88
Evaluation Centre for Project and Programme Evaluation, Office of Agricultural Economics Anuwat Pue-on, Ph.D.

Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

Evaluation

Centre for Project and Programme Evaluation,Office of Agricultural Economics

Anuwat Pue-on, Ph.D.

Page 2: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

Outline1. Overview2. Criterion and Indicators3. Evaluation Design

2

Page 3: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

การประเมินผล

หมายถึง

.......................................................................

.......................................................................

กระบวนการที่ใชในการอธิบายและตัดสินคุณคา

ของส่ิงใดส่ิงหน่ึงอยางมีหลักเกณฑ

1. Overview

3

Page 4: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

จุดมุงหมายของการประเมินผล

เปนขอมูลสารสนเทศประกอบการตดัสนิใจ1

เพือ่ใหการบริหารโครงการเปนไปอยางมีประสทิธภิาพ2

เพือ่ตรวจสอบผลการดาํเนนิโครงการวาประสบผลสาํเร็จหรือไม

3

เพือ่นาํไปใชในการปรับปรุงโครงการทีค่ลายกัน4

4

Page 5: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แนวคิดการประเมินผล

Cronbach’s

Tyler’s

Alkin’s

Stake’s

Provus’s

Stufflebeam’s

5

Page 6: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

Tyler’sOutput ⇌ Objective

Provus’sStandard

ActualGap

Stufflebeam’sCIPP

Cronbach’sObjective + Process

Stake’sDesire

ActualGap

Page 7: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แนวคิด: ประเมินทั้งระบบสภาวะแวดลอมContext Evaluation

ปจจัยเบื้องตนInput Evaluation

กระบวนการProcess Evaluation

ผลผลิตที่เกิดขึ้นProduct Evaluation

Stufflebeam’s

--> What needs to be done?

--> How should it be done?

--> Is it being done?

--> Did the project succeed?

Page 8: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

Offer a way to describe and share an understanding of relationships among elements necessary to operate a program or change effort

Describe a bounded project or initiative: both what is planned (the doing) and what results are expected (the getting)

Likened to a picture map of how the programtheoretically works to achieve benefits for participants - often expressed as brief diagrams or flow charts

Logic Model8

Page 9: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

Logic Models provide a clear roadmap to a specified end.

Knowlton & Phillips (2012) The Logic Model Guidebook – Better Strategies for Great Results, Treasury Board of Canada (2001)

Input Process Output Outcome Impact

9

Page 10: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

10

Page 11: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ประเภทการประเมินผล

•การประเมินผลกอนเริ่มโครงการ

•การประเมินผลระหวางโครงการ

•การประเมินผลเม่ือเสร็จส้ินโครงการ

11

Page 12: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

จุดมุงหมายของการประเมินผล

ศึกษาความเหมาะสมของโครงการ

(เศรษฐกิจ สังคม สภาพแวดลอม เทคนิค)

ศึกษาความพรอมของปจจัย/ทรัพยากรนาํเขา

การประเมินผลกอนเริ่มโครงการ

ศึกษาการตอบสนองนโยบาย/ความตองการ

12

Page 13: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

จุดมุงหมายของการประเมินผล

การประเมินผลระหวางโครงการ

ตรวจสอบความกาวหนา

วเิคราะหความนาจะเปนทีท่าํใหโครงการประสบ

ผลสาํเร็จ

แกไข ปรับปรุงโครงการ

วเิคราะหหาปจจัยทั้งดานบวกและลบที่มีตอผลสาํเร็จ

ของโครงการ

13

Page 14: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

• ตัดสินวาโครงการประสบผลสําเร็จ/

บรรลุวัตถุประสงคของโครงการหรือไม

• ศึกษาผลกระทบตางๆ

การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ

จุดมุงหมายของการประเมินผล

14

Page 15: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการประเมินผล

1. แผนแบบทดลอง (เปรียบเทียบ)

- กลุมทดลอง/ในโครงการ VS

- กลุมควบคุม/กลุมนอกโครงการ

(control group)

1.1 Pre test-Post test Design (No control group)

1.2 Pre test-Post test Design (With control group)

1.3 Post test only Design (With control group)

15

Page 16: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการประเมินผล

2. ไมใชแผนแบบทดลอง

- เปรียบเทยีบผลของโครงการ กับโครงการอ่ืนทีม่ี

ลักษณะคลายกัน

16

Page 17: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กระบวนการของการประเมินผล

1. ศึกษาความตองการใชของผูใชขอมูลการประเมินผล

- มหาวทิยาลัย ผูใหทุนวจิยั หนวยงานราชการ

2. ศึกษารายละเอียดของโครงการ

17

Page 18: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

3. กําหนดวัตถปุระสงคและขอบเขตทีจ่ะประเมิน

กระบวนการของการประเมินผล

4. กําหนดตัวช้ีวัดและเกณฑการประเมินผล

5. กําหนดวิธกีารรวบรวมขอมูล และการวเิคราะหขอมูล

18

Page 19: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กระบวนการของการประเมินผล

6. การเก็บรวบรวมขอมูล

7. ประมวลผล วเิคราะหขอมูล แปลผล

8. เขียนรายงาน

19

Page 20: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ซื่อสัตยตอวิชาชีพ

มคีวามรบัผิดชอบ

รักษาความลับอยางเครงครัด

ไมละเมิดสทิธิเสรีภาพของผูอืน่

มีคุณธรรม

จรรยาบรรณของนักประเมินผล

20

Page 21: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

2. Criterion and Indicators

ถาทานจะเลือกซื้อ

ผลิตภณัฑ “นํ้าสม”

ทานจะพิจารณาอะไรบาง

21

Page 22: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

Indicators

เครื่องมือบอกทิศทางวาการพัฒนาหรือการดําเนินงาน บรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายเพียงใด (เมธี, 2540)

เวลา + สถานที่

นําไปตีคา เปรียบเทียบกับเกณฑ หรือมาตรฐาน

ความหมายภายใตเงือ่นไข

สิ่งที่บงบอกคุณลักษณะของสิ่งที่ทําการวัดวามี

ปริมาณหรือคุณลักษณะเชนไร

22

Page 23: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ลักษณะที่ดีของตัวช้ีวัด

Specific เฉพาะเจาะจง และชัดเจน

Measurable สามารถวัดได

Achievable (Attainable) สามารถบรรลุได

Realistic (Relevant) สอดคลองกบัความเปนจริง

Timely วัดไดในชวงเวลาที่กําหนด

S M A R T

23

Page 24: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ประเภทตัวชีว้ัดตามประเภทตัวชีว้ัด

1. ตัวชี้วัดปจจัยนําเขา (Input Indicators)

2. ตัวชี้วัดกระบวนการ (Process Indicators)

3. ตัวชี้วัดผลผลิตหรือผลการดําเนินงาน (Output Indicators)

4. ตัวชี้วัดผลลัพธ (Outcome Indicators)

5. ตัวชี้วัดผลกระทบ (Impact Indicators)

24

Page 25: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

คาของตัวช้ีวดั

จํานวน (Number)

รอยละ (Percentage)

อัตราสวน (Ratio)

สัดสวน (Proportion)

อัตรา (Rate)

คาเฉลี่ย (Average or Mean)

25

Page 26: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

เกณฑ (Criterion)

ระดับท่ีกําหนดไว หรือ มาตรฐานท่ีควรจะเปน

เพ่ือใชในการตัดสินโครงการ

1. ระดบัของเกณฑการประเมินผล

2. ประเภทของเกณฑการประเมินผล

26

Page 27: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

2 ระดับ

คือ การกําหนดคาใหนอยกวาหรอืมากกวา เกณฑทีต่ั้งไว เชน

ผานหรอืไมผาน ไดหรือตก

ระดบัของเกณฑการประเมินผล

มากกวา 2 ระดบั

คือ การกําหนดคาเปนตวัเลขตามลาํดบั ซึง่มากกวา 2 ระดับข้ึนไป

เชน 3 ระดับ 5 ระดับ หรือ 10 ระดับ ฯลฯ

27

Page 28: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ประเภทของเกณฑการประเมินผล

1. เกณฑสัมบรูณ (Absolute Criteria)

2. เกณฑสัมพัทธหรือเกณฑมาตรฐานเชิงนโยบาย

(Relative Criteria or Policy Criteria)

3. เกณฑมาตรฐานหรือเกณฑเชิงวทิยาศาสตร

(Standard Criteria or Scientific Criteria)

4. เกณฑความเคล่ือนไหวเชิงพัฒนา (Growth Criteria)

28

Page 29: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ประเภทของขอมูล

ขอมูลปฐมภูมิ

ขอมูลทตุิยภูมิ

ตามที่มาของขอมูล ตามลกัษณะขอมูล

ขอมูลเชงิปริมาณ

ขอมูลเชงิคณุภาพ

ตามมาตรวดั

นามบัญญัติ

เรียงอันดับ

อันตรภาคชั้น

อัตราสวน

3. Evaluation Design29

Page 30: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ขอมูลตามท่ีมาของขอมูล

ขอมูลปฐมภูม ิ เปนขอมูลทีเ่ก็บรวบรวมเองโดยหนวยงาน

ผูประเมิน จากการสาํรวจขอมูลดวยการสุมตวัอยาง หรือ

ประชากร

ขอมูลทุติยภูมิ เปนขอมูลที่มีการรวบรวมไวแลวทั้งหนวยงาน

ของผูประเมินและหนวยงานอ่ืนๆ เชนเอกสาร

ประกอบการรายงานตางๆ เอกสารวชิาการ วทิยานพินธ

30

Page 31: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

31

ขอมลูตามลักษณะขอมลู

ขอมูลเชิงปริมาณ ระบุคาเปนตัวเลขได

แบบไมตอเน่ือง เชน เลขจํานวนเต็ม (0 1 2)

แบบตอเนื่อง เชน เลขท่ีมีจุดทศนิยม (9.08)

ขอมูลเชิงคุณภาพ ไมสามารถระบุคาได เชน ความพึง

พอใจ ความกินดีอยูด ีความม่ันคงในชีวติ ความ

ปลอดภัย

Page 32: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ขอมลูตามมาตรวัด

1. ขอมูลนามบัญญัติ (Nominal data)เปนมาตรวัดที่สามารถแบงคาของกลุมตัวแปรที่แตกตางกัน

ไดเปนสวนๆ แตไมทราบวาคาตวัแปรใดมากกวากัน

ตัวอยางเชน เพศชาย และเพศหญิง

สาขาวชิา การเงนิ เศรษฐศาสตร

หยาบ→ ละเอียด

32

Page 33: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

2. ขอมูลเรียงอันดับ (Ordinal data)

เปนมาตรวัดที่สามารถแบงคาของกลุมตัวแปรที่แตกตาง

กันไดเปนสวนๆ และทราบวาคาตัวแปรใดมากกวากัน แต

ไมทราบวามากกวากันเทาใด

ตัวอยางเชน เกรด A B C D

ระดบัการศึกษา ช้ันประถมปที ่1 2 3 4 5 และ 6

ขอมลูตามมาตรวัด

33

Page 34: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

3. ขอมูลอันตรภาค (Interval data)

เปนระดบัการวดัที่สามารถบอกปริมาณของความแตกตาง

มากนอยทีแ่นนอนได และความแตกตางมีคาเทากันในแตละ

ชวง คาศูนยของขอมูลประเภทนี้เปนการสมมตขิึน้ “ไมใชศูนย

แท” (non absolute zero)

ตัวอยางเชน ปปฏิทนิ คะแนนสอบ อุณหภูมิองศาฟาเรนไฮท

หรือเซลเซียส

ขอมลูตามมาตรวัด

34

Page 35: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

4. ขอมูลอัตราสวน (Ratio data)

เปนมาตรวัดที่สามารถแบงคาของตัวแปรที่แตกตางกันไดเปน

สวนๆ และทราบวาคาตวัแปรใดมากกวากันเทาใด และแตกตาง

กันเปนจํานวนเทาไร คาเริ่มตนคือ “ศูนย”

ตัวอยางเชน อาย ุน้าํหนกั ระยะทาง รายได รายจาย

ขอมลูตามมาตรวัด

35

Page 36: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

การเก็บรวบรวมขอมูล

ประชากร: กลุมสมาชิกทัง้หมดทีต่องการศึกษา

กลุมตวัอยาง: สวนหนึ่งของประชากรที่ถกูเลือกมาศึกษาแทน

ประชากรทั้งหมด

36

Page 37: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

การสาํมะโน: เก็บขอมูลจากประชากรเปาหมายทัง้หมดที่

ตองการศึกษา

การสุมตวัอยาง: เก็บขอมูลจากประชากรบางสวน จากประชากร

เปาหมายทัง้หมดทีต่องการศึกษา

การเก็บรวบรวมขอมูล

37

Page 38: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

การกําหนดขนาดตัวอยาง

ไมมีกฎเกณฑตายตัว แตส่ิงที่ตองพิจารณา:

ขนาดของประชากร – ใหญมากตองสุม

ลักษณะความแตกตางของประชากร – ตต. มากสุมมาก

งบประมาณ และบุคลากร

เคร่ืองมือทีใ่ชในการวเิคราะห – ไปรษณีย ตอบกลับนอย

แผนแบบการสุมตัวอยาง – อยางงาย แบงช้ันภูมิ ...

ระดบัความคลาดเคล่ือนจากการประมาณการ – ความคลาดเคล่ือนนอย ใชขนาดตวัอยาง มาก

ระดบัความเช่ือม่ัน – เช่ือม่ันสงู ขนาดตวัอยางมาก

38

Page 39: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

39

ขนาดตัวอยาง

เกณฑ ตาราง

Yamane Krejcie & Morgan

สูตร

Yamane Krejcie & Morgan

Page 40: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

การกําหนดขนาดตัวอยางโดยเกณฑ

A. ประชากรหลักรอย ใชตัวอยาง 15 – 30%

B. ประชากรหลักพัน ใชตัวอยาง 10 – 15%

C. ประชากรหลักหม่ืน ใชตัวอยาง 5 – 10%

40

Page 41: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

Taro Yamane

N n สําหรับ e5% 10%

500 222 831000 286 91

… … …∞ 400 100

N n(e=5%)

500 2171000 278

... ...∞ 384

Krejcie & Morgan

การกําหนดขนาดตัวอยางโดยใชตาราง

หมายเหต:ุใชในการประมาณคาสัดสวนเทาน้ัน

41

Page 42: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กรณีทราบจํานวนประชากร (N)

21 NeNn

+=Yamane

n = ขนาดตวัอยาง

N = ขนาดของประชากร

e = คาเปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดจากการ

ประมาณการ เชน 5% หรอื 0.05

การกําหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

*ใชในการประมาณคาสดัสวน และระดับความเชือ่ม่ันรอยละ 95 เทาน้ัน

42

Page 43: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กรณีทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดตัวอยาง

P = สัดสวนของลักษณะที่สนใจ

e = คาความคลาดเคลือ่นจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรอื .05

Z = คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน 95% หรือ คิดเปน 1.96

ถาไมทราบคา P จะกําหนดให = 0.5

Krejcie & Morgan)1()()1(

))(1(22

2

PPZNeNpZPPn−+−

−=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

43

Page 44: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กรณีไมทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดของกลุมตัวอยาง

P =สัดสวนของลักษณะท่ีสนใจในประชากร

e = คาความคลาดเคล่ือนจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรือ .05

Z =คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน 95% เทากับ 1.96

ถาไมทราบคา P จะกําหนดให = 0.5

Krejcie & Morgan 2

2))(1(e

Zppn −=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

44

Page 45: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กรณีทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดตัวอยาง

N = ขนาดประชากร

e = คาความคลาดเคลือ่นจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรอื .05

= คาความแปรปรวนของประชาการ

Z = คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน ความเชื่อมั่น 95% หรือ คิดเปน 1.96

222

22

)( σσZNe

NZn+

=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

สาํหรับประมาณคาเฉลี่ย

45

Page 46: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กรณีไมทราบจํานวนประชากร

n = ขนาดตัวอยาง

e = คาความคลาดเคลือ่นจากการสุมตัวอยางเชน 5% หรอื .05

= คาความแปรปรวนของประชาการ

Z = คาคะแนนมาตรฐานจากการแจกแจงปกติ เชน ความเชื่อมั่น 95% หรือ คิดเปน 1.96

2

22

eZn σ

=

การกาํหนดขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณ

สาํหรับประมาณคาเฉลี่ย

46

Page 47: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการสุมตัวอยาง

อาศัยความนาจะเปน ไมอาศัยความนาจะเปน

- สุมตัวอยางอยางงาย- สุมตัวอยางแบบมีระบบ- สุมตัวอยางแบบแบงช้ันภูมิ- สุมตัวอยางแบบกลุม- สุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน

- สุมตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง- สุมตัวอยางแบบโดยบังเอิญ- สุมตัวอยางแบบกําหนดโควตา- สุมตัวอยางแบบ Snowball

47

Page 48: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการสุมตัวอยางอยางงาย

- กลุมประชากรมีโอกาสไดรับคัดเลือกเทาๆกัน

- เหมาะกับประชากรท่ีมีลักษณะคลายคลึงกัน

วิธีสุม

จับฉลาก

ตารางเลขสุม (แถว,หลัก)

48

Page 49: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการสุมตัวอยางอยางงาย

ขอดี ขอเสยี1. สุมงาย เขาใจงาย 1. ตองมีกรอบตัวอยาง2. วิเคราะหงาย 2. คาใชจายสูง ถาหนวย

ตัวอยางอยูกระจัดกระจาย3. อาจไมพบหนวยตัวอยาง

YnY =

∑=

=n

iiy

nY

1

1

49

Page 50: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการสุมตวัอยางอยางเปนระบบ

สุมหนวยแรก และเลือกตัวอยางตอไปทุกๆ k หนวย

ตัวอยาง: การศึกษามีประชากรทั้งหมด 600 คน ขนาดของตัวอยาง 200 คน

2. สุมหาตัวเลขตั้งตนโดยจับฉลาก สมมติได 2

1. กําหนดชวงของการสุม =

k = 600200

= 3

ขนาดประชากร ขนาดของตัวอยาง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ... ... 600

50

Page 51: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการสุมตัวอยางอยางมีระบบ

ขอดี ขอเสีย1. สุมงาย เขาใจงาย 1. ตองทราบ N2. วิเคราะหงาย เหมือนสุมอยางงาย

2. อาจเกิดความเอนเอียงถาจัดเรียงตัวอยางไมดี

3. ตัวอยางกระจาย

51

Page 52: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ลักษณะของประชากรที่ตองการศึกษามีความแตกตางกัน

จึงตองจัดแบงประชากรออกเปนกลุมๆ แตละกลุมมีลกัษณะ

ใกลเคียงกนั แตระหวางกลุมมีลกัษณะตางกัน

ขอดีของการสุมตัวอยางแบบแบงช้ันภูมิ คือ จะไดตัวอยาง

จากกลุมตางๆ ของประชากรครบทุกกลุม

A B Cประชากรที่

ใชประเมินผล

52

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงชั้นภูมิ

Page 53: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

สุมแบบไมเปนสัดสวน

A B C

53

Page 54: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

สุมแบบเปนสัดสวนCBA

54

Page 55: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงช้ันภมูิ

ขอดี ขอเสยี1. ลดความแปรปรวน 1. ยุงยาก ซบัซอน ใน

การสุม2. ตัวอยางมีทุกลกัษณะท่ีตองการ

2. การคํานวณคาผลรวมและคาเฉลี่ย ตางกบัสุมอยางงาย

...332211 YnYnYnY ++=

321 nnnYY++

=

55

Page 56: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ตรงขามกับแบบแบงช้ันภูมิ – ลักษณะของประชากรในกลุมแตกตางกัน (เสมือนประชากรยอสวน)

ประชากรแตละกลุมมีลักษณะคลายคลึงกันจึงเลือกสุม

ตัวอยางจากเพียงบางกลุมก็พอแลว

A CB

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงกลุม

56

Page 57: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

-เตรียมรายช่ือไมไหว-สุมแบบงาย/แบงช้ันภูมิส้ินเปลือง

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงกลุม

ขอดี ขอเสีย1. สะดวกไมตองมีกรอบ 1. จํานวนหนวยตัวอยาง

ขึ้นกับกลุมที่สุมได2. คาใชจายนอย 2. การคํานวณคาผลรวมและ

คาเฉลี่ย ยุงยาก

57

Page 58: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบแบงกลุม G1 G2 G3 G4

2 14 14 28

4 5 33 9

3 14 8 9

10 8 33 8

5 18 21 27

24 59 109 81 273

25.684

273==Y 365,125.68*20 === YGY

สุม 4 กลุม

จาก G 20

กลุม

58

Page 59: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กรณีประชากรมีขนาดใหญ และสามารถแบงประชากรออกเปน

กลุมๆ ได แตละกลุมยังสามารถแบงออกเปนกลุมยอยๆ ไดอีก

ใชแผนแบบการสุมตัวอยางผสมผสานกัน

แผนแบบการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน

ขอดี ขอเสีย1. ไมตองมีกรอบตัวอยาง 1. หนวยตัวอยางแตละขั้น

ตางกัน2. ขอดีขึ้นกับวิธีการเลือกแตละขั้น

2. การคํานวณคาผลรวมและคาเฉลี่ย ยุงยาก3. คาใชจายเดินทางสูง

59

Page 60: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

5 ภาค

ภาคละ 2 จังหวัด = 10 จังหวัด

หมูบานละ 2 ครัวเรือน = 160 ครัวเรือน

เลือกจังหวัดละ 1 อาํเภอ = 10 อําเภอ

อําเภอละ 2 ตําบล = 40 ตําบล

ตําบลละ 2 หมูบาน = 80 หมูบาน

สุมแบบแบงชัน้ภูมิ

สุมแบบแบงกลุม

เน่ืองจากผูประเมินผล

พบวาเกษตรกรแตละ

อําเภอคลายคลึงกัน

สุมอยางงาย

60

Page 61: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

การสุมตวัอยางแบบไมอาศยัความนาจะปน

การเลือกตัวอยางตามความสะดวก เชน การสุมตัวอยางในการประเมินนิทรรศการ

การเลือกตัวอยางโดยใชวิจารณญาณ ใชกลุมเปาหมายที่ใหขอมูลได เชน ผูบริหาร

การเลือกตัวอยางแบบโควตา คํานวณสัดสวนตอจํานวนประชากร เชน เกษตรกร : สหกรณ (60 : 40)

การเลือกตัวอยางแบบ Snowball หรือ Chain ใชในกรณีที่ประชากรที่เปนตัวอยางหายาก เชน คนพเนจร

61

Page 62: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

1. แบบสังเกต2. แบบตรวจสอบรายการ3. แบบสัมภาษณ4. แบบใชแบบสอบถาม5. แบบมาตรประเมิน6. แบบทดสอบ

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เครื่องมอืที่ดีตองวัดได

ตรงกับตัวชีว้ัด

62

Page 63: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แบบมีสวนรวม แบบไมมสีวนรวม

- ไดขอมลูที่เปนจริง

- กรณีใชเครื่องมอือืน่ไมได

- ใชเวลานาน

- ไดขอมลูตัวอยางครั้งละไมมาก

- ตองเชี่ยวชาญและฝกฝน

แบบสังเกต

- เปนสวนหนึ่งของกลุม

- ฝงตัวสงัเกตการณ

- ผูสังเกตไมไดเขารวมกิจกรรม

- ทําตนเปนบุคคลภายนอก

63

Page 64: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

• กําหนดส่ิงท่ีจะทําการตรวจสอบใหชัดเจน• กําหนดกิจกรรมตามวัถุประสงคใหครบถวน• เรยีงขอความตามกิจกรรมแรกไปหากิจกรรม

สุดทายตามวัตถุประสงค• เขยีนคําช้ีแจงอธิบายวิธีการตรวจสอบรายการให

ชัดเจน

แบบตรวจสอบรายการ

64

Page 65: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ไมมีโครงสราง

• ไมต้ังคําถามไวลวงหนา

• ไมตองใชคําถามเดียวกัน

• ผูสมัภาษณควรมีประสบการณ

มีโครงสราง

• ต้ังคําถามไวลวงหนา

• ใชคําถามเหมือนกันหมด

• เหมาะกับผูสัมภาษณประสบการณนอย

แบบสัมภาษณ

สนทนา

Page 66: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

สวนที่ 1 คําช้ีแจง

สวนที่ 2 ขอมูลพื้นฐาน

สวนที่ 3 เน้ือหา

แบบปลายเปด

แบบปลายปด

แบบผสม

ลักษณะแบบสอบถามสวนประกอบ

แบบสอบถาม

อานเอง

66

Page 67: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

ใชประเมินคา/คุณลักษณะตางๆ ที่ไมสามารถวัดเปนตัวเลข

โดยตรงได แบงเปน 2 ประเภท คือ

1. มาตรวัดแบบบรรยาย เชน พึงพอใจมาก ปานกลาง นอย

2. มาตรวัดแบบตัวเลข เชน ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1

แบบมาตรประเมินคา

67

Page 68: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

1. มาตรประเมินคาแบบ Likert

คือ มาตรประเมินคาแบบบรรยายและตัวเลข

เชน ระดับ 3 = เห็นดวยมาก ระดับ 2 = ปานกลาง และระดับ 1 = นอย

2. มาตรประเมินคาแบบ Rubric

คือ มาตรประเมินคาแบบตัวเลข และตองกําหนดเกณฑที่ใช

ประกอบกับคะแนนแตละระดับ เชน เกณฑ กพร.

เชน ระดับ 5 ปรากฎคุณลักษณะเดน มีผลงานครบ/เขาใจ

ระดบั 1 ไมปรากฎคุณลักษณะเดน ไมมีผลงานครบ/เขาใจ P150

แบบมาตรประเมินคาท่ีนิยม

68

Page 69: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

แบบอัตนัย

แบบปรนยั

แบบเติมคําแบบจับคู

แบบเลือกตอบ

แบบทดสอบ

69

Page 70: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

1. เก็บขอมูลไดตรงตามวัตถุประสงค

2. เนื้อหา ถอยคํา ลําดับคําถาม ความเขาใจงาย?3. รวบรวมคําตอบที่เปนไปได

4. ระยะเวลาการเก็บขอมูล

5. คําถามที่ผูใหขอมูลไมตอบ ไมทราบ หรือไมเขาใจ

6. มีตัวเลือกที่ถูกมากกวา 1 ตัวเลือก

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ (Pre-testing)

70

Page 71: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

เพ่ือทดสองคุณภาพเครื่องมอืโดยการทดสอบความตรงและความเที่ยง

กอนนําเครื่องมือตางๆเหลานี้ไปใช

1. แบบสอบถาม

2. แบบสัมภาษณ

3. แบบสังเกต

4. แบบทดสอบ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ (Pre-testing)

71

Page 72: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

1. แบบสอบถาม (ทดสอบความตรงตามเนื้อหา)

- ใหผูเชี่ยวชาญอยางนอย 3 คน เปนผูประเมิน

ถาขอคําถามวัดไดตรงจุดประสงคได +1 คะแนน

ถาไมแนใจวาขอคาํถามนัน้วดัตรงจุดประสงคหรอืไม ได 0 คะแนน

ถาขอคาํถามวดัไดไมตรงจุดประสงค ได -1 คะแนน

- ทดสอบกับกลุมตวัอยาง โดยใชสตูร

เกณฑการคัดเลือก

1) คา IOC ตั้งแต 0.5 – 1.00 คัดเลอืกไวใชได

2) คา IOC ต่ํากวา 0.5 ควรพิจารณาปรับปรุงใหมหรือตัดทิ้ง

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

---P155

ความตรง (Validity) ตรงตามเนื้อหาขอมูลที่ตองการจะเก็บ?

R=คะแนนความเห็น ผชช. N=จาํนวนผชช.

72

Page 73: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

1. แบบสอบถาม (ทดสอบความเที่ยง)

ถามกี่ครั้งกบัคนเดิม ก็ไดผลเหมือนเดิม

−= ∑

2

2

11 t

i

SS

nnα

=n=2

iS=2

tS

จาํนวนคาํถาม

ความแปรปรวนของคะแนนแตละขอ

ความแปรปรวนของคะแนนทัง้หมด

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ความเที่ยง (Reliability) เมื่อเพ่ิม n ผลทีไ่ด/ขอมูลที่ได ไมเปลี่ยนมากนัก

---P158

ยอมรับที่ 0.16.0 −=α

73

Page 74: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

2. แบบสัมภาษณ

วิธีการทดสอบความตรงและความเท่ียงใชวิธีเดียวกับ แบบสอบถาม

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

74

Page 75: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

3. แบบสังเกต

1. ทดสอบความตรง โดยใหผูเชี่ยวชาญทดสอบความถูกตองของ

เน้ือหา

2. ทดสอบความเที่ยง โดย

- ใหผูสังเกตคนหน่ึงสังเกตพฤตกิรรมหน่ึงๆในเวลาทีต่างกัน หรือ

- ใหผูสังเกตหลายคนสงัเกตพฤตกิรรมเดียวกันของคนเดียวกัน

แลวนําขอมูลมาทดสอบคาสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ความเที่ยง (Reliability) เมื่อเพ่ิม n ผลทีไ่ด/ขอมูลที่ได ไมเปลี่ยนมากนัก

ความตรง (Validity) ตรงตามเนื้อหาขอมูลที่ตองการจะเก็บ?

---P160 75

Page 76: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

4. แบบทดสอบ (ทดสอบความตรง)

ไดแก เนื้อหา เชิงโครงสราง สภาพปจจุบัน เชิงพยากรณ

แบบทดสอบ (ทดสอบความเทีย่ง) เชน

4.1 วิธีสอบซ้าํ เพื่อหาคาสัมประสิทธิส์หสัมพนัธโดยใชสูตรของ

Pearson Product Moment Correlation (ยอมรับ เมื่อ rxy >0.7)

4.2 วิธีแบงคร่ึงขอสอบ (เชนครึ่งบน-ลาง หรือ เลขคู-คี่)

4.3 วิธีของคูเดอร – ริชารดสนั วดัในระดับอันตรภาคเทานั้น

ใชสูตร

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

---P163

---P165

---P168

76

Page 77: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

4. แบบทดสอบ (การวิเคราะหขอสอบรายขอ)

- วิเคราะหความยากงาย

คาที่ยอมรับไดอยูระหวาง 0.2 – 0.8

- วิเคราะหอํานาจจาํแนก (r) คาที่บอกวาขอสอบนั้นแยกคนเกงกับไมเกงไดแคไหน มีเกณฑในการตัดสินใจ คือ

r > 0.4 ดีมาก

r ระหวาง 0.30 – 0.39 ดี

r ระหวาง 0.20 – 0.29 ควรปรับปรุงใหม

r < 0.20 ตัดขอสอบทิ้ง

ความยากงายของแบบทดสอบ =จํานวนคนที่ตอบถูกตองทั้งหมดจํานวนคนทีเ่ขาสอบทั้งหมด

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

---P170

77

Page 78: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)

สถิติอนมุาน หรือ สถิติอางอิง

(Inferential Statistics)

การเลือกใชสถิติที่เหมาะสมกับมาตรวัด

78

Page 79: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)

สถิติท่ีใชพรรณนาหรือบรรยายใหเหน็ภาพ

ลักษณะ หรือคุณสมบัติของส่ิงท่ีติดตาม

หรือประเมินผลส่ิงนั้นอาจเปนประชากร

หรือกลุมตัวอยางก็ได

เชน การแจกแจงความถี่ รอยละ

การวัดความกระจาย

79

Page 80: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

สถิติอนมุาน (Inferential Statistics)

รวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง วิเคราะหขอมูลจาก

กลุมตัวอยางน้ัน แลวสรุปผลการวิเคราะหไปสูกลุม

ประชากรเปาหมาย เพ่ือดูความแตกตางหรอื

ความสัมพันธกับเกณฑที่กําหนดไว

เชน Chi-square t–test Z-test F-test ANOVA การ

ประมาณคาพารามิเตอรตางๆ

กลุมตัวอยางอางอิง

ประชากร

80

Page 81: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

กลุมประชากร Population

คาพารามิเตอร Parameter

คาสถติิ

Statistic

กลุมตัวอยางSample

สุมตัวอยาง

สถิติพรรณา

Descriptive statistics

สถิติอางอิง

Inferential statistics

81

Page 82: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

มาตรวัด นามบญัญัติ

เรียงอันดับ

อันตรภาคช้ัน

อัตราสวน

สถิติพรรณนา

สถิติอางอิง สถิติ

82

Page 83: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

มาตรวัดที่ใชกบัสถิติพรรณนา

ความถี่ รอยละ

ฐานนิยม

พิสัย ฐานนิยม

มัธยฐาน คาเฉลี่ยคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ขอมูลนามบัญญตั ิ(Nominal)

ขอมูลเรียงอันดับ (Ordinal) }ขอมูลอันตรภาค (Interval)

ขอมูลอัตราสวน (Ratio) }

83

Page 84: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

มาตรวัดที่ใชกบัสถิติอนุมาน

Chi-square test ( χ2 )(Non-Parametric)

t–test z–test F–test ANOVA

(Parametric)

ขอมูลนามบัญญัติ (Nominal)

ขอมูลเรียงอันดับ (Ordinal) }ขอมูลอันตรภาค (Interval)

ขอมูลอัตราสวน (Ratio) }

84

Page 85: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

เพศ =

ระดับการศึกษา =

อายุ =

อาชีพ =

รายได =

ระดับความคิดเห็น =

เม่ือไรถึงจะใชการแจกแจงแบบไหน !

Nominal

Ordinal

Ratio

Nominal

Ratio

Ordinal

Chi-square test ( χ2 )

Chi-square test ( χ2 )t-test, Z-test

Chi-square test ( χ2 )t-test, Z-test

Chi-square test ( χ2 )

85

Page 86: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

การแจกแจงความถี่รอยละ

วดัการกระจายพิสัย สวนเบีย่งเบน

มาตรฐาน

วัดแนวโนมเขาสูสวนกลางฐานนิยม มัธยฐาน คาเฉลี่ย

สถิติพรรณนา สถิติอางอิง

การทดสอบสมมตฐิาน

Chi-square test

Z-test, t-test

Logit Model

Structural Equation Model

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

Regression Analysis

86

Page 87: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

วตัถปุระสงค\

ผลได\ผลกระทบประเด็น

ที่จะประเมิน กําหนดตัวช้ีวัดในแตละประเดน็

สรางเคร่ืองมือ\สถิติที่จะวิเคราะห

เก็บรวบรวมวิเคราะหขอมูล

เทียบเกณฑ

สรุป\ตัดสิน

87

Page 88: Evaluationagri.eco.ku.ac.th/CASAF/files/การออกแบบ การรวบรวม... · 3. 4. เพื่อนําไปใช ในการปรับปรุงโครงการที่คล

อนุวัฒน ผิวออน (ศูนยประเมินผล สศก.)

โทร. 025795512 หรือ 0876764441

Email: [email protected]

88