71
ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษ Professor Dr. Monai Krairiksh ภาควิชาพืชไรนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร Department of Agronomy, Kasetsart University

ศาสตราจารย ดร โมไนย ไกรฤกษ Professor Dr ... · 2019. 8. 20. · ศาสตราจารย ดร.โมไนย ไกรฤกษ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษProfessor Dr. Monai Krairiksh

    ภาควิชาพืชไรนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรDepartment of Agronomy, Kasetsart University

  • มลูนธิโิทเร เพือ่การสงเสรมิวทิยาศาสตร ประเทศไทยThailand Toray Science Foundation

    His Majesty King Bhumibol Adulyadej1994 Science and Technology Award

  • สารบัญContents

    รายงานผลการดำเนินงานประธานมูลนธิโิทเร เพือ่การสงเสรมิวทิยาศาสตร ประเทศไทย

    Report from the Chairman ofThailand Toray Science Foundation

    รางวัลวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษ

    Science and Technology AwardProfessor Dr. Monai Krairiksh

    รางวัลวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีภาควิชาพืชไรนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

    Science and Technology AwardDepartment of Agronomy, Kasetsart University

    ทุนชวยเหลือทางดานวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีScience and Technology Research Grants

    รางวัลการศึกษาวิทยาศาสตรScience Education Awards

    มลูนธิิโทเร เพือ่การสงเสรมิวทิยาศาสตร ประเทศไทยThailand Toray Science Foundation

    62

    52

    32

    22

    8

    1

    ISBN: 978-616-12-0484-6เจาของ: มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตร ประเทศไทยชั้น 6 อาคารบุปผจิต เลขที่ 20 ถนนสาทรเหนือ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500โทรศัพท: 02-266 6609 โทรสาร: 02-266 6610จำนวนพิมพ 3,500 เลมกุมภาพันธ 2560Publication of Thailand Toray Science Foundation6th Floor, Bubhajit Building, 20 North Sathorn Road, Bangkok 10500E-mail: [email protected] Website: www.ttsf.or.thFebruary 2017

  • 1มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    มลูนธิโิทเร เพือ่การสงเสริมวทิยาศาสตร ประเทศไทย ไดรบัอนญุาตใหจดัตัง้เปนทางการเมือ่วนัที่2 กมุภาพันธ พ.ศ. 2537 โดยมีวตัถปุระสงคเพือ่รวมสงเสรมิความกาวหนาทางดานวทิยาศาสตรและเทคโนโลยใีนประเทศไทยเพือ่บรรลวุตัถปุระสงคดงักลาว มลูนธิฯิ ไดดำเนนิกจิกรรมเพือ่การพฒันาและสงเสรมิความกาวหนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในประเทศไทย โดยจดัใหมกีจิกรรมสามประเภทดวยกนั

    • ประเภทแรก คอื การจัดใหมรีางวัลวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี สำหรบับคุคลหรือสถาบนัที่มีผลงานดีเดนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    • ประเภททีส่อง คอื การใหเงนิทนุชวยเหลอืทางดานวทิยาศาสตรและเทคโนโลยเีพือ่สนบัสนุนอาจารย และ/หรือ นักวิจัยที่กำลังคนควาหรือมีโครงการคนควาวิจัยที่เปนรากฐานอันจะอำนวยประโยชนใหแกวงการวทิยาศาสตรและเทคโนโลยใีนประเทศไทย

    • ประเภทท่ีสาม คอื รางวัลการศกึษาวทิยาศาสตร โดยมอบใหแกบคุลากรผรูบัผดิชอบทางการเรียนการสอนวิทยาศาสตรของโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลายที่มีผลงานดีเดนในการสรางสรรคและริเริ่มทางการศึกษาวิทยาศาสตร เพื่อนำไปพัฒนาและเพิม่พนูความสนใจของนกัเรยีนตอวชิาวทิยาศาสตร นอกจากนีใ้นปพทุธศกัราช 2539มูลนิธิฯ ยังไดใหการสนับสนุนแกหองปฏิบัติการวิทยาศาสตรของโรงเรียนที่ไดรับรางวัลการศึกษาวิทยาศาสตรอกีดวย

    มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตร ประเทศไทย ไดรับเงินกองทุนประเดิมจาก TorayIndustries, Inc., Japan โดยใชดอกผลจากกองทุนนี ้นอกจากน้ียงัไดรบัเงินบริจาคจาก TorayScience Foundation, Japan และกลมุบริษทัโทเรในประเทศไทย 4 บริษทั

    รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในปพทุธศักราช 2559 ซึง่เปนปทีย่ีส่บิสามของการดำเนินกจิกรรมน้ี ในดานบคุคลท่ีมผีลงานทางดานวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีทีม่คีณุภาพเปนเลศิ ซึง่ไดรบัการตีพมิพในวารสารวิชาการท่ีมกีารตรวจสอบคุณภาพอยางเครงครัด ตลอดจนเปนผลงานที่มีคุณคาตอสังคมในดานการสรางความกาวหนาทางวิชาการและในดานศกัยภาพของการนำไปประยุกตใช คณะกรรมการสาขารางวัลวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมลูนิธโิทเร เพือ่การสงเสรมิวิทยาศาสตร ประเทศไทย ไดพจิารณาผลงานของบุคคลและสถาบันที่ไดรับการเสนอชื่อและไดเสนอคณะกรรมการบริหารมูลนิธิฯ ซึ่งมีมติเปนเอกฉันทยกยองให ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษ ศาสตราจารยระดบั 11 ภาควิชาวศิวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังเปนผไูดรับรางวัลวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี ประเภทบุคคลศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษ เริม่ทำการวิจยัเกีย่วสายอากาศเพ่ือใชในการส่ือสารไรสายมาต้ังแตปพ.ศ. 2524 ตอมาในป พ.ศ. 2546 ดวยเลง็เหน็วาประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมและตองการ

    รายงานผลการดำเนินงาน

  • Thailand Toray Science Foundation2

    เครือ่งมอืชวยปรบัปรุงคณุภาพของผลติผลทางการเกษตร จงึไดเริม่ศกึษาและดำเนนิการวจิยัเกีย่วกบัการใชสายอากาศและคลืน่ไมโครเวฟกบังานดานเกษตรกรรมขนานไปกบัการวิจยัดานการสือ่สารไรสายเปนผบูกุเบกิการพฒันาเซนเซอรเพือ่ตรวจสอบระดบัความออนแกของผลไมกอนการเกบ็เกีย่วโดยใชเทคนคิเรดาร ทีว่ดัการสะทอนกลบัของคลืน่ไมโครเวฟแลวนำมาประมวลสัญญาณเพือ่คำนวณหาความถีต่อบสนองท่ีสมัพนัธกบัคณุสมบตัไิดอเิลก็ตรกิของเน้ือทเุรยีนทีม่รีะดับความออนแกตางกนังานวิจยัน้ีนำไปสกูารทำเกษตรแมนยำทีเ่กษตรกรสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตในชวงเวลาท่ีเหมาะสมนอกจากนีไ้ดนำเสนอการทำงานของเซนเซอรทีเ่ลยีนแบบระบบสือ่สารไรสาย โดยพิจารณาผลทุเรยีนทีม่รีะดบัความออนแกตางกนั จะสะทอนคลืน่วิทยมุากนอยไมเทากนั มผีลทำใหแฟคเตอรของชองสญัญาณระบบส่ือสารแบบไรเซียน (Rician k-factor) ไมเทากนัและใชคานีใ้นการตัดสนิใจคัดแยกทเุรยีนออนออกจากทุเรยีนแก ชวยใหผปูระกอบการควบคุมคณุภาพของสินคาไดจากงานวิจัยที่บุกเบิกการประยุกตความรูทางสายอากาศและการแพรกระจายคลื่นเพื่อใชกับงานทางดานการเกษตรซ่ึงเปนปญหาพ้ืนฐานของประเทศไทย รวมท้ังประเทศอ่ืนๆ อกีมากมาย ทำใหไดรับความยอมรับอยางสูงในระดับนานาชาติ และปนคนไทยคนแรกที่ไดรับเกียรติใหทำหนาที่Distinguished Lecturer of IEEE Antennas and Propagation Society โดยมหีนาทีบ่รรยายใหความรแูกสมาชกิของสมาคมในประเทศตางๆ ระหวางป พ.ศ. 2555-2557สำหรบัหนวยงานทีไ่ดรบัการคดัเลอืกใหรบัรางวลัวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีประจำปพทุธศกัราช2559 คอื ภาควชิาพชืไรนา มหาวทิยาลยัเกษตรศาสตร โดยไดกอตัง้มาพรอมกบัมหาวทิยาลยัตัง้แตป พ.ศ. 2486 เปดสอนหลักสตูรสาขาวิชาพชืไรเปนแหงแรกในประเทศไทยต้ังแตระดับปริญญาตรีจนถงึปรญิญาเอก ซึง่เนนองคความรตูัง้แตหลกัการพืน้ฐานถงึทฤษฎขีัน้สงูในการสอนและวจิยัพชืเศรษฐกจิ เชน ขาวโพด มนัสำปะหลัง ขาว ปาลมน้ำมนั ออย ยางพารา พชือาหารสตัว พชืพลงังานและพืชวงศถั่ว หลักสูตรที่เปดสอนประกอบดวยเทคโนโลยีและองคความรูที่ทันสมัยและใชประโยชนไดจรงิ ภาควชิาพชืไรนาสงเสรมิประสทิธภิาพการผลติพชืผานการศกึษาและคนควาวจิยัดานการปรับปรุงพันธุพืช สรีรวิทยาและการผลิตพืช วิทยาการวัชพืช วิทยาการเมล็ดพันธุและเทคโนโลยีหลงัการเก็บเกีย่ว รวมถงึอตุนุยิมวิทยาเพือ่การเกษตร เพือ่ความยัง่ยนืดานอาหารและพลังงานของประเทศไทยภาควิชาพืชไรนาไดดำเนนิการปรับปรุงพันธแุละออกพันธใุหมของพืชเศรษฐกิจท่ีสำคญัหลายชนิดมาอยางตอเนือ่งในหลายทศวรรษท่ีผานมา สำหรบัใชเปนพนัธปุลกูหรอืใชเปนฐานพนัธกุรรมของการปรับปรุงพนัธใุหมทัง้ในระดับประเทศและระดับโลก ตวัอยางเชน ขาวโพดเล้ียงสตัวพนัธสุวุรรณ 1มนัสำปะหลงัพนัธเุกษตรศาสตร 50 และถ่ัวเขียวพันธกุำแพงแสน 1 และ 2 นอกจากน้ีภาควิชาพืชไรนาเปนหนวยงานเดียวของประเทศท่ีมีความรวมมือกับ International Rice GenomeSequencing Project (IRGSP) ในการหาลำดับเบสบนจโีนมขาว และยงัไดคนพบยนีความหอมในขาวขาวดอกมะลิ 105 บัณฑิตจากภาควิชาพืชไรนาไดออกรับใชสังคมในดานตางๆ ทั้งที่เปนผนูำหรอืผบูรหิารดานการเกษตรและการศกึษาในภาครฐัและเอกชน ตัง้แตองคมนตร ีอธบิดกีรมผูอำนวยการศูนย/สถาบัน และผูบริหารระดับสูงของบริษัทดานการเกษตรชั้นนำในประเทศและภมูภิาคเอเชยี บณัฑติของภาควชิาพชืไรนาไดกลายเปนพลงัขบัเคลือ่นภาคการเกษตรของประเทศและภมูภิาคเอเชยีอาคเนยอยางมนียัสำคญั

  • 3มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    ทนุชวยเหลือทางดานวิจยัวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีนอกจากรางวัลวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแลวนั้น มูลนิธิฯ ยังไดใหทุนชวยเหลือทางดานวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยที่หัวขอวิจัยจะตองเปนประโยชนตอสวนรวมและตอการพัฒนาองคความรทูางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศ โดยในปพทุธศักราช 2559 นี ้ไดมอบทุนชวยเหลอืทางดานวจิยัวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ีรวมทัง้สิน้ 20 ทนุวจิยั ดงันี้

    สาขาเกษตรศาสตรและชวีวทิยา มจีำนวน 9 โครงการ1. ชื่อโครงการ การผลิตสตารชที่ทนยอยโดยเอนไซมในระบบทางเดินอาหารเพื่อใชใน

    ผลิตภัณฑอาหารเพื่อสุขภาพชือ่นกัวิจยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. เกือ้การุณย ครสูงหนวยงาน ภาควิชาชวีเคม ีคณะวทิยาศาสตร จฬุาลงกรณมหาวิทยาลยั

    2. ชื่อโครงการ ผลของฮอรโมนจวูไีนลสงัเคราะหตอพฒันาการของรงัไขในดกัแดหนอนเยือ่ไผ(Omphisa fuscidentalis)

    ชือ่นกัวิจยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. มนพร มานะบุญ พลูแกวหนวยงาน ภาควิชาชวีวทิยา คณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลยัเชียงใหม

    3. ชื่อโครงการ ศกึษาโปรตีนเปาหมายของสารกลมุ Isocryptolepine ทีม่ฤีทธ์ิตานมาลาเรียชือ่นกัวิจยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. อรภคั เรีย่มทองหนวยงาน ภาควิชาชีวโมเลกุลและพันธุศาสตรโรคเขตรอน คณะเวชศาสตรเขตรอน

    มหาวิทยาลัยมหดิล

    4. ชื่อโครงการ การปนเปอนสารพิษที่มาจากเชื้อราที่มีอยูตามธรรมชาติในผลิตภัณฑขาวปลอดสารเคมี

    ชือ่นกัวิจยั ดร. วทุวิชัฒ จติจกัรหนวยงาน วทิยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแกน

    5. ชื่อโครงการ การแปรรูปเห็ดปาเอคโตไมคอรไรซาชนิดบริโภคไดที่มีคุณสมบัติลดระดับน้ำตาลและคอเลสเตอรอลเพือ่เพ่ิมมูลคาสนิคาทางการเกษตร

    ชือ่นกัวจิยั ดร. ณฎัฐกิา สวุรรณาศรยัหนวยงาน ภาควิชาจลุชวีวทิยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยัศรนีครนิทรวิโรฒ

    6. ชื่อโครงการ การเจรญิเตบิโตของปทูะเล (Scylla sp.) หลงัการลอกคราบชือ่นกัวิจยั ดร. ภทัราวดี ศรมีเีทยีนหนวยงาน สาขาวชิาเกษตรศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวทิยาลยันราธวิาสราชนครนิทร

    7. ชื่อโครงการ ปฏสิมัพนัธระดับโมเลกลุระหวางแอคตโินมยัสทีเอนโดไฟตกบัขาวเพือ่สงเสรมิการเจรญิและลดความเครยีดของขาวในสภาวะเคม็

    ชือ่นกัวจิยั รองศาสตราจารย ดร. อรนิทพิย ธรรมชยัพเินตหนวยงาน ภาควิชาพันธศุาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

  • Thailand Toray Science Foundation4

    8. ชื่อโครงการ คุณคาทางโภชนาการและสมบัติเชิงสุขภาพของผักและสมุนไพรท่ีใชในตำรับอาหารไทย

    ชือ่นกัวจิยั ดร. ปยะ เตม็วิรยิะนกุลูหนวยงาน สถาบันโภชนาการ มหาวทิยาลยัมหดิล

    9. ชื่อโครงการ การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการสรางสารทุติยภูมิในกลวยไมวานเพชรหึง(Grammatophyllum speciosum Blume) ทีเ่ลีย้งในระบบ TemporaryImmersion Bioreactor

    ชือ่นกัวิจยั ดร. วรรณสิร ิวรรณรัตนหนวยงาน หองปฏิบัติการเทคโนโลยชีีวภาพเพ่ืออุตสาหกรรม ฝายนาโนเทคโนโลยแีละ

    เทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอตุสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร

    สาขาเคมี มจีำนวน 3 โครงการ10. ชื่อโครงการ การประยุกตใชสีสังเคราะหและสารขนจากแปงหัวบอนดัดแปรสำหรับพิมพ

    ผาไหมและผาฝายชือ่นกัวจิยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. รตันพล มงคลรัตนาสทิธิ์หนวยงาน สาขาวชิาเทคโนโลยีเคมสีิง่ทอ คณะอุตสาหกรรมส่ิงทอและออกแบบแฟช่ัน

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

    11. ชื่อโครงการ การวิศวกรรมนาโนบอดีผานเขาเซลลทีย่บัยัง้ไทโรซีนไคเนสของ ErbB-2 ดวยการผสมผสานเทคนิคชีวเคมีคอมพิวเตอรและการทดลองในหองปฏิบัติการ

    ชือ่นกัวจิยั รองศาสตราจารย ดร. เกยีรติทวี ชวูงศโกมลหนวยงาน ภาควิชาชวีเคม ีคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร

    12. ชื่อโครงการ การพัฒนาตัวดดูซับชนิดเบาพิเศษจากชีวมวล ที่มีประสิทธิภาพในการเลือกดูดซับน้ำมันและดักจับโลหะหนักปนเปอนในน้ำเสียจากอุตสาหกรรม

    ชือ่นกัวจิยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. สวุด ีกองพารากุลหนวยงาน ภาควิชาเคมี คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลยัธรรมศาสตร

    สาขาฟสิกส มจีำนวน 4 โครงการ13. ชื่อโครงการ การพฒันาสมบตัดิานการนำไฟฟาของวสัดเุชิงประกอบของแบคทีเรยีเซลลโูลส

    เพื่อการประยุกตใชงานในเซลลแสงอาทิตยชือ่นกัวิจยั ดร. ศรุต อำมาตยโยธินหนวยงาน สาขาเทคโนโลยวีสัดแุละสิง่ทอ คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี

    มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

    14. ชื่อโครงการ การศึกษาผลกระทบของคลื่นเหนือเสียงที่มีตอการผลิตน้ำมันของสาหรายBotryococcus braunii

    ชือ่นกัวจิยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. สรศกัดิ ์ดานวรพงศหนวยงาน ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลยัวลยัลกัษณ

  • 5มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    15. ชื่อโครงการ ตัวตรวจไอออนปรอทแบบกระดาษโดยการวัดสีตามคุณสมบัติพลาสมอนชือ่นกัวจิยั ดร. ศภุลกัษณ อำลอยหนวยงาน ภาควิชาฟสกิส คณะวทิยาศาสตร มหาวทิยาลยัทกัษิณ วทิยาเขตพทัลงุ

    16. ชื่อโครงการ การพัฒนาวัสดุปดและสมานแผลจากสารสกัดหยาบใบสาบเสือในรูปแบบของเสนใยนาโนและไฮโดรเจล

    ชือ่นกัวิจยั ดร. นริศร บาลทพิยหนวยงาน สาขาวชิาฟสกิส คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี

    มหาวทิยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลธญับุรี

    สาขาวิศวกรรมศาสตร มจีำนวน 4 โครงการ17. ชื่อโครงการ การออกแบบและสรางเขาเทียมไฮดรอลิกสำหรับผูพิการขาขาดที่แข็งแรง

    ชือ่นกัวจิยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. ชญัญาพนัธ วริฬุหศรีหนวยงาน ภาควชิาวศิวกรรมเครือ่งกล คณะวศิวกรรมศาสตร จฬุาลงกรณมหาวทิยาลยั

    18. ชื่อโครงการ การออกแบบวงจรรักษาระดบัแรงดันแบบแรงดันตกครอมต่ำและมปีระสทิธภิาพสูงโดยไมใชตัวเก็บประจุภายนอกในระบบแผงวงจรรวมพลังงานต่ำ

    ชือ่นกัวจิยั ผชูวยศาสตราจารย ดร. วรดร วฒันพานิชหนวยงาน ภาควิชาวศิวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

    19. ชื่อโครงการ การพัฒนาตัวแบบเฝาระวังการระบาดของไขเลือดออกโดยใชดัชนีพืชพรรณจากการรบัรรูะยะไกลและการวเิคราะหวฏัจกัรปรากฏการณเอนโซ

    ชือ่นกัวจิยั รองศาสตราจารย ดร. กติตศิกัดิ ์เกดิประสพหนวยงาน ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร

    มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีสรุนารี

    20. ชื่อโครงการ นวัตกรรมการผลิตเลนสพอลิเมอรสำหรับทัศนูปกรณแสงดวยเครื่องพิมพ3 มติ ิเพือ่สรางทศันปูกรณแสงและอปุกรณแสงทางวทิยาศาสตร

    ชือ่นกัวจิยั ดร. สือ่จติต เพช็รประสานหนวยงาน คณะวิศวกรรมชีวการแพทย มหาวทิยาลยัรงัสติ

    รางวลัการศกึษาวทิยาศาสตรสำหรบัผลการตดัสนิรางวลัการศกึษาวทิยาศาสตรนัน้ คณะกรรมการรางวลัการศกึษาวทิยาศาสตรไดคดัเลอืกใหมผีไูดรบัรางวัลในระดับมธัยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย โดยมีรายละเอียดดงันี้

    ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เงนิรางวัลรวม 210,000 บาทรางวลัที ่1 ไมมีผูไดรับรางวัล

    รางวลัที ่2 เงนิรางวัล 80,000 บาท ไดแกอาจารยธดิารตัน คณุธนะโรงเรียนสนัตคิรีวีทิยาคม อำเภอแมฟาหลวง จงัหวัดเชียงรายชือ่ผลงาน: การเพ่ิมผลผลิตของเห็ดหลนิจอืทีเ่พาะดวยดนิมารลผสมข้ีเลือ่ยไม

  • Thailand Toray Science Foundation6

    รางวลัที ่3 เงนิรางวัล 60,000 บาท มผีไูดรบัรางวัล 2 คน ไดแก1. อาจารยขวญัฤทยั คำฝาเชือ้โรงเรียนวาววีทิยาคม อำเภอแมสรวย จงัหวัดเชียงรายชื่อผลงาน: อิทธิพลของไสเดือนดินที่มีตอผลผลิตของชาอัสสัมที่ระดับความสูงตางกัน

    2. อาจารยคงกฤช อะทะวงศโรงเรียนดำรงราษฎรสงเคราะห อำเภอเมือง จงัหวัดเชียงรายชื่อผลงาน: ผลของสารสกัดจากสาหรายสีเขียวแกมน้ำเงินจากบอน้ำพุรอนตอการยบัยัง้การงอกและการเจรญิเตบิโตของหญาขาวนก

    รางวัลชมเชย เงนิรางวัล 10,000 บาท ไดแกอาจารยกณัจณา อกัษรดษิฐโรงเรียนเทงิวทิยาคม อำเภอเทงิ จงัหวัดเชียงรายชือ่ผลงาน: ผลการศกึษาการใชกระดาษเคลอืบน้ำยางพาราในการคลมุแปลงหอมแดง

    ระดบัมธัยมศกึษาตอนปลาย เงนิรางวลัรวม 235,000 บาทรางวลัที ่1 เงนิรางวัล 120,000 บาท ไดแก

    อาจารยเกยีรตศิกัดิ ์อนิราษฎรโรงเรียนดำรงราษฎรสงเคราะห อำเภอเมือง จงัหวัดเชียงรายชือ่ผลงาน: การศกึษาสมบตัขิองยางไมในทองถิน่เพือ่ประยกุตใชเปนเจลประคบเยน็

    รางวลัที ่2 เงนิรางวัล 100,000 บาท ไดแกอาจารยสวุารี พงศธรีะวรรณีโรงเรยีนสรุาษฎรพทิยา อำเภอเมือง จงัหวดัสรุาษฎรธานีชื่อผลงาน: พอลิเมอรคอมโพสิตจากเซลลูโลสแบคทีเรียที่เลี้ยงดวยน้ำทิ้งจากการทำยางแผนดิบ

    รางวลัที ่3 ไมมีผูไดรับรางวัล

    รางวัลชมเชย เงนิรางวัล 15,000 บาท ไดแกอาจารยสกุลัยา วงคใหญโรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” อำเภอพนมสารคาม จงัหวัดฉะเชิงเทราชือ่ผลงาน: ศึกษาประสิทธิภาพการยอยตอซังโดยใชน้ำหมักจากมูลสัตวเพื่อเปนแนวทางในการลดการเผาตอซัง

    นอกจากนี้ โรงเรียนของผูไดรับรางวัลที่ 1 รางวัลที่ 2 และรางวัลที่ 3 ทั้ง 4 โรงเรียนยังไดรับเงนิสนบัสนนุหองปฏบิตักิารทางวทิยาศาสตรโรงเรียนละ 25,000 บาท ไดแก

  • 7มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    1. โรงเรียนสนัตคิรีวีทิยาคม อำเภอแมฟาหลวง จงัหวัดเชียงราย2. โรงเรียนวาววีทิยาคม อำเภอแมสรวย จงัหวัดเชียงราย3. โรงเรยีนดำรงราษฎรสงเคราะห อำเภอเมือง จงัหวดัเชยีงราย (2 รางวลั)4. โรงเรยีนสรุาษฎรพทิยา อำเภอเมือง จงัหวดัสรุาษฎรธานี

    มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตร ประเทศไทย ขอขอบคุณมูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตร ประเทศญ่ีปุน กลุมบริษัทโทเรประเทศไทย และคณะกรรมการชุดตางๆ ที่ไดดำเนนิการคดัเลอืกผทูีไ่ดรบัรางวลั และหวงัวาความพยายามของมลูนธิฯิ ในการดำเนนิกจิกรรมดังที่ไดกลาวมานี้ จะเปนสวนสำคัญสวนหนึ่งของสังคมที่จะชวยจรรโลงวงการวิทยาศาสตรของประเทศไทยใหเจริญรุดหนาสืบตอไป

    ศาสตราจารย ดร. ยงยุทธ ยทุธวงศประธานมลูนธิโิทเรเพือ่การสงเสรมิวทิยาศาสตร ประเทศไทย

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation8

    Science and Technology Awards

    ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษProfessor Dr. Monai Krairiksh

    เกดิเมือ่วันที ่19 มถินุายน 2500 ทีก่รงุเทพมหานคร เปนบตุรคนที่สองในจำนวนส่ีคนของนายนิปก และนางมัชชารี ไกรฤกษ สมรสกับนางศริาภรณ ไกรฤกษ (ดสิสระ) มธีดิาและบตุรสองคน คอื นางสาวนวกิา ไกรฤกษ และนายเมธัส ไกรฤกษ

    การศกึษามธัยมศึกษา โรงเรียนวชริาวธุวิทยาลยั

    พ.ศ. 2524 วศิวกรรมศาสตรบัณฑติ (วศิวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

    พ.ศ. 2527 วศิวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศิวกรรมไฟฟา) สถาบนัเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

    พ.ศ. 2537 วศิวกรรมศาสตรดุษฎบีณัฑิต (วศิวกรรมไฟฟา) สถาบนัเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

    Pro f i l eMONAI KRAIRIKSHBorn: June 19, 1957, Bangkok, ThailandFamily: Second child of the four children of Mr.Nipka and Mrs.Musharee KrairikshWife: Mrs.Siraporn Krairiksh (Dissara)Children: 1. Ms.Nawika Krairiksh 2. Mr.Maethus Krairiksh

    Education:High school: Vajiravudh College

    1981 Bachelor of Engineering in electrical engineering, King Mongkut’s Instituteof Technology Ladkrabang

    1984 Master of Engineering in electrical engineering, King Mongkut’s Instituteof Technology Ladkrabang

    1994 Doctor of Engineering in electrical engineering, King Mongkut’s Instituteof Technology Ladkrabang

  • รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    9มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    Working Experiences:Academic Position1981 Lecturer, Department of Telecommunications Engineering, King Mongkut’s

    Institute of Technology Ladkrabang (KMITL)1988 Assistant Professor, Department of Telecommunications Engineering, KMITL1993 Associate Professor, Department of Telecommunications Engineering, KMITL2003 Professor, Department of Telecommunications Engineering, KMITL2008 Professor 11, Department of Telecommunications Engineering, KMITL

    Administrative Positions:1997-2002 Director of the Research Center for Communications and Information

    Technology2012-2013 Vice president2013-2015 Acting President

    ประวตักิารทำงานตำแหนงทางวิชาการพ.ศ. 2524 อาจารยภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบัน

    เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคณุทหารลาดกระบัง (สจล)พ.ศ. 2531 ผชูวยศาสตราจารย ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สจลพ.ศ. 2536 รองศาสตราจารย ภาควชิาวศิวกรรมโทรคมนาคม คณะวศิวกรรมศาสตร สจลพ.ศ. 2546 ศาสตราจารย ภาควชิาวศิวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สจลพ.ศ. 2551 ศาสตราจารยระดับ 11 ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร สจล

    ตำแหนงทางดานบริหารพ.ศ. 2540-2545 รกัษาการผอูำนวยการสำนกัวจิยัการสือ่สารและเทคโนโลยสีารสนเทศพ.ศ. 2555-2556 รองอธิการบดีพ.ศ. 2557-2558 รกัษาการอธกิารบดี

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation10

    Science and Technology Awards

    Other Positions Held and Awards:1990-1993 Project Leader: Steerable spherical slot array antenna: National

    Science and Technology Development Agency1993-1994 Project Leader: Steerable slot array applicator for uniform heat

    distribution: Thai Toray Science Foundation1999-2000 Project Leader: Inverse scattering for fruit quality control: National

    Research Council of Thailand1999-2000 Project Leader: Antennas for 3G systems: National Science and

    Technology Development Agency2005-2008 Project Leader: Antenna technology: Thailand Research Fund

    (Senior Research Scholar)2005-2006 Editor-in-Chief, ECTI EEC Transactions2006-2007 Project Leader: Microwave sensor for fruit inspection: National

    Research Council of Thailand2006-2008 Chairman of the IEEE MTT/AP/Ed joint chapter2006-2007 Project Leader: Wireless sensor network for fruit quality control:

    National Research Council of Thailand2006-2007 President of ECTI Association

    ตำแหนงอื่นๆ และรางวัลท่ีไดรับพ.ศ. 2537-2541 หวัหนาโครงการวจิยั สายอากาศสลอ็ตอารเรยทรงกลมทีป่รบัทศิทางได โดยรางวลั

    พัฒนาวิชาชีพนักวิจัย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติพ.ศ. 2541 หวัหนาโครงการวจิยั การศกึษากลไกการปรับจดุความรอนของสายอากาศปอน

    คลื่นแถวลำดับ เพื่อทำใหไดอุณหภูมิสม่ำเสมอในบริเวณกวาง โดยทุนของมูลนิธิโทเรเพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตรประเทศไทย

    พ.ศ. 2546 หวัหนาโครงการวจิยั การวดัคณุสมบตัขิองไดอเิลก็ตรกิดวยการวดัการกระเจงิยอนกลับเพ่ือการสงออก โดยคณะกรรมการวิจยัแหงชาติ

  • รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    11มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    2007 General Chairman of the 2007 Asia-Pacific Microwave Conference2008-2011 Project Leader: Electromagnetic wave technology: Thailand Research

    Fund (Senior Research Scholar)2008 Searching Committee Member, National Broadcasting and Telecom-

    munications Committee2008-2009 Editor-in-chief of the ECTI Transactions on Electrical Engineering,

    Electronics, and Communications 2008-20092009 Advisory committee of the 2009 International Symposium on Antennas

    and Propagation2010 Distinguished Researcher, National Research Council of Thailand2010-2011 President of the Electrical Engineering/ Electronics, Computer,

    Telecommunications and Information Technology Association (ECTI)2012-2014 Distinguished Lecturer: IEEE Antennas and Propagation Society2012 Distinguished Alumni of KMITL2013-Present Associate Editor: IEEE Transactions on Antennas and Propagation2013-2016 Project Leader: Microwave sensors for agricultural applications: King

    Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang Research Fund

    พ.ศ. 2548 เมธวีจิยัอาวโุส สกว.พ.ศ. 2549-2550 หัวหนาโครงการวิจัยเคร่ืองตรวจสอบรสชาติผลไมดวยคลื่นไมโครเวฟ

    โดยคณะกรรมการวิจัยแหงชาติพ.ศ. 2551 หัวหนาโครงการวิจัยระบบโครงขายเซนเซอรไรสายเพื่อควบคุมคุณภาพ

    การผลติผลไม โดยคณะกรรมการวิจยัแหงชาติพ.ศ. 2551 กรรมการสรรหาคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมพ.ศ. 2551 เมธวีจัิยอาวโุส สกว.พ.ศ. 2551-2553 บรรณาธิการวารสาร ECTI EEC Transactions

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation12

    Science and Technology Awards

    พ.ศ. 2553-2554 นายกสมาคมวิชาการไฟฟา อเิลก็ทรอนิกส คอมพิวเตอร โทรคมนาคม และเทคโนโลยสีารสนเทศ

    พ.ศ. 2553 นักวิจัยดีเดนแหงชาติสาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจัยพ.ศ. 2555 ศษิยเกาดเีดนสถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกลาเจาคณุทหารลาดกระบงัพ.ศ. 2555-2557 Distinguished Lecturer of IEEE Antennas and Propagation Societyพ.ศ. 2555-ปจจบุนั กรรมการสภามหาวิทยาลัยหอการคาไทยพ.ศ. 2556-ปจจุบนั Associate Editor of IEEE Transactions on Antennas and Propagationพ.ศ. 2559-ปจจบุนั กรรมการติดตามและประเมนิผลการสนบัสนนุการวจิยั สกว.

    กรรมสอบวิทยานิพนธปริญญาเอก: Royal Melbourne Institute ofTechnology ประเทศออสเตรเลยีกรรมสอบวิทยานิพนธปริญญาเอก: University of Technology Malaysiaประเทศมาเลเซยีผพูจิารณาบทความ: IEEE Transactions on Antennas and Propagationผพูจิารณาบทความ: IEEE Sensors Journalผพูจิารณาบทความ: IEEE IET Microwaves, Antennas & Propagationผพูจิารณาบทความ: IEEE Progress in Electromagnetics Researchผพูจิารณาบทความ: IEEE Institute of Electronics, Information andCommunication Engineers (IEICE)

    2013-Present National advisory committee chair of Innovative ElectromagneticAcademy of Thailand

    2013-Present Council Member, University of Thai Chamber of Commerce2015 Chairman of the 2015 IEEE Conference on Antenna Measurements

    and Applications2015-2017 Project Leader: Low-cost high efficiency base-station antenna

    deployment in any environment: IEEESpecial Interest Group for Humanitarian Technology Project

    2015-Present Coordinator of IEEE APS ASEAN Initiative2015-Present Member of IEEE APS SIGHT Committee

    Ph.D. External Examiner: Royal Melbourne Institute of Technology(Australia)Ph.D. External examiner: University of Technology MalaysiaReviewer for IEEE Transactions on Antennas and PropagationReviewer for IEEE Sensors JournalReviewer for IET Microwaves, Antennas & PropagationReviewer for Progress in Electromagnetics ResearchReviewer for Institute of Electronics, Information and CommunicationEngineers (IEICE)

  • รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    13มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    AchievementsResearchAntennas for wireless communicationsRealizing that antenna is a crucial component that is inevitably utilized in wirelesscommunications, Prof.Monai Krairiksh has conducted research on antenna since 1981.It began with fixed beam antennas and subsequently moved to beam-scanning antenna.He proposed an antenna that radiation pattern can be reconfigured by shorting oropening the four edges of a square patch antenna by using PIN diodes. The tworadiation patterns significantly enhances diversity gain of the wireless communications.The antenna was further developed by switching exciting probes instead of shorting-openingthe edges of the antenna to simplify the fabrication process. Furthermore, a dual-bandantenna using this technique was developed to support the modern wireless communications.Prof. Monai Krairiksh proposed a circular array which utilizes one-bit phase shifters.

    ผลงานวจิัยของศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษResearch Works of Professor Dr. Monai Krairiksh

    ดานการวจิยัศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษมคีวามสนใจงานวิจยัดานสายอากาศซ่ึงมีสวนสำคัญท่ีขาดไมไดในระบบสื่อสารไรสาย ไดดำเนินการวิจัยมาตั้งแตปพ.ศ.2524 และไดเร่ิมศึกษาคนควาเกี่ยวกับสายอากาศท่ีมลีำคลืน่คงท่ี ตอมาจึงศกึษาสายอากาศท่ีปรบัลำลืน่ได สายอากาศน้ีสามารถประยุกตใชในการส่ือสารไรสายและการเกษตรสายอากาศปรับลำคล่ืนศารตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษไดนำเสนอสายอากาศแพทชสี่เหล่ียมที่ปรับลำคลื่นดวยการปด-เปดวงจรดวยไดโอดพิน (PIN diode) ที่ขอบของสายอากาศท้ังสี่ดาน ทำใหไดลำคล่ืนสองทิศทางท่ีสามารถเพ่ิม Diversity gain ไดเปนอยางดี และไดปรับปรุงใหสรางงายข้ึนดวยการสวิทชโพรบที่ปอนสายอากาศแทนการปด-เปดขอบสายอากาศ

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation14

    Science and Technology Awards

    With this configuration, a low loss feeding network is realized and this antenna issuitable for real usage. Subsequently, he applied the pattern reconfigurable antennasthat possess two radiation patterns in such a circular array. Hence, variety of radiationpatterns could be produced simply. This antenna can efficiently improve signal tointerference ratio. In addition, it can speed up the convergent rate of the smart antenna.Prof.Monai Krairiksh developed a four-beam Yagi-Uda antenna for mobile applications.The received signal is kept in good quality when the vehicle moves in different directions.Applying the four-beam Yagi-Uda antennas as elements of the proposed array withone-bit phase shifters, the number of radiation patterns could be enhanced over thetwo-beam counterpart.Apart from antenna development, Prof. Monai Krairiksh developed communication channelson a tree and in a garden according to the demand of agricultural applications in Thailand.

    Antennas and propagation for agricultural applicationsProf. Monai Krairiksh pioneered in developing a radar for fruit classification. He proposedthe use of measured back scattered wave from a fruit to evaluate natural frequency. Theimmature fruits have different dielectric properties from mature fruits and the magnitudeof scattered wave are different. This is essential to the pre-harvest of durian fruits whichproduce the highest revenue to the exporters. By the way, this technique can beapplied to other fruits.While the problem of durian post-harvest has markedly effect on exporters, Prof. Monai

    ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษไดนำเสนอสายอากาศแถวลำดับที่ปรับลำคลื่นดวยวงจรปรับเฟส 1 บิตที่มีความสูญเสียในระบบปอนสัญญาณต่ำทำใหสายอากาศมีประโยชนอยางยิ่งในระบบสือ่สารไรสาย ตอมาไดนำเสนอสายอากาศปรบัลำคล่ืนไดเปนสวนประกอบของแถวลำดบัเปนผลใหระบบสายอากาศน้ีมกีารปรับแบบรูปการแผพลงังานไดหลากหลายโดยงาย สามารถเพิม่อตัราสวนกำลังของสัญญาณท่ีตองการตอสญัญาณรบกวนอยางมีประสิทธภิาพ และเม่ือใชเปนสายอากาศอจัฉรยิะจะมอีตัราการลเูขาสอูตัราสวนสญัญาณทีต่องการตอสญัญาณรบกวนสงูไดรวดเรว็ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษไดนำเสนอสายอากาศยากิ-อูดะที่ปรับลำคลื่นไดสี่ทิศทางทีส่ามารถใชเปนสายอากาศทีต่ดิตัง้บนพาหนะ ทำใหคณุภาพของการส่ือสารดแีมพาหนะมกีารเลีย้วเปล่ียนทิศทาง การใชสายอากาศยากิ-อูดะท่ีปรับลำคล่ืนไดสี่ทิศทางน้ีเปนองคประกอบของแถวลำดับทำใหมีรูปแบบการแผพลังงานไดมากกวาการใชองคประกอบที่มีสองลำคล่ืนอยางมากนอกจากการคนควาสายอากาศแลว ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษไดศกึษาคนควาเกีย่วกบัการแพรกระจายคลื่นวิทยุ โดยมุงการศึกษาชองสัญญาณบนตนไมและในสวน ที่ทำใหสามารถประยุกตใชในงานที่เกี่ยวกับการใชคลื่นแมเหล็กไฟฟาในการเกษตรของประเทศไทยเซนเซอรไมโครเวฟเพ่ือการเกษตรศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษบกุเบกิการศกึษาเรดารเพือ่การคดัผลไมโดยการวดัคลืน่สะทอนกลบัจากผลไม แลวนำมาคำนวณความถีธ่รรมชาติซึ่งมีความแตกตางระหวางผลไมออนและผลไมแกประโยชนที่สำคัญคือการคัดผลไมกอนการเก็บเกี่ยว ซึ่งผลไมที่สนใจคือทุเรียนเพราะเปนผลไมที่มีมูลคาการสงออกเปนอันดับหนึ่ง ทำนองเดียวกันเทคนิคนี้ยังใชกับผลไมอื่นไดในขณะที่ปญหาดานหลังการเก็บเกี่ยวทุเรียนออนมีผลกระทบตอรายรับของผูประการสงออกเปนอยางมาก ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษไดศกึษาและพัฒนาเซนเซอรคดัทเุรยีนออนท่ีปะปน

  • รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    15มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    มาออกจากทเุรียนแกโดยอาศยัความรทูางดานการสือ่สารไรสาย และจากคุณสมบัตไิดอเิลก็ตริกของเนือ้ทเุรยีนออนแตกตางจากของเน้ือทเุรยีนแก ทำใหคลืน่กระเจิงมคีวามแรงแตกตางกัน จากการวดัหลายๆ คร้ังรอบตัวผลทุเรยีน พบวาคาความเบ่ียงเบนของสัญญาณสะทอนจากเน้ือทเุรยีนออนแตกตางจากเนือ้ทเุรยีนแก ทำใหสามารถคำนวณดชันคีวามออนแกจาก k-factor ทีใ่ชในการสือ่สารไรสายได งานวิจยัน้ีไดยืน่จดสิทธิบตัร ตพีมิพในวารสารช้ันนำและผลิตในเชิงพาณิชย แตในการวดัคลืน่กระเจงิหลายๆ ครัง้รอบผลทเุรยีน อาจทำไดโดยใชมอเตอรหมนุผลทเุรยีน แตจะไมสะดวกในทางปฏิบัติเพราะเม่ือผลทุเรียนวางอยูบนสายพานจะไมสามารถหมุนได

    Krairiksh investigated dielectric properties of durian fruits at different maturity stagesand developed a durian-classification-sensor based on a principle of wireless communications.With the different dielectric properties at different maturity stages, the differentscattered wave measured at various positions around the fruit produces a maturityindex calculated from k-factor in wireless communications. This work was filed for patent,published in a leading journal and commercialized.In order to measure scattered wave at various positions around the fruit, it can beaccomplished by rotating the fruit by a motor. However, it is not suitable in practicewhen a lot of fruits are laid on a conveyor. Prof. Monai Krairiksh applied the proposedphase array of pattern reconfigurable antenna he used in wireless communications tothis purpose. It is used for receiving scattered wave from a fruit via a conical reflector.In this regard, data of scattered waves from various positions can be obtained tocalculate k-factor and a large number of fruits on a conveyor can be classified.In addition, a microwave sensor was developed for measuring variation of dielectricproperties of an object without using expensive phase measurement by measuringcoupled signals from parallel and perpendicular antennas. It was applied for measuringmoisture content of paddy and feeding back to the high-efficiency microwave paddydrier developed by his group.From the aforementioned research works, IEEE Antennas and Propagation Societyappointed Prof.Monai Krairiksh as a Distinguished Lecturer during 2012-2014. He wasthe Distinguished Lecturer who was most invited to give lectures in more than tencountries in 2013.

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation16

    Science and Technology Awards

    ศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษไดประยุกตสายอากาศแถวลำดับทีม่อีงคประกอบท่ีปรับลำคล่ืนไดมาสรางหลายลำคล่ืนแลวรับสัญญาณกระเจิงจากผลไมผานตัวสะทอนคลื่นรูปทรงกรวย มาคำนวณ k-factor ทำใหการคดัผลไมจำนวนมากทีว่างบนสายพานผานเซนเซอรทีค่ดิคนนีท้ำไดสำเรจ็นอกจากนีไ้ดพฒันาเซนเซอรวดัการเปลีย่นแปลงคณุสมบตัไิดอเิลก็ตริกดวยคลืน่ไมโครเวฟ ทีอ่าศยัการวัดสัญญาณเชื่อมตอรวมจากสายอากาศที่วางขนานและต้ังฉากกัน ทำใหไมตองวัดเฟสของสญัญาณซึง่มตีนทนุสงู ตวัอยางการใชงานไดแกการวดัความชืน้ขาวเปลอืก เพือ่ปอนกลบัคาความชืน้กลับไปยังเครื่องลดความชื้นดวยคล่ืนไมโครเวฟที่พัฒนาข้ึนผลจากงานวจิยัขางตนทำให IEEE Antennas and Propagation Society แตงตัง้ใหศาสตราจารยดร. โมไนย ไกรฤกษทำหนาที ่Distinguished Lecturer ในป พ.ศ. 2555-2557 และเปน DistinguishedLecturer ทีไ่ดรบัเชิญใหบรรยายในประเทศตางๆ มากกวา 10 ประเทศในป พ.ศ. 2556

    ดานการพฒันาบุคลากรและเครือขายวจิยัศาสตราจารย ดร. โมไนย ไกรฤกษ มคีวามมงุมัน่ตัง้ใจท่ีจะพัฒนาบุคคลากรและสรางเครือขายงานวิจยัในงานดานสายอากาศและการแพรกระจายคล่ืน ไดเปนอาจารยทีป่รกึษาหลักใหกบันกัศกึษาจบปริญญาโท 28 คน และปริญญาเอก 18 คน ในจำนวนน้ี 16 คนไดรบัการบรรจุเปนอาจารยตามสถาบันตางๆ ทำใหเกิดความเชื่อมโยงและความรวมมือในดานการเรียนการสอน การวิจัยและการบริการ ไดเปนอาจารยสอบวิทยานิพนธในสถาบันการศึกษาตางๆ ไดแก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลาธนบรุ ีมหาวทิยาลยัเทคโนโลยพีระจอมเกลา

    Human Resource DevelopmentProf. Monai Krairiksh concentrated on developing human resource and researchnetwork in antennas and propagation. He supervised 18 Ph.D. and 28 Master studentswhom 16 out of these are working as faculty members of public and private universities.Most of them collaborate in research on antennas and propagation in addition toteaching and academic service. He served as external examiners of various universities,e.g. Chulalongkorn University, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, KingMongkut’s University of Technology North Bangkok, Suranaree University of Technology,Mahanakorn University of Technology, etc. Prof.Monai Krairiksh also establishedinternational research network. He served as a general chairman of 2007 Asia-PacificMicrowave Conference, 2013 Asia-Pacific Conference on Antennas and Propagation,2015 IEEE International Conference on Antennas and Applications which successfullyorganized and Thai and oversea researchers joined together. Some research projectswere initiated from these activities. As a Local Advisory Chair of Innovative ElectromagneticAcademy of Thailand, this community can be strengthen.

    AcknowledgmentsI faithfully appreciate parents and all my teachers who paved so good basement that Ihave a chance to contribute some good things throughout my career of a professor anda researcher. I also appreciate King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang forgiving me a learning and a working place, particularly time which is essential to

  • รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    17มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    research. The following funding agencies, i.e. the National Research Council of Thailand,the National Science and Technology Development Agency, and the Thailand ResearchFund are highly appreciated for providing me a chance to develop my research potential.I would like to thank my family for continuous support and shared the difficulty duringthe beginning of the researcher life. I also thank to all my colleagues at my universityand others who made the joyful research atmosphere. Last but not least, all my studentsare highly appreciated for always updating their professor and contributing goodresults for a long time.

    พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ซึ่งเปนการเชือ่มโยงการวิจยั ศาสตราจารย ดร. โมไนยไกรฤกษไดสรางเครอืขายเชือ่มโยงกบันกัวจิยัในประเทศและตางประเทศ เปนประธานจดัการประชมุวชิาการนานาชาต ิ2007 Asia-Pacific MicrowaveConference 2013 Asia-Pacific Conference on Antennas and Propagation 2015 IEEEInternational Conference on Antennas and Applications ทีป่ระสบความสำเร็จในการสรางความคุนเคยและความรวมมือระหวางนักวิจัยไทยและนักวิจัยจากนานาชาติ และเปนประธานทีป่รกึษา Innovative Electromagnetic Academy of Thailand มาตัง้แตป พ.ศ. 2557 ทีส่รางความเขมแข็งของประชาคมดานวิจัยดานคลื่นแมเหล็กไฟฟา

    กติตกิรรมประกาศขอขอบพระคณุพอแม ครูอาจารย ทีส่รางรากฐานชวีติทีด่ ีทำใหมโีอกาสไดทำสิง่ดีๆ ตลอดระยะเวลาการทำงานในอาชีพอาจารยและนกัวจิยั ขอบคณุสถาบนัเทคโนโลยพีระจอมเกลาเจาคณุทหารลาดกระบังที่ใหทั้งที่เรียนและที่ทำงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งใหเวลาซึ่งเปนสิ่งจำเปนอยางยิ่งในการทำงานวิจัย ขอบคุณแหลงทุนวิจัยตางๆ ไดแก คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ที่ใหโอกาสไดสรางศักยภาพทางดานการวิจัย ขอบคุณครอบครัวที่ใหการสนับสนุนและรวมรับความลำบากในชวงเริม่ตนชวีตินักวจิยั ขอขอบคณุเพือ่นรวมงานทัง้ในสถาบนัเดยีวกนัและตางสถาบนัทีท่ำใหบรรยากาศการวิจัยเปนไปอยางนารื่นรมย และที่ขาดไมไดคือนักศึกษาทุกคนที่ตองขอบคุณเปนอยางสูงทีป่รบัใหผเูปนอาจารยทนัโลกอยเูสมอ และรวมกนัสรางผลงานดีๆ ตลอดระยะเวลายาวนาน

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation18

    Science and Technology Awards

    List of Publications1. C.Kittiyanpunya, P.Leekul, C.Phongcharoenpanich, and M.Krairiksh, “Beam-scanning reflectometer

    for detecting granulated fruits,” IEEE Sensors Journal (In press).2. P.Leekul, S.Chivapreecha, C.Phongcharoenpanich, and M.Krairiksh, “Rician k-factors-based

    sensor for fruit classification by maturity stage,” IEEE Sensors Journal, vol.16, no.17, pp.6559-6564, September 2016.

    3. T.Tantisopharak, P.Youryon, K.Bunyaathichart, M. Krairiksh, and T. K. Sarkar, “Non-destructivedetermination of the maturity of the durian fruit in the frequency domain using its naturalfrequency,” IEEE Transactions on Antennas and Propagation, vol.64, no.5, pp.1779-1787, May 2016.

    4. C.Kittiyanpunya and M.Krairiksh, “Design of pattern reconfigurable printed Yagi-Udaantenna,” IEICE Trans. Commun. vol.E99-B, no.1, pp.19-26, January 2016.

    5. P.Yoiyod and M.Krairiksh, “Dielectric properties determination of a stratified medium,” RadioEngineering, vol.24, no.1, pp.70-79, 2015.

    6. P.Yoiyod and M.Krairiksh, “A microwave vector reflectometer using self-mixing oscillatorantennas,” Latin America Applied Research, 07/2015; 45(3).

    7. P.Leekul, S.Chivapreecha and M.Krairiksh, “Microwave sensor for tangerine classificationbased on coupled-patch antennas,” International Journal of Electronics, 09/2015; DOI: 10.1080/00207217.2015.1092602.

    8. C.Kittiyanpanya and M.Krairiksh, “A four-beam pattern reconfigurable Yagi-Uda antenna,”IEEE Transactions on Antennas and Propagation, vol.61, no.12, pp.6210-6214, December 2013.

    9. P.Sooksumrarn, C.Kittiyanpunya, P.Yoiyod, and M.Krairiksh, “Wireless communications ina tree canopy,” Progress In Electromagnetics Research B, Vol.51, pp.329-346, 2013.

    10. T.Limpiti and M.Krairiksh, “In-situ moisture content monitoring sensor detecting mutualcoupling magnitude between parallel and perpendicular dipole antennas,” IEEE Transactionson Instrumentation and Measurement, vol.61, no.8, pp.2230-2241, August 2012.

    11. M.Chongcheawchamnan, K.Meelarpkit, S.Julrat, C.Phongcharoenpanich, and M.Krairiksh,“Extending bandwidth of a CPW-fed monopole antenna using circular arc structure,” Microwaveand optical technology letters, vol.54, no.6, pp.1412-1415, June 2012.

    12. K.Phaebua, C.Phongcharoenpanich, M.Krairiksh, and T.Lertwiriyaprapa, “Path-lossprediction of radio wave propagation in an orchard by using modified UTD method,” Progressin Electromagnetics Research, vol.128, pp.347-363, 2012.

    13. R.Suwarak, C.Phongcharoenpanich, D.Torrungrueng, and M.Krairiksh, “Determination ofdielectric property of construction material products using a novel RFID sensor,” Progress inElectromagnetics Research, vol.130, pp.601-617, 2012.

    14. T.Hongnara, C.Mahattanajatuphat, P.Akkaraekthalin, and M.Krairiksh, “A multibandCPW-fed slot antenna with fractal stub and parasitic line,” Radio Engineering, vol.21, no.2,pp.597-604, June 2012.

    15. M.Krairiksh, J.Varith, and A.Kanjanavapastit, “Wireless sensor network for monitoring maturitystage of fruit,” Science Research, Wireless Sensor Network, vol.3, pp.318-321, 2011.

    16. P.Wounchoum, D.Worasawate, C.Phongcharoenpanich, and M.Krairiksh, “A two-slot arrayantenna on a concentric sectoral cylindrical cavity excited by a coupling slot,” Progress inElectromagnetics Research, vol.120, 127-141, 2011.

  • รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    19มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    17. S.Chaimool, P.Akkaraekthalin, and M.Krairiksh, “Wideband constant beamwidth coplanarwaveguide-fed slot antennas using metallic strip loadings and a widened tuning stub withshaped reflectors,” International Journal of RF and Microwave Computer-Aided Engineering,vol.21, no.3, pp.263-271, May 2011.

    18. T.Tantisopharak, A.Boonpoonga, C.Phongcharoenpanich, and M.Krairiksh, “Adaptive arrayantenna using on-off and CMA algorithms for microwave RFID readers,” IEICE Trans. Commun.,vol.E94-B, no.5, pp.1153-1160, May, 2011.

    19. C.Sangdao, S.Songsermpong, and M.Krairiksh, “A continuous fluidized bed microwave paddydrying system using applicators with perpendicular slots on a concentric cylindrical cavity,”Drying Technology, 29: 35-46, 2011.

    20. J.Mearnchu, T.Limpiti, D.Torrungrueng, P.Akkaraekthalin, and M.Krairiksh, “A handheldmoisture content sensor using coupled-dipole antennas,” Latin American Applied Research,40: 199-206 (2010).

    21. M,Krairiksh, “A handset adaptive antenna using phased-array of switched-beam elements,”Journal of the Japan Society of Applied Electromagnetics and Mechanics, vol.17, no.3, pp.407-412, 2009.

    22. T.Hongnara, C.Mahattanajatuphat, A.Akkaraekthalin, and M.Krairiksh, “A multiband CPW-fedslot antenna with fractal stub and parasitic line,” Radio Engineering, vol.18, no.1, pp.1-6, 2009.

    23. M.Krairiksh, P.Keowsawat, C.Phongcharoenpanich, and S.Kosulvit, “Two-probe excitedcircular ring antenna for MIMO application,” Progress In Electromagnetics Research, PIER97, 417-431, 2009.

    24. C.Mahatthanajatuphat, P.Akkaraekthalin, S.Saleekaw, and M.Krairiksh, “A bidirectionalmultiband antenna with modified fractal slot fed by CPW,” Progress in ElectromagneticsResearch, PIER 95, 59-72, 2009.

    25. C.Mahatthanajatuphat, S.Saleekaw, P.Akkaraekthalin, and M.Krairiksh, “A rhombic patchmonopole antenna with modified Minkowski fractal geometry for UMTS, WLAN, and mobileWIMAX application,” Progress In Electromagnetics Research, PIER 89, 57-74, 2009.

    26. P.Keowsawat, C.Phongcharoenpanich, S.Kosulvit, J.Takada, and M.Krairiksh, “Mutualinformation of MIMO system in a corridor environment based on double directional channelmeasurement,” J. of Eletromagn. Waves and Appl., vol.23, 1221-1233, 2009.

    27. D. Torrungrueng, S. Lamultree, C. Phongcharoenpanich, and M. Krairiksh, “In-depth analysisof reciprocal periodic structures of transmission lines,” IET Microwaves, Antennas & Propagation,Volume 3, Issue 4, p. 591-600, June 2009.

    28. S.Janin, K.Sripimanwat, C.Phongcharoenpanich and M.Krairiksh, “A hybrid ring couplerquasi optical antenna-mixer,” AEU Int.J. Electron. Commun., vol.63, no.1. pp.36-45, Jan.2009.

    29. K.Meelarpkit, M.Chongcheawchamnan, C.Phongcharoenpanich, M.Krairiksh, L.B.Lok andI.D.Robertson, “Dual-band Microstrip-to-Coplanar Strip Balun Transition and Loop AntennaApplication,” IET Microw. Antennas Propag., vol.2, no.8, pp.823-829, 2008.

    30. D.Torrungrueng, C.Thimaporn, S.Lamultree and M.Krairiksh, “Theory of Small Reflections forConjugately Characteristic-Impedance Transmission Line,” IEEE Microwave and WirelessComponents Letters, vol.18, no.10, pp.659-661, Oct.2008.

    31. P.Wounchoom, D.Worasawate, C.Phongcharoenpanich and M.Krairiksh, “A Two-Slot ArrayAntenna on a Concentric Sectoral Cylindrical Cavity Excited by a Coupling Slot, Progress InElectromagnetics Research, PIER 86, 135-154, 2008.

    32. W.Saksiri, M.Chongcheawchamnan and M.Krairiksh, “Transmission Line Model for an Edge-Coupled Patch Antenna, ETRI Journal, vol.30, no.5, pp,723-728, Oct. 2008.

    33. C.Sangdao and M.Krairiksh, “Analysis of a Continuous Fluidised-bed Microwave Rice KernelDrying System,” Maejo International Journal of Science and Technology, 2008, 1 (SpecialIssue), 61-71.

    34. J.Tagapanij, P.Sooksumrarn, T.Tantisopharak, S.Janin and M.Krairiksh, “A Dual-BandDual-Feed Switched-Beam Patch Antenna for WLAN Application, IEICE Trans. Communications,Vol.E91-B, No.6, pp.1791-1799, Jun. 2008.

    35. A.Boonpoonga, P.Sirisuk, M.Chongcheawchamnan, S.Patisang and M.Krairiksh,“Hardware-Assisted Initialisation for CMA Adaptive Antenna,” IET Microw. Antennas Propag.,vol.2, no.4, pp.303-311, 2008.

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation20

    Science and Technology Awards

    36. S.Janin, K.Sripimanwat, C.Phongcharoenpanich and M.Krairiksh, “A multibeam antennausing quasi optical antenna-mixers,” AEU Int.J. Electron. Commun., 62, pp.450-454, 2008.

    37. M.Chongcheawchamnan, R.Phromloungsri, M.Krairiksh and I.D.Robertson, “Microsrtip RingResonator Filter with Inductively-Compensated Parallel-Coupled Feed and Stepped-ImpedanceDesign,” Electronics Letters, vol.43, no.23, Nov. 2007.

    38. T.Mayteevarunyoo, B.A.Malomed and M.Krairiksh, “Stability limits for two-dimensionalmatter-wave solitons in a time-modulated quasi-one-dimensional optical lattice,” PhysicalReview A, 76, 053612, 2007.

    39. K.Chawanonphithak, C.Phongcharoenpanich, S.Kosulvit and M.Krairiksh, “Characteristics ofan elliptical ring antenna excited by a linear electric probe,” International Journal ofElectronics, vol.94, no.10, pp.973-984, Oct. 2007.

    40. D.Torrungrueng, P.Y.Chou and M.Krairiksh, “A Graphical Tool for Analysis and Design ofBi-Characteristic-Impedance Transmission Lines (BCITLs),” Microwave and Optical TechnologyLetters, vol.49, no.10, pp.2368-2372, Oct.2007.

    41. P.Akkaraekthalin, S.Chaimool and M.Krairiksh, “Wideband Uni-directional CPW-fed SlotAntennas Using Loading Metallic Strips and a Wideband Tuning Stub on Modified-shapeReflector,” IEICE Trans. Communications, Vol.E90-B, No.9, pp.2246-2255, Sep. 2007.

    42. D.Torrungrueng, P.Y.Chou and M.Krairiksh, “An Extended ZY T-Chart for ConjugatelyCharacteristic-Impedance Transmission Lines with Active Characteristic Impedances,”Microwave and Optical Technology Letters, vol.49, no.8, pp.1961-1964, Aug.2007.

    43. D.Torrungrueng, A.Wongwattanarat and M.Krairiksh, “Magnitude of the Voltage ReflectionCoefficient of Terminated Reciprocal Uniform Lossy Transmission Lines,” Microwave andOptical Technology Letters, vol.49, no.7, pp.1516-1519, Jul. 2007.

    44. M.Chongcheawchamnan, S.Patisang, M.Krairiksh and I.D.Robertson, “Tri-Band WilkinsonPower Divider using a Three-Section Transmission-Line Transformer,” IEEE Microwave andWireless Component Letters, vol.16, no.8, pp.452-454, Aug. 2006.

    45. D.Torrungrueng, P.Y.Chou and M.Krairiksh, “A study of terminated Hermite lossless nonuniformtransmission line using Mathematica,” Microwave and Optical Technology Letters, vol.8,no.5, pp.888-892, May 2006.

    46. D. Srimoon, C. Phongcharoenpanich and M. Krairiksh, “Probe-Fed Rectangular Ring Antennawith a Cross-Strip for Low Cross-Polarization,” IEEE Transactions on Antenna and Propagation,vol.54, no.5, pp.1586-1591, June 2006.

    47. D. Srimoon, C. Phongcharoenpanich and M. Krairiksh, “A Probe-Fed U-Shaped Cross-SectionalAntenna with Tuning Stubs on a U-Shaped Ground Plane,” IEICE Transactions onCommunications 89-B(5), pp.1636-1645, May 2006.

    48. C.Sangdao, A.Roeksabutr and M.Krairiksh, “An Applicator for Uniform Heating UsingPerpendicular Slots on a Concentric Cylindrical Cavity Excited by Perpendicular Waveguides,”International Journal of Electronics, vol.93, no.3, pp.313-334, 2006.

    49. P.Ngamjanyaporn, M.Krairiksh and M.Bialkowski, “Combating Interference in an Indoor WirelessCommunication System with the Use of a Phased Array Antenna of Switched-BeamElements,” Microwave and Optical Technology Letters, pp.411-415, vol.45, no.5, June 2005.

    50. P.Ngamjanyaporn, C.Phongcharoenpanich, P.Akkaraekthalin and M.Krairiksh, “Signal-to-Interference Ratio Improvement by Using a Phased Array Antenna of Switched-Beam Elements,”IEEE Transactions on Antenna and Propagation, vol.53, no.5, pp.1819-1827, May 2005.

    51. W.Saksiri and M.Krairiksh, “A Couple Microstrip Antenna Employing Serrated Coupling,”IEEE Microwave and Wireless Component Letters, vol.15, no.2, pp.77-79, February 2005.

    52. T.Sukonthaphong, P.Ngamjanyaporn, C.Phongcharoenpanich and M.Krairiksh, “CovarianceMatrix Adjustment for Interference Cancellation Improvement in Adaptive Beamforming,”ECTI Transactions on Electrical Eng., Electronics and Communications, vol.1, no.1, pp.27-37,August 2003.

    53. R.Wongsan, C.Phongcharoenpanich and M.Krairiksh, “Characteristic Analysis of an Axial SlotAntenna on a Sectoral Cylindrical Cavity Excited by a Probe Using Method of Moments,”IEICE Trans. Fundamental, vol. E86-A, no.6, pp.1364-1373, June 2003.

  • รางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรางวลัวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    21มูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริม วิทยาศาสตร ประเทศไทย

    54. P.Kitchaiya, P.Intanakul and M.Krairiksh, “Enhancement of Enzymatic Hydrolysis ofLignocellulosic Wastes by Microwave Pretreatment Under Atmospheric Pressure,” Journal ofWood Chemistry and Technology, vol.23, no.2, pp.217-225, 2003.

    55. C.Thongsopa, M.Krairiksh, A.Mearnchu, and D.Srimoon, “Analysis and Design of Injection-LockingSteerable Active Array Applicator,” IEICE Transactions on Communications, vol.E85-B, no.10,pp.2327-2337, Oct. 2002.

    56. M.Krairiksh, W.Buasomboon, P.Ngamjanyaporn, and C.Phongcharoenpanich, “Spherical arrayself-mixing oscillator antenna,” Electronics Letters, vol.38, no.13, pp.620-622, June 2002.

    57. M.Krairiksh, P.Ngamjanyaporn, and C.Kessuwan, “A Flat Four-Beam Compact Phased ArrayAntenna,” IEEE Microwave and Wireless Components Letters, vol.112, no.5, pp.184-186, May 2002.

    58. P.Ngamjanyaporn and M.Krairiksh, “Switched-Beam Single Patch Antenna,” Electronics Let-ters, vol. 38, no. 1, pp. 7-8, Jan. 2002.

    59. S.Kosulvit, C.Phongcharoenpanich, and M.Krairiksh, “A Bidirectional Antenna using a ProbeExcited Rectangular Ring,” Science Asia, vol.27, no.4, pp. 285 - 291, Dec.2001.

    60. K.Meksamoot, M.Krairiksh, and J.Takada, “A Polarization Diversity PIFA on PortableTelephone and the Human Body Effects on Its Performance,” IEICE Transactions onCommunications, vol. E84-B, no. 9, pp.2460-2467, Sept. 2001.

    61. S.Kosulvit, M.Krairiksh, C.Phongcharoenpanich and T.Wakabayashi, “A Simple andCost-Effective Bidirectional Antenna Using a Probe Excited Circular Ring,” IEICE Trans.Electronics: vol. E84-C, no.4, pp.443-450, Apr. 2001.

    62. C.Phongcharoenpanich, M.Krairiksh and J.Takada, “Investigations of Radiation Characteris-tics of a Circularly Polarized Conical Beam Spherical Slot Array Antenna,” IEICE Trans.Electronics, vol. E82-C, no.7, pp.1242-1247, July 1999.

    63. M.Krairiksh, C.Phongcharoenpanich, K.Meksamoot and J.Takada, “A Circularly Polarized ConicalBeam Spherical Slot Array Antenna,” International Journal of Electronics, vol.86, no.7, pp.815-823,July 1999.

    64. M.Krairiksh, C.Thongsopa, C.Phongcharoenpanich, E.Khoomwong and C.Leekpai, “A SteerableSpherical Slot Array Antenna,” Journal of the Science Society of Thailand, vol.25, no.4,pp.231-236, 1999.

    65. M.Krairiksh, W.Kiranon, and T.Wakabayashi, “A spherical slot array applicator for medicalapplications,” IEEE Trans. on Microwave Theory and Techniques, vol.43, no.1, pp.78-86,August 1995.

  • Science and Technology Awards

    Thailand Toray Science Foundation22

    Science and Technology Awards

    ภาควชิาพชืไรนา มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตรDepartment of Agronomy, Kasetsart Universi