที่

ประเภทตาง ๆ แหลงที่ทําใหเกิดขยะมูลฝอยในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน แยกตามประเภท

โดยทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) การไดมาซึ่งขอมูลอาจไดมาจาก จํานวนครัวเรือนตามทะเบียนราษฎร

ขอมูลการจดทะเบียนของรานอาหาร รานคา โรงแรม/ที่พัก สถานประกอบการ ปมน้ํามัน หรือไดจากแผนที่

ภาษี หรือไดจากการลงพื้นที่สํารวจขอมูล ซึ่งหาก อปท.ดําเนินการกรอกขอมูลในหัวขอนี้ครบถวน จะนําไปสู

การวางแผนงานดานการจัดการขยะมูลฝอยในระดับแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยได

ชุมชนเมือง คือ บริเวณที่มีประชากรตั้งถิ่นฐานอยูอยางหนาแนน เปนชุมชน (Community) และประชากร

สวนใหญมิไดมีอาชีพเกษตรกรรม มีศูนยกลางทางดานการบริหารและการปกครอง มีการติดตอสื่อสาร มี

สิ่งกอสราง ถนนหนทาง ทั้งภายในและนอกเมืองและระหวางเมือง

ชุมชนอุตสาหกรรม คือ เขตพื้นที่ดินซึ่งจัดสรรไวสําหรับโรงงานอุตสาหกรรมเขาไปอยูรวมกันอยางเปน

สัดสวน ประกอบดวย พื้นที่อุตสาหกรรม สิ่งอํานวยความสะดวก สาธารณูปโภค และสาธารณูปการ เชน ถนน

ทอระบายน้ํา โรงกําจัดน้ําเสียสวนกลาง ระบบปองกันน้ําทวม ไฟฟา น้ําประปา โทรศัพท นอกจากนั้นยัง

ประกอบดวย บริการอื่นที่จําเปน อาทิ ที่ทําการไปรษณียโทรเลข ธนาคาร ศูนยการคา ที่พักอาศัยสําหรับ

คนงาน สถานีบริการน้ํามัน เปนตน

ชุมชนเกษตรกรรม คือ บริเวณที่ประชากรที่เลี้ยงชีพดวยการเกษตรกรรมเปนสําคัญ มีระเบียบสังคมที่

สอดคลองกับลักษณะชุมชนแบบหมูบาน ตั้งบานเรือนเปนกลุมกอน หรือกระจัดกระจายตามลักษณะ

ภูมิประเทศหรือตามประเพณีนิยม

ชุมชนทองเที่ยว คือ ชุมชนที่มีการจัดบรรยากาศใหเปนสถานที่เพื่อพักผอนหยอนใจหรือเพื่อความสนุกสนาน

ตื่นเตน หรือเพื่อศึกษาหาความรู

Page 21: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

19

1.ครัวเรือน หมายถึงบานเรือนทั้งหมด ทั้งที่ขึ้นทะเบียนบาน และไมขึ้นทะเบียนบาน

2.สถานศึกษา หมายถึง หนวยงานตามกฎหมายที่มีหนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา ไมวาจะเปน

ของภาครัฐหรือภาคเอกชน เชน โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือ หนวยงานการศึกษาอื่น ๆ

3.โรงแรม/ที่พัก หมายถึง สถานที่ประกอบการเชิงการคาที่นักธุรกิจตั้งขึ้น เพื่อบริการผูเดินทางในเรื่องของที่

พักอาศัย อาหาร และบริการอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการพักอาศัยและเดินทาง หรืออาคารที่มีหองนอนหลายหอง

ติดตอเรียงรายกันในอาคารหนึ่งหลังหรือหลายหลัง ซึ่งมีบริการตาง ๆ เพื่อความสะดวกของผูที่มาพัก

4.สถานที่ราชการ หมายถึง สถานที่ที่อยูในเขต ของ กระทรวง ทบวง กรม หรือทบวงการเมืองที่มีฐานะ

เทียบเทา สํานักงานหรือหนวยงานอื่นใดของรัฐ แตไมรวมตลอดถึงรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานตามกฎหมายวา

ดวยระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น

5. รานคา หมายถึง สถานที่ที่บุคคล หรือกลุมคณะบุคคลรวมกันทําการคาขาย

6. ปมน้ํามัน หมายถึง สถานีบริการน้ํามันที่มีมาตรฐาน มีตูหัวจายและมีการฝงถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิงไวใตดิน

7.สถานประกอบการ หมายถึง สถานที่หรือบางสวนของสถานที่ที่มีที่ตั้งที่แนนอนและมีการดําเนินกิจกรรม

ทางเศรษฐกิจไมวากิจกรรมนั้นจะดําเนินงานโดยบุคคลที่เปนเจาของหรือควบคุมกิจการโดยนิติบุคคล

8.ตลาด หมายถึง สถานที่ที่เปนชุมชนหรือเปนที่ชุมนุมเพื่อซื้อและขายสินคา ทั้งในรูปของวัตถุดิบและสินคา

สําเร็จรูปเปนประจํา เปนครั้งคราว หรือตามวันที่กําหนด

9. โรงงาน หมายถึง อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเครื่องจักรมีกําลังรวมตั้งแตหาแรงมา หรือกําลัง

เทียบเทาตั้งแตหาแรงมาขึ้นไป หรือใชคนงานต้ังแตเจ็ดคนขึ้นไปโดยใชเครื่องจักรหรือไมก็ตาม สําหรับทําผลิต

ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง เก็บรักษา หรือทําลายสิ่งใดๆ ทั้งนี ้ตาม

ประเภทหรือชนิดของโรงงานที่กําหนดในกฎกระทรวง

Page 22: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

20

10. สถานที่ทองเท่ียว หมายถึง แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ แหลงทองเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม แหลงทองเที่ยว

ทางโบราณสถาน และแหลงทองเที่ยวที่ไดมกีารจัดสรางขึ้น

11. ศาสนสถาน หมายถึง สถานที่ทางศาสนา ใชประกอบศาสนพิธี เชน การอาราธนาศีลและสมาทานศีลในวัด

พุทธ และการละหมาดในมสัยิดอิสลาม เปนตน

12. รานอาหาร หมายถึง อาคารทีจ่ําหนายอาหารและเครื่องดื่ม

13. โรงพยาบาล หมายถึง สถานพยาบาลใดๆ ซึ่งไดรบัอนญุาตใหตั้งและดําเนินการสถานพยาบาลตาม พรบ.

สถานพยาบาล พ.ศ.2541 เพื่อประกอบการรักษาพยาบาลคนไขหรือผูปวย ซึ่งมเีตียงรับคนไขไวคางคืน และจัดใหมี

การวินิจฉัยโรค การศัลยกรรม ผาตัดใหญ และใหบรกิารดานพยาบาลเต็มเวลา

14. หางสรรพสินคา คือ รานคาขายปลีกขนาดใหญซึ่งมีสินคาหลากหลายประเภทแยกตามแผนก โดยไมมีการขาย

ผานตัวแทนจําหนาย (หางเปนผูนําสินคามาขายเอง) หางสรรพสินคามกัขายผลิตภัณฑที่เกี่ยวกบัเสื้อผา เครื่องเรือน

เครื่องใชในบาน เครื่องใชไฟฟา รวมไปถึงสายผลิตภัณฑอื่นๆ อยางเชน ฮารดแวร สุขภัณฑ เครื่องสําอาง เครื่อง

เพชรพลอย เครือ่งเขียน ของเลน อปุกรณกีฬา เปนตน หางสรรพสินคาบางแหงอาจขายเฉพาะสินคาลดราคา และ

มีพื้นที่ชําระเงินเปนศูนยกลาง ซึง่โดยทั่วไปจะอยูบริเวณดานหนาของหาง หางสรรพสินคามักเปนสวนหนึ่งของกลุม

ของรานคายอยที่อยูภายใตบริษัทเดียวกันกับพื้นที่ใกลเคียง

15. อื่นๆ คือ สถานประกอบการอื่นๆ ที่ไมไดอยูใน 14 ประเภทที่กลาวมา

Page 23: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

21

สวนที่ 2

ปริมาณและองคประกอบ

ขยะมูลฝอย

Page 24: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

22

ขอมูลสวนที่ 2 ปริมาณและองคประกอบขยะมูลฝอย

เปนขอมูลของปริมาณและองคประกอบของขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิดขยะมูลฝอย ซึ่งขอมูลที่ไดนี้

จะเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับใชในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยทั้งขอมูลปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ขอมูล

องคประกอบของขยะมูลฝอย และขอมูลการบันทึกปริมาณขยะมูลฝอยกอนเก็บขนเพื่อกําจัด

ขอ 2.1 ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล กรอกปริมาณขยะที่เกิดขึ้นจริงในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น ไมใช

ปริมาณขยะมูลฝอยที่ไดจากการเก็บขนเพื่อกําจัดภายในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหทําเครื่องหมาย

√ ลงในชอง ( ) วาขอมูลปริมาณขยะที่เกิดขึ้นตอวัน ภายในองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ไดมาดวยวิธีการใด

ทั้งนี้ ทานสามารถทราบถึงปริมาณขยะมูลฝอยไดจาก

1) จากการคาดประมาณ อาจใชอัตราการเกิดขยะมูลฝอยที่ กรมควบคุมมลพิษ ทําการศึกษาเอาไว

คูณกับจํานวนประชากรตามทะเบียนราษฎร เพื่อไดปริมาณขยะมูลฝอยของพื้นที่

เทศบาลนคร มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ย 1.89 กิโลกรัมตอคนตอวัน

เทศบาลเมือง มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ย 1.15 กิโลกรัมตอคนตอวัน

เทศบาลตําบล มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ย 1.02 กิโลกรัมตอคนตอวัน

องคการบริหารสวนตําบล มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ย 0.91 กิโลกรัมตอคนตอวัน

เมืองพัทยา มีอัตราการเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ย 2.55 กิโลกรัมตอคนตอวัน

Page 25: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

23

ตัวอยาง เทศบาลเมือง ก มีประชากรตามทะเบียนราษฎร 276,500 คน ทม. อยากทราบปริมาณขยะ

มูลฝอยที่เกิดข้ึนจริงของพื้นที่ เพื่อใชในการวางแผนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ ทม. ดังนั้นหากใชอัตรา

การเกิดขยะมูลฝอยเฉลี่ยของเทศบาลเมือง (1.15 กิโลกรัมตอคนตอวัน) ทม. ก จะมีปริมาณขยะมูลฝอยที่

เกิดข้ึนจริงเทากับ 317,975 กิโลกรัมตอวัน หรือประมาณ 318 ตันตอวัน

2) จากการชั่งน้ําหนัก ดําเนินการโดยการชั่งน้ําหนักขยะมูลฝอยที่ไดจากแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยทั้ง

14 แหลง (จากขอ 1.8) หรืออาจดําเนินการวางแผนการสํารวจขอมูล ซึ่งสามารถศึกษาไดจากภาคผนวกที่ 1.

ทั้งนี้หาก อปท. ไดดําเนินการศึกษาปริมาณขยะมูลฝอย และอัตราการเกิดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนดิ จะไดมา

ซึ่งขอมูลรอยละการดึงขยะมูลฝอยมาใชประโยชนและรอยละการรีไซเคิลขยะมูลฝอย

ขอ 2.2 องคประกอบขยะมูลฝอย ณ จุดท้ิง

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลใสตัวเลขรอยละขององคประกอบขยะมูลฝอย ณ จุดที่มีการทิ้งขยะ (คิด

แยกตามชนิดของขยะ รอยละโดยปริมาตรทั้งหมด ) ลงในตารางองคประกอบขยะมูลฝอยนั้น โดยใหใสวันที่ที่

ทําการศึกษาองคประกอบของขยะดวย การศึกษาองคประกอบขยะมูลฝอยสามารถศึกษาไดจาก ภาคผนวกที่ .2

ขอ 2.3 หนวยงานของทานมีการชั่งปริมาณขยะมูลฝอยกอนเก็บขนหรือไม

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมี

การชั่งน้ําหนักขยะกอนทําการเก็บขนหรือไม ถามีใหใสรายละเอียดดวยวามีความถี่ในการชั่งกี่ครั้งตอสัปดาห

ทั้งนี้หากหนวยงานของทานมีความสนใจที่จะดําเนินการชั่งน้ําหนักขยะมูลฝอยกอนที่จะดําเนินการเก็บขน จะ

ทําใหหนวยงานของทานทราบถึงปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกทิ้งออกจากแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย และเปนการ

ตรวจสอบขอมูลยอนกลับถึงปริมาณขยะมูลฝอยที่คาดวาจะทิ้งจากแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย

Page 26: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

24

สวนที่ 3

ขอมูลดานการเก็บ

รวบรวมขยะมูลฝอย

Page 27: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

25

สวนที่ 3 ขอมูลดานการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย

สําหรับในสวนนี้จะเปนการรวบรวมขอมูลดานการเก็บรวบรวมและเก็บขนขยะมูลฝอยของพื้นที่

ผูดําเนินการกรอกขอมูล แตทั้งนี้สําหรับพื้นที่ผูดําเนินการกรอกขอมูลหากไมมีระบบการเก็บรวบรวมและเก็บ

ขนขยะมูลฝอยสามารถขามในสวนนี้ไปดําเนินการกรอกขอมูลในสวนที่ 4 ขอมูลดานการคัดแยกและใช

ประโยชนจากขยะมูลฝอย ตอไปไดเลย ซึ่งในสวนที่ 3 นี้ จะกลาวถึงลักษณะการจัดวางภาชนะรองรับขยะมูล

ฝอย ชนิดของภาชนะ การบริหารจัดการการเก็บขน รายละเอียดของรถเก็บขน ปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บขนได

รอยละจํานวนครัวเรือนที่ไดรับการบริการ และคาธรรมเนียมที่ดําเนินการจัดเก็บไดและคาใชจายที่เก็บขนขยะ

มูลฝอย เปนตน

ขอ 3.1 พื้นที่ดําเนินการของทานมีระบบเก็บขนขยะมูลฝอยหรือไม

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วา องคกรปกครองสวนทองถิ่นของ

ทานมีระบบเก็บขนขยะมูลฝอยหรือไม หากมี ขอใหดําเนินการกรอกขอมูลตั้งแตขอ 3.2 – 3.11 แตหากไมมี

ระบบเก็บขนขยะมูลฝอยขอใหขามไปดําเนินการในสวนที่ 4 ตอไป

Page 28: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

26

ขอ 3.2 ลักษณะการจัดวางภาชนะรองรับขยะมูลฝอยในปจจุบัน

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วา องคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมี

การจัดวางถังขยะแบบใด ทั้งนี้ผูดําเนินการกรอกขอมูลสามารถทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) ไดมากกวา 1 ขอ

รวมทั้งหากมีรายละเอียดการจัดวางโปรดจัดทําเปนเอกสารแนบมาพรอมกับแบบสํารวจนี้

ขอ 3.3 ชนิดของถังขยะที่ใชในพื้นท่ี

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาถังขยะของ อปท.ที่นํามาใช เปนวัสดุ

ประเภทใด ขนาดเทาใด และมีจํานวนเทาใด และใหแนบแผนที่วางถังขยะภายในเขต อปท.มาดวย และหาก

อปท.ไมไดใชวัสดุของถังขยะตามที่ยกมานี้ ใหกรอกขอมูลประเภทของวัสดุและจํานวนถังขยะลงในชองอื่น ๆ

พรอมทั้งระบุชนิดของถังขยะดังกลาว

ขอ 3.4 การบริหารการเก็บขนขยะมูลฝอยดําเนินการโดย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาการดําเนินการบริหารจัดการโดย อปท.

เอง หรือ ใหเอกชนดําเนินการในบางสวน หรือ จางเหมาใหเอกชนดําเนินการมาทั้งหมด ทั้งนี้ใหผูดําเนินการ

กรอกขอมูล ทําการระบุในขอมูล

1. เอกชนดําเนินการบางสวน โปรดระบุชื่อของเอกชนผูรับจาง พรอมทั้งอัตราคาจาง ทั้งนี้ขอให

แนบพื้นที่ดําเนินการของเอกชน พรอมทั้งสถานที่สงกําจัดของเอกชนมาพรอมนี้

2. จางเหมาเอกชนดําเนินการทั้งหมด โปรดระบุชื่อเอกชน อัตราคาจาง ปที่เริ่มดําเนินงาน (ตาม

สัญญา) และปที่สิ้นสุดงาน (ตามสัญญา) จํานวนพนักงานกวาดถนน รวมทั้งโปรดระบุสาเหตุที่ตองดําเนินการ

จางวาเนื่องจากสาเหตุใด

Page 29: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

27

ขอ 3.5 รายละเอียดรถยนตเก็บขนมูลฝอยที่ใชงานในปจจุบัน

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกขอมูลลงในตาราง โดยมี รายละเอียดของการกรอกขอมูลรถยนตเก็บ

ขนมูลฝอยที่ใชงานอยูในปจจุบัน (นับรวมถึงรถที่ยังไมไดจําหนาย แตจอดทิ้งไวเนื่องจากชํารุดดวย)

1) ลําดับที่ คือ ลําดับที่สําหรบัการกรอกรายละเอียดของรถเก็บขนมลูฝอยในแบบสอบถามฉบบันี ้

2) ทะเบียนรถ คือ หมวดอักษรหรอืตัวเลขทะเบียนรถ ตามแบบของกรมการขนสงทางบกไดระบเุอาไว

3) ประเภทของรถ ในที่นี้คือรถเก็บขนขยะมูลฝอยที่ดําเนินการใชในปจจุบัน โดยมรีายละเอียดเชน

ชนิดและรูปภาพตัวอยางของรถเก็บขน

เปดขางเททาย

แบบอัดทาย

Page 30: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

28

คอนเทนเนอร(แบบถังคอนเทนเนอร)

บรรทุกเททาย

Page 31: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

29

ปคอัพ

อื่นๆ คือ รถที่ไมไดอยูในประเภทดงักลาวขางตน โปรดระบ ุ

4) ความจุ ในที่นี้คือขนาดความจุของกระบอกสูบเครื่องยนต และพื้นที่บรรทุก (ลูกบาศกเมตร)

กระบอกสูบเครื่องยนต คือ ปริมาตรความจุกระบอกสูบของเครื่องยนตรถ โดยสามารถดูไดจากสมุด

คูมือจดทะเบียนรถคันนั้น หรือหากไมมีขอมูล ใหประมาณการจากสเปคของรถคันนั้น

พื้นที ่คือ ความจุของการบรรทุกสูงสุด หนวยเปนลูกบาศกเมตร ทั้งนี้ สามารถดูไดจากพื้นที่บรรทุกซึ่ง

ระบุไวในคุณลักษณะของรถ

5) อายุการใชงาน คือ จํานวนปของการใชงานรถคันนั้น นับตั้งแตปที่ซื้อจนถึงปจจุบัน ทั้งนี้นับป

ปจจุบันที่รถยังเก็บไวอยูในความรับผิดชอบของเจาของ

6) สภาพการใชงาน ใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง “ดี” “ซอมบอย” “ชํารุด” โดยใหผูกรอกขอมูล

พิจารณาจากสภาพใชงานจริง

7) จํานวนพนักงานประจํารถ แยกเปน 2 ประเภท คือ พนักงานเก็บขนขยะ และพนักงานขับรถยนต

หากพนักงานขับรถตองมาดําเนินการเปนผูเก็บขนขยะมูลฝอยดวย ขอใหระบุเอาไวในสวนของผูดําเนินการเก็บ

ขนขยะมูลฝอย

8) ระยะทางการวิ่งตอวัน คือ จํานวนระยะทางที่รถคันนั้น วิ่งไปปฏิบัติหนาที่ โดยมีหนวยเปน

กิโลเมตรตอวัน ทั้งนี้ขอใหนับทั้งระยะที่รถดําเนินการเก็บขน (ไป-กลับ) และระยะทางที่รถวิ่งไปยังสถานทีก่าํจดั

ขยะมูลฝอย

9) จํานวนเที่ยวตอวัน คือ จํานวนเที่ยวที่รถคันนั้น ว่ิงออกจากจุดจอดประจํา ไปปฏิบัติหนาที่ และ

กลับมายังจุดจอดประจํา นับเปน 1 เที่ยว

Page 32: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

30

ขอ 3.6 ปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกปริมาณขยะที่สามารถดําเนินการเก็บรวบรวมได ภายใน 1 วัน

ภายในพื้นที่เขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยขอมูลที่กรอกนั้นใหระบุดวยวาเปนขอมูลจาก ป พ.ศ.ใด และ

ใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาที่มาของขอมูลปริมาณขยะที่เก็บรวบรวมไดมาจากวิธีใด

1) โดยวิธีการชั่งนํ้าหนัก ซึ่งหากพื้นที่ไมมีสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยที่มีเครื่องชั่งน้ําหนัก ขอให

ดําเนินการชั่งโดยใชเครื่องชั่งน้ําหนักของกรมทางหลวง หรือจากโรงงานที่มีเครื่องชั่งขนาดใหญ

2) การคาดประมาณ ควรคํานวนจาก รอยละของพื้นที่บรรทุกขยะมูลฝอยที่บรรทุกได ขนาดของ

พื้นที่บรรทุก จํานวนเที่ยว และความหนาแนนของขยะมูลฝอย

ขอ 3.7 การใหบริการตามพ้ืนที่เก็บขนขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกขอมูลวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ไดจริง เปนพื้นที่กี่ตารางกิโลเมตร และคิดเปนรอยละเทาใดของพื้นที่เขตองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหมด

ขอ 3.8 การใหบริการตามครัวเรือนที่ไดรับเก็บขนขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกขอมูลวาองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหการบริการเก็บขนขยะมูลฝอย

ไดจริง กี่หลังคาเรือน และคิดเปนรอยละเทาใดของจํานวนหลังคาเรือนในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ทั้งหมด

Page 33: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

31

ขอ 3.9 การเก็บคาธรรมเนียมในการใหบริการเก็บขน

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) หาก อปท.ของทานมีการเก็บคาธรรมเนยีม

การเก็บขนขยะรายเดือนดวยหรือไม และหากมีรายละเอียดคาธรรมเนียมตามเทศบัญญัติโปรดแนบมาดวย

ทั้งนี้ขอให ผูกรอกขอมูลดําเนินการกรอกขอมูลในขอ 3.9.1 – 3.9.4 อัตราราคาคาธรรมเนียมในการจัดเก็บขน

ขยะ โดยแยกประเภทตามกิจกรรมตางๆ โดยใหกรอกราคาคาธรรมเนียมลงไป (หนวย : บาท/เดือน) หรือระบุ

ขอมูลตามที่กําหนดไวในเทศบัญญัติมาพรอมกัน

Page 34: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

32

ขอ 3.10 รายไดจากคาธรรมเนียมการเก็บขนขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกรายไดจากการเก็บคาธรรมเนียมการเก็บขนขยะแตละประเภท

ทั้งหมดใน 1 ป (โปรดแนบรายละเอียดรายไดจากคาธรรมเนียมการเก็บขนขยะ 3 ปยอนหลังมาพรอมกัน) ซึ่งมี

คําอธิบายประกอบในตารางดังนี้

1. แหลงกําเนิดขยะมูลฝอย หมายถึง สถานที่หรือกิจกรรมตาง ๆ ที่กอใหเกิดขยะมูลฝอย ทั้งนี้อาจให

ตรงตามแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยที่ไดระบุไวในขอ 1.8 หรือตามแผนที่การเก็บคาบริการซึ่ง อปท. กําหนดไว

2. อัตราคาธรรมเนียม บาท/เดือน หมายถึง คาธรรมเนียมขยะที่ตองจัดเก็บตอเดือนตามแตละ

ประเภท เชน ครัวเรือน อาจจะคิด 30บาท/เดือน หรือรานคา อาจเก็บคาบริการไวที่ 30 บาท/เดือน เปนตน

3. จัดเก็บไดจริงคิดเปนรอยละ คือ ภายในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน มีการจัดเก็บคา

ขยะตามแตละประเภท ไดเปนจํานวนรอยละเทาใดจากแหลงกําเนิดประเภทนั้น ๆ ทั้งหมด เชน มีครัวเรือนที่

ตองจัดเก็บคาบริการทั้งหมด 600 ครัวเรือน แตสามารถเก็บไดจริงเพียง 480 ครัวเรือน เทานั้น หรือคิดเปน

รอยละ 80 ของครัวเรือนที่ตองดําเนินการเก็บคาธรรมเนียม

4. รายไดจากการจัดเก็บอัตราคาธรรมเนียม(บาท/ป) คือ รายไดรวมจากการจัดเก็บคาธรรมเนียม

เก็บขนขยะทั้งหมดในแตละประเภท โดยมีหนวยเปน บาทตอป

ขอ 3.11 คาใชจายในการเก็บขนขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกคาใชจายในการดําเนินการเก็บขนขยะมูลฝอย เชน เงินเดอืนพนกังาน

เก็บขนขยะ คาน้ํามันเชื้อเพลิง คาซอมรถ หรือคาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการเก็บขนขยะ (ไมนับคากําจัด

ขยะ) รวมทั้งสิ้นกี่บาท/ป โดยใหทานแนบเอกสารมาดวย ทั้งนี้ผูดําเนินการกรอกขอมูลสามารถใชตารางใน

ภาคผนวกที่ 3 สําหรับการกรอกขอมูลได

Page 35: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

33

สวนที่ 4

ขอมูลดานการคัดแยก

และใชประโยชนจาก

ขยะมูลฝอย

Page 36: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

34

สวนที่ 4 ขอมูลดานการคัดแยกและใชประโยชนจากขยะมูลฝอย

เปนการเก็บขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมดานการลดและใชประโยชนจากขยะมูลฝอย ขอมูลเกี่ยวกับรานรบั

ซื้อของเกา และขอมูลรอยละประมาณการขยะรีไซเคิลที่คัดแยกได ซึ่งจะทําให อปท. เจาของพื้นที่ไดรับทราบ

ถึงกิจกรรมดานการลด คัดแนก และใชประโยชนจากขยะมูลฝอยในพื้นที่ และเปนขอมูลสําหรับใชในการ

วางแผนพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานดาน 3R ของ อปท. น้ันๆ

ขอ 4.1 ขอมูลโครงการ/กิจกรรมการใชประโยชนจากขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง และกรอกจํานวนและปริมาณของโครงการ

หรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับการใชประโยชนรีไซเคิล ที่เกิดขึ้นภายในเขตองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน

1) ผูดําเนินการกรอกขอมูลสามารถดําเนินการทําเครื่องหมาย √ ไดมากกวา 1 ชอง โดยจํานวนแหง

หรือครั้งที่ระบุ ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลระบุจํานวนแหงหรือครั้งที่เกิดขึ้นจริงในปพื้นฐาน เชนดําเนินการ

เก็บขอมูลในป 2555 ใหกรอกขอมูลการสํารวจในป 2555

2) ผูดําเนินการกรอกขอมูลผูดําเนินการกรอกขอมูลตองทําการสรุปปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมดเปน

หนวยกิโลกรัมตอวัน โดยผูดําเนินการกรอกขอมูลอาจทําการสํารวจเปนรายสัปดาหหรือรายเดือนของแตละ

แหลงรีไซเคิล/แหลงการใชประโยชนจากขยะมูลฝอย แลวทําการสรุปผลเปนรายปกอนทําการบันทึกลงในแบบ

สํารวจนี้ ทั้งนี้ผูดําเนินการกรอกขอมูล สามารถใชแบบการสํารวจขอมูลที่นําเสนอไวในภาคผนวกที่ .4.

Page 37: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

35

ขอ 4.2 จํานวนรานรับซื้อของเกาในพื้นที่

ผูดําเนินการกรอกขอมูลสามารถกรอกจํานวนรานรับซื้อของเกาในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น

ของทาน และกรอกรายละเอียดของรานรับซื้อของเกาลงในตาราง หรือแนบรายชื่อและรายละเอียดแทนก็ได

***ขอควรระวัง จํานวนรานรับซื้อของเกา อาจจะมีปริมาณขยะมากกวาความเปนจริง เนื่องจากปจจุบัน

มีการนําขยะขามเขต จาก อปท.หนึ่ง ไปขายยังรานรับซื้อของเกาที่อยูในพื้นที่ อปท. อื่น เนื่องจากปจจัย

ดานราคาและปจจัยดานระยะเวลาในการเดินทาง***

รานคาของเกา (Junk shop) หมายถึง สถานที่หรือบริเวณที่จัดไวเพื่อการซื้อ-ขายมูลฝอยรีไซเคิล วัสดุ

เหลือใช หรือของเกาที่สามารถนํามาใชประโยชนใหมได เชน กระดาษ ขวด กระปอง แกว พลาสติก และวัสดุอื่น ๆ

เปนตน และมีการรวบรวมไวเพื่อจําหนายใหแกผูประกอบการที่เกี่ยวของตอไป ทั้งนี้ไมรวมถึงสถานที่ดําเนิน

กิจกรรมธนาคารขยะ หรือสถานที่รับซื้อวัสดุรีไซเคิลชุมชน หรือศูนยวัสดุรีไซเคิลชุมชนที่มีขนาดนอยกวา ๑ ตันตอ

วัน

Page 38: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

36

ขอ 4.3 รอยละประมาณการขยะรีไซเคิลที่คัดแยก

ผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกขอมูลเปนรอยละของการนําขยะกลับมารีไซเคิล จากแหลงตางๆ โดย

ขอมูลตองนํามาจากการศึกษาและสํารวจเทานั้น

1) จากแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย ดําเนินการศึกษาหรือสํารวจโดยอางอิงการศึกษาจากภาคผนวกที่ 1

(การศึกษาปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด) ซึ่งการศึกษาดังกลาวไดกําหนดใหผูดําเนินการศึกษาทําการคัด

แยกขยะมูลฝอยตามประเภทของขยะมูลฝอยโดยดําเนินการศึกษาไดจากภาคผนวกที่ 2 (อินทรีย รีไซเคิล

อันตราย และทั่วไป) และใหผูดําเนินการศึกษาสอบถามเจาของแหลงกําเนิดขยะเพื่อสอบถามและคัดแยกขยะ

มูลฝอยที่ดําเนินการแยกเพื่อขายและใชประโยชน และแยกเพื่อกําจัด ซึ่งจะไดขอมูลทั้งปริมาณขยะมูลฝอย

โดยรวม ปริมาณขยะมูลฝอยที่คาดวาจะทิ้ง และปริมาณขยะมูลฝอยที่คาดวาจะรีไซเคิล/ใชประโยชน ทั้งนี้จะ

สามารถประเมินเปนรอยละการแยกขยะมูลฝอยเพื่อรีไซเคิล/ใชประโยชนหรืออาจคิดจาก

รอยละการแยกขยะเพื่อรีไซเคลิ (%)= (ปริมาณขยะที่แยกเพื่อรีไซเคิล/ใชประโยชน) X 100

(ปรมิาณขยะมูลฝอยทั้งหมด)

2) จากถังขยะมูลฝอย ดําเนินการสํารวจโดยการชั่งน้ําหนักขยะมูลฝอยกอนดําเนินการเก็บขน ณ ถัง

ทิ้งขยะมูลฝอย และจุดทิ้งขยะมูลฝอย พรอมทั้งดําเนินการสอบถามหรือติดตอซาเลง หรือผูรับซื้อของเกา เพื่อ

เก็บขอมูลปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกดําเนินการคัดแยกจากถังทิ้งขยะมูลฝอย และจุดทิ้งขยะมูลฝอย ทั้งนี้

สามารถทําการสุมสํารวจพื้นที่ในการดําเนินการศึกษาเพื่อใหงายตอการสํารวจ

3) จากรถเก็บขนขยะมูลฝอย ดําเนินการสํารวจโดยคิดรอยละประมาณการขยะรีไซเคิลที่คัดแยกจาก

การคัดแยกของพนักงงานประจํารถเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย ซึ่งสามารถหาไดจากสูตร

รอยละการแยกขยะเพื่อรีไซเคลิ (%)= (ปริมาณขยะที่แยกเพื่อรีไซเคิล/ใชประโยชน) X 100

(ปริมาณขยะมลูฝอยที่ชั่ง ณ สถานที่กําจัด) + (ปริมาณขยะที่แยกเพื่อรีไซเคิล/ใชประโยชน)

Page 39: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

37

โดย ปริมาณขยะที่แยกเพื่อรีไซเคิล/ใชประโยชน อาจถูกดําเนินการคัดแยกโดยพนักงานประจํารถ

เก็บขนขยะมูลฝอยดําเนินการคัดแยกเพื่อเตรียมจําหนาย

ปริมาณขยะมูลฝอยที่ชั่ง ณ สถานที่กําจัดขยะมูลฝอย คือขยะมูลฝอยที่ดําเนินการเก็บขนโดย

รถเก็บขนขยะมูลฝอย และถูกบรรทุกเขาสูสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย ทั้งนี้ อาจไมรวมขยะมูลฝอยที่พนักงาน

ประจํารถคัดแยกเพื่อจําหนาย (กรณีพนักงานแยกออกไปขายกอนเขาสูสถานที่กําจัด) หรืออาจรวมขยะมูลฝอย

ที่พนักงานประจํารถคัดแยก (กรณีหากพนักงานแยกขยะแลวแตยังไมยกออกจากรถ)

4) จากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย ดําเนินการสํารวจโดยการกําหนดกลุมตัวอยางจากรถเก็บขยะมูล

ฝอยเขาสูสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย ซึ่งจะไดรับการชั่งน้ําหนักของปริมาณขยะมูลฝอยที่เขาสูสถานที่กําจัดขยะ

มูลฝอย และสํารวจปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกคนคุยขยะเขาคัดแยกขยะมูลฝอยได ซึ่งสามารถหารอยละของการ

แยกขยะเพื่อรีไซเคิลได ดังนี้

รอยละการแยกขยะเพื่อรีไซเคลิ (%)= (ปริมาณขยะที่แยกเพื่อรีไซเคิล/ใชประโยชน) X 100

(ปริมาณขยะมลูฝอยทัง้หมดที่เขาสูสถานทีก่ําจดัขยะมูลฝอย)

Page 40: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

38

สวนที่ 5

การกําจัดขยะมูลฝอย

Page 41: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

39

สวนที่ 5 ขอมูลการกําจัดขยะมูลฝอย

สําหรับในสวนน้ีจะเปนการเก็บขอมูลดานการกําจัดขยะมูลฝอย โดยครอบคลุมถึง สถานที่กําจัดขยะ

มูลฝอย สภาพการดําเนินงานดานการกําจัดขยะมูลฝอย ระบบที่ดําเนินการ สภาพพื้นที่โดยรอบสถานที่กําจัด

ขยะมูลฝอย ปริมาณขยะมูลฝอยที่ เขาสูสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย อุปกรณดําเนินงาน คาใชจายในการ

ดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอย และปญหาที่พบ ซึ่งจะทําใหผูกรอกขอมูลไดทราบถึงสภาพการดําเนินงานใน

สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่ และเก็บเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อใชในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยตอไป

ขอ 5.1 หนวยงานของทานมีสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยหรอืไม

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมี

สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยเปนของตนเองหรือไม ถาหากไมมี ใหระบุสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของหนวยงานอื่น

ที่นําไปรวมกําจัด ไมวาจะเปนภาครัฐ หรือหนวยงานเอกชน และระบุคาธรรมเนียมในการนําขยะมูลฝอยไป

กําจัดยังสถานที่กําจัดขยะนั้นๆดวย โดยมีหนวยเปน บาทตอตัน ทั้งนี้ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ระบุ

ขอตกลงหรือขอสัญญาที่ไดทําวาเริ่มเมื่อปอะไร และหมดในปอะไร

ขอ 5.2 สถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกชื่อสถานที่กําจัดขยะมลูฝอย โดยอางอิงชื่อสถานทีก่ําจัดขยะมูลฝอย

จากปายทางเขา และกรอกขอมลูที่อยูตามทะเบียนบานของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

*** หากองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานไมมีสถานท่ีกําจัดขยะ และนําไปทิ้งรวมกับสถานที่กําจัดขยะ

อื่น ใหระบุชื่อสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย และ ที่อยู เชนเดียวกัน****

Page 42: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

40

ขอ 5.3 สภาพแวดลอมบริเวณสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย (ใหแนบแผนที่ หรือแบบแปลนพื้นที่ ของสถานที่

กําจัดขยะมูลฝอยมาดวย)

5.3.1 หากในพื้นที่โดยรอบสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานมีแหลงน้ําสาธารณะ ใหผูดําเนินการ

กรอกขอมูลกรอกระยะหางที่ใกลที่สุดระหวางสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยกับแหลงน้ํา ลําธาร หรือทางน้ํา โดยมี

หนวยเปนกิโลเมตร พรอมทั้งใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาแหลงน้ําดังกลาวนั้น ใชประโยชนในดานใด

เปนหลัก แตหากในพื้นที่โดยรอบสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานไมมีแหลงน้ําสาธารณอยูใกลเลย ขอใหทาน

ขามไปกรอกในขอ 5.3.2 ตอไป

5.3.2 หากในพื้นที่โดยรอบสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานมีแหลงชุมชน หรือมีบานเรือนไมต่ํากวา

10 หลังคาเรือนอยูใกล ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกระยะหางที่ใกลที่สุดระหวางสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

กับแหลงชุมชนที่อยูอาศัยโดยมีหนวยเปนกิโลเมตร และระบุจํานวนหลังคาเรือนของชุมชนนั้น ๆ แตหากใน

พื้นที่โดยรอบสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานไมมีแหลงชุมชนอยูใกลเลย ขอใหทานขามไปกรอกในขอ 5.3.3

ตอไป

5.3.3 ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) ใหตรงกับสภาพที่ตั้งของสถานที่

กําจัดขยะมูลฝอย หากสภาพที่ตั้งไมไดอยูในประเภทตามแบบสอบถาม ใหระบุในชอง “อื่นๆ” พรอมทั้งระบุ

สภาพที่ตั้งตามความเปนจริง

Page 43: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

41

5.3.4 ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) ใหตรงกับสภาพการใชที่ดิน (Land

Use) ในแตละทิศ ที่ติดกับสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยวามีการใชที่ดินประเภทใด หากการใชที่ดินไมไดอยูใน

ประเภทตามแบบสอบถาม ใหระบุในชอง “อื่นๆ” พรอมทั้งระบุประเภทการใชที่ดินตามสภาพความเปนจรงิมา

พรอมนี้

5.3.5 ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) ใหตรงกับลักษณะดินในพื้นทีส่ถานที่

กําจัดขยะมูลฝอย หากลักษณะของดินไมไดอยูในประเภทตามแบบสอบถาม ใหระบุในชอง “อื่นๆ” พรอมทั้ง

ระบุประเภทของดินตามสภาพความเปนจริงมาพรอมนี้

ขอ 5.4 ตําแหนงพิกัดทางภูมิศาสตรของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกคาพิกัดบริเวณกึ่งกลางประตูทางเขาสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย โดย

กรอกคาพิกัดบริเวณกึ่งกลางประตูทางเขาออกของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทาน โดยคาพิกัดจากเครื่อง

GPS บริเวณเสาธงดานหนาสํานักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน โดยใหระบุเปนพิกัดแบบ UTM

Datum WGS1984 ทั้งนี้หากเครื่อง GPS ของทานไมสามารถตั้งคาเปนระบบพิกัด UTM ได โปรดระบุพิกัด

แบบ องศา ลิปดา ฟลิปดา หรือพิกัดแบบองศาและตามดวยทศนิยมสี่ตําแหนงเปนอยางต่ําก็ได โดยการใช

เครื่องมือ GPS อาจใชโทรศัพทมือถือที่สามารถจับพิกัดได และหากทานไมมีเครื่องรับสัญญาณ GPS ใหทานวัด

คาพิกัดดวยสายตาจากแผนที่ของกรมแผนที่ทหาร L7018 หรือแบบแปลนการรังวัดอื่น ๆ ได

Page 44: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

42

ขอ 5.5 พื้นที่ของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกขอมูลพื้นที่ภายในสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานวามีพื้นที่ทั้งหมด

(พื้นที่ซึ่งรวมทั้ง อาคาร บอฝงกลบ ถนนในโครงการ เปนตน) มีจํานวนกี่ไร และ สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของ

ทานไดเริ่มดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอยตั้งแตป พ.ศ.ใด หากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานอยูระหวาง

กอสรางใหเพิ่มเติมขอมูลคาดวาจะเริ่มใชกําจัดขยะมูลฝอยในชอง เริ่มใชกําจัดขยะมูลฝอยเมื่อป ..... แทน

ขอ 5.6 สภาพการเปนเจาของที่ดินของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาการถือครองที่ดินของสถานที่กําจัดขยะ

มูลฝอยนั้น อยูในรูปแบบใด โดยกรอกรายละเอียดตางๆ ไดแก

1) องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดซื้อเอง เมื่อป พ.ศ......... หาก อปท. ของผูดําเนินการกรอกขอมูล

จัดซื้อสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยดวยตัว อปท. เอง ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกปที่ดําเนินการจัดซื้อ

2) ที่ดินของหนวยราชการอื่น ระบุชื่อหนวยงาน ........ ทั้งนี้ ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกขอมูล

หนวยงานที่ อปท. ขอเขาทิ้งขยะมูลฝอย พรอมทั้งปที่เริ่มขอเขาทิ้งขยะมูลฝอย

3) กําจัดขยะมูลฝอยในที่ดินของเอกชน ทั้งนี้หาก อปท. ขอเขาทิ้งขยะมูลฝอยในพื้นที่ของเอกชน หาก

ไมเสียคาใชจาย ขอใหเติม √ ลงในชอง โดยไมเสียคาใชจาย หรือหากเสียคาใชจายในการขอใชพื้นที่ ขอให

เติม √ ลงในชอง โดยเสียคาใชจาย พรอมทั้งเติมขอมูลคาเชาพื้นที่ (บาทตอป) และขอมูลเริ่มดําเนินการ

ตั้งแตป พ.ศ............. ถึง พ.ศ.............. ตามที่ไดทําสัญญากับเอกชนเจาของพื้นที่

4) อื่น ๆ ทั้งนี้หาก อปท. นั้นๆ มีสภาพการเปนเจาของที่ดินที่นอกเหนือจากที่ไดกําหนดไว ขอให √ ลง

ในชอง ( ) พรอมทั้งระบุรายละเอียด

ขอ 5.7 ระยะทางระหวางสถานทีก่ําจัดขยะมลูฝอยและสํานกังานของ อปท.

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลระบุระยะทางจาก สํานักงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น ของทานไปยัง

สถานที่กําจัดขยะ โดยมีหนวยเปนกิโลเมตร

Page 45: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

43

ขอ 5.8 ปริมาณขยะมูลฝอยที่นํามากําจัด

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกขอมูลปริมาณน้ําหนักขยะมูลฝอยที่เขามากําจัดในสถานที่กําจัดขยะ

มูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยเปนผลรวมปริมาณขยะมูลฝอยทั้งในเขตอปท. และอปท. อื่นๆ ที่

เขามาดําเนินการทิ้งรวมวามีจํานวนเฉลี่ยกี่ตันในป พ.ศ.นั้น (ควรจะเปน ป พ.ศ.ลาสุด) ทั้งนี้ อปท. ดําเนินการ

เก็บขอมูลโดยใชตารางในภาคผนวกที่ 5

5.8.1 ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ดําเนินการกรอกขอมูลขยะมูลฝอยภายในเขตองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นเอง จํานวนกี่ตันตอวัน

5.8.2 ใหผูดําเนินการกรอกขอมูล ดําเนินการกรอกขอมูลขยะมูลฝอยของหนวยงานอื่นๆ จํานวนกี่ตัน

ตอวัน ทั้งนี้ ใหระบุรายละเอียดเปนราย อปท. หรือรายหนวยงานที่เขามาดําเนินการทิ้งรวม จํานวนกี่ตันตอวัน

ขอ 5.9 การคิดคากําจัดขยะมลูฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาทางองคกรปกครองสวนทองถิน่มกีารคดิ

คากําจัดขยะมูลฝอยกับหนวยงานอื่นๆ หรือไม ถามีการคิดคากําจัด มีวิธีการคิดคากําจัดอยางไร (เหมาจาย

เปนรายเดือน หรือรายป หรือคิดตามปริมาณที่กําจัดจริง โดยดําเนินการระบุราคาตอตันเอาไว) หรือมีการคิด

เปนบางหนวยงาน พรอมทั้งเหตุผล หรือไมมีการคิดเลย ทั้งนี้ อปท. อาจดําเนินการเก็บขอมูลโดยใชตารางใน

ภาคผนวกที่ 6

Page 46: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

44

ขอ 5.10 วิธีการกําจัดขยะมูลฝอยท่ีใชในปจจุบัน

เปนการรายงานขอมูลซึ่งมีความสําคัญมาก คือ การรายงานวิธีการกําจัดขยะมูลฝวอย โดยผูออกแบบ

สํารวจได แบงกระบวนการกําจัดออกเปน 3 รูปแบบหลักไดแก การกําจัดโดยวิธีการ เทกอง/ฝงกลบ การกําจัด

โดยใชระบบเตาเผา และการกําจัดโดยวิธีผสมผสาน ซึ่งรูปแบบอาจมีความแตกตางกัน ทั้งนี้ ใหผูดําเนินการ

กรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) หากทางองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมีการกําจัดขยะ

มูลฝอยในประเภท เทกอง/ฝงกลบชนิดใด และใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) พรอมทั้งใสรายละเอยีดลงใน

ขอยอย พรอมทั้งแนบรายละเอียดมาดวย

1) การเทกอง/ฝงกลบ ทั้งนี้ ผูดําเนินการกรอกขอมูลสามารถประเมินสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของ

ตนเองไดจากคูมือการประเมินสมรรถนะการดําเนินงานฝงกลบมูลฝอย สามารถดาวนโหลดไดจาก

http://www.pcd.go.th/public/Publications/print_waste.cfm?task=ManualJunk3PCD หรือสามารถ

ใชแบบประเมินสถานที่ฝงกลบไดจาก ภาคผนวกที่ .7..

Page 47: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

45

Open Dump หมายถึง การเทกองมูลฝอยบนพื้นที่โดยไมมีการควบคุมหรือมีการควบคุมบาง มกีารคุยมลูฝอย

และไมมีมาตรการใดๆ ที่ใชในการควบคุมการระบายหรือปลดปลอยสารมลพิษและสารปนเปอนออกจาก

สถานที่กําจัดมูลฝอยออกสูสิ่งแวดลอมรวมทั้งไมมีมาตรการอยางเปนระบบที่จะรองรับการดําเนินงานฝงกลบ

มูลฝอย

Control Dump เปนรูปแบบการเทกองที่มีการควบคุมปรมิาณมูลฝอยเขาสูพื้นที่ รวมถึงมีการบดอัดและกลบ

ทับมลูฝอยบางครั้ง อยางไรก็ตามรูปแบบการกําจัดประเภทนี้จะไมจําเปนตองมีโครงสรางพื้นฐานวิศวกรรมที่

จําเปน แตจะใชมาตรการดําเนินงานดานวิศวกรรมทีจ่ําเปนที่ใชในการควบคุมการระบายหรือปลดปลอยสาร

ปนเปอนจากสถานที่กําจัดมลูฝอยออกสูสิง่แวดลอมที่เหมาะสม

Engineer Landfill เปนรปูแบบการกําจัดมลูฝอยที่มโีครงสรางพื้นฐานทีจ่ําเปน มีการติดต้ังระบบกันซึมใน

บริเวณบอฝงกลบมลูฝอย มีการดําเนินงานตางๆ ในการจัดการมูลฝอยเพื่อใหการฝงกลบเปนไปตามหลัก

วิศวกรรมและไมสงผลกระทบตอสิง่แวดลอม อาทิ การจดบนัทึกปริมาณขยะมลูฝอยที่เขาสูพื้นที่ การควบคุม

การจัดวางเซลล การควบคุมขนาดหนางานฝงกลบใหเหมาะสม การบดอัดและกลบทบัมลูฝอยเปนระยะ ระบบ

บําบัดและปองกันการปนเปอนมลพิษที่เกิดขึ้นออกสูสิ่งแวดลอม และการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิง่แวดลอม

Sanitary Landfill เปนรปูแบบการฝงกลบมลูฝอยที่มกีารคํานึงถึงการดําเนินงานตามหลักเกณฑทาง

วิศวกรรมและผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึนในดานสุขอนามัยและความปลอดภัย ตั้งแต การคัดเลอืกพื้นทีท่ี่

เหมาะสม การออกแบบและมรีะบบโครงสรางพื้นฐานในสถานที่ มีการติดต้ังระบบกันซึมที่ถูกตองและไดรับ

มาตรฐานตามหลักวิศวกรรม มีการดําเนินงานตางๆ ในการจัดการมูลฝอยเพื่อใหการฝงกลบเปนไปตามหลัก

วิศวกรรมและไมกระทบตอสิง่แวดลอม อาทิ การจดบันทึกปริมาณขยะมลูฝอยที่เขาสูพื้นที่ การควบคมุ การจัด

วางเซลล การปองกันมิใหของเสียอันตรายชุมชนเขามากําจดัในบริเวณ การจัดการกาซจากบอฝงกลบอยางถูก

สุขลักษณะ การควบคมุขนาดหนางานฝงกลบใหเหมาะสม การบดอัดและกลบทับมลูฝอยเปนรายวัน การ

ปองกันและปองกันการปนเปอนมลพิษทีเ่กิดข้ึนออกสูสิง่แวดลอม และการติดตามตรวจสอบคุณภาพ

Page 48: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

46

2) เตาเผา ใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) หากทางองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมีการ

กําจัดขยะมูลฝอยในประเภท เตาเผา และใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) พรอมทั้งใสรายละเอียดลงในขอ

ยอย พรอมทั้งแนบรายละเอียดมาพรอมนี้ ทั้งนี้ สามารถสอบถามประเภทและลักษณะของเตาเผาไดจากผูแทน

จําหนายหรือเอกสารการผลิตที่ผูจําหนาย หรือกอสรางไดจัดทําไว

3) แบบผสมผสาน ใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) หากทางองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมี

การกําจัดขยะมูลฝอยในประเภท ผสมผสาน และใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) พรอมทั้งใสรายละเอียดลง

ในขอยอย พรอมทัง้แนบรายละเอียดมาพรอมนี้

“เตาเผามูลฝอย (Incinerator)” หมายถึง อปุกรณกําจัดมูลฝอยซึง่ใชเทคโนโลยีการทําลายมูลฝอยโดย

ใชความรอนเผาทําลายในเตาเผาที่ไดรับการออกแบบกอสรางที่ถูกตองและเหมาะสมโดยตองมอีุณหภูมิใน

การเผาที่ 850 – 1,200 องศาเซลเซียส และมีระบบควบคมุการปลอยสารมลพิษออกสูสิ่งแวดลอม

Page 49: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

47

ขอสังเกตุ !!

ปุย (Compost) หมายถึง วัสดุที่หรือผลผลิตที่ไดจากการหมักทั้งแบบใชอากาศและไมใชอากาศ โดยหาก

มีสารอาหารสําหรับพืชเพียงพอตาม พ.ร.บ.ปุย จะถือเปนปุยเพื่อใชสําหรับพืช

วัสดุปรับสภาพดิน (Soils conditioner) หมายถึง วัสดุที่ใสลงในดินเพื่อปรับปรุงสมบัติทางกายภาพให

เหมาะสมกับการเติบโตของพืชยิ่งขึ้น เชน แกลบ ขี้เลื่อย ปุยหมัก สารพอลิเมอรสังเคราะห (Synthetic polymer) ชนิด

ตาง ๆ และผลพลอยไดจากกระบวนการบําบัดมูลฝอยดวยวิธีเชิงกลและชีวภาพ (MBT)

MBT ( Mechanical Biological Waste Treatment ) หมายถึง การบําบัดขยะมูลฝอยเชิงกล

ชีวภาพ หมายถึง กระบวนการยอยสลายอินทรียวัตถุซึ่งเปนอาหารของจุลินทรียที่ปนมากับขยะมูลฝอย

จนกระทั่งอาหารหมด ทําใหกระบวนการยอยสลายสิ้นสุดลง ไมกอใหเกิดกาซและน้ําชะขยะจากการยอย

สลาย เปนกระบวนการกําจัดขยะที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากที่สุดเนื่องจากมีการคัดแยกขยะที่สามารถนํา

กลับมาใชใหม (Reuse) และแปรรูปใชใหม (Recycle) ไดอีก กอนแปรรูปขยะที่เหลือเปนพลังงานตอไป ซึ่ง

จะเหลือขยะนอยมากทําใหลดพื้นที่ในการฝงกลบ สําหรับกระบวนการ MBT มีการนําไปประยุกตใชไดหลาย

รูปแบบตามความเหมาะสม

“ระบบกาํจัดมูลฝอยแบบผสมผสาน (Integrated Solid Waste Disposal System)” หมายถึง

ระบบกําจัดมูลฝอยทีป่ระกอบดวยเทคโนโลยีตางๆ ผสมผสานกันตั้งแต 2 เทคโนโลยีขึ้นไปตามความ

เหมาะสม ไดแก การคัดแยกประเภทมลูฝอย การหมักปุย เตาเผา และการฝงกลบ ฯลฯ

Page 50: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

48

ขอ 5.11 คาใชจายในการกําจัดขยะมลูฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกคาใชจายทั้งหมดในการดําเนินการกําจัดขยะมูลฝอย ซึ่งจะประกอบ

ไปดวย เงินเดือนพนักงาน คาน้ํามันเชื้อเพลิงรถยนตหรือเครื่องจักร คาซอมบํารุงเครื่องจักรตางๆ คาสารเคมี

คาดินกลบทับ หรือคาใชจายอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการกําจัดขยะ และใหทานแนบรายละเอียดของคาใชจายใน

การกําจัดขยะของสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทานมาดวย ทั้งนี้ อปท. อาจดําเนินการเก็บขอมูลโดยใชตาราง

ในภาคผนวกที่ 7

ขอ 5.12 อุปกรณและเครื่องจักร

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณและเครื่องจักรกล ที่ใชงานภายใน

สถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทาน หรือแนบรายละเอียด ทั้งนี้ อุปกรณและเครื่องจักร เชน รถตักดิน เครื่องตัด

หญา เครื่องสูบน้ํา รถหกลอขนดิน และรถบดอัด เปนตน รวมทั้งดําเนินการเก็บขอมูลสถานะอาคารในสถานที่

กําจัดขยะมูลฝอยโดยใชตารางในภาคผนวกที่ 8

ขอ 5.13 ปญหาในการดําเนินการ

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทานมี

ปญหาในการดําเนินงานหรือไม และถาหากมี ใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง วาปญหานั้นเกิดจากสาเหตุใด

ทั้งนี้สามารถตอบไดมากกวา 1 ขอ และขอใมหอธิบายรายละเอียดเปนเอกสารแนบสงมาพรอมกับแบบสํารวจ

ขอ 5.14 แผนงานการดําเนินการ

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลแนบเอกสารแผนงานหรือนโยบายดานการจัดการ หรือการบริหารใดๆ ใน

การจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ หรือเอกสารแผนงาน นโยบายในการปรับปรุงระบบกําจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่

รับผิดชอบของทาน สงมาพรอมแบบสํารวจนี้

Page 51: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

49

สวนที่ 6

ขอมูลผลกระทบ

ตอสิ่งแวดลอม

Page 52: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

50

สวนที่ 6 ขอมูลดานผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

สําหรับในสวนน้ีจะเปนการรวบรวมขอมูลดานผลกระทบจากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยที่อาจสงผลตอ

สภาพแวดลอมโดยรอบ โดยดําเนินการสํารวจจากเรื่องรองเรียน ผลจากการสังเกตสภาพปญหาที่เกิด รวมทั้ง

การติดตามผลกระทบจากสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยในระบบฝงกลบจากบอสังเกตการณน้ําใตดิน ซึ่งจะทําให

อปท. เจาของพื้นที่ไดทราบถึงสภาพปญหา และมีการติดตามผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึนกับพื้นที่โดยรอบได

ขอ 6.1 การรายงานเรื่องรองเรียน

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาหนวยงานของทานเคยถูกรองเรียนจาก

ประชาชนหรือถูกรองเรียนจากหนวยงานใดๆ เกี่ยวกับสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยหรือไม ถาหากสถานที่กําจัด

ข ย ะ

มูลฝอยของทานเคยถูกรองเรียนไมวาสาเหตุใดๆก็แลวแต ใหทานใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง พรอมทั้ง

ระบุสาเหตุที่ถูกรองเรียน และวิธีการแกไขลงไปในชองวางดวย

ขอ 6.2 ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากสถานที่กําจัดขยะมลูฝอย

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลเรียงลําดับผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอมจากสถานที่กําจัดขยะของทาน

โดยการกรอกตัวเลข 1 – 5 ลงในชอง ( ) ซึ่ง หมายเลข 1 หมายถึง มีผลกระทบมากที่สุด และหมายเลข 5

หมายถึงมีผลกระทบนอยที่สุด

Page 53: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

51

ขอ 6.3 การติดตามตรวจสอบคุณภาพนํ้าใตดิน

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง วาสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยของทาน มีบอ

สังเกตุการณน้ําใตดิน (Monitoring Well) หรือไม ถาหากมี ใหระบุจํานวนของบอทั้งหมด ไมวาจะอยูภายใน

หรือภายนอกสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย และใหระบุจํานวนครั้งที่มีการตรวจสอบคุณภาพน้ําใตดินตอปมาดวย

รวมทั้งแนบผลการตรวจสอบคุณภาพน้ําใตดินมาดวย ทั้งนี้ทานสามารถใชตารางการเก็บขอมูลคุณภาพน้าํใตดนิ

จากภาคผนวกที่ 9

Page 54: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

52

สวนที่ 7

ขอมูลการจดัการของ

เสียอันตรายชุมชน

Page 55: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

53

สวนที่ 7 ขอมูลการจัดการของเสียอันตรายจากชุมชน

เปนการรวบรวมขอมูลดานของเสียอันตรายจากชุมชนทั้ง การคัดแยก การทิ้ง ภาชนะที่รองรับ

พาหนะที่ใชในการเก็บขน ปริมาณและประเภทของของเสียอันตรายจากชุมชน พรอมทั้งกระบวนการกําจัด

และรีไซเคิล

ขอ 7.1 การคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชนในปจจุบัน

ใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง (..) วามีหรือไมมีการคัดแยกของเสียอันตราย

จากชุมชนในปจจุบันหรือไม ทั้งนี้หากไมมีการคัดแยกขอให ผูกรอกขอมูลระบุถึงการมีหรือไมมีนโยบายดานการ

คัดแยกของเสียอันตรายชุมชนของ อปท. อยู หรอมทั้งใหทานขามไปตอบคําถามในสวนที่ 8 ตอไป

ขอ 7.2 วิธีการแยกทิ้งและเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน

หากทานมีการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลง

ในชอง (..) ที่จัดเตรียมไวโดย

คําอธิบาย การแยกทิ้งหนาบานตามเวลาที่กําหนด หมายถึงประชาชนมีการคัดแยกของเสียอันตรายใส

ภาชนะที่เหมาะสมแลวนํามาวางไวหนาบาน เพื่อให อปท. เก็บรวบรวมตามวันและเวลาที่กําหนด

การแยกทิ้งตามจุดที่กําหนด หมายถึง ประชาชนคัดแยกของเสียอันตรายจากบานเรือนแลว

นําไปทิ้งในภาชนะรองรับของเสียอันตรายจากชุมชนที่วางไวตามจุดที่กําหนด

Page 56: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

54

การแยกทิ้งในวันพิเศษ หมายถึง การเชิญชวนประชาชนใหนําของเสียอันตรายไปทิ้งในงาน

กิจกรรมที่จัดข้ึนเปนพิเศษ ณ สถานที่นัดหมายในวันและเวลาที่กําหนด

ขอ 7.3 ภาชนะรองรับของเสียอันตราย

หากทานมีการคัดแยกของเสียอันตรายจากชุมชน และมีการกําหนดภาชนะสําหรับรองรับเอาไว ขอให

ผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง (..) ในกรณีตางๆ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ทั้งนี้ ให

ผูดําเนินการกรอกขอมูลลักษณะของภาชนะวาแตละวิธีนั้นมีรูปแบบ/ใชวัสดุใดมาพรอมนี้ รวมทั้งดําเนินการ

กรอกขอมูลตามแบบสํารวจในภาคผนวกที่ 10

ของเสียอันตรายจากชุมชน (Household Hazardous Waste)” หมายถึง ของเสียอันตรายที่เกิดจาก

กิจกรรมตางๆ ภายในชุมชน ทั้งบานเรือนและสถานประกอบการตางๆ เชน รานคา โรงแรม รานซักแหง

สถาบันการศึกษา รานถายรูป สถานีบริการน้ํามัน เปนตน โดยไมรวมถึงของเสียจากภาคอุตสาหกรรม มูลฝอย

ติดเชื้อ และของเสียกัมมันตรังสี

ตัวอยางของเสียอันตรายจากชุมชน

- แบตเตอรี่แหง ไดแก ถานไฟฉาย ถานกระดุม ถานแบบชารจ และแบตเตอรี่โทรศัพทมือถือ เปนตน

- หลอดไฟ ไดแก หลอดฟลูออเรสเซนต หลอดไส และหลอดไฟชนิดอื่นๆ

- ภาชนะบรรจุสารเคมี ไดแกกระปองสเปรย กระปองสี ภาชนะสารเคมีกําจัดแมลง และขวดยาหมดอายุ เปน

ตน

Page 57: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

55

ขอ 7.4 ยานพาหนะเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน

หากทานมีการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจากชุมชน ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √

ลงในชอง (..) วาองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน มียานพาหนะในการเก็บรวบรวมของเสียอันตรายจาก

ชุมชน เปนแบบใด

ขอ 7.5 ปริมาณและประเภทของเสียอันตรายจากชุมชนที่รวบรวมได

ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลกรอกตัวเลขปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนที่องคกรปกครองสวน

ทองถิ่นของทานเก็บรวบรวมไดทั้งหมด โดยมีหนวยเปน กิโลกรัมตอป และใหทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( )

จําแนกเปนประเภทของของเสียอันตรายและปริมาณของเสียอันตรายในแตละชนิดตอป

ขอ 7.6 สถานที่กักเก็บของเสียอันตรายจากชุมชน

ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน

มีสถานที่เก็บกักของเสียอันตรายชุมชนหรือไม หากมี ใหระบุที่ตั้งของสถานที่เก็บกักของเสียโดยละเอียดดวย

Page 58: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

56

ขอ 7.7 การขนสงไปกําจัด/รีไซเคิลของเสียอันตรายชุมชน

ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( )

1. หากหนวยงานขนสงของเสียอันตรายไปยังสถานที่กําจัด/รีไซเคิลเอง กรุณาตอบขนสงเอง

2. หากหนวยงานของทานจางเอกชนขนสงของเสียอันตรายไปยังสถานที่กําจัด/รีไซเคิล กรุณาตอบจาง

เอกชนขนสง และโปรดระบุชื่อเอกชนผูรับจางดวย

3. กรุณาระบุจํานวนครั้งตอปที่มีการขนสงของเสียอันตรายไปยังสถานที่กําจัด/รีไซเคิล พรอมทั้ง

คาใชจายในการขนสงและกําจัดตอป

แบตเตอรี่ปฐมภูม ิเปนแบตเตอรี่ที่เมื่อผานการใชแลวไมสามารถนํากลับมาชารจประจุเพื่อกลับมาใชใหมได หรือ

ที่มักเรียกกันวา “ถาน” มีอยูหลายชนิด เชน ถานอัลคาไลน ถานลิเทียม เปนตน แบตเตอรี่แบบนี้มีหลายขนาด

ใชในวิทยุ นาฬิกา เก็บพลังงานไดสูง อายุการใชงานสูง แตเมื่อถูกใชหมดจะกลายเปนขยะมลพิษ

แบตเตอรี่ทุติยภูมิ เปนแบตเตอรี่ที่เมื่อผานการใชแลวสามารถนํากลับมาชารจประจุเพื่อกลับมาใชใหมได เชน

แบตเตอรี่รถยนต แบตเตอรี่มือถือ และถานรุนใหมๆ เปนตน แบตเตอรี่ชนิดอัดกระแสไฟใหมไดหรือ เซลลทุติย

ภูมิ สามารถอัดกระแสไฟใหมไดหลังจากไฟหมดเนื่องจากสารเคมีที่ใชทําแบตเตอรี่ชนิดนี้สามารถทําใหกลับไปอยู

ในสภาพเดิมไดโดยการอัดกระแสไฟเขาไปใหมซึ่งอุปกรณที่ใชอัดไฟน้ีเรียกวา ชารเจอร หรือ รีชารเจอร

Page 59: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

57

ขอ 7.8 สถานที่รับกําจัด/รีไซเคิลของเสียอันตรายจากชุมชน

ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง ( ) วาองคกรปกครองสวนทองถิ่นของทาน

ดําเนินการนําของเสียอันตรายจากชุมชน ( หลอดไฟ แบตเตอรี่แหงปฐมภูมิ แบตเตอรี่แหงทุติยภูมิ กระปอง

สเปรย หรือ ของเสียอันตรายอื่น ๆ ) ไปกําจัด หรือรีไซเคิลอยางไร

1. การรีไซเคิล ขอใหระบุสถานที่รับรีไซเคิลของเสียอันตรายจากชุมชน โดยระบุชื่อบริษัท และสถาน

ที่ตั้ง

2. การกําจัดของเสียอันตรายจากชุมชนขอใหระบุวิธีในการกําจัดของเสียอันตรายจากชุมชน วา

ดําเนินการอยางไร เชน ฝงกลบแบบปลอดภัย เผาดวยเตาเผาของเสียอันตราย พรอมทั้งระบุหนวยงานที่รับ

กําจัด พรอมทั้งสถานที่ตั้ง

Page 60: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

58

สวนที่ 8

ขอมูลการจดัการ

มูลฝอยติดเชื้อ

Page 61: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

59

สวนที่ 8 ขอมูลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

จะเปนการรวบรวมขอมูลดานสถานบริการสาธารณสุข หองปฏิบัติการ ถึงจํานวนแหลง รวมทั้ง

ปริมาณ หรืออัตราการเกิดมูลฝอยคิดเชื้อ กิโลกรัมตอหนวยตอวันรวมทั้งขอมูลดานการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

ซึ่ง อปท. จะตองดําเนินการ

มูลฝอยติดเชื้อ (Infectious Waste)” หมายถึง มูลฝอยที่มีแหลงกําเนิดมาจากสถานีอนามัย โรงพยาบาล

และสถานพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชน โดยมูลฝอยเหลานี้จะมีเชื้อโรคปะปนอยูในปริมาณหรอืความเขมขนซึง่

ถามีการสัมผัสหรือใกลชิดแลวสามารถทําใหเกิดโรคได เชน มูลฝอยที่มีการปนเปอนจากสิ่งขับถายหรือเลือด

ของมนุษยและสัตว มูลฝอยที่มีเชื้อโรคอันตรายปะปนอยู เข็มฉีดยาใชแลว และเครื่องมือแพทยใชแลว เปนตน

ตัวอยางเชน - มูลฝอยที่เปนของเหลวหรือสารคัดหลั่ง เชน เลือด สวนประกอบของเลือด ปสสาวะ น้ําไขสันหลัง เสมหะ และสาร

คัดหลั่งตางๆ

- มูลฝอยที่เปนอวัยวะหรือชิ้นสวนอวัยวะ เชน ชิ้นเน้ือ เนื้อเยื่อ อวัยวะที่ไดจากการทําหัตถการตางๆขยะจากทาง

หองปฏิบัติการ การตรวจศพ ซากสัตวทดลอง รวมทั้งวัสดุที่สัมผัสระหวางการทําหัตถการและการตรวจนั้นๆ

- มูลฝอยของมีคมติดเชื้อที่ใชแลว เชน เข็ม สวนปลายแหลมคมของชุดใหสารทางหลอดเลือดหรือชุดใหเลือดและ

ผลิตภัณฑของเลือด ใบมีด หลอดแกว กระบอกฉีดยาชนิดแกว สไลดแผนกระจกปดสไลด และเครื่องมือที่แหลมคมตางๆที่

ใชกับผูปวยแลว

- มูลฝอยจากกระบวนการเก็บและเพาะเช้ือ เชน เชื้อ อาหารเลี้ยงเชื้อ จากเลี้ยงเชื้อ วัสดุอื่นและเครื่องมือที่ใชเพาะ

เชื้อแลว

- มูลฝอยที่เปนวัคซีน ทําจากเชื้อโรคที่มีชีวิตและภาชนะบรรจุ เชน วัคซีนปองกันวัณโรค โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน

คางทูม อีสุกอีใส ไขรากสาดนอยชนิดกิน เปนตน

Page 62: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

60

ขอ 8.1 จํานวนสถานพยาบาล/หองปฏิบัติการ และปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นตอวัน

ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง และใสจํานวนสถานบริการดาน

สาธารณสุขประเภทตางๆทั้ง 5 ประเภท ไดแก โรงพยาบาล คลินิก สถานีอนามัย/โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพ

ตําบล สถานพยาบาลสัตว หองปฏิบัติการเชื้ออันตราย รวมทั้งปริมาณมูลฝอยติดเชื้อจากสถานบริการดาน

สาธารณสุขประเภทตาง ๆ ทั้ง 5 ประเภทขางตน โดยมีหนวยเปนกิโลกรัมตอวัน ทั้งนี้ผูดําเนินการกรอกขอมูล

สามารถเก็บขอมูลโดยใชตารางในภาคผนวกที่ 11 เก็บขอมูลได

โรงพยาบาล หรือ สถานพยาบาล หรือ ศูนยการแพทย เปนสถานที่สําหรบัใหบริการดานสุขภาพใหกับผูปวย

โดยมักทีจ่ะมุงเนนการสงเสรมิ ปองกัน รักษา และฟนฟูภาวะความเจ็บปวย หรือโรคตางๆ ทั้งทางรางกายและ

ทางจิตใจ

คลินิค คือ สถานพยาบาลที่เล็กกวาโรงพยาบาล มกัจะไมมีการอยูคางคืน

สถานีอนามัย คือสถานบริการทางสาธารณสุขเปนหนวยงานที่อยูภายใตกระทรวงสาธารณสุข สังกัดสํานักงาน

สาธารณสุขจงัหวัด และสํานักงานสาธารณสุขอําเภอ ซึ่งใหบริการดานการรกัษาพยาบาล งานควบคุมปองกัน

โรค งานสงเสริมสุขภาพ ที่เกี่ยวของกับประชาชนในเขตรบัผดิชอบ ตั้งแตเกิดจนตาย เดิมเรียกวา สุขศาลา มา

เปลี่ยนเปน สถานีอนามัย และปจจุบัน เปลี่ยนเปน ศูนยสุขภาพชุมชน ตําบลๆ หนึ่งจะมจีํานวนสถานีอนามัย

ประมาณ 1-2 แหง

โรงพยาบาลสงเสริมสขุภาพตําบล เปนสถานพยาบาลประจําตําบลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือองคกร

ปกครองสวนทองถิ่น มีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary Care) ไดรับการยกฐานะจากสถานีอนามัย

หรือศูนยสุขภาพชุมชน ตามนโยบาลของรัฐบาลรัฐบาลของนายกรัฐมนตรีอภิสทิธิ์ เวชชาชีวะ เมื่อป พ.ศ. 2552

ซึ่งไดจัดสรรงบประมาณภายใต แผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง 2555 เพื่อยกระดับสถานีอนามัย หรือศูนยสุขภาพ

ชุมชนใหเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

สถานพยาบาลสัตว คือ สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะ ซึ่งจัดไวเพื่อการบําบัดโรคสัตวตามกฎหมายวาดวย

การควบคุมการบําบัดโรคสัตวโดยกระทําเปนปกต ิธุระไมวาจะไดรับประโยชนตอบแทนหรอืไม แตไมรวมถึง

สถานที่ขายยาตามกฎหมายวาดวยยาซึ่งประกอบธรุกิจการขายยาโดยเฉพาะ

หองปฏิบัติการเชื้ออันตราย อาจรวมไปถึง หองปฏิบัตกิารสาํหรับตรวจสิ่งสงตรวจ (Specimens) ของผูเขามา

รับบริการตรวจทางสุขภาพ เพื่อใหไดขอมลูตาง ๆ เกีย่วกับสขุภาพรางกาย สําหรับประเทศไทย หองปฏิบัติการ

ทางการแพทย อาจจะมีชื่อเรียกไดหลายแบบ ไดแก หองปฏิบัติการทางเทคนิคการแพทย หองปฏิบัติการพยาธิ

วิทยาคลินิค และหองปฏิบัติการเวชศาสตรชันสูตร เปนตน

Page 63: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

61

ขอ 8.2 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

ขอใหผูดําเนินการกรอกขอมูลทําเครื่องหมาย √ ลงในชอง วาองคกรปกครองสวนทองถิน่ของทานมี

การจัดการมูลฝอยติดเชื้ออยางไร และใหทานระบุ ช่ือ และ สถานที่ ที่นํามูลฝอยติดเช้ือไปกําจัดดวย

--------------------------- --------ขอขอบพระคณุที่ใหความรวมมือ-------------- ----------------------------

Page 64: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

62

ภาคผนวก

Page 65: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

63

ภาคผนวกที่ 1

Page 66: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

64

การศึกษาปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด

การศึกษาปริมาณขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด องคกรปกครองสวนทองถิ่นผูดําเนินการศึกษาถึง

ปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ซึ่งสามารถนําผลจากการศึกษาในครั้งนี้ ไดแก ปริมาณขยะมูลฝอย อัตราการเกิด

ขยะมูลฝอย รอยละของขยะมูลฝอยที่แยกเพื่อใชประโยชน และองคประกอบของขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด

โดยผูศึกษาจะตองทําการเก็บขอมูลเกี่ยวกับปริมาณการเกิดของขยะมูลฝอยจากแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย

ทุกชนิดในพื้นที่ ซึ่งอาจทําไดโดยการชักตัวอยางดวยวิธีการทางสถิติ เพื่อใหไดตัวอยางที่สามารถเปนตัวแทน

แหลงกําเนิดขยะมูลฝอยตาง ๆ เหลานั้น โดยทั่วไปแลวแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยที่สําคัญ ไดแก อาคารที่พัก

อาศัย รานคา อาคารพาณิชย ภัตตาคาร รานอาหาร สถานศึกษา สถานที่ทํางาน โรงแรม ตลาดสด

สถานพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน จะเห็นไดวาหากตองการใหการศึกษาดวยวิธีนี้บรรลุผลตาม

วัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ และมีความถูกตองนาเชื่อถือนั้น จะตองใชเวลา คาใชจาย กําลังคน ความ

รวมมือจากชุมชน และความรูความเขาใจในวิธีการและขั้นตอนของการศึกษาเปนอยางมาก

ทั้งนี้ผลที่ไดจากการศึกษาน้ีจะแสงดให อปท. ไดทราบถึงขอมูลขยะมูลฝอยพื้นฐานที่เกิดขึน้ในพืน้ที ่ซึง่

หาก อปท. ดําเนินการศึกษาขอมูลปริมาณ องคประกอบ และรอยละของขยะมูลฝอยที่แยกเพื่อใชประโยชน ใน

กระบวนการเก็บขน และกระบวนการกําจัดขยะมูลฝอยได จะทําให อปท. เจาของพื้นที่ทราบถึงการไหลของ

ขยะมูลฝอยในพื้นที่ของตนเองได ซึ่งจะนําไปสูการนําขอมูลขยะมูลฝอยที่ไดนี้ไปใชในการวางแผนการบริหาร

จัดการไดอยางถูกตองและเหมาะสมตอไป

1. ผูรับผิดชอบในการศึกษา

องคกรปกครองสวนทองถิ่นผูรบัผิดชอบในพื้นที ่

ประชาชน หรือกลุมตัวอยางในการศึกษา

ผูประกอบการ

หนวยงานภาครัฐในพื้นที ่

สถานศึกษาอาจารย และนักเรียนในพื้นที ่

2. กระบวนการศึกษา

2.1 การหาจํานวนแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย ทั้งนี้สามารถใชขอมูลแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยไดจากขอ

1.8 โดย อปท. ทําการศึกษาจะตองทําการรวบรวม และจําแนกแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยใหชัดเจน เพื่อนําไปสู

การศึกษาในขั้นตอนตอไป

2.2 การสุมตัวอยางเพื่อดําเนินการศึกษา เนื่องจากในบางพื้นที่หรือบาง อปท. จะมีจํานวนของ

แหลงกําเนิดขยะมูลฝอยบางชนิดเปนจํานวนมาก เชน อปท. ลักษณะเมือง จะมีจํานวนของครัวเรือน จํานวนที่

พักอาศัย และจํานวนของหนวยงานราชการ ซึ่งหากดําเนินการศึกษาปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมด ก็อาจจะทาํให

Page 67: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

65

เสียคาใชจาย จํานวนคน และระยะเวลาเปนยางมาก ดังนั้นการการเลือกกลุมตัวอยางมาเพื่อดําเนินการศึกษา

แทนจํานวนแหลงทั้งหมด จึงสมควรที่จะตองดําเนินการเปนอยางยิ่ง นอกจากนี้แลวการสุมตัวอยางเพื่อดําเนิน

การศึกษานั้นยังมีประโยชนดังนี้

1. ประหยัดคาใชจาย เวลาและแรงงาน

2. รวบรวมขอมูลไดเร็วและงายกวาการรวบรวมทั้งหมด การติดตามขอมูลจากกลุมตัวอยาง จะ

ทําไดงายกวาการรวบรวมทั้งหมด

3. มีความเชื่อมั่นและแมนยํามากกวา การศึกษาขอมูลจากกลุมที่มีจํานวนนอย จะทําใหผูศึกษา

สามารถเก็บขอมูล ไดอยางถูกตองแมนยํามากกวาขอมูลที่มีขนาดใหญ เชน การติดตาม การแปรผล การ

ควบคุมการทดลอง เปนตน

4. ขอมูลบางอยางผูดําเนินการศึกษาไมสามารถหาไดจากการศึกษาไดจากทุกๆ แหลงกาํเนดิขยะ

มูลฝอย จําเปนตองสุมตัวอยางมาศึกษา แลวสรุปไปยังแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยที่เปนชนิดเดียวกันได

2.2.1 วิธีการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง

ในการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางมีหลายวิธี ดังนี้

1. กําหนดขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชเกณฑ เปนวิธีการที่งายวิธีหนึ่ง โดยที่ผูศึกษาจะตอง

ทราบจํานวนประชากรที่คอนขางแนนอนกอน แลวก็คํานวณหาจํานวนกลุมตัวอยางจากเกณฑดังตอไปนี้

1.1 ประชากรมีจํานวนเปนเลขหลักสิบ ใชกลุมตัวอยาง 50 - 100 %

1.1 ประชากรมีจํานวนเปนเลขหลักรอย ใชกลุมตัวอยาง 15 – 30 %

1.2 ประชากรมีจํานวนเปนเลขหลักพัน ใชกลุมตัวอยาง 10 – 15 %

1.3 ประชากรมีจํานวนเปนเลขหลักหมื่น ใชกลุมตัวอยาง 5 – 10 %

2. การกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง ในกรณีทราบจํานวนประชากรที่แนนอน (Finite

Population) ใชสูตรทาโร ยามาเน (Taro Yamane ,1973 : 125)

สูตร n = N

1 + Ne 2

เมื่อ n แทน ขนาดของกลุมตัวอยาง

N แทน ขนาดของประชากร

e แทน ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยาง

ตัวอยาง จํานวนแหลงกําเนิดขยะมูลฝอย ประเภทครัวเรือน จํานวนที่ตองการศึกษาทั้งหมดเทากับ 4,500

ครัวเรือน และยอมใหเกิดความคลาดเคลื่อนของการสุมรอยละ 5 หรือ 0.05 ขนาดของกลุมตัวอยางที่ใช

คํานวณเทากับกี่หนวย

วิธีทํา เมื่อ N = 4,500 หนวย และ e = 0.05

n = 4,500

1 + 4,500 X (0.05) 2

Page 68: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

66

= 367.35

กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาเทากับ 367 หนวย หรือ 367 ครัวเรือน 2.2.2 การกระจายกลุมตัวอยางเพื่อการศึกษาและการประสานเพื่อเขาทําการศึกษาของแตละกลุมตัวอยาง การดําเนินการในขั้นตอนนี้ เปนการกระจายตัวของกลุมตัวอยางที่ตองการดําเนินการศึกษา เชน กลุมตัวอยาง ครัวเรือน ที่ตองดําเนินการศึกษามีทั้งหมด 300 ครัวเรือน จาก 15 หมูบาน ดังนั้นสามารถกระจายกลุมตัวอยางไดเปน หมูบานละ 20 หลังคาเรือน เพื่อดําเนินการศึกษา ทั้งนี้ผูดําเนินการศึกษาจะตองประสานเจาของของแตละกลุมตัวอยาง เชน เจาบานของแตละครัวเรือน ผูดูแลหรือเจาของตลาด เจาของพรอมทั้งตัวแทน ผูเขาพักของหอพักนั้น ๆ เปนตน เพื่อทําการซักซอมหรือขอความรวมมือในการดําเนินการศึกษาปริมาณขยะ และการศึกษาอัตราการเกิดขยะมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด เนื่องจากการคาดการณปริมาณขยะมูลฝอยของครัวเรือนอื่น ๆ ในแตละประเภทของแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยนั้น จะตองใชอัตราการเกิดขยะมูลฝอยของแหลงกําเนิดนั้น ๆ เปนตัวคูณ 2.3 การใหความรูดานการเก็บขอมูลเพื่อการศึกษา โดยผูดําเนินการศึกษาจะตองใหความรูกับกลุมตัวอยาง เพื่อใหดําเนินการทิ้งขยะมูลฝอยไดอยางถูกตองและเหมาะสม 2.4 การกําหนดชวงเวลาในการศึกษาที่เหมาะสม ทั้งนี้เพื่อใหทราบถึงความแปรผันของปริมาณขยะมูลฝอยในแตละชวงระยะเวลาดวย 2.5 การเก็บตัวอยางขยะมูลฝอยที่เกิดจากกลุมตัวอยางที่ไดดําเนินการคัดเลือกเอาไว ซึ่งในการนี้จะตองไดใชอุปกรณที่เหมาะสม การใหความรูกับเจาของกลุมตัวอยาง ความรวมมือของกลุมตัวอยาง และการติดตามขอมูลอยางเหมาะสม และการประชาสัมพันธที่ดี เพื่อใหไดความรวมมือของกลุมตัวอยาง และที่ขาดไมได คือการดําเนินงานที่ถูกตองตามหลักวิชาการของกลุมตัวอยาง เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลที่มีคุณภาพ 2.5.1 การสุมเก็บตัวอยาง ตองดําเนินการแจกภาชนะที่เหมาะสมในการเก็บขยะมูลฝอย ทั้งนี้เพื่อใหเปนไปตามการแบงประเภทของขยะมูลฝอยออกเปน 4 ประเภทไดแก ขยะอินทรีย ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ทั้งนี้ผูดําเนินการศึกษาอาจประสานเพื่อสอบถามกลุมตัวอยางถึงชนิดหรือประเภทของขยะมูลฝอยที่กลุมตัวอยางจะแยกออกเพื่อใชประโยชนหรือนําไปขาย ซึ่งจะทราบถึงปริมาณขยะมูลฝอยที่คาดวาจะทิ้งและจะใชประโยชนหรือจะขายตอไป

อินทรีย

3 KG

รีไซเคิล

1 KG อันตราย

0.3 KG

ทั่วไป

0.7 KG

ทิ้ง

4.3 KG

ขาย/ใช

ประโยชน

0.7 KG

Page 69: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

67

2.5.2 การเก็บขอมูลพื้นฐานของกลุมตัวอยาง ผูดําเนินการศึกษาจะตองทําการเก็บขอมูล

พื้นฐานผานการสอบถามและบันทึกขอมูลขอมูลประชากรของแตละแหลงที่ดําเนินการศึกษาหรือทําการเก็บ

ตัวอยางนั้นๆ เชน จํานวนผูอยูอาศัยในครัวเรือน จํานวนที่นั่งในรานอาหาร จํานวนหองพักของโรงแรม หรือ

จํานวนแผงของตลาดสด เปนตน

2.5.3 การวิเคราะหตัวอยาง ทั้งปริมาณ และองคประกอบทางกายภาพของขยะมูลฝอย โดย

การวิเคราะหดานปริมาณสามารถดําเนินการไดโดยการชั่งน้ําหนัก โดยผูทําการศึกษาจะตองดําเนินการชั่ง

น้ําหนักขยะโดยใชเครื่องชั่งขนาดเหมาะสมที่สามารถช่ังปริมาณขยะมูลฝอยได หากตองการขอมูลที่แนนอนให

ดําเนินการเก็บขอมูลอยางตอเนื่อง 7 วันขึ้นไป แตหากไมมีเวลาจะตองชั่งอยางนอย 4-5 วัน โดยใหครอบคลุม

ทั้งขยะที่ผลิตในวันหยุดและวันปกติ การวิเคราะหองคประกอบทางกายภาพของขยะมูลฝอย

Page 70: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

68

Page 71: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

69

ภาคผนวกที่ 2

Page 72: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

70

การศึกษาองคประกอบขยะมูลฝอย

1. ลักษณะและองคประกอบของมูลฝอย

ลักษณะมูลฝอยที่นิยมทําการวิเคราะหเพื่อใหเปนขอมูลในการวางแผน ไดแก

ลักษณะทางกายภาพ ไดแก องคประกอบทางกายภาพ เชน เศษอาหาร กระดาษ แกว ฯลฯ และ

ความหนาแนน

ลักษณะทางเคมี ไดแก ความชื้น ปริมาณสารที่เผาไหมได ปริมาณเถา และคาความรอน เปนตน

ทั้งนี้ กรมควบคุมมลพิษ ไดแบงประเภทของมูลฝอยออกเปน 4 ประเภทใหญๆ เพื่อใหงายตอการ

จําแนกประเภทของมูลฝอย โดยมูลฝอยที่ทั้ง 4 ประเภท ไดแก

1) มูลฝอยยอยสลาย คือ มูลฝอยที่เนาเสียและยอยสลายไดเร็ว สามารถนํามาหมักทําปุยได เชน เศษผัก

เปลือกผลไม เศษอาหาร ใบไม เศษเนื้อสัตว เปนตน แตไมรวมถึงซากหรือเศษของพืช ผัก ผลไม หรือสัตวที่เกิดจาก

การทดลองในหองปฏิบัติการ เปนตน

2) มูลฝอยที่นํามารีไซเคิลได หรือ มูลฝอยที่ยังใชได คือ ของเสียบรรจุภัณฑ หรือวัสดุเหลือใช ซึ่งสามารถ

นํากลับมาใชประโยชนใหมได เชน แกว กระดาษ กระปองเครื่องดื่ม เศษพลาสติก เศษโลหะ อลูมิเนียม ยางรถยนต

กลองเครื่องดื่มแบบ UHT เปนตน

3) มูลฝอยทั่วไป คือ มูลฝอยประเภทอื่นนอกเหนือจากมูลฝอยยอยสลาย มูลฝอยที่นํามารีไซเคิลได และมูล

ฝอยอันตราย มีลักษณะที่ยอยสลายยากและไมคุมคาสําหรับการนํากลับมาใชประโยชนใหม เชน หอพลาสติกใสขนม

ถุงพลาสติกบรรจุผงซักฟอก พลาสติกหอลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสําเร็จรูป ถุงพลาสติกเปอนเศษอาหาร โฟมเปอนอาหาร

ฟอลยเปอนอาหาร ซองหรือถุงพลาสติกสําหรับบรรจุเครื่องอุปโภคดวยวิธีรีด ความรอน เปนตน

4) มูลฝอยอันตราย คือ มูลฝอยที่ปนเปอน หรือมีองคประกอบของวัตถุดังตอไปนี้

(1) วัตถุระเบิดได

(2) วัตถุไวไฟ

(3) วัตถุออกไซดและวัตถุเปอรออกไซด

(4) วัตถุมีพิษ

(5) วัตถุที่ทําใหเกิดโรค

(6) วัตถุกัมมันตรังสี

(7) วัตถุที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

(8) วัตถุกัดกรอน

(9) วัตถุที่กอใหเกิดการระคายเคือง

Page 73: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

71

(10) วัตถุอยางอื่นที่อาจกอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมหรืออาจทําใหเกิดอันตราย

แกบุคคลสัตว พืช หรือทรัพย เชน หลอดฟลูออเรสเซนต ถานไฟฉายหรือแบตเตอรี่

โทรศัพทเคลื่อนที่ ภาชนะที่ใชบรรจุสารกําจัดแมลงหรือวัชพืช กระปองสเปรยบรรจุสี หรือสารเคมี

เปนตน

2. การวิเคราะหองคประกอบของมูลฝอย (Composition analysis) การวิเคราะหองคประกอบมูลฝอยเปนการหาคาของพารามิเตอรที่เกี่ยวของกับมูลฝอยเพื่อนําคาที่ไดไป

ศึกษาหาแนวทางในการจัดการที่เหมาะสม อาทิ การหาองคประกอบทางกายภาพของมูลฝอยเพื่อนํากลับมาใชใหม

สวนองคประกอบทางเคมีจะนําไปใชในการวางแผนการกําจัดมูลฝอย เชน การเผา การหมักทําปุยหรือการฝงกลบเพื่อ

ผลิตกาซชีวภาพ เปนตน ดังนั้น ในการวิเคราะหองคประกอบของมูลฝอยจึงตองทําดวยวิธีการที่ถูกตองและเปน

มาตรฐาน เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง แมนยํา มีความนาเชื่อถือสูงและผูใชมีความมั่นใจในการนําไปใช

2.1 การวิเคราะหลักษณะทางกายภาพของตัวอยางมูลฝอย

1) ความหนาแนนปกติ (Bulk density)

ความหนาแนนปกติ หมายถึง คาความหนาแนนของมูลฝอยในภาชนะเก็บรวบรวมมูลฝอย ซึ่ง

ตามปกติจะมีการอัดใหแนนเพียงเล็กนอยเทานั้น

อุปกรณ

ก) ภาชนะตวงมูลฝอยความจุไมต่ํากวา 50 ลิตร

ข) เครื่องชั่งน้ําหนัก

ค) อุปกรณสําหรับคลุกเคลามลูฝอย เชน พลั่ว จอบ ฯลฯ

วิธีการ

นํามูลฝอยสดที่ทําการสุมตัวอยางแลวมาตวงดวยภาชนะตวงมูลฝอย ยกภาชนะตวงมูลฝอย

สูงจากพื้นประมาณ 30 เซนติเมตร แลวปลอยใหกระแทกกับพื้น 3 ครั้ง หากปริมาณของมูลฝอยในถังตวงลดลงต่ํากวา

ระดับที่ใชวัดปริมาตร ใหเติมมูลฝอยเพิ่มลงไปจนไดระดับ นําภาชนะตวงมูลฝอยที่บรรจุมูลฝอยดังกลาวชั่งน้ําหนัก เพื่อ

นําไปใชในการคํานวณคาความหนาแนน ทดลองหาคาความหนาแนนหลายๆ ครั้ง แลวนําคาที่ไดมาเฉลี่ยเปนคาความ

หนาแนนปกติ

การคํานวณ

จากผลการทดลองขางตน สามารถนํามาคํานวณความหนาแนนปกติได โดยใชสูตร

D = W1 - W2

V

Page 74: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

72

เมื่อ D = ความหนาแนนปกติ (Bulk density)

W1 = น้ําหนักมลูฝอยสด และน้ําหนักภาชนะตวงมลูฝอย

W2 = น้ําหนักภาชนะตวงมูลฝอย

V = ปริมาตรภาชนะตวงมูลฝอย

2) องคประกอบทางกายภาพของมูลฝอย (Composition)

องคประกอบทางกายภาพของมูลฝอยที่จะทําการวิเคราะห จะแบงประเภทออกอยาง

ละเอียด เพื่อใหมีผลตอการวางแผนจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีรายละเอียดดังนี้

2.1) เศษอาหาร

2.2) กระดาษ

- กระดาษขาว A4

- กระดาษหนังสือพิมพ

- หนังสือ/นิตยสาร/กระดาษแข็ง เชน แผงขนม

- กระดาษคราฟ (ลูกฟูกน้ําตาล)

- กระดาษกลองนม/น้ําผลไม

2.3) พลาสตกิ

- HDPE (ขวดน้ําขาวขุน ขวดนม ถุงชอปปง ขวดน้ํามันเครื่อง ลัง ขวดแชมพู)

- LDPE (ถุงซิป หลอดเครื่องสําอาง ถุงเย็น จุกในขวดน้ําเกลือ)

- PVC พลาสติกที่กนเชื่อมเปนขีด (ขวดน้ําดื่มใส ขวดน้ํามันพืช ขวดน้ําผลไม

กลองใสใสของหวาน)

- PS (กลองใส ของเลน ถาดใสอาหาร ถวยไอศกรีม ไมบรรทัด)

- EPS (กลองโฟมใสอาหาร โฟมกันกระเทือน)

- PET พลาสติกที่กนเชื่อมรวมเปนจุดตรงกลาง (ขวดน้ําอัดลม ขวดน้ํามันพืช

น้ําปลา น้ําด่ืม ดามแปรงสีฟน ตลับยา)

- PP (ฝาภาชนะ ถุงรอน กระบอกเข็มฉีดยา หลอดกาแฟ ถวยพลาสติกรอน)

2.4) แกว

- แกวสีขาว

- แกวสีชา

- แกวสีเขียว

2.5) โลหะ

- อะลูมิเนียม (กระปองโคก เปปซี่ เบียร)/ถุงขนมฟอลย

- เหล็ก (กระปองนม ผลไมกระปอง อาหารกระปอง)

Page 75: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

73

- สังกะสีเคลือบ

- ทองแดง (สายไฟ) ทองเหลือง

- ตะกั่ว

- อื่นๆ

2.6) ยาง

2.7 ) หนัง

2.8 ) ผา

2.9) ไม

2.10) มูลฝอยอันตรายจากชุมชน เชน ถานไฟฉาย/ถานโทรศัพท แบตเตอรี่ กระปอง

บรรจสุารเคมี (สเปรย) หลอดไฟฟา

2.11) อื่นๆ เชน ผาอนามัย ผาออมสําเรจ็รูป กระดาษทิชชู

อุปกรณ

ก) เครื่องชั่งน้ําหนักอยางหยาบและอยางละเอียด

ข) ถุงมือยาง

ค) ถุงพลาสติกบรรจุตัวอยาง

ง) ผาใบ/ผายาง ปูพื้น

จ) หนากากกันฝุน

ฉ) รองเทาบูท

การคํานวณ

Cx = Wx x 100

WT

เมื่อ Cx = สัดสวนรอยละขององคประกอบตัวอยาง X

Wx = น้ําหนักตัวอยาง X

WT = น้ําหนักของตัวอยางรวม

Page 76: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

74

2.2 สําหรับการสํารวจองคประกอบมูลฝอย ณ แหลงกําเนิด จะแตกตางไปจากสถานที่กําจัดเพียงจํานวน

ครั้งที่สุมตัวอยางตอวัน เพราะปริมาณมูลฝอยที่สุมตัวอยางไมมากเหมือนสถานที่กําจัด การเลือกเวลาในการสุมคือ

เวลาที่แหลงกําเนิดนํามูลฝอยมาทิ้งใหกับเทศบาลนําไปกําจัด ดังนั้น การสุมตัวอยางวันละครั้งก็เพียงพอ สวนจํานวน

ตัวอยางควรพิจารณาจากปริมาณมูลฝอยโดยทั่วไปควรเปน 1 ตัวอยางตอครั้ง แตถาบริเวณนั้นมีปริมาณมูลฝอยตั้งแต

5 ตัน ควรสุมจํานวน 2 ตัวอยางตอครั้ง และหากเปนแหลงกําเนิดที่มีมูลฝอยปริมาณมากตั้งแต 10 ตันขึ้นไป ควรสุม

ตัวอยางจํานวน 3 – 4 ตัวอยางตอครั้ง หรือแลวแตความเหมาะสม และตองทําการสํารวจใหครบวันในรอบสัปดาห

จํานวน 5 – 7 วัน ที่ครอบคลุมวันทําการและวันหยุดสุดสัปดาห

2.3 สําหรับการสํารวจองคประกอบมูลฝอย ณ สถานที่กําจัด เพื่อนําผลมาใชในการออกแบบ นิยมทําการ

สํารวจองคประกอบตลอดสัปดาห กลาวคือ 5 – 7 วันตอเนื่อง ทั้งนี้หากสํารวจไมครบทั้ง 7 วัน ใหทําการสํารวจ

ครอบคลุมทั้งวันทําการและวันหยุดสุดสัปดาห และในแตละวันควรทําการสํารวจไมนอยกวา 2 ครั้ง กลาวคือ อาจจะ

ทําตอนเชา 2 ตัวอยางแลวเฉลี่ยเปนครั้งที่ 1 และ ตอนบาย 2 ตัวอยางแลวเฉลี่ยเปนครั้งที่ 2 หลังจากทําการสํารวจ

แตละวันแลวนําขอมูลที่ไดมาหาคาเฉลี่ยองคประกอบตลอดสัปดาห หากมีปริมาณมูลฝอยจํานวนมากตั้งแต 50 ตัน

ตอวัน ควรทําการสุมตัวอยางอยางนอย 3 ตัวอยางตอครั้ง และถามูลฝอยเปน 100 ตันตอวัน ควรเก็บตัวอยางอยาง

นอย 5 ตัวอยางตอครั้ง หรือแลวแตผูทําการสํารวจเห็นเหมาะสม

3. กระบวนการวิเคราะหองคประกอบขยะมูลฝอย

รูปที่ .. ลักษณะการกองมูลฝอยใหเปนรูปกรวย

กอนที่จะแบงมูลฝอยออกเปน 4 สวน

พื้น

มูลฝอย

Page 77: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

75

รูปที่ .. การแบงมูลฝอยออกเปน 4 สวน (Quartering)

และเลือกสุมเอามา 2 สวน ที่อยูตรงขามกัน

1. สุมตัวอยางมูลฝอยจากกองมลูฝอยรวมประมาณ 1-2 ลูกบาศกเมตร

2. ตัดมูลฝอยท่ีมีขนาดใหญใหมีขนาดเล็กลง

3. คลุกมูลฝอยใหเขากัน

4. แบงมูลฝอยออกเปน 4 สวน (Quartering)

5. เลือกมูลฝอย 2 กองท่ีอยูดานตรงขามมารวมกัน ที่เหลือทิ้งออกนอกกอง

เลือก

เลือก

Page 78: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

76

รูปที่ ขั้นตอนการวิเคราะหองคประกอบมูลฝอยทางกายภาพ

ที่มา เอกสารการบรรยาย (สสภ.3) และวิศวกรรมการกําจัดมูลฝอย ธเรศ (2554)

6. นํามูลฝอยกองที่เลือกมาคลุก ผสมกันใหม

7. แบงมูลฝอยออกเปน 4 สวน (Quatering)

8. เลือกมูลฝอย 2 กอง โดยเปนคนละดานกับที่เลือกในครั้งท่ีผานมา

9. ทําซ้าํขั้นตอนที่ 6-8 ไปเรื่อยๆ จนเหลือมูลฝอยประมาณ 50 ลิตร

10. ทําการคัดแยกองคประกอบของมูลฝอยทางกายภาพ

Page 79: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

77

รูปที่... การวิเคราะหองคประกอบทางกายภาพของมูลฝอย

ที่มา: สสภ. 3

Page 80: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

78

ตารางท่ี ตัวอยางแบบบันทึกผลการคัดแยกมูลฝอยทางกายภาพ

ผูเก็บขอมูล……………………………………………………

สถานที่เก็บขอมูล……………………………………………………………………………………………………………………….

ประเภทของตัวอยาง ( ) ครัวเรือน ( ) โรงแรม ( ) ตลาด ( ) โรงพยาบาล ( ) สถานศึกษา

( ) สถานที่กําจัดขยะมูลฝอย ( ) อ่ืนๆ ทั้งน้ีขอใหยึดตามแหลงกําเนิดขยะมลูฝอย

สวนที่ 1 ความหนาแนนปกติ (Bulk Density) วันที่สุมตัวอยาง นน.ขยะรวมถัง นน.ถัง(กก.) นน.ขยะ(กก.) ปริมาตรถัง(ลิตร) ความหนาแนน

(กก./ลบ.ม.)

วันที่ 1

วันที่ 2

วันที่ 3

วันที่ 4

วันที่ 5

เฉลี่ย

สวนที่ 2 องคประกอบมูลฝอย (หนวย : รอยละโดยน้ําหนกั) วันทีท่ําการสํารวจ

วันที่ 1 วันที…่…… วันที่ 5

ประเภทของมูลฝอย

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2

เฉลี่ย

1. เศษอาหาร

2. กระดาษ

3. พลาสติก

4. ยาง

5. หนัง

6. ผา

7. ไม

8. แกว

9.โลหะ

10. หิน กระเบื้อง

11. อื่นๆ

12. มูลฝอยอันตราย

ที่มา: สสภ. 3

Page 81: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

79

การคํานวณองคประกอบมูลฝอย จะคํานวณโดยใชสูตรดังตอไปนี้ คือ

Ci = Wi X 100/W

เมื่อ Ci = รอยละขององคประกอบของมูลฝอยแตละชนิด

Wi = นํ้าหนักมูลฝอยแตละชนิดหรือแตละองคประกอบ

W = น้ําหนักตัวอยางมูลฝอยทั้งหมด

I = 1,2,3,….,n หมายถึง องคประกอบแตละประเภท

การสุมองคประกอบของมูลฝอย ควรทําอยางนอย 2-3 ตัวอยาง เพื่อใหไดคาที่ถูกตองกวาการทําการ

คัดแยกเพียงตัวเดียว จากนั้นนํามาหาคาเฉลี่ยเปนคาเดียว

Page 82: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

80

ภาคผนวกที่ 3

Page 83: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

81

ตารางคาใชจายในการเก็บขนขยะมูลฝอย

เดือน/ป คาจาง

พนักงาน

(บาท/เดือน)

คานํ้ามัน

เชื้อเพลิง

(บาท/เดือน)

คาบํารุงรักษา

(บาท/เดือน)

อื่นๆ

(บาท/เดือน)

รวม

(บาท/เดือน)

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

รวม

รวมท้ังหมด (บาท/ป)

Page 84: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

82

ภาคผนวกที่ 4

Page 85: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

83

ตารางการเก็บขอมูลกิจกรรมการลดและใชประโยชนจากขยะมลูฝอย (ภาคผนวกท่ี 4)

การใชประโยชนจากขยะอินทรีย

ปุยหมกั จํานวน....................แหง รวมปริมาณขยะอินทรียทั้งหมด.................กิโลกรัมตอวัน

สถานที ่

ปริมาณขยะ

อินทรียที่ใช

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

น้ําหมัก จํานวน....................แหง รวมปริมาณขยะอินทรียทั้งหมด.................กิโลกรัมตอวัน

สถานที ่

ปริมาณขยะ

อินทรียที่ใช

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

อื่นๆ (เลี้ยงสัตว กาซชีวภาพ เลี้ยงไสเดือน โปรดระบุ) จํานวน..................แหง รวมปริมาณ

ขยะอินทรียทัง้หมด.................กโิลกรัมตอวัน

สถานที ่

ปริมาณขยะ

อินทรียที่ใช

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

รวมปริมาณการใชประโยชนจากขยะอินทรียทัง้หมด ...................................กิโลกรัมตอวัน

Page 86: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

84

การใชประโยชนจากวัสดุรีไซเคิล

ศูนยวัสดุรีไซเคิล จํานวน....................แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทัง้หมด.................กิโลกรัม

ตอวัน

สถานที ่

ปริมาณการนํา

กลับมาใช

ประโยชน

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

ธนาคมรขยะ จํานวน....................แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทัง้หมด.................กิโลกรัม

ตอวัน

สถานที ่

ปริมาณการนํา

กลับมาใช

ประโยชน

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

สิ่งประดษิฐจากวัสดเุหลือใช จํานวน..................แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทัง้หมด.................กิโลกรัม

ตอวัน

สถานที ่

ปริมาณการนํา

กลับมาใช

ประโยชน

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

Page 87: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

85

ขยะแลกไข/สิ่งของ จํานวน....................แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทั้งหมด.................กิโลกรัมตอวัน

สถานที ่

ปริมาณการนํา

กลับมาใช

ประโยชน

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

ผาปารีไซเคิล จํานวน....................แหง รวมปริมาณวัสดุรีไซเคิลทัง้หมด.................กิโลกรัมตอวัน

สถานที ่

ปริมาณการนํา

กลับมาใช

ประโยชน

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

อื่นๆ (ตลาดนัดรีไซเคิล รานศูนยบาท โปรดระบุ) จาํนวน..................แหง รวมปริมาณขยะอินทรีย

ทั้งหมด.................กิโลกรัมตอวัน

สถานที ่

ปริมาณการนํา

กลับมาใช

ประโยชน

(กิโลกรัม/วัน)

ระยะเวลา

ดําเนินงาน

(วัน)

ผูดําเนินกิจกรรม

(ชื่อ - ที่อยู) หมายเหตุ

1.

2.

3.

4.

รวมปริมาณการใชประโยชนจากวัสดุรไีซเคิลทั้งหมด ...................................กิโลกรัมตอวัน

Page 88: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

86

ภาคผนวกที่ 5

Page 89: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

87

ตารางปริมาณขยะมูลฝอยท่ีนํามากาํจัดยังสถานที่กําจัดขยะมูลฝอย แยกเปน ภายในเขตเทศบาล และ

ภายนอกเขตเทศบาล

ปริมาณขยะ

ตัน/ป

เดือน/ป

ปริมาณขยะที่ชั่ง

ทั้งหมด

(ตัน/เดือน) ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล รวม

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

รวม

รวมท้ังหมด (ตันตอป)

เฉลี่ยตอวัน (ตันตอวัน)

Page 90: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

88

ภาคผนวกที่ 6

Page 91: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

89

ตารางแสดงกรณีที่มีหนวยงานอื่นมารวมกําจัด

ปริมาณขยะที่นํามากาํจัดรวม อปท./เอกชน/อ่ืนๆ

ตันตอวัน ตันตอป

คาธรรมเนียมกําจัด

(บาทตอตัน)

รายไดจากการกาํจัด

(บาท/ป)

Page 92: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

90

ภาคผนวกที่ 7

Page 93: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

91

รายการประเมินสมรรถนะการฝงกลบขยะมูลฝอย

การเทกอง

(Open Dump)

การเทกองที่มีการควบคุม

(Controlled Dump)

การฝงกลบมูลฝอยเชิง

วิศวกรรม

(Engineered Landfill)

การฝงกลบมูลฝอยอยางถูกหลัก

สุขาภิบาล

(Sanitary Landfill) รายการประเมิน

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ความเหมาะสม

ของพื้นที ่

ตามเกณฑ คพ.

การวางแผนในการ

ดําเนนิงานใน

สถานที่กําจัดขยะ

มูลฝอย

* การแบงเฟสการ

ดําเนินงานกําจัด

* ทางเขาพื้นที่

กําจัดแตละระยะ

* การกาํหนดเวลา

เขา-ออกพื้นทีก่ําจดั

ความครบถวนของ

โครงสรางพื้นฐาน

ในสถานที่กําจัดมูล

ฝอย

* อาคารสาํนักงาน

* อาคารและเครื่อง

ชั่งน้ําหนัก

* โรงจอด

เครื่องจักรกลและ

ซอมบํารงุ

* ถนนทางเขา

สามารถใชงานได

ทุกฤดูกาล

* ลานลางรถ

* ระบบกันซึมในบอ

ฝงกลบ

* รั้วรอบพื้นที่/การ

ปองกันการลักลอบ

ทิ้งมูลฝอย

* พื้นที่กันชน

(Buffer Zone)

* บอบาํบัดน้ําเสีย

* มีบอติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพ

น้ําใตดิน

Page 94: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

92

การเทกอง

(Open Dump)

การเทกองที่มีการควบคุม

(Controlled Dump)

การฝงกลบมูลฝอยเชิง

วิศวกรรม

(Engineered Landfill)

การฝงกลบมูลฝอยอยางถูกหลัก

สุขาภิบาล

(Sanitary Landfill) รายการประเมิน

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

* เครื่องจักรกล/

อุปกรณ

* ระบบรวบรวม/

ระบายกาซจากบอ

ฝงกลบ

* ระบบระบาย

น้ําฝนในพื้นที ่

* บานพกัเวรยาม

ชั่วคราว

* ความถูกตองของ

บอติดตาม

ตรวจสอบน้าํใตดิน

ความครบถวนของ

ระบบ

สาธารณูปโภค

* ระบบไฟฟา

* ระบบประปา

* สัญญาณโทรศพัท

* ระบบโทรศพัท/

อินเตอรเน็ต

การบริหารจัดการ

* เจาหนาทีป่ระจํา

สถานที ่

* ผูควบคุมงาน

* การบดอัดมูลฝอย

* มีการกลบทบัมูล

ฝอยดวยวัสดุกลบ

ทับ

* การควบคุมผูคุย

เข่ียมูลฝอย

* การควบคุมมูล

ฝอยที่เขาสูพื้นที ่

* มาตรการปองกัน

การปลิวของมูล

ฝอย

* การปองกันเหตุ

รําคาญ (กลิ่น

แมลงวัน ฯลฯ)

* การจดบันทึกมูล

ฝอยทุกวัน

* มีการกลบดวยดิน

Page 95: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

93

การเทกอง

(Open Dump)

การเทกองที่มีการควบคุม

(Controlled Dump)

การฝงกลบมูลฝอยเชิง

วิศวกรรม

(Engineered Landfill)

การฝงกลบมูลฝอยอยางถูกหลัก

สุขาภิบาล

(Sanitary Landfill) รายการประเมิน

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ผาน มผ รายละเอียด

และรูปถาย

ที่เหมาะสม

* ความพรอมใน

การใชงานของ

เครื่องจักรกล

* ระบบรักษาความ

ปลอดภัย

* การจัดการกาซ

จากบอฝงกลบ/บอ

บําบัดน้าํเสีย

* มาตรการปองกัน

และระงับเหตุ

ฉุกเฉินในพื้นที่

* การจัดการของ

เสียพิเศษ/ของเสีย

อันตรายชุมชน

* การใชประโยชน

จากการจัดการมลู

ฝอย

หมายเหต:ุ 1. หมายถึง สมรรถนะที่ไมจําเปนในการประเมินในหัวขอน้ี

2. รายละเอียดคูมือการประเมินสมรรถนะการดาํเนินงานฝงกลบมูลฝอย สามารถดาวนโหลดไดจาก

http://www.pcd.go.th/public/Publications/print_waste.cfm?task=ManualJunk3PCD

Page 96: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

94

ภาคผนวกที่ 8

Page 97: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

95

ตารางคาใชจายในการกําจัดขยะมูลฝอย

เดือน/ป เงินเดือน คานํ้ามัน

เชื้อเพลิง

คา

บํารุงรักษา

คา

สารเคม ี

คาดิน

กลบ

คานํ้า

+คาไฟ

อื่นๆ รวม

บาท/เดือน บาท/เดือน บาท/เดือน บาท/เดือน บาท/เดือน บาท/เดือน บาท/

เดือน

บาท/เดือน

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

รวม

รวมท้ังหมด (บาท/ป)

เฉลี่ยตอตัน (บาท/ตัน)

Page 98: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

96

ภาคผนวกที่ 9

Page 99: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

97

ตารางแสดงการใชประโยชนอาคารที่ตั้งอยูในที่ท้ิงขยะในปจจุบัน )

การใชประโยชน ประเภทอาคาร

ใช ไมใช

สาเหตุ/ปญหา

เชน อาคารคัดแยก

Page 100: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

98

ภาคผนวกที่ 10

Page 101: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

99

ตารางแสดงผลตรวจวิเคราะหคุณภาพนํ้าจากบอสังเกตการณนํ้าใตดิน (Monitoring Well) และนํ้า ณ บอ

บําบัดนํ้าเสีย

พารามิเตอร บอสงัเกตการณน้ําใตดิน น้ําทิ้งจากบอ

บําบัด

หมายเหตุตรวจ

วิเคราะห

เมื่อ……………….

บอ1 บอ2 บอ 3

บีโอด ี

โลหะหนัก

Page 102: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

100

ภาคผนวกที่ 11

Page 103: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

101

แบบบันทึกขอมูลปริมาณของเสียอันตรายจากชุมชนประจําเดือน ........................... พ.ศ. ....................

อปท. ......................................................

เจาหนาที่ผูบันทึก ........................................... บันทึก ณ วันที่ ....... เดือน ....................... . พ.ศ. .........

(ภาคผนวกท่ี 10)

ประเภทของเสียอันตราย จํานวน

(ชิ้น)

รวมนํ้าหนัก

(กิโลกรัม) หมายเหตุ

1. ภาชนะบรรจุสารเคมี ไดแก กระปองยาฆาแมลง

กระปองสี กระปองทิน เนอร กระปองส เปรย

เครื่องสําอาง เชน กระปองสเปรยฉีดผมเพื่อจัดทรง

กระปองน้ํามันเครื่องใชแลว ขวดน้ํายาลางหองน้ํา

เปนตน

2. แบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ แบตเตอรี่กลอง

ดิจิตอล แบตเตอรี่คอมพิวเตอรโนตบุค และ

ถานไฟฉายที่ชารจได

3. ถานไฟฉายธรรมดา

4. หลอดไฟฟลูออเรสเซนตแบบตรง

5. หลอดไฟแบบอื่น ไดแก หลอดฟลอูอเรสเซนต

แบบวงกลม หลอดไส หลอดตะเกียบ เปนตน

6. ของเสียอันตรายอื่นๆ

6.1 แบตเตอรีร่ถจักรยานยนต

6.2 แบตเตอรีร่ถยนต

6.3 อื่นๆ ระบุ ...........................

รวม

Page 104: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

102

ภาคผนวกที่ 11

Page 105: ส่วนที่ 1 ปกหน้าinfofile.pcd.go.th/waste/Survey_Manual.pdf · 1.8 ข อมูลแหล งกําเนิดขยะมูลฝอยในพื้นที่

คูมือการกรอกแบบสํารวจขอมูลการจัดการขยะมูลฝอยขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

สํานักจัดการกากของเสียและสารอันตราย

กรมควบคุมมลพิษ

103

ตารางแสดงจาํนวนและรายชื่อสถานบริการสาธารณสุข/หองปฏิบัติการ

ชื่อสถานที่ พื้นที่(ตรม.) จํานวนเตียง ประเภท หมายเหต ุ