23
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา 40207 เทเบิลเทนนิส หนาทีอาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา 1 กีฬาเทเบิลเทนนิส แหลงที่มา http://www2.sat.or.th/sportslearning/index3.asp?clicktype=1 ประวัติความเปนมา เทาที่มีหลักฐานบันทึกพอใหคนควา ทําใหเรา ไดทราบวากีฬาเทเบิลเทนนิสไดเริ่มขึ้นที่ประเทศอังกฤษ ใน .. 1890 ในครั้งนั้น อุปกรณที่ใชเลน ประกอบดวย ไม หนังสัตว ลักษณะคลายกับไมเทนนิสใน ปจจุบันนีหากแตวาแทนที่จะขึงดวยเสนเอ็นก็ใชแผนหนัง สัตวหุมไวแทน ลูกที่ใชตีเปนลูกเซลลูลอยด เวลาตีกระทบ ถูกพื้นโตะและไมก็เกิดเสียง ปก-ปอกดังนั้น กีฬานี้จึงถูก เรียกอีกชื่อหนึ่งตามเสียงทีไดยินวา ปงปอง” (PINGPONG) ตอมาก็ไดมีการวิวัฒนาการขึ้นโดยไมหนัง สัตวไดถูกเปลี่ยนเปนแผนไมแทน ซึ่งไดเลนแพรหลายในกลุมประเทศยุโรปกอน วิธีการเลนในสมัยยุโรปตอนตนนี้เปนการเลนแบบยัน (BLOCKING) และแบบดัน กด (PUSHING) ซึ่งตอมาไดพัฒนามาเปนการเลนแบบ BLOCKING และ CROP การเลนถูกตัด ซึ่งวิธีนีเองเปนวิธีการเลนที่สวนใหญนิยมกันมากในยุโรป และแพรหลายมากในประเทศตาง ทั่วยุโรป การจับ ไมก็มีการจับไมอยู 2 ลักษณะ คือ จับไมแบบจับมือ (SHAKEHAND) ซึ่งเราเรียกกันวา จับแบบ ยุโรปและการจับไมแบบจับปากกา (PEN-HOLDER) ซึ่งเราเรียกกันวา จับไมแบบจีนนั่นเอง ในป .. 1900 เริ่มปรากฏวา มีไมปงปองที่ติดยางเม็ดเขามาใชเลนกัน ดังนั้นวิธีการเลนแบบ รุกหรือแบบบุกโจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE) เริ่มมีบทบาทมากยิ่งขึ้น และยุคนี้จึงเปนยุคของนาย วิตเตอร บารนา (VICTOR BARNA) อยางแทจริง เปนชาวฮังการีไดตําแหนงแชมเปยนโลกประเภท ทีม รวม 7 ครั้ง และประเภทชายเดี่ยว 5 ครั้ง ในป .. 1929-1935 ยกเวนป 1931 ที่ไดตําแหนงรอง เทานั้น ในยุคนี้อุปกรณการเลน โดยเฉพาะไมมีลักษณะคลาย กับไมในปจจุบันนีวิธีการเลนก็เชนเดียวกัน คือมีทั้งการรุก (ATTRACK) และการรับ (DEFENDIVE) ทั้งดาน FOREHAND และ BACKHAND การ จับไมก็คงการจับแบบ SHAKEHAND เปนหลัก ดังนั้นเมื่อสวนใหญจับไมแบบยุโรป แนวโนมการจับไม แบบ PENHOLDER ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปมีนอยมากในยุโป ในระยะนั้นถือวายุโรปเปนศูนยรวมของกีฬา ปงปองอยางแทจริง

กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

  • Upload
    others

  • View
    7

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

1

กีฬาเทเบิลเทนนิส แหลงที่มา http://www2.sat.or.th/sportslearning/index3.asp?clicktype=1

ประวัติความเปนมา เทาที่มีหลักฐานบันทึกพอใหคนควา ทําใหเราไดทราบวากีฬาเทเบิลเทนนสิไดเร่ิมขึ้นทีป่ระเทศอังกฤษ ในป ค.ศ. 1890 ในครั้งนั้น อุปกรณที่ใชเลนประกอบดวย ไม หนังสัตว ลักษณะคลายกับไมเทนนิสในปจจุบันนี ้ หากแตวาแทนทีจ่ะขึงดวยเสนเอ็นก็ใชแผนหนังสัตวหุมไวแทน ลูกที่ใชตีเปนลูกเซลลูลอยด เวลาตีกระทบถูกพื้นโตะและไมก็เกิดเสยีง “ปก-ปอก” ดังนั้น กีฬานี้จึงถูกเรียกอกีชื่อหนึง่ตามเสียงทีไดยินวา “ปงปอง” (PINGPONG) ตอมาก็ไดมีการววิัฒนาการขึ้นโดยไมหนังสัตวไดถูกเปลีย่นเปนแผนไมแทน ซ่ึงไดเลนแพรหลายในกลุมประเทศยุโรปกอน วิธีการเลนในสมัยยุโรปตอนตนนี้เปนการเลนแบบยัน (BLOCKING) และแบบดันกด (PUSHING) ซ่ึงตอมาไดพัฒนามาเปนการเลนแบบ BLOCKING และ CROP การเลนถูกตัด ซ่ึงวิธีนี้เองเปนวิธีการเลนที่สวนใหญนิยมกันมากในยุโรป และแพรหลายมากในประเทศตาง ๆ ทั่วยุโรป การจับไมก็มีการจับไมอยู 2 ลักษณะ คือ จับไมแบบจับมือ (SHAKEHAND) ซ่ึงเราเรียกกนัวา “จับแบบยุโรป” และการจับไมแบบจบัปากกา (PEN-HOLDER) ซ่ึงเราเรียกกันวา “จับไมแบบจีน” นั่นเอง ในป ค.ศ. 1900 เร่ิมปรากฏวา มีไมปงปองที่ติดยางเมด็เขามาใชเลนกัน ดังนั้นวิธีการเลนแบบรุกหรือแบบบกุโจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE) เร่ิมมบีทบาทมากยิ่งขึ้น และยุคนีจ้ึงเปนยคุของนายวิตเตอร บารนา (VICTOR BARNA) อยางแทจริง เปนชาวฮังการไีดตําแหนงแชมเปยนโลกประเภททีม รวม 7 คร้ัง และประเภทชายเดีย่ว 5 คร้ัง ในป ค.ศ. 1929-1935 ยกเวนป 1931 ที่ไดตําแหนงรองเทานั้น ในยุคนี้อุปกรณการเลน โดยเฉพาะไมมีลักษณะคลาย ๆ กับไมในปจจุบันนี้ วธีิการเลนก็เชนเดยีวกนั คือมีทั้งการรุก (ATTRACK) และการรับ (DEFENDIVE) ทั้งดาน FOREHAND และ BACKHAND การ จับไมก็คงการจับแบบ SHAKEHAND เปนหลัก ดังนั้นเมื่อสวนใหญจับไมแบบยุโรป แนวโนมการจับไมแบบ PENHOLDER ซ่ึงเปลี่ยนแปลงไปมนีอยมากในยุโป ในระยะนัน้ถือวายุโรปเปนศูนยรวมของกีฬาปงปองอยางแทจริง

Page 2: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

2

ในป ค.ศ. 1922 ไดมีบริษัทคาเครื่องกีฬา ไปจดทะเบียนเครื่องหมายการคาวา “PINGPONG” ดวยเหตนุี้กฬีานี้จึงเปนชื่อมาเปน “TABLE TENNIS” ไมสามารถใชช่ือที่เขาจดทะเบียนไดประการหนึ่ง และเพื่อไมใชเปนการโฆษณาสินคาอีกประการหนึ่ง และแลวในป ค.ศ. 1926 จึงไดมีการประชุมกอตั้งสหพันธเทเบิลเทนนิสนานาชาติ (INTERNATIONAL TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ขึ้นที่กรุงลอนดอนในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1926 ภายหลังจากการไดมีการปรึกษาหารือในขั้นตนโดย DR. GEORG LEHMANN แหงประเทศเยอรมนั กรุงเบอรลิน เดือนมกราคม ค.ศ. 1926 ในปนี้เองการแขงขันเทเบิลเทนนิสแหงโลกครั้งที ่1 ก็ไดเร่ิมขึ้น พรอมกับการกอตั้งสหพันธฯ โดยมีนายอีวอร มองตาก ู เปนประธานคนแรก ในชวงป ค.ศ. 1940 นี้ ยังมีการเลนและจับไมพอจําแนกออกเปน 3 ลักษณะดังนี้ 1. การจับไม เปนการจบัแบบจับมือ 2. ไมตองติดยางเมด็ 3. วธีิการเลนเปนวิธีพื้นฐาน คือ การรับเปนสวนใหญ ยุคนีย้ังจดัไดวาเปน “ยคุของยุโรป” อีกเชนเคย ในป ค.ศ. 1950 จึงเริ่มเปนยุคของญี่ปุนซึ่งแทจริงมลัีกษณะพิเศษประจําดังนี้คือ 1. การตบลูกแมนยําและหนักหนวง 2. การใชจังหวะเตนของปลายเทา ในป ค.ศ. 1952 ญ่ีปุนไดเขารวมการแขงขันเทเบิลเทนนิสโลกเปนครั้งแรก ที่กรุงบอมเบย ประเทศอินเดีย และตอมาป ค.ศ. 1953 สาธารณรัฐประชาชนจนี จึงไดเขารวมการแขงขันเปนครั้งแรกที่กรุงบูคาเรสต ประเทศรูมาเนีย จึงนับไดวากฬีาปงปองเปนกฬีาระดบัโลกที่แทจริงปนี้นั่นเอง ในยุคนี้ญ่ีปุนใชการจับไมแบบจับปากกา ใชวิธีการเลนแบบรุกโจมตีอยางหนกัหนวงและรุนแรง โดยอาศัยอุปกรณเขาชวย เปนยางเม็ดสอดไสดวยฟองน้ําเพิ่มเติมจากยางชนดิเม็ดเดิมที่ใชกันทั่วโลก การเลนรุกของยุโรปใชความแมนยําและชวงตีวงสวิงสั้น ๆ เทานั้น ซ่ึงสวนใหญจะใชบา ขอศอก และขอมือเทานัน้ ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับญี่ปุนซึ่งใชปลายเทาเปนศูนยกลางของการตีลูกแบบรุกเปนการเลนแบบ “รุกอยางตอเนื่อง” ซ่ึงวธีินี้สามารถเอาชนะวิธีการเลนของยุโรปได การเลนโจมตีแบบนี้เปนที่เกรงกลวัของชาวยุโรปมาก เปรียบเสมือนการโจมตีแบบ “KAMIKAZE” (การบินโจมตีของฝูงบินหนวยกลาตายของญี่ปุน) ซ่ึงเปนที่กลาวขวัญในญี่ปุนกนัวา การเลนแบบนี้เปนการเลนที่เสี่ยงและกลาเกินไปจนดแูลวรูสึกวาขาดความรอบคอบอยูมาก แตญ่ีปุนก็เลนวิธีนีไ้ดด ี โดยอาศยัความสุขุมและ Foot work ที่คลองแคลวจนสามารถครองตําแหนงชนะเลิศถึง 7 คร้ัง โดยมี 5 คร้ังติดตอกัน ตั้งแตป ค.ศ. 1953-1959

Page 3: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

3

สําหรับในยุโรปนั้นยังจับไมแบบ SHAKEHAND และรับอยู จึงกลาวไดวาในชวงแรก ๆ ของป ค.ศ. 1960 ยังคงเปนจุดมดืของนักกฬีายุโรปอยูนั่นเอง ในป ค.ศ. 1960 เร่ิมเปนยุคของจีน ซ่ึงสามารถเอาชนะญี่ปุนไดโดยวิธีการเลนที่โจมตีแบบรวดเร็ว ผสมผสานกับการปองกัน ในป 1961 ไดจัดการแขงขันเทเบลิเทนนิสชิงชนะเลิศ คร้ังที่ 26 ที่กรุงปกกิ่ง ประเทศจีน จีนเอาชนะญี่ปุน ทั้งนี้เพราะญี่ปุนยังใชนักกีฬาที่อายุมาก สวนจนีไดใชนักกีฬาที่หนุมสามารถเลนไดอยางรวดเร็วปานสายฟาทั้งรุกและรับ การจับไมก็เปนการจับแบบปากกา โดยจีนชนะทั้งประเภทเดี่ยวและทีม 3 คร้ังติดตอกัน ทั้งนี้เพราะจีนไดทุมเทกับการศกึษาการเลนของญี่ปุนทั้งภาพยนตรที่ไดบันทึกไวและเอกสารตาง ๆ โดยประยกุตการเลนของญี่ปุน เขากับการเลนแบบสัน้ ๆ แบบที่จีนถนัดกลายเปนวิธีการเลนที่กลมกลืนของจีนดังที่เราเห็นในปจจุบัน ยุโรปเร่ิมฟนคืนชีพขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง โดยนําวิธีการเลนของชาวอินเดยีมาปรับปรุง นําโดยนักกฬีาชาวสวเีดนและประเทศอื่น ๆ ซ่ึงมีหัวกาวหนาไมมัวแตแตคิดจะรักษาหนาของตัวเองวาไมเรียนแบบของชาติอ่ืนๆ ดังนั้นชายยุโรปจึงเริ่มชนะชายคู ในป 1967 และ 1969 ซ่ึงเปนนักกฬีาจากสวเีดน ในชวงนั้นการเลนแบบรุกยังไมเปนที่แพรหลายทัง้นี้เพราะวิธีการเลนแบบรับไดฝงรากในยุโรป จนมีการพูดกันวานักกฬีายุโรปจะเรียนแบบการเลนลูกยาวแบบญี่ปุนนั้นคงจะไมมีทางสาํเร็จแตการทีน่ักกฬีาของสวีเดนไดเปลี่ยนวิธีการเลนแบบญี่ปุนไดมีผลสะทอนตอการเปลี่ยนแปลงของเยาวชนรุนหลังของยุโรปเปนอยางมาก และแลวในป 1970 จึงเปนปของการประจันหนาระหวางผูเลนชาวยุโรปและผูเลนชาวเอเชยี ชวงระยะเวลาไดผานไปประมาณ 10 ป ตั้งแต 1960-1970 นักกฬีาของญี่ปุนไดแกตัวลงในขณะที่นกักฬีารุนใหมของยุโรปไดเร่ิมฉายแสงเกงขึ้น และสามารถควาตําแหนงชนะเลิศชายเดีย่วของโลกไปครองไดสําเร็จในการแขงขันเทเบิลเทนนิสเพื่อความชนะเลิศแหงโลก คร้ังที่ 31 ณ กรุงนาโกนา ในป 1971 โดยนักเทเบิลเทนนิส ชาวสวีเดน ช่ือ สเตลัง เบนคสัน เปนผูเปดศักราชใหกับชาวยุโรป ภายหลังจากที่นกักฬีาชาวยุโรปไดตกอับไปถึง 18 ป ในป 1973 ทีมสวีเดนก็ไดควาแชมปโลกไดจึงทําใหชาวยุโรปมีความมั่นใจในวิธีการเลนที่ตนไดลอกเลียนแบบและปรังปรุงมา ดังนั้นนักกฬีาของยุโรปและนักกฬีาของเอเชียจึงเปนคูแขงที่สําคัญในขณะที่นกักีฬาในกลุมชาติอาหรับและลาตินอเมริกา ก็เร่ิมแรงขึ้นกาวหนารวดเร็วขึ้น เร่ิมมีการใหความรวมมือชวยเหลือทางดานเทคนิคซึ่งกันและกัน การเลนแบบตั้งรับซ่ึงหมดยุคไปแลวตั้งแตป 1960 เร่ิมจะมีบทบาทมากยิ่งขึน้มาอีก โดยการใชความชํานาญในการเปลี่ยนหนาไมในขณะเลนลูก หนาไมซ่ึงติดดวยยางปงปอง ซ่ึงมีความยาวของเมด็ยางยาวกวาปกต ิ การใชยาง ANTI – SPIN เพื่อพยายามเปลี่ยนวิถีการหมุนและทิศทางของลูกเขาชวย ซ่ึงอุปกรณที่ใชนี้มีสวนชวยอยางมาก ในขณะนีก้ีฬาเทเบิลเทนนิสนับวาเปนกฬีาที่แพรหลายไปทั่วโลก มีวิธีการเลนใหม ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ซ่ึงผู

Page 4: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

4

เลนเยาวชนตาง ๆ เหลานี้จะเปนกําลังสําคัญในการพัฒนากีฬาเทเบิลเทนนิสตอไปในอนาคตไดอยางไมมีที่วันสิ้นสุด และขณะนี้กฬีานีก้็ไดเปนกฬีาประเภทหนึ่งในกีฬาโอลิมปก โดยเริ่มมีการแขงขันในกฬีาโอลิมปกในป 1988 ที่กรุงโซล ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีเปนครั้งแรก

กฎกติกา

โตะเทเบิลเทนนิส

1.1 พื้นหนาดานบนของโตะเรียกวา “พื้นผิวโตะ” (PLAYING SURFACE) จะเปนรูปสี่เหล่ียมผืนผา มีความยาว 2.74 เมตร (9 ฟุต) ความกวาง 1.525 เมตร (5 ฟตุ) และจะตองสูงไดระดับ โดยวดัจากพื้นที่ตั้งขึ้นมาถึงพื้นที่ผิวโตะ สูง 76 เซนติเมตร (2 ฟุต 6 นิ้ว) 1.2 พื้นผิวโตะ ไมรวมถึงดานขางตามแนวตั้งที่อยูต่ํากวาขอบบนสุดของโตะลงมา 1.3 พื้นผิวโตะอาจทําดวยวัสดุใด ๆ กไ็ด แตจะตองมีความกระดอนสม่ําเสมอเมื่อเอาลูกเทเบิลเทนนิสมาตรฐานปลอยลงในระยะสงู 30 เซนติเมตร โดยวัดจากพื้นผิวโตะลูกจะกระดอนขึน้มาประมาณ 23 เซนติเมตร 1.4 พื้นผิวโตะจะตองเปนสีเขมสม่ําเสมอและเปนสีดาน ไมสะทอนแสง ขอบดานบนของพื้นผิวโตะทั้ง 4 ดาน จะทาดวยสีขาว มีขนาดกวาง 2 เซนติเมตร เสนของพื้นผิวโตะดานยาว 2.74 เมตร ทั้งสองดานเรียกวา “เสนขาง” (SIDE LINE) เสนของพื้นผิวโตะดานกวาง 1.525 เมตร ทั้งสองดานเรียกวา “เสนสกัด” (END LINE) 1.5 พื้นผิวโตะจะถูกแบงออกเปนสองแดน (COURTS) เทา ๆ กัน กั้นดวยตาขายซึ่งขึงตั้งฉากกับพื้นผิวโตะ และขนานกับเสนสกัดโดยตลอด 1.6 สําหรับประเภทคู ในแตละแดนจะถูกแบงออกเปนสองสวนเทา ๆ กัน ดวยเสนสีขาว มีขนาดกวาง 3 มิลลิเมตร โดยขีดขนานกับเสนขาง เรียกวา “เสนกลาง” (CENTER LINE) และใหถือวาเสนกลางนี้เปนสวนหนึ่งของคอรดดานขวาของโตะดวย 1.7 ในการแขงขันระดบัมาตรฐานสากล โตะเทเบิลเทนนิสที่ใชสําหรับการแขงขันจะตองเปนยี่หอและชนิดที่ไดรับการรับรองจากสหพันธเทเบลิเทนนิสนานาชาติ (ITTF) เทานั้น โดยโตะเทเบิลเทนนสิจะมีสีเขียวหรือน้ําเงิน และในการแขงขนัจะตองระบสีุของโตะที่จะใชแขงขันลงในระเบียบการแขงขันดวยทกุครั้ง

Page 5: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

5

แหลงท่ีมา http://www2.sat.or.th/sportslearning/index.asp?clicktype=3&senttext=37

สวนประกอบของตาขาย 2.1 สวนประกอบของตาขายจะประกอบดวย ตาขาย ที่แขวนและเสาตั้ง รวมไปถึงที่จับยึดกับโตะเทเบิลเทนนิส 2.2 ตาขายจะตองขึงตึงและยึดดวยเชือกซึ่งผูกติดปลายยอดเสาซึ่งตั้งตรงสูงจากพืน้ผิวโตะ 15.25 เซนติเมตร (6 นิ้ว) 2.3 สวนบนสุดของตาขาย ตลอดแนวยาวจะตองสูงจากพื้นผิวโตะ 15.25 เซนติเมตร 2.4 สวนลางสุดของตาขายตลอดแนวยาวจะตองอยูชิดกับพื้นผิวโตะใหมากที่สุดเทาที่เปนไปได และสวนปลายสุดของตาขายทั้งสองดานจะตองอยูชิดกับเสาใหมากที่สุดเทาที่เปนไปได 2.5 ในการแขงขันระดับมาตรฐานสากล ตาขายที่ใชสําหรับแขงขันจะตองเปนยีห่อและชนดิทีไ่ดรับการรับรองจากสหพันธเทเบิลเทนนิสนานาชาติ (ITTF) เทานั้น

Page 6: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

6

ลูกเทเบิลเทนนิส 3.1 ลูกเทเบิลเทนนิส จะตองกลมและมีเสนผาศูนยกลาง 40 มิลลิเมตร 3.2 ลูกเทเบิลเทนนิส จะตองมีน้ําหนกั 2.7 กรัม 3.3 ลูกเทเบิลเทนนิส จะตองทําดวยเซลลูลอยดหรือวัสดุพลาสติกอื่นใดที่คลายคลึงกัน มีสีขาว หรือสีสม และเปนสีดาน 3.4 ลูกเทเบิลเทนนิสจะตองเปนยีห่อและชนิดที่ไดรับการรับรองจากสหพันธเบลิเทนนิสนานาชาติ (ITTF) เทานั้น และจะตองระบุสีของลูกที่ใชแขงขันลงในระเบียบการแขงขันทุกครั้ง

ไมเทเบิลเทนนิส 4.1 ไมเทเบิลเทนนิสจะมีรูปราง ขนาด หรือน้ําหนักอยางไรก็ได แตหนาไมจะตองแบนเรียบและแข็ง 4.2 อยางนอยที่สุด 85 % ของความหนาของไม จะตองทําดวยไมธรรมชาติ ช้ันที่อัดอยูติดภายในหนาไม ซ่ึงทําดวยวัสดอ่ืุนใด เชน คารบอนไฟเบอร กลาสไฟเบอร หรือกระดาษอัดจะตองมคีวามหนาไมเกิน 7.5 % ของความหนาทั้งหมดของไม หรือไมเกิน 0.35 มิลลิเมตร สุดแทแตกรณีใดจะมีคานอยกวา 4.3 หนาไมเทเบิลเทนนสิดานที่ใชตีลูกจะตองมวีัสดปุดทับวัสดุนัน้จะเปนแผนยางเม็ดธรรมดา แผนยางชนิดนี้ เมื่อปดทับหนาไมและรวมกับกาวแลวจะตองมีความหนาทั้งสิ้นไมเกิน 2 มิลลิเมตร หรือแผนยางชนิดสอดไส แผนยางชนิดนี้เมื่อปดทับหนาไมและรวมกับกาวแลวจะตองมีความหนาทั้งสิ้นไมเกนิ 4 มิลลิเมตร ทั้งนี้ความสูงของเม็ดยางจะเทากับความกวางของเม็ดยางในอัตราสวน 1: 1 4.3.1 แผนยางเมด็ธรรมดา (ORDINARY PIMPLED RUBBER) จะตองเปนแผนยางชิ้นเดยีวและไมมีฟองนี้รองรับโดยหนัเอาเม็ดยางออกมาดานนอก จะทาํดวยยางธรรมชาติหรือยางสงัเคราะห มีเมด็ยางกระจายอยูอยางสม่ําเสมอไมนอยกวา 10 เมด็ตอ 1 ตารางเซนติเมตร และไมมากกวา 30 เม็ดตอ 1 ตารางเซนติเมตร 4.3.2 แผนยางชนดิสอดไส (SANDWICH RUBBER) ประกอบดวยฟองน้ําชนิดเดยีวปดคลุมดวยแผนยางธรรมดาชิ้นเดยีว โดยจะหันเอาเม็ดยางอยูดานในหรืออยูดานนอกก็ได ซ่ึงความหนาของแผนยางธรรมดานี้จะตองมีความหนาไมเกิน 2 มิลลิเมตร 4.4 วัสดุปดทับหนาไมจะตองปดทับคลุมหนาไมดานนั้น ๆ และจะตองไมเกินขอบนาไมออกไป ยกเวนสวนที่ใกลกับดามจับที่สุดและที่วางนิว้อาจจะหุมหรือไมหุมดวยวัสดใุด ๆ ก็ได 4.5 หนาไมเทเบิลเทนนสิ ช้ันภายในหนาไม และชัน้ของวัสดุปดทบัตาง ๆ หรือกาว จะตองสม่ําเสมอและมีความหนาเทากันตลอด 4.6 หนาไมเทเบิลเทนนสิ ดานหนึ่งจะตองเปนสีแดงสวาง (BRIGHT RED) และอกีดานหนึ่งจะตองเปนสีดํา (BLACK) และจะตองมสีีกลมกลืนอยางสม่ําเสมอไมสะทอนแสง

Page 7: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

7

4.7 วัสดุทีป่ดทับหนาไมสําหรับตีลูกเทเบิลเทนนิสจะตองมีเครื่องหมายการคาของ บริษัท ผูผลิต ยี่หอ รุน และเครื่องหมาย ITTF แสดงไวอยางชัดเจนใกลกับขอบของหนาไม โดยจะตองเปนชื่อ ยี่หอและชนิด (BRAND AND TYPE) ที่ไดรับการรับรองจากสหพนัธเทเบิลเทนนิสนานาชาติ (ITTF) คร้ังหลังสุดเทานั้น 4.8 สําหรับกาวที่มีสวนประกอบของสารที่เปนพิษ จะไมอนุญาตใหใชทาลงบนหนาไมเทเบลิเทนนิส ผูเลนจะตองใชกาวแผนสําเร็จรูปหรือกาวทีไ่ดรับการรับรองจากสหพันธเทเบิลเทนนสินานาชาติ (ITTF) เทานั้น และหามใชกาวในการติดยางกับไมเทเบิลเทนนสิในบริเวณสนามแขงขัน 4.9 การเปลี่ยนแปลงเล็กนอยของความสม่ําเสมอของผิวหนาไมหรือวัสดุปดทับ หรือความไมสม่ําเสมอของสีหรือขนาดเนื่องจากการเสียหายจากอบุัติเหตุ การใชงานหรือสีจางอาจจะอนุญาตใหใชได โดยเงื่อนไขวาเหตเุหลานัน้ไมไดเปลี่ยนแปลงอยางสําคัญตอคุณลักษณะของผิวหนาไม หรือวัสดุปดทับ 4.10 เมื่อเร่ิมการแขงขัน และเมื่อใดก็ตามที่ผูเลนเปลี่ยนไมเทเบิลเทนนิสระหวางการแขงขัน ผูเลนจะตองแสดงไมเทเบิลเทนนสิที่เขาเปลี่ยนใหกับคูแขงขัน และกรรมการผูตัดสินตรวจสอบกอนทุกครั้ง 4.11 เปนความรับผิดชอบของผูเลนที่จะตองมั่นใจวาไมเทเบิลเทนนิสนั้นถูกตองตามกติกา 4.12 ในกรณีที่มีปญหาเกีย่วกับอุปกรณการเลน ใหอยูในดุลยพินิจของผูช้ีขาด

คําจํากัดความ (DEFINITIONS) 5.1 การตีโต (RALLY) หมายถึงระยะเวลาที่ลูกอยูในการเลน 5.2 ลูกอยูในการเลน (INPLAY) หมายถึง เมื่อลูกเทเบิลเทนนิสไดหยุดนิ่งบนฝามืออิสระกอนการสงลูกในจังหวะสุดทายจนกระทั่งลูกนั้นถูกสั่งใหเปนเลท หรือไดคะแนน 5.3 การสงใหม (LET) หมายถึง การตีโตที่ไมมีผลไดคะแนน 5.4 การไดคะแนน (POINT) หมายถึง การตีโตที่มีผลไดคะแนน 5.5 มือที่ถือไม (RACKET HAND) หมายถึง มือในขณะที่ถือไมเทเบิลเทนนิส 5.6 มอือิสระ (FREE HAND) หมายถึง มือในขณะที่ไมไดถือไมเทเบิลเทนนิส

Page 8: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

8

5.7 การตีลูก (STRIKES) หมายถึง การที่ผูเลนสัมผัสลูกดวยไมเทเบิลเทนนิสขณะที่ถืออยู หรือสัมผัสลูกดวยมือที่ถือไมเทเบิลเทนนสิตั้งแตขอมือลงไป 5.8 การขวางลูก (OBSTRUCTS) หมายถึง ขณะที่ลูกอยูอยูในการเลน หลังจากที่ฝายตรงขามตีลูกมา โดยลูกนั้นยังไมไดกระทบแดนของอีกฝายหนึ่ง หละยังไมพนเสนสกัด ปรากฏวาผูเลนหรือส่ิงใด ๆ ที่เขาสวมใสหรือถืออยูสัมผัสถูกลูก ขณะลูกนั้นอยูเหนือระดับพืน้ผิวโตะ หรือลูกนั้นมีทิศทางวิง่เหขาหาพืน้ผิวโตะ 5.9 ผูสง (SERVER) หมายถึง ผูที่ตีลูกเทเบิลเทนนิสเปนครั้งแรกในการตีโต 5.10 ผูรับ (RECEIV) หมายถึง ผูที่ตีลูกเทเบิลเทนนสิเปนครั้งที่สองในการตีโต 5.11 ผูตัดสิน (UMPIRE) หมายถึง ผูทีถู่กแตงตั้งขึ้นเพื่อควบคุมการแขงขัน 5.12 ผูชวยตัดสิน (ASSISTANT UMPIRE) หมายถงึ ผูที่ถูกแตงตัง้ขึ้นเพื่อชวยผูตัดสินในการแขงขัน 5.13 ส่ิงใด ๆ ที่ผูเลนสวมใสหรือถืออยู หมายรวมถงึ ส่ิงใด ๆ ก็ตามที่ผูเลนสวมใสหรือถืออยูตั้งแตเร่ิมการตีโต 5.14 ลูกเทเบิลเทนนิสจะถูกพิจารณาวาผานตาขาย ถาขามผานหรือออม หรือลอดสวนประกอบของตาขาย ยกเวนลูกที่ลอดระหวางตาขายกับพืน้ผิวโตะ หรือลูกที่ลอดระหวางตาขายกับอปุกรณที่ยดึตาขาย 5.15 เสนสกัด (END LINE) หมายรวมถึง เสนสมมติที่ลากตอออกไปจากเสนสกัดทั้งสองดานดวย

Page 9: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

9

การสงลูกท่ีถูกตอง (A GOOD SERVICE) 6.1 เมื่อเร่ิมสง ลูกเทเบิลเทนนิสตองวางเปนอิสระอยูบนฝามืออิสระ โดยแบฝามอืออกและลูกจะตองอยูนิ่ง 6.2 ในการสง ผูสงจะตองโยนลูกขึ้นขางบนดวยมือใหลูกลอยขึ้นขางบนใกลเคยีงกับเสนตั้งฉาก และใหสูงจากจุดที่ลูกออกจากฝามือไมนอยกวา 16 เซนติเมตร โดยลูกที่โยนข้ึนไปนั้นจะตองไมเปนลูกที่ถูกทําใหหมุนดวยความตั้งใจ 6.3 ผูสง จะตีลูกไดในขณะที่ลูกเทเบิลเทนนิสไดลดระดับจากจุดสงูสุดแลวเพื่อใหลูกกระทบแดนของผูสงกอน แลวขามหรือออมตาขายไปกระทบแดนของฝายรับ สําหรับประเภทคู ลูกเทเบลิเทนนิสจะตองกระทบครึ่งแดนขวาของผูสงกอน แลวขามหรือออมตาขายไปกระทบครึ่งแดนขวาของฝายรับ 6.4 ตั้งแตเร่ิมสงลูกจนหระทั่งลูกถูกตี ลูกเทบิลเทนนิสจะตองอยูเหนอืระดับพื้นผิวโตะ และอยูหลังเสนสกัด และจะตองไมใหถูกสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย หรือเสื้อผาของผูสง หรือคูเลนในประเภทคู บังการมองเห็นของผูรับ ขณะที่ลูกเทเบิลเทนนิสถูกโยนขึ้น มืออิสระของผูสงจะตองเคลื่อนออกจากบริเวณพื้นที่ระหวางลําตวัผูสงและตาขาย (NET) (วัตถุประสงคของกติกาขอนี้ ตองการใหผูรับเหน็ลูกเทเบิลเทนนิสตลอดเวลา ทั้งนี้ผูสงหรือคูของผูสงจะตองไมแสดงทาทางที่จะตองการบังการมองเหน็ของผูรับตลอดเวลาตั้งแตลูกออกจากมือของผูสง และเหน็ถึงหนาไมดานทีใ่ชตีลูก) 6.5 เปนความรับผิดชอบของผูเลนที่จะตองสงใหผูตัดสินหรือผูชวยผูตัดสินเห็น และตรวจสอบถึงการสงนั้นวาถูกตองตามกติกาหรือไม 6.5.1 ถาผูตัดสินสงสัยในลักษณะการสง วาผูสงไดสงลูกถูกตามกติกาในโอกาสแตกของแมทชเดียวกันนั้น จะแจงใหสงลูกใหม และเตือนผูสงโดยยังไมตัดคะแนน 6.5.2 สําหรับในครั้งตอไปในแมทชเดียวกันนั้น หากผูเลนหรือคูเลนยังคงสงใหเปนขอสงสัยในทํานองเดียวกัน หรือในลักษณะนาสงสัยอ่ืน ๆ ผูรับจะไดคะแนนทันที 6.5.3 หากผูสงไดสงลูกผิดกติกาอยางชัดเจน ผูสงจะเสียคะแนนทนัที 6.6 ผูสงอาจไดรับการอนโุลมไดบาง หากผูสงคนนั้นแจงใหผูตัดสนิทราบถึงการหยอนสมรรถภาพทางรางกาย จนเปนเหตใุหไมสามารถสงไดถูกตองตามกติกา ทั้งนี้ตองแจงใหผูตัดสินทราบกอนการแขงขันทุกคร้ัง

Page 10: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

10

การรับลูกท่ีถูกตอง (A GOOD RETURN) 7.1 เมื่อลูกเทเบิลเทนนิสไดถูกสงหรือตีโตไปตกลงในแดนตรงขามอยางถูกตองแลว ฝายรับตีลูกขามหรือออมตาขายกลบัไป เพื่อใหลูกกระทบแดนของอีกฝายหนึ่งโดยตรง หรือสัมผัสสวนใดสวนหนึ่งของตาขายแลวตกลงในแดนของฝายตรงขาม

ลําดับการเลน (THE ORDER OF PLAY) 8.1 ประเภทเดี่ยว ฝายสงไดสงอยางถูกตอง ฝายรับจะตีโตกลับไปอยางถูกตองหลังจากนั้นฝายสงและฝายรับจะผลัดกันตีโต 8.2 ประเภทคู ผูสงลูกของฝายสงจะสงลูกไปยังฝายรับ ผูรับของฝายรับจะตอตีลูกกลับ แลวคูของฝายสงจะตีลูกกลับไป จากนั้นคูของฝายรับก็จะตลูีกกลับไปเชนนี้สลับกันไปในการตีโต

ลูกท่ีใหสงใหม (A LET) 9.1 การสงซึ่งถือใหเปนการสงใหม ตองมีลักษณะดังนี้ 9.1.1 ถาลูกที่ฝายสงไดสงไปกระทบสวนตาง ๆ ของตาขายแลวขามไปในแดนของฝายรับโดยถูกตองหรือสงไปกระทบสวนตาง ๆ ของตาขาย แลวผูรับหรือคูฝายรับขวางลูก หรือตีลูกกอนที่ลูกจะตกกระทบแดนของเขาในเสนสกัด 9.1.2 ในความเห็นของผูตัดสิน ถาลูกที่สงออกไปแลว ฝายรับหรือคูของฝายรับยังไมพรอมที่จะรับ โดยมขีอแมวา ฝายรับหรือคูของฝายรับไมพยายามจะตีลูก 9.1.3 ในความเห็นของผูตัดสิน หากมีเหตุรบกวนนอกเหนือการควบคุมของผูเลนจนทําใหการสง การรับ หรือการเลนนั้นเสียไป 9.1.4 ถาการเลนถูกยุตโิดยผูตัดสินหรือผูชวยผูตัดสิน 9.2 การเลนอาจถูกยุติลงในกรณีตอไปนี้ 9.2.1 เพื่อแกไขขอผิดพลาด ในลําดบัการสง การรับลูกหรือการเปลี่ยนแดน 9.2.2 เมื่อการแขงขันไดถูกกําหนดใหใชระบบการแขงขันแบบเรงเวลา 9.2.3 เพื่อเตือนหรือลงโทษผูเลน 9.2.4 ในความเห็นของผูตัดสิน หากเห็นวาสภาพการเลนถูกรบกวนอันจะเปนผลตอการเลน

Page 11: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

11

ไดคะแนน (A POINT) นอกเหนอืจากการตีโตจะถูกสั่งใหเปนเล็ท ผูเลนจะไดคะแนนจากกรณีดังตอไปนี้ 10.1 ถาผูเลนฝายตรงขาม ไมสามารถสงลูกไดอยางถูกตอง 10.2 ถาผูเลนฝายตรงขาม ไมสามารถรับลูกไดอยางถูกตอง 10.3 ถาผูเลนฝายตรงขาม ตีลูกสัมผัสถูกสิ่งใด ๆ นอกเหนือจากสวนประกอบของตาขาย 10.4 ถาผูเลนฝายตรงขามตีลูกผานเลยเสนสกัดของเขาโดยไมไดสัมผัสกับพื้นผิวโตะ 10.5 ถาผูเลนฝายตรงขาม ขวางลูก 10.6 ถาผูเลนฝายตรงขาม ตีลูกติดตอกันสองครั้ง 10.7 ถาผูเลนฝายตรงขามตีลูกดวยหนาไมที่ไมถูกตองตามกติกา 10.8 ถาผูเลนฝายตรงขาม หรือส่ิงใด ๆ ที่ผูเลนฝายตรงขามสวมใสหรือถืออยู ทําใหพื้นผิวโตะเคลื่อนที่ 10.9 ถาผูเลนฝายตรงขาม หรือส่ิงใด ๆ ที่ผูเลนฝายตรงขามสวมใสหรือถืออยู สัมผัสถูกสวนตาง ๆ ของตาขาย 10.10 ถาผูเลนฝายตรงขาม ใชมืออิสระสัมผัสถูกพื้นผิวโตะ 10.11 ถาผูเลนฝายตรงขาม ตีลูกผิดลําดับในการเลนประเภทคู ยกเวนผิดลําดับ โดยคนเสิรฟ หรือคนรับลูกเสิรฟ 10.12 ในระบบการแขงขนัแบบเรงเวลา ถาเขาหรือคูของเขาสามารถตีโตกลับไปไดอยางถูกตองครบ 13 คร้ัง

เกมการแขงขัน (A GAME) 11.1 ผูเลนหรือคูเลนที่ทําคะแนนได 11 คะแนนกอน จะเปนฝายชนะ ยกเวนถาผูเลนทั้งสองฝายทําคะแนนได 10 คะแนนเทากนัจะตองแขงขนัตอไป โดยฝายใดทําคะแนนไดมากกวาอีกฝายหนึ่ง 2 คะแนน จะเปนฝายชนะ

แมทชการแขงขัน (A MATCH) 12.1 ในหนึ่งแมทชประกอบดวยเกมการแขงขันที่เปนจํานวนเลขคี ่เชน 2 ใน 3 เกม, 3 ใน 5 เกม, 4 ใน 7 เกม เปนตน

Page 12: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

12

ลําดับการสง การรับ และแดน (THE ORDER OF SERVING, RECEIVING, AND ENDS) 13.1 สิทธิ์ในการเลือกสง เลือกรับ หรือเลือกแดน จะใชวิธีเสี่ยงทาย โดยผูชนะในการเสี่ยงจะตองเปนผูเลือก 13.2 เมื่อผูเลนหรือคูของผูเลนไดเลือกอยางใดอยางหนึ่งแลว ผูเลนหรือคูเลนอกีฝายหนึ่งจะเปนฝายเลือกในหวัขอที่เหลืออยู 13.3 ผูเลนหรือคูเลนทั้งสองฝายจะผลัดกันสงลูกฝายละ 2 คะแนน จนกระทั่งจบเกมการแขงขัน ยกเวนผูเลนหรือคูเลนทั้งสองฝายทําคะแนนได 10 คะแนนเทากนั หรือเมื่อนําระบบการแขงขนัแบบเรงเวลามาใช แตละฝายจะผลัดกันสงลูกฝายละ 1 คะแนน 13.4 ในเกมแรกของประเภทคู ฝายซึ่งมสิีทธิ์ในการสงกอนจะตองเลือกวาใครจะเปนผูสงกอน จากนั้นฝายรับจะเลือกผูทีจ่ะเปนผูรับ สําหรับในเกมถัดไปของแมทชนั้น ฝายสงในเกมนัน้จะเปนผูเลือกสงกอนบาง โดยสงใหกับผูที่สงใหเขาในเกมกอนหนานั้น 13.5 ในประเภทคู ทกุ ๆ คร้ัง ที่เปลี่ยนการสงลูก ผูที่เคยเปนผูรับลูกจะกลายเปนผูสงลูกบาง โดยสงใหกับคูของผูที่สงลูกใหกับเขากอนหนานั้น 13.6 ผูเลนหรือคูเลนที่เปนฝายสงลูกกอนในเกมแรกจะเปนฝายรับลูกกอนในเกมตอไป สลับกันจนจบแมทช และในเกมสุดทายของประเภทคูฝายรับจะตองเปลี่ยนผูรับทันทีเมื่อฝายใดฝายหนึ่งทําคะแนนได 5 คะแนนกอน

การผิดลําดับในการสง การรับ และแดน (OUT OF ORDER OF SERVING, RECEIVING OR ENDS) 14.1 ถาผูเลนสงหรือรับลูกผิดลําดับ กรรมการผูตัดสินจะยุติการเลนทันที ที่ไดคนพบขอผิดพลาด และทําการเริ่มเลนใหม โดยผูเลนและผูรับที่ควรจะเปนผูสงและผูรับตามลําดับที่ไดจัดวางไว ตั้งแตเร่ิมการแขงขันของแมทชนั้นตอจากคะแนนที่ทําได สําหรับในประเภทคู หากไมสามารถทราบถึงผูสงและผูรับที่ถูกตอง ลําดับในการสงจะถูกจดัใหถูกตอง โดยคูทีม่สิีทธิ์ในครั้งแรกของเกมทีค่นพบขอผิดพลาดนั้น 14.2 ถาผูเลนไมไดเปลี่ยนแดนกันเมื่อถึงคราวตองเปลี่ยนแดนกรรมการผูตัดสินจะยุติการเลนทันทีที่ทราบและจะเริ่มเลนใหมโดยเปลี่ยนแดนกันใหถูกตองตามลําดบัที่จัดไวตั้งแตเร่ิมการแขงขันของแมทชนั้นตอจากคะแนนที่ได 14.3 กรณีใด ๆ ก็ตาม คะแนนทั้งหมดซึง่ทําไวกอนที่จะคนพบขอผิดพลาดใหถือวาใชได

Page 13: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

13

ระบบการแขงขันเรงเวลา (THE EXPEDITE SYSTEM) 15.1 ระบบการแขงขันเรงเวลาจะถูกนํามาใช ถาเกมการแขงขันในเกมนั้นไมเสร็จสิ้นภายในเวลา 10 นาที หรือกอนครบกําหนดเวลากไ็ด ถาผูเลนหรือคูเลนทั้งสองฝายตองการ ยกเวน ในกรณทีี่ผูเลนหรือคูเลนทั้งสองฝายมีคะแนนไมนอยกวา 9 คะแนน จะแขงขันตามระบบเดิม 15.1.1 ถาลูกอยูในการเลน และครบกําหนดเวลาการแขงขันพอดี การเลนนัน้จะถูกยุติลงโดยกรรมการผูตัดสิน และจะเริ่มเลนใหมดวยการสงโดยผูเลนซึ่งเปนผูสงอยูกอนทีก่ารตีโตนั้นจะถูกยุติลง 15.1.2 ถาลูกไมไดอยูในการเลน และครบกําหนดเวลาพอดี การเลนนั้นจะเริ่มเลนใหมดวยการสงโดยผูเลนที่เปนฝายรับลูกอยูกอนที่เวลานั้นจะสิน้สุดลง 15.2 หลังจากนั้นผูเลนแตละคนจะเปลี่ยนกันสงคนละ 1 คะแนน จนกระทั่งจบเกมการแขงขัน และในการตีโตหากผูรับหรือคูเลนฝายรับ สามารถตีโตกลับมาถูกตองครบ 13 คร้ัง ฝายสงจะเสีย 1 คะแนน 15.3 เมื่อระบบการแขงขนัเรงเวลานํามาใชในเกมใด ในเกมทีเ่หลือของแมทชนั้น ๆ จะตองแขงขันภายใตระบบเรงเวลา

เครื่องแตงกาย (CLOTHING) 16.1 เสื้อผาที่ใชแขงขัน ปกติจะประกอบไปดวยเส้ือแขนสั้น หรือแขนกุด กางเกงขาสั้นหรือกระโปรง หรือสวนหนึ่งของชุดกีฬาถุงเทาและรองเทา สวนเสื้อผาชนิดอื่น ๆ เชน บางสวนหรือทั้งหมดของชดุวอรมจะไมอนุญาตใหใสในระหวางการแขงขัน ยกเวนไดรับอนญุาตจากผูช้ีขาด สําหรับในการแขงขันระดบัภายในประเทศไทย ใหผูเขาแขงขันสอดชายเสื้อไวในกางเกงหรือกระโปรงทุกครั้ง และเสื้อแขงขันจะตองมีปกเทานั้น 16.2 นอกจากแขนเสื้อและปกของเสื้อแขงขันแลว มีสวนใหญของเสื้อแขงขัน กางเกง หรือกระโปรง จะตองเปนสีที่แตกตางกันกบัลูกเทเบิลเทนนิสที่ใชในการแขงขันอยางชัดเจน 16.3 บนเสื้อแขงขันอาจมเีครื่องหมายใด ๆ ไดดังนี้ 16.3.1 ดานหลังของเสื้อแขงขัน อาจมีหลายเลขหรือตัวอักษรแสดงสังกัดหรือแสดงถึงรายการแขงขัน หรือกรณีที่เปนรายชื่อผูเลน จะตองอยูในตาํแหนงที่ต่ํากวาปกเสื้อลงมา 16.3.2 เสื้อผาอาจสามารถโฆษณาในขนาดที่กําหนดไว ตามขอ 18.5 16.4 หมายเลขประจําตัวของผูเลนที่ติดอยูบนหลังเสื้อจะตองอยูตรงกลางของหลังเสื้อ โดยมีขนาดใหญไดไมเกิน 600 ตารางเซนติเมตร และมีความเดนชัดเหนือโฆษณา 16.5 การทําเครื่องหมายหรือการเดินเสนใด ๆ บนดานหนาหรือดานขางของเสื้อหรือวัสดุใด ๆ เชน เครื่องประดับที่สวมใส จะตองไมรบกวนสายตาหรือสะทอนแสงไปยงัสายตาของฝายตรงขาม 16.6 รูปแบบของเสื้อผาชุดแขงขัน ตวัอักษร หรือการออกแบบใด ๆ จะตองเปนรูปแบบที่เรียบรอย ไมทําใหเกมนั้นเสื่อมเสีย

Page 14: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

14

16.7 สําหรับปญหาใด ๆ ที่เกี่ยวกับระเบียบขอบังคับของชุดแขงขันหรือขอยกเวนตาง ๆ ใหอยูในดุลยพินิจของผูช้ีขาด 16.8 ในการแขงขันประเภททีมและการแขงขันประเภทคูในการแขงขันเพื่อความชนะเลิศแหงโลก หรือการแขงขันโอลิมปก นักกฬีาที่มาจากสังกัดเดียวกันจะตองแตงกายใหมสีีและรูปแบบที่เหมือนกนั เทาที่จะเปนไปไดยกเวนถุงเทา รองเทา และหมายเลขประจําตัว ขนาด สี และรูปแบบของการโฆษณาบนชดุแขงขัน สําหรับการแขงขัน ในระดับนานาชาติอ่ืน ๆ อาจจะแตงกายดวยรูปแบบที่แตกตางกัน ถาสีพื้นเหมือนกัน และไดรับอนญุาตจากสมาคมนั้น ๆ 16.9 นักกฬีาทั้งสองฝาย จะตองแตงกายดวยสีที่แตกตางกันเพื่องายตอการสังเกตของผูชม 16.10 หากผูเลนหรือทีมไมสามารถตกลงกันไดในกรณีชุดแขงขนัทีเ่หมือนกนั จะใชวิธีการจับฉลาก 16.11 ในการแขงขันระดบัโลก ระดับโอลิมปก หรือการแขงขันระดบันานาชาติทัว่ไป ผูเลนจะตองสวมชุดแขงขันที่เปนทางการของประเทศตนเองเทานั้น

สภาพสนามแขงขัน (PLAYING CONDITIONS) 17.1 มาตรฐานของพื้นทีแ่ขงขันจะตองมีความกวางไมนอยกวา 7 เมตร ความยาวไมนอยกวา 14 เมตร และสูงไมนอยกวา 5 เมตร 17.2 พื้นที่การแขงขันจะถูกลอมไวโดยรอบซึ่งที่ปดลอมหรือแผงกัน้จะมีขนาดสงูประมาณ 75 เซนติเมตร แยกพื้นที่การแขงขันออกจากผูชม 17.3 ในการแขงขันระดบัโลกหรือโอลิมปก ความสวางของแสงเมือ่วัดจากพื้นผิวโตะแลวจะตองมีความเขมของแสงโดยสม่ําเสมอไมนอยกวา 1000 ลักซ และแสงสวางในสวนอื่น ๆ ของพื้นที่สนามแขงขันจะตองมีความเขมของแสงไมนอยกวา 500 ลักซ สําหรับการแขงขันในระดับอืน่ ๆ ความสวางบนพื้นผิวโตะจะตองไมนอยกวา 600 ลักซ และพืน้ที่สนามแขงขันไมนอยกวา 400 ลักซ 17.4 ถาในสนามแขงขันมีโตะหลายตวั ระดับความเขมของแสงสวาง เมื่อวัดบนพืน้ผิวโตะ จะตองมีความเขมของแสงโดยสม่ําเสมอเทากันทุก ๆ ตวั และความเขมของแสงหลงัฉากของสนามแขงขัน จะตองไมเขมไปกวาความเขมของแสงที่วัดไดต่ําสุดบนพื้นผิวโตะแขงขัน 17.5 แหลงกําเนิดของแสงสวางจะตองอยูสูงกวาพืน้ที่สนามแขงขันไมนอยกวา 5 เมตร 17.6 ฉากหลังโดยทั่ว ๆ ไปจะตองมืดและไมมีแสงสวางจากแหลงกําเนิดไฟอื่น หรือแสงสวางจากธรรมชาติผานเขามาตามชองหรือหนาตาง 17.7 พื้นสนามแขงขันจะตองไมเปนสีสวางสะทอนแสงหรือล่ืน และจะตองไมเปนอิฐ คอนกรีต หรือหนิ สําหรับการแขงขันระดับโลกหรือโอลิมปก พื้นสนามแขงขันจะตองเปนไมหรือวัสดุยางสังเคราะหที่ไดรับการรับรองจากสหพันธเทเบิลเทนนิสนานาชาติ

Page 15: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

15

การโฆษณา (ADVERISMENTS) 18.1 การโฆษณาภายในพื้นที่การแขงขันสามารถทําไดเฉพาะบนอปุกรณการแขงขัน โดยไมมกีารตอเติมออกมาเปนพิเศษ 18.2 การโฆษณาภายในพื้นที่แขงขันตองไมใชหลอดนีออนหรือแสงสวางสีตาง ๆ 18.3 ตัวอักษรหรือสัญลักษณภายในที่ปดลอมหรือแผงกั้นลูกจะตองไมเปนสีขาวหรือสีสม และจะตองมีสีไมมากกวา 2 สี โดยมีขนาดความสูงไมเกนิ 40 เซนติเมตร และควรจะเปนสีเดยีวกนักับสีของแผงกั้นลูกโดยเปนสีที่ออนกวา หรือเขมกวา 18.4 การโฆษณาบนเกาอี้หรือบนเครื่องใชอ่ืน ๆ ภายในพื้นทีก่ารแขงขันจะตองมขีนาดใหญไมเกิน 750 ตารางเซนติเมตร 18.5 การโฆษณาเสื้อผาของผูเลน มีขอจํากัด ดงันี้ 18.5.1 สัญลักษณหรือช่ือ เครื่องหมายการคาจะมีขนาดใหญไดไมเกนิ 24 ตารางเซนติเมตร 18.5.2 บนเสื้อแขงขันสามารถมีโฆษณาไดไมเกนิ 6 ช้ิน โดยจะตองแยกจากกันอยางชดัเจนบนดานหนา ดานขาง หรือบนไหลของเสื้อแขงขัน ซ่ึงการโฆษณามีพืน้ทีร่วมกันแลว ไมเกิน 600 ตารางเซนติเมตร โดยโฆษณาดานหนาไดไมเกนิ 4 ช้ิน 18.5.3 บนกางเกงหรอืกระโปรงการแขงขัน สามารถมีโฆษณาไดไมเกิน 2 ช้ิน โดยจะตองแยกจากกันอยางชัดเจน ซ่ึงการโฆษณาจะมีพื้นที่รวมกนัแลวไมเกิน 80 ตารางเซนติเมตร 18.5.4 ดานหลังของเสื้อแขงขัน สมารถมีโฆษณาไดไมเกิน 2 ช้ิน และมีขนาดใหญไดไมเกนิ 400 ตารางเซนติเมตร 18.6 การทําเครื่องหมายใด ๆ บนพื้นสนามแขงขัน จะตองไมเปนสขีาวหรือสม ควรจะเปนเฉดเดียวกับสีพื้นของสนามแขงขัน โดยมสีีเขมกวาหรือจางกวาเล็กนอย 18.7 เครื่องหมายปายโฆษณาบนพื้นทีข่องแตละพื้นที่แขงขันมีไดไมเกิน 4 ช้ิน โดยอยูบนพื้นดานปลายโตะขางละ 1 ช้ิน และอยูบนพื้นดานขางแตละดานของโตะขางละ 1 ช้ิน โดยโฆษณาแตละชิ้นตองมีขนาดไมเกิน 2.5 ตารางเมตร และตองอยูไกลจากแผงกั้นลูกไมนอยกวา 1 เมตร และเครื่องหมายปายโฆษณาบนพื้นทางดานปลายของโตะ หามหางจากแผงกัน้ลูกมากกวา 2 เมตร 18.8 ในบริเวณพื้นที่คร่ึงหนึ่งของขอบโตะแตละขางของโตะแขงขนั อนุญาตใหติดปายโฆษณาจํานวน 1 ช้ิน และบนขอบโตะดานบนของดานปลายโตะของแตละเสน อนุญาตใหติดปายโฆษณาไดดานละ 1 ช้ิน ปายโฆษณานีจ้ะตองแยกจากเครื่องหมายโฆษณาที่ติดไวเดิมอยางเดนชัด และจะตองไมเปนปายโฆษณาของผูผลิตหรือผูขายอุปกรณเทเบิลเทนนิสยี่หออ่ืน และมีความยาวไมเกินชิ้นละ 60 เซนติเมตร 18.9 ปายโฆษณาบนตาขายจะตองเปนสีสม หรือสีที่จางกวาสีพืน้ของตาขาย และจะตองมีระยะหางจากแนวสีขอบดานบนของตาขาย 3 เซนติเมตร และตองไมบังทับรูของตาขาย 18.10 การโฆษณาบนหมายเลขที่ติดบนดานหลังของผูเลนจะมีขนาดใหญไดไมเกิน 100 ตารางเซนติเมตร

Page 16: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

16

18.11 การโฆษณาบนเสือ้ของกรรมการผูตัดสินจะมขีนาดใหญไดไมเกิน 40 ตารางเซนติเมตร 18.12 ในการแขงขันระดบันานาชาติ บนผูเลนจะตองไมมีการโฆษณาผลิตภัณฑบุหร่ี เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล หรือยาที่เปนอันตราย

เจาหนาที่เกี่ยวกับการตัดสิน (JURISDICTION OF OFFICIALS) 19.1 ผูชี้ขาด (REFEREE) 19.1.1 ผูช้ีขาดจะตองถูกแตงตั้งขึ้นในการแขงขันแตละครั้ง เพื่อควบคุมการแขงขัน โดยช่ือและที่ติดตอจะตองเปนที่ทราบแกผูเขาแขงขัน หรือหัวหนาทีมตาง ๆ พอสมควร 19.1.2 ผูช้ีขาดมีหนาที่รับผิดชอบ ดังนี้ - มีหนาที่เกีย่วกับการจับฉลาก - จัดตารางเวลาและกําหนดโตะแขงขัน - แตงตั้งเจาหนาที่ในการแขงขัน เชน ผูตดัสิน ผูชวยผูตัดสิน ฯลฯ - ตัดสินปญหาในเรื่องของการตีความตามกตกิาหรือขอบังคับตาง ๆ รวมไปถึงขอบังคับเกี่ยวกับเสื้อผาอุปกรณการแขงขัน และสภาพสนามแขงขัน - ตัดสินวาผูเลนจะสวมชุดวอรมลงแขงขันไดหรือไม - ตัดสินวาจะยุตกิารเลนเปนการฉุกเฉินไดหรือไม - ตัดสินวาผูเลนจะออกนอกพืน้ทีก่ารแขงขันในระหวางการแขงขันไดหรือไม - ตดัสินวาผูเลนจะฝกซอมไดเกินตามเวลาที่กําหนดไวหรือไม - มีหนาที่ที่จะใชมาตรการลงโทษสําหรับผูที่ประพฤติผิดมารยาท หรือละเมดิขอบังคับอื่น ๆ - มีหนาที่ตรวจสอบคุณสมบัติของผูเลนใหเปนไปตามระเบยีบการแขงขัน - ตัดสินวาจะใหผูเลนฝกซอมที่ใดขณะยุติการเลนฉุกเฉิน - มีหนาที่ในการอบรมเจาหนาที่ผูตัดสิน 19.1.3 หากหนาที่ตาง ๆ กลาวมา คณะกรรมการจดัการแขงขันไดมอบหมายใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งทําหนาที่แทนชื่อและที่ติดตอของบุคคลนั้นจะตองเปนที่ทราบแกผูเขารวมแขงขันหรือหัวหนาทีมตาง ๆ ตามสมควร 19.1.4 ผูช้ีขาดหรือผูที่มีหนาที่รับผิดชอบรองลงไป จะตองอยู ณ ที่แขงขันตลอดเวลาการแขงขัน 19.1.5 ผูช้ีขาดสามารถที่จะลงทําหนาที่แทนผูตัดสิน ผูชวยผูตัดสิน หรือเจาหนาที่นับจํานวนครั้งไดทุกโอกาส แตจะไมสามารถเปลี่ยนแปลงคําตดัสินของผูตัดสินหรือผูชวยผูตัดสินที่ไดตดัสินไปแลว ในปญหาที่เกิดขึ้นเกี่ยวกบัขอเท็จจริง 19.1.6 ผูเลนจะอยูภายใตการควบคมุของผูช้ีขาด นับตั้งแตเวลามาถึงสถานที่แขงขัน จนกระทั่งออกจากสถานที่แขงขัน

Page 17: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

17

19.2 ผูตัดสิน (UMPIRE) 19.2.1 ผูตัดสินจะถูกแตงตั้งขึ้น 1 คน และผูชวยผูตัดสิน 1 คน ในแตละแมทช โดยจะนั่งหรือยืนตรงดานขางของโตะในแนวเดยีวกันกับตาขายและหางจากโตะประมาณ 2-3 เมตร 19.2.2 ผูตัดสินมีหนาที่รับผิดชอบ ดังนี้ - ตรวจอุปกรณ และดูแลสภาพความเรียบรอยของสนามแขงขัน และรายงานตอผูช้ีขาดทันทีที่สภาพสนามบกพรอง - ทําหนาที่ในการสุมเพื่อเลือกลูกเทเบิลเทนนสิ - ทําหนาที่ในการเสี่ยง เพื่อใหผูเลนเลือกเสิรฟ เลือกรับ หรือเลือกแดน - ตัดสินใจผอนผันในการเสิรฟลูกของผูเลนที่หยอนสมรรถภาพทางรางกาย - ควบคุมลําดับการเสิรฟ การรับ การเปลี่ยนแดน และแกไขในกรณีที่ผิดพลาด - ตัดสินผลของการตีโตวาไดคะแนนหรือเล็ท - ทําหนาที่ในการขานคะแนนและใชสัญญาณมือ - เปนผูแนะนําระบบการแขงขนัแบบเรงเวลา - ควบคุมการแขงขันใหเปนไปอยางตอเนื่อง - ควบคุมการแนะนําหรือการสอนผูเลนและมารยาทความประพฤติของผูเลนใหเปนไปตามกติกา 19.2.3 ผูตัดสินจะใชสัญญาณมือเพื่อชวยในการตดัสินควบคูไปกับการขานคะแนน ดังนี้ - เมือ่ไดคะแนนผูตัดสินจะกํามอืโดยหันหนามือออก ยกกําปนขึ้นมาโดยขอศอกอยูระดบัเดียวกันกับหัวไหลดานของฝายที่ไดคะแนน - ในตอนเริ่มเกมหรือในการเปลีย่นเสิรฟ ผูตัดสินจะผายมือไปยังแดนหรือฝายนั้น ๆ - เมือ่การเลนเปนเล็ท ผูตัดสินจะยกมือไปขางหนาเหนือศีรษะ เพื่อแสดงวาการตีโตนั้นหยดุลง - เมือ่ลูกถูกดานบนของขอบโตะ ผูตัดสินจะชีม้ือไปยังจุดทีลู่กสัมผัสถูกขอบโตะ - ขณะเปลี่ยนแดนในครึ่งเกมสุดทายผูตัดสินจะไขวมือทั้งสองขาง ในระดับอก เพื่อใหผูเลนเปลี่ยนแดนกัน - ผูเลนจะอยูภายใตการควบคุมของผูตัดสิน นับตั้งแตเวลามาถึงพื้นที่การแขงขันจนกระทั่งออกจากพื้นที่การแขงขัน 19.3 ผูชวยผูตดัสิน (ASISTANT UMPIRE) 19.3.1 ผูชวยผูตัดสินมีหนาที่ตัดสินวาลูกเทเบิลเทนนิสสัมผัสถูกขอบโตะหรือไม ในดานทีใ่กลที่สุดกับตนเอง 19.3.2 ทั้งผูตัดสินและผูชวยผูตดัสินอาจตัดสินใจ ดังนี้ - พิจารณาลักษณะการสงลูกของผูเลนวาถูกตองตามกติกาหรือไม

Page 18: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

18

- ในการเสิรฟลูกนัน้สัมผัสถูกตาขายหรือไม - พิจารณาวาผูเลนขวางลูกหรือไม - ในขณะแขงขันมส่ิีงเขามารบกวนอันจะมีผลตอการแขงขันหรือไม - รักษาเวลาในการฝกซอม ในการเลนหรือขณะหยุดพกั 19.3.3 การตัดสินใด ๆ ของผูตัดสิน และผูชวยผูตัดสิน จะตองไมกาวกายตอหนาที่ของเจาหนาที่อ่ืน ๆ ที่แตงตั้งขึ้นอยางเปนทางการ 19.3.4 ในการแขงขันระบบเรงเวลาจะใหผูชวยผูตัดสินหรือจะแตงตั้งเจาหนาทีข่ึ้นมาตางหาก เปนผูนับจํานวนครัง้ก็ได

การประทวง (APPEALS) 20.1 จะไมมีการตกลงกันเองของผูเลนหรือหัวหนาทมีที่จะเปลี่ยนแปลงคําตัดสินหรือเจาหนาทีใ่นกรณีที่เกมการแขงขนัเกิดปญหาขึน้ตามขอเท็จจริง หรือเปลี่ยนแปลงการตีความกตกิาหรือกฎขอบังคับของผูช้ีขาดหรือเปลี่ยนแปลงการดําเนนิการจัดการแขงขัน ซ่ึงอยูในความ รับผิด ชอบ ของคณะกรรมการจัดการแขงขัน 20.2 การประทวงจะตองไมคัดคานตอการตัดสินของผูตัดสินหรือเจาหนาที่ในกรณีปญหาที่เกิดขึ้นตามขอเทจ็จริงหรือประทวงในการตัดสินของผูช้ีขาดในกรณทีี่เกี่ยวกับการตีความตามกตกิาหรอกฎขอบังคับ 20.3 การประทวงเกี่ยวกบัการตัดสินของผูตัดสินในกรณีเกีย่วกับการตีความในปญหาของกติกา หรือกฎขอบังคับใหประทวงตอผูช้ีขาดและคําตัดสนิของผูช้ีขาดถือเปนขอยุต ิ 20.4 การประทวงเกี่ยวกบัการตัดสินของผูช้ีขาดในกรณีเกีย่วกับปญหาของการจดัการแขงขัน นอกเหนือจากกติกาหรือกฎขอบังคับใหทาํการประทวงตอคณะกรรมการจัดการแขงขนั และการตัดสินของคณะกรรมการจัดการแขงขนั ถือวาสิ้นสุด 20.5 การแขงขันประเภทบุคคล การประทวงจะทําไดเฉพาะผูเลนซึ่งเปนคูกรณใีนแมทชที่ปญหาไดเกิดขึ้น และในการแขงขันประเภททีม การประทวงจะทําไดเฉพาะหวัหนาทีมซึ่งเปนคูกรณีในแมทชที่ปญหาเกิดขึ้นเทานั้น 20.6 ปญหาการตีความกติกาหรือกฎขอบังคับที่เกิดจากการตัดสินของผูช้ีขาดหรือปญหาของการจัดการแขงขันหรือดําเนินการแขงขันที่เกิดขึน้จากการตดัสินของคณะกรรมการจัดการแขงขนั ผูเลนหรือหัวหนาทีมอาจจะประทวงผานตนสังกดัหรือสโมสรของตนไปยังสมาคมก็ได สําหรับการพิจารณาของสมาคมจะพิจารณาหาขอปฏิบัติ สําหรับการตัดสินตอไปในอนาคต แตทั้งนี้จะไมมีผลตอคําตัดสินในครั้งทีผ่านมาใด ๆ ซ่ึงไดดําเนนิการไปแลว โดยผูช้ีขาดหรือคณะกรรมการจดัการแขงขันทีรั่บผิดชอบ

Page 19: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

19

การดําเนินการแขงขัน (MATCH PROCEDURE) 21.1 ผูเลนจะตองไมทําการคัดเลือกลูกเทเบิลเทนนิสในพื้นที่แขงขนั 21.1.1 หากมีโอกาส ควรใหผูเลนทาํการัดเลือกลูกลูกเทเบิลเทนนิสที่จะใชทาํการแขงขันจาํนวน 1 ลูกหรือมากกวา กอนที่ผูเลนจะลงทําการแขงขัน และการแขงขันในแมทชนั้น จะตองแขงขันดวยลูกเทเบิลเทนนิสที่ผูเลนคัดเลือกมาเทานั้น โดยผูตัดสินเปนผูสุมขึ้นมา 21.1.2 หากผูเลนไมคดัเลือกลูกเทเบลิเทนนิสกอนลงทําการแขงขัน ใหผูตัดสนิเปนผูสุมจากลูกที่มีอยูเพื่อใชแขงขัน 21.2.3 ระหวางแมทชการแขงขัน หากจะตองเปลี่ยนลูกเทเบิลเทนนิสที่ใชแขงขัน ใหผูตัดสนิสุมเลือกลูกที่ไดเลือกไวกอนทําการแขงขัน หากไมสามารถทําได ใหผูตัดสินสุมเลือกลูกที่ไดจดัเตรียมไวเพื่อแขงขัน 21.2 ผูเลนจะเปลี่ยนไมเทเบิลเทนนิสไดในระหวางแมทชการแขงขนัเมื่อเกิดจากอบุัติเหตุจนไมสามารถใชแขงขันไดเทานั้น โดยผูเลนสามารถเปลี่ยนไมอันใหมได ดวยไมของผูเลนที่นําติดตัวเขามาในพื้นที่การแขงขันหรือไมที่ถูกสงใหกบัผูเลนในพื้นที่การแขงขันกไ็ด 21.3 ผูเลนจะตองวางไมเทเบิลเทนนิสของเขาบนโตะแขงขันระหวางหยุดพักระหวางเกม 21.4 ผูเลนจะไดรับอนุญาตใหฝกซอมบนโตะแขงขนัเปนเวลาไมเกิน 2 นาที กอนการแขงขัน สําหรับในชวงเวลาระหวางการแขงขันจะไมสามารถทําการฝกซอมได ซ่ึงการฝกซอมนอกเหนือจากที่กลาวมาอาจจะขยายออกไปไดโดยการอนุญาตของผูช้ีขาด 21.5 ระหวางการยุติการเลนฉุกเฉิน ผูช้ีขาดอาจจะอนญุาตใหผูเลนทําการฝกซอมบนโตะแขงขนันั้นรวมไปถึงโตะแขงขันอื่น ๆ ได 21.6 ผูเลนจะไดรับอนุญาตอยางมีเหตผุลที่จะตรวจสอบอุปกรณที่เปลี่ยนใหมอันเกิดจากการชํารุด แตก็จะไมมากไปกวาการฝกตีโต 2-3 ร้ัง กอนการเลนใหม 21.7 การแขงขันจะตองดาํเนินไปอยางตอเนื่อง ยกเวนเวลาหยุดพกัที่ไดรับอนุญาต 21.8 ผูเลนสามารถหยุดพักไดไมเกนิ 1 นาที ในระหวางจบเกมการแขงขัน 21.9 ในระหวางการแขงขัน ผูตัดสินอาจอนุญาตใหหยุดเพื่อทําการเช็ดเหงื่อไดในชวงเวลาอันสัน้ ๆ เมื่อครบทุก ๆ 6 คะแนนเทานัน้ และเมื่อขณะเปลี่ยนแดนกนัในเกมสุดทาย 21.10 ผูเลนหรือคูเลนสามารถขอเวลานอกไดแมทชละ 1 คร้ัง ไทเกิน 1 นาที - ประเภทบุคคล ผูเลนหรือคูเลน หรือผูฝกสอนที่ถูกกําหนดไวเปนผูขอเวลานอก ประเภททีม ผูเลนหรือคูเลนหรือหัวหนาทีมเปนผูขอเวลานอก - การขอเวลานอก จะขอไดในขณะที่ลูกไมอยูในระหวางการเลน โดยผูขอใชมือทําสัญลักษณเปนรูป “ตัวท”ี - ผูตัดสินจะหยดุการแขงขัน โดยชูใบขาวเหนือศีรษะแลววางไวบนโตะในแดนของผูเลนหรือคูเลนที่ขอเวลานอก

Page 20: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

20

- ผูขอเวลานอก เปนผูใชสิทธิ์ในระยะเวลาตามทีก่ําหนดไว - ถาผูเลนหรือคูเลนและผูฝกสอนที่ถูกกําหนดไวหรือหัวหนาทมีไมสามารถตกลงกันไดในการขอเวลานอกอํานาจในการตัดสินใจครั้งสุดทายใหถือดังนี้ ในประเภทบุคคลโดยผูเลนหรือคูเลน ในประเภททีมโดยหัวหนาทีม 21.11 ผูช้ีขาดอาจจะอนุญาตใหยุติการเลนชั่วคราวในชวงเวลาอันสั้นที่สุด ซ่ึงจะไมเกิน 10 นาที ถาผูเลนไมสามารถเลนได เนื่องจากอุบัติเหตุ โดยมีเงื่นไขวาในความเหน็ของผูช้ีขาดการยุตกิารเลนชั่วคราวนั้นไมนาจะทําใหผูเลนหรือคูเลนฝายตรงขามเสียเปรียบเกินควร 21.12 การยุติการเลนชัว่คราว จะไมอนุญาตสําหรับความไมพรอมของรางกายที่เกิดขึ้นในขณะแขงขัน หรือคาดวาจะเกิดกอนการแขงขันจะเริ่มขึน้ เชน ความออนเพลีย ตะคริว หรือความไมสมบูรณของผูเลน เหลานี้จะไมอนุญาตใหเปนการยุติการเลนฉุกเฉินการยตุกิารเลนฉุกเฉนิจะยุติในกรณีที่เกดิจากอุบตัิเหตุเทานั้น เชน การบาดเจ็บเนื่องจากหกลม 21.13 ถาบุคคลใดบุคคลหนึ่งในบริเวณพื้นทีแ่ขงขนัมีเลือดออก การเลนจะถูกยุติลงทันที และการแขงขันจะไมดําเนินตอจนกวาบุคคลนั้นจะไดรับการปฐมพยาบาล และทําความสะอาดเลือดออกจากพืน้ทีก่ารแขงขันแลว 21.14 ผูเลนจะตองอยูในพื้นที่การแขงขันหรือใกลพืน้ที่การแขงขนัตลอดการแขงขันนั้น โดยในการหยุดพักระหวางเกมและการขอเวลานอก ผูเลนจะตองอยูในระยะไมเกนิ 3 เมตร ของพื้นที่การแขงขันภายใตการควบคุมของผูตัดสิน การออกนอกระยะดังกลาวสามารถทําไดโดยตองไดรับอนุญาตจากผูช้ีขาด

การแนะนําผูเลนหรือการสอนผูเลน (ADVICE TO PLAYERS) 22.1 ในการแขงขันประเภททีม ผูเลนจะไดรับคําแนะนํา หรือการสอนจากใครก็ได แตในการแขงขันประเภทบุคคล ผูเลน หรือคูเลน จะไดรับการสอนจากบุคคลใดบุคคลหนึ่งเทานั้นซึ่งจะตองแจงใหผูตัดสินทราบกอนการแขงขัน ยกเวนระดับนานาชาติในประเภทคู หากผูเลนมาจากคนละประเทศใหผูเลนเสนอรายช่ือผูสอนของแตละคนได ถาบุคคลที่ไมมีหนาที่ไดรับการแตงตั้งมาทําการสอนผูตัดสินจะใชใบแดงแสดงใหบุคคลนั้นออกจากบริเวณพืน้ที่แขงขนัโดยผูใดกระทําผิดใหพิจารณาเฉพาะบุคคลนั้น ๆ 22.2 ผูเลนจะไดรับการสอนในระหวางการหยดุพักระหวางจบเกมหรือระหวางชวงหยุดพักการเลนช่ัวคราวที่ไดรับอนุญาตเทานั้น หากมีบุคคลสอนผูเลนในขณะแขงขัน ผูตัดสินจะใชใบเหลืองแสดงเตือนบุคคลนั้น ไมใหกระทําเชนนัน้อีก และแจงใหทราบวาในครั้งตอไปจะใหออกจากบริเวณพืน้ที่แขงขนั 22.3 หลังจากผูตัดสินไดเตือนแลว หากมีบุคคลในทีมหรือบุคคลอื่นที่ทําการสอนอยางผิดกติกาอีก ผูตัดสินจะใชใบแดงแสดงใหออกจากพื้นที่การแขงขันไมวาเขาจะเปนผูถูกเตือนมากอนหนานัน้หรือไมก็ตาม

Page 21: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

21

22.4 ในการแขงขันประเภททีม ผูสอนที่ถูกใหออกจากพื้นที่แขงขนัจะไมสามารถกลับเขามาไดอีก และไมสามารถเปลี่ยนผูสอนคนอื่นแทนได จนกระทั่งจบการแขงขันประเภททีม ยกเวนผูนั้นตองลงทําการแขงขัน สําหรับประเภทบุคคล ผูสอนไมสามารถกลับเขามาไดอีกจนกระทั่งจบการแขงขันแมทชนั้น 22.5 ถาผูสอนปฏิเสธที่จะออกจากพื้นที่การแขงขันหรือกลับเขามาในพื้นทีก่ารแขงขันกอนที่การแขงขันจะเสร็จสิ้นผูตดัสินจะยุติการเลนและรายงานตอผูช้ีขาดทันที

ความประพฤติ (BEHAVIOUR) 23.1 ผูเลนและผูฝกสอนจะตองไมทํากริิยาหรือความประพฤติที่ไมดีอันจะมีผลตอฝายตรงขาม หรือผูชม หรือทําใหเกมการแขงขันเกดิความเสื่อมเสีย ความประพฤติดังกลาว เชน จงใจทาํใหลูกแตก โตะดวยไมเทเบิลเทนนิส เตะโตะเทเบิลเทนนิสหรือแผงกั้นลูก พูดคําหยาบหรือจงใจตะโกนดวยเสียงอันดังเกินควร แกลงตีลูกเทเบิลเทนนิสใหออกจากพื้นทีแ่ขงขัน หรือการไมเคารพเชื่อฟงผูตดัสินและเจาหนาที่ 23.2 เมื่อผูตัดสินไดพจิารณาแลวเห็นวาผูเลนหรือผูฝกสอนทําความประพฤติไมดีอยางรายแรง ผูตัดสินจะใหใบเหลือง และเตือนถึงการลงโทษหากยงักระทําอยูอีก 23.3 หลังจากที่ไดรับการเตือนแลว ถาผูเลนยังกระทําลักษณะดังกลาวหรือลักษณะอื่น ๆ เปนครัง้ที่ 2 ในแมทชเดียวกันกับประเภทบุคคล หรือแมทชเดียวกนักบัประเภททีม ผูตดัสินจะให 1 คะแนน แกฝายตรงขาม หลังจากนั้น หากยังกระทําอยูอีกผูตดัสินจะใหคะแนน 2 คะแนน แกฝายตรงขาม ซ่ึงในการใหคะแนนแตละครั้งผูตัดสินจะใชใบเหลืองและใบแดงชูขึ้นพรอมกนั ยกเวนกรณขีอ 23.2 และขอ 23.5 23.4 ถาผูเลนไดถูกลงโทษในเรื่องเกี่ยวกับความประพฤติโดยใหคะแนนแกฝายตรงขาม 2 คร้ังแลว (3 คะแนน) แตยงังกระทําอยูอีกผูตัดสินจะยตุิการเลน และรายงานตอผูช้ีขาดทันที 23.5 ถาพบวาผูเลนไดเปลีย่นไมเทเบิลเทนนิสของเขาในระหวางการเลนโดยไมแจงใหทราบ ผูตัดสินจะยุติการเลนทันทีและรายงานผูช้ีขาด 23.6 การเตือนหรือการลงโทษตัดคะแนนในประเภทคูใหหมายรวมถงึทั้ง 2 คนดวย สําหรับในประเภททีมในแมทชเดียวกันนั้น เมือ่เร่ิมการแขงขันประเภทคู หากมีการถูกเตอืนหรือลงโทษตัดคะแนนมากอนหนานั้น จะถือผลของการเตือนหรือลงโทษตัดคะแนนอันที่สูงที่สุดของผูที่กระทําผิดในคูนั้น เวนแตหากผูเลนในประเภทคูนัน้ไมไดเปนผูกระทําผิดจะไมมผีลเมื่อลงทําการแขงขันในลาํดับถัดไปในทีมแมทชเดยีวกัน 23.7 หลังจากผูแนะนําหรือผูสอนไดรับการเตือนแลว แตยังกระทําอยูอีก ผูตัดสินจะใหเขาออกจากพื้นที่โดยใชใบแดง ซ่ึงเขาจะกลับมาไมไดจนกวาการแขงขันในประเภททีมนั้นไดเสร็จสิ้นลง หรือจบการแขงขันคูนั้นสําหรับประเภทบุคคล ทัง้นี้ยกเวนกรณขีอ 23.2 23.8 ผูช้ีขาดอาจจะใชมาตรการทางวินยัแกผูเลนภายใตดุลยพนิิจของเขา สําหรับความประพฤติที่ไมสมควรกาวราว โดยอาจจะใหผูเลนออกจากแมทชการแขงขันในประเภทนั้น ๆ หรือการแขงขันทั้งหมด โดยการใชใบแดงไมวาผูตัดสินจะรายงานใหทราบหรือไมก็ตาม

Page 22: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

22

23.9 ถาผูเลนถูกปรับใหแพ 2 แมทช ในการแขงขันประเภททีม หรือในประเภทบุคคล ผูเลนจะถูกใหออกจากการแขงขนัในประเภททีม หรือประเภทบุคคล ของรายการาแขงขนันั้น โดยอัตโนมัติ 23.10 ผูช้ีขาดอาจลงโทษบุคคลใดบุคคลหนึ่งไมใหเขารวมการแขงขันในรายการที่เหลืออยู ถาบุคคลนั้นไดถูกลงโทษใหออกนอกพื้นที่แขงขันถึง 2 คร้ัง 23.11 ถาเกิดกรณีปฏิบัติผิดอยางรายแรง ใหรายงานเปนบันทึกใหสมาคมตนสังกดัของผูทําผิดนั้นทราบ

การแขงขันประเภททีม (TEAM EVENT) 24.1 ในการแขงขันประเภททีมจะทําการแขงขันแบบ BEST OF 5 MATCHES (5 SINGLES) หรือ BEST OF 5 MATCHES (4 SINGLES AND 1 DOUBLES) หรือระบุอ่ืน ๆ เชน BEST OF 7 MATCHES. BEST OF 9 MATCHES ซ่ึงจะตองระบุลงในระเบียบการแขงขนันั้น ๆ 24.2 การแขงขันแบบ BEST OF 5 MATCHES (5 SINGLES) จะตองประกอบดวยผูเลน 3 คน ลําดับการแขงขัน มีดังนี ้คูที่1 A-X คูที่2 B-Y คูที่3 C-Z คูที่4 A-Y คูที่5 B-X 24.3 การแขงขันแบบ BEST OF 5 MATCHES (4 SINGLES AND 1 DOUBLES) จะประกอบดวยผูเลน 2-3 คน

แหลงขอมูลท่ีนักเรียนควรศึกษาเพิ่มเติม 1. http://www.olympic.org/en/content/Sports/All-Sports/Table-Tennis/Table-tennis-

Equipement-and-History/?Tab=0

Page 23: กีฬาเทเบ ิลเทนน ิส - MWITnui/40207.pdfโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องค การมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเร

โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ (องคการมหาชน) เอกสารประกอบการจัดการเรียนรู รายวิชา พ40207 เทเบิลเทนนิส หนาที่

อาจารยนริศรา หาหอม กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา

23

2. http://www.youtube.com/watch?v=ga6zAEB9fOM

3. http://www.youtube.com/watch?v=RdCaSLKxok0&feature=related

4. http://www.youtube.com/watch?v=nlDj8ibs5C8&feature=related