144
การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน AN APPLICATION OF THE PATH OF ACCOMPLISHMENT FOR PROMOTING EFFICIENCY OF THE ADMINISTRATION IN KHON KEAN SPORTS HIGHER SECONDARY SCHOOL, KHON KEAN PROVINCE นายสุพันธ แสนสี วิทยานิพนธเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๘

การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

  • Upload
    others

  • View
    8

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน AN APPLICATION OF THE PATH OF ACCOMPLISHMENT

FOR PROMOTING EFFICIENCY OF THE ADMINISTRATION

IN KHON KEAN SPORTS HIGHER SECONDARY SCHOOL,

KHON KEAN PROVINCE

นายสุพันธ แสนสี

วิทยานิพนธเปนสวนหนึ่งของการศึกษา

ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พุทธศักราช ๒๕๕๘

Page 2: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

นายสุพันธ แสนสี

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๘

(ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)

Page 3: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

AN APPLICATION OF THE PATH OF ACCOMPLISHMENT

FOR PROMOTING EFFICIENCY OF THE ADMINISTRATION

IN KHON KEAN SPORTS HIGHER SECONDARY SCHOOL,

KHON KEAN PROVINCE

Mr.Supan Sansri

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of

The Requirement for The Degree of Master of Arts

(Educational Administration) Graduate School

Mahachulalongkornrajavidyalaya University Bangkok, Thailand

C.E. 2015

(Copyright by Mahachulalongkornrajavidyalaya University)

Page 4: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ก)

ชื่อวิทยานิพนธ : การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร จัดการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) ผูวิจัย : นายสุพันธ แสนสี อาจารยที่ปรึกษา : ผศ.ดร.สิน งามประโคน พธ.บ. ,M.A. ,Ph.D.

: พระมหาสมบูรณ สุธมฺโม, ผศ.ดร. ปธ.๗, พธ.บ. พธ.ม. Ph.D. : ผศ.ดร.ประพันธ ศุภษร ปธ.๗, พธ.บ., ศศ.ม.,พธ.ด.,

วันสําเร็จการศึกษา : ๑๐ / มี.ค./๒๕๕๙

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค ๑) เพื่อศึกษาการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๒) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ๓) เพื่อศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ และขอเสนอแนะแนวทางในการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมตัวอยาง คือ ผูบริหาร ครูผูสอน นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน ๑๔๓ รูป เครื่องมือที่ใชในวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูล ดวยการหาคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบคาที (t-test) และการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (F-test)

ผลการวิจัย พบวา ๑. การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมตัวอยางจํานวน ๑๔๐ คน เปนชายจํานวน ๗๖ คน คิดเปนรอยละ ๕๔.๓ เปนหญิงจํานวน ๖๓ คน คิดเปนรอยละ ๔๕.๗ มีอายุต่ํากวา ๒๐ ปจํานวน 129 คน คิดเปนรอยละ 92.1 ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 124 คน คิดเปนรอยละ 88.6 ประสบการณการในการสอนอยูในชวง ๑๑ – ๒๐ ป จํานวน 106 คน คิดเปนรอยละ 75.7 และกลุมตัวอยางเปนนักเรียน ๑๓๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๔.๓ ตามลําดับ

๒. ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนดาน พบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนทุกดานอยูในระดับมากโดยเรียงจากมากไปหานอย คือ ดานจิตตะรองลงมา คือ ดานวิมังสา ดานฉันทะ และสุดทายดานวิริยะ ตามลําดับ ๓. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จําแนกตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณสอน ตําแหนง ทั้ง ๔ ดาน ไดแก ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา พบวา

Page 5: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ข)

ภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

๔. ผูบริหารควรนําหลักอิทธิบาท ๔ มาประยุกตและบริหารงานบูรณาการกับนโยบายของการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและนํามาซึ่ง ประโยชนสุขของคนในชุมชน สถานศึกษาควรสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมในการการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพ ควรเปดโอกาสใหบุคลากรเสนอความตองการ ปญหาและแสดงความคิดเห็นวิจารณการบริหารงานของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อไดรับขอมูลปรับปรุงแกไขในสวนที่เปนปญหาใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

Page 6: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ค)

Thesis Title : An Application of the Path of Accomplishment for Promoting Efficiency of the Administration in Khon Kean Sports Higher Secondary School, Khon Kean Province

Degree : Master of Arts (Educational Administration) Researcher : Mr.Supan Sansri Advisor : Asst Prof. Dr.Sin Ngamprakhon B.A. ,M.A. ,Ph.D.

: Asst. Prof. Phramaha Somboon Suddhammo Pali VII, B.A., M.A.,Ph.D.

: Asst. Prof. Dr. Prapan Supasorn, Pali VII,B.A.,M.A.,Ph.D. (Buddhist Studies)

Date of Graduation : 10 /March/2558

Abstract

There are aims in this research 1) to study promotions in the achievement or the accomplishment of the administration following on the Iddhipăda (Paths of Success) in the provincial athletic school as the high schools in Khon Kean, 2) to compare the levels of the opinions and the efficiency in the administration according to the Iddhipăda and 3) to study the application and the guidance of it. The sampling is the administrators, the teachers, and the students who were 143 persons. The used tools in this research are the questionnaires, the data analysis, the mean, the percentage, the standard deviation, the t-test, the f-test.

The research results 1. The Iddhipăda is applied to develop the achievement or the accomplishment in this school. The sampling is the 140 persons who were divided into two groups between the male and the female. The males are the 76 persons who were accounted on the percentage 54.3 and the females are 63 persons who were accounted on the percentage at amounts of 45.7. The persons in the sampling are less old than the twenty years old for 129 persons who were accounted on the percentage 92.1.Their educational level is less than the bachelor degree for 124 persons who were accounted in the percentage about 88.6. Their experience in teaching of the teachers, who are the 106 persons in the percentage about 75.7, is in period from 11 to 20 years. The population is the 132 students in the percentage 94.3. 2. The ideas in the application of it are the high level in the overview. When have considered in each items, they were found that it is in the high level by

Page 7: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ง)

making the order by order from the least number to the most number. It started at points of the Citta (an intention), of the Vimamsa (Wisdom), of Canda (an attention), and finally the Viriya (perseverance). 3. The results of comparison between the ideas and the application of it depending upon the sex, the old, educational qualification, the teaching experience, and the official position. The four items of Iddhipăda were found that the overview is not the significant difference of the statistics in the level 0.05 which related to the written synthesis. 4. The administrators should apply it to the policy of this school for the usages to people in the communities and they participate to develop the Iddhipăda (Successful Path). By the way, the chance would be open to the personnel presenting the needs, the opinions and the problems so completely that the administrators can get rid of the problems.

Page 8: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(จ)

กิตติกรรมประกาศ

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ คณะกรรมการผูควบคุมวิทยานิพนธ ๓ ทาน คือ พระมหา

สมบูรณ สุธมฺโม,ผศ.ดร. ,ผศ.ดร.ประพันธ ศุภษร ,ผศ.ดร.สิน งามประโคน ที่ ใหความเมตตา

อนุ เคราะห ให คํ าแนะนํ า ปรึกษาในการจัดทํ าวิทยานิพนธฉบั บนี้ ขอกราบขอบพระคุณ

พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร,ดร. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย รศ.ดร.สุทธิพงษ ศรีวิชัย ประธานกรรมการ

ตรวจสอบวิทยานิพนธ รศ.ดร.วิชชุดา หุนวิไล กรรมการผูทรงคุณวุฒิในการสอบปองกันวิทยานิพนธ

และผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวิจัย

ขอกราบขอบพระคุณ ดร.ราวีวัฒน รัตนโกเศศ ผูอํานวยการโรงเรียนกีฬาจังหวัด

ขอนแกน, อาจารยบุญสันต ศรีขันธ รองผูอํานวยการฝายวิชาการ ,ครู นักเรียน โรงเรียนกีฬาจังหวัด

ขอนแกน, ผูอํานวยการโรงเรียนปทุมรัตตพิทยาคม,ครูอาจารย นักเรียน ที่ใหความอนุเคราะหเก็บ

ขอมูลและงานวิจัยและใหขอมูลสําคัญขอขอบพระคุณผูที่มีสวนเกี่ยวของใหความชวยเหลื่อที่มิอาจ

กลาวรายนามไดครบทั้งหมดทุกทาน

ขอกราบขอบคุณพระคุณบิดา มารดา ญาติ เพื่อนสนิทมิตรสหาย ที่ใหความรัก และเปน

กําลังใจ และสนับสนุนการศึกษาดวยดีเสมอมา รวมทั้ง ครู อาจารย ทุกทานที่เคยอบรมสั่งสอนใหแก

ผูวิจัย และขอกราบขอบพระคุณ พระเมธีธรรมาจารย ที่ใหความชวยเหลือและใหการสนับสนุน

ทุนการศึกษาดวยดีตลอดมา

คุณคาและประโยชนใดๆ อันพึงที่มีจากวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยขอถวายเปนเครื่องบูชาแด

พระพุทธศาสนาที่กอใหเกิดสติปญญาและคุณูปการอันมหาศาลแกทุกผูทุกนาม รวมทั้งบิดา มารดา

ครู อาจารย ผูมีพระคุณ ทุกทานทุกคนที่เคยสั่งสอนใหแกผูวิจัย และผูมีกุศลจิตทุกทาน ขอใหไดรับ

อานิสงสนี้เชนกันเทอญ

สุพันธ แสนสี

๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๙

Page 9: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ฉ)

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย (ก) บทคัดยอภาษาอังกฤษ (ข) กิตติกรรมประกาศ (จ) สารบัญ (ฉ) สารบัญตาราง (ซ) สารบัญแผนภูม ิ (ญ) คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (ฎ) บทที่ ๑ บทนํา

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ๑ ๑.๒ วัตถุประสงคการวิจัย ๓ ๑.๓ ปญหาที่ตองการทราบ ๓ ๑.๔ ขอบเขตการวิจัย ๔ ๑.๕ สมมติฐานการวิจัย ๕ ๑.๖ นิยามศัพทเฉพาะที่ใชในการวิจัย ๕ ๑.๗ ประโยชนที่ไดรับ ๖

บทที่ ๒ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๒.๑ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนา ๘

๒.๑.๑ ความหมายของการพัฒนา ๘ ๒.๑.๒ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนา ๑๒

๒.๒ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับประสิทธิภาพ ๑๙ ๒.๒.๑ ความหมายและความสําคัญของประสิทธิภาพ ๑๙ ๒.๒.๒ แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ๒๒ ๒.๒.๓ ทฤษฎีเกี่ยวกับประสิทธิภาพ ๒๖

๒.๓ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหาร ๒๘ ๒.๓.๑ ความหมายของการบริหาร ๒๘ ๒.๓.๒ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหาร ๒๙ ๒.๓.๓ ทฤษฎีเกี่ยวกับบริหาร ๓๖

๒.๔ แนวคิดที่เกี่ยวกับหลักอิทธิบาท ๔ ๔๕ ๒.๔.๑ ความหมายและความสําคัญของอิทธิบาท ๔ ๔๕ ๒.๔.๒ องคประกอบของหลักอิทธิบาท ๔ ๔๙ ๒.๔.๓ อิทธิบาท ๔ ที่ปรากฏในพระไตรปฎก ๕๒

๒.๕ งานวิจัยที่เกี่ยวของ ๕๔ ๒.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย ๖๖

Page 10: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ช)

หนา บทที่ ๓ วิธีดําเนินการวิจัย

๓.๑ รูปแบบการวิจัย ๖๗ ๓.๒ ประชากรและกลุมตัวอยาง ๖๗ ๓.๓ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ๖๙ ๓.๔ การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ๖๙ ๓.๕ การเก็บรวบรวมขอมูล ๗๐ ๓.๖ การวิเคราะหขอมูล ๗๐ ๓.๗ สถิติที่ใชในการวิจัย ๗๑

บทที่ ๔ ผลการวิจัย ๔.๑ ผลการวิเคราะหขอมูลปจจัยสวนบุคคล ๗๓ ๔.๒ ผลการศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพ การบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย

จังหวัดขอนแกน จํานวน ๔ ดาน ๗๔ ๔.๓ ผลการเปรียบเทียบการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษา ตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ๗๙

๔.๔ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษา ตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ๘๔

บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๘๖ ๕.๒ อภิปรายผลการวิจัย ๘๙ ๕.๓ องคความรูที่ไดจากการวิจัย ๙๑ ๕.๔ ขอเสนอแนะ ๙๑

๕.๓.๑ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ๙๑ ๕.๓.๒ ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป ๙๒

บรรณานุกรม ๙๓ ภาคผนวก ๑๐๐ ประวัติผูวิจัย ๑๒๑

Page 11: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ซ)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา ๓.๑ การแบงประชากรและกลุมตัวอยาง ๖๘ ๔.๑ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ๗๓ ๔.๒ คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อ

สงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ภาพรวม ๔ ดาน

๗๔ ๔.๓ คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อ

สงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ

๗๕ ๔.๔ คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อ

สงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ

๗๖ ๔.๕ คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อ

สงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ

๗๗ ๔.๖ คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อ

สงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา

๗๘ ๔.๗ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน เพศตางกันมีความคิดเห็นตอ

การบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน และผลการทดสอบสมมติฐานที่ ๑

๗๙ ๔.๘ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน อายุตางกันมี

ความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันทั้ง ๔ ดาน โดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

๘๐ ๔.๙ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน วุฒิ

การศึกษาตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันท้ัง ๔ ดานโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

๘๑

Page 12: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ฌ)

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา ๔.๑๐ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน มีประสบการณสอน

ตางกัน มีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันทั้ง ๔ ดานโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

๘๒ ๔.๑๑ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน ตําแหนงตางกัน มี

ความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันทั้ง ๔ ดานโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

๘๓ ๔.๑๒ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ

๘๔ ๔.๑๓ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ

๘๔ ๔.๑๔ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ

๘๕ ๔.๑๕ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา

๘๖

Page 13: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ญ)

สารบัญแผนภูมิภาพ แผนภูมภิาพที่ หนา

๒.๑ กรอบแนวคิดการวิจัย ๖๖

Page 14: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

(ฎ)

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ

๑. คํายอช่ือคัมภีรพระไตรปฎก อักษรยอในวิทยานิพนธเลมนี้ ใชอางอิงจากพระไตรปฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลง

กรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๙ เปนหลักโดยใชระบบยอคําดังตอไปนี ้พระสุตตันตปฎก

ที.ม. (บาลี) สุตฺตนฺตปฏก ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาบาลี) ม.ม. (ไทย) สุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก (ภาษาไทย)

พระอภิธรรมปฎก อภิ.วิ. (บาลี) อภิธมฺมปฏก วิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี) อภิ.วิ. (ไทย) พระอภิธรรมปฎก วิภังค (ภาษาไทย)

๒. การระบุเลขหมายพระไตรปฎก ในงานวิจัยฉบับนี้ไดใชพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พ.ศ.๒๕๓๙ เปนหลักในการอางอิง ซึ่งพระไตรปฎกฉบับภาษาไทยจะระบุ เลม/ขอ/หนา. เชน ขุ.ธ. (ไทย) ๒๕/๓๐/๕๑. หมายความวาระบุถึง สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท ฉบับภาษาไทย พระไตรปฎกเลมที่ ๒๕ ขอที ่๓๐ หนาที่ ๕๑ เปนตน

Page 15: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

บทที่ ๑

บทนํา

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

สืบเนื่องจากมนุษยเปนสัตวสังคม ซึ่งหมายถึง มนุษยโดยธรรมชาติยอมอยูรวมกันเปนกลุม

ไมอยูอยางโดดเดี่ยว แตอาจมีขอยกเวนนอยมากที่มนุษยอยูโดดเดี่ยวตามลําพัง เชน ฤษี การอยู

รวมกันเปนกลุมของมมนุษยอาจมีไดหลายลักษณะและเรียกตางกัน เปนตนวา ครอบครัว (Family)

เผาพันธุ (Tribe) ชุมชน (Community) สังคม (Society) และประเทศ (Country) เมื่อมนุษยอยู

รวมกันเปนกลุมยอมเปนธรรมชาติอีกที่ในแตหละกลุมจะตองมี “ผูนํา” รวมทั้งมี “แนวทางหรือ

วิธีการควบคุมการดูแลกันภายในกลุม” เพื่อใหเกิดความสุขและความสงบเรียบรอย สภาพเชนนี้ไดมี

วิวัฒนาการตลอดมา โดยผูนํากลุมขนานใหญ เชน ในระดับประเทศของภาครัฐ ในปจจุบันอาจเรียกวา

“ผูบริหาร” ขณะที่การดูแลภายในกลุมนั้น เรียกวา การบริหาร (Administration) ดวยเห็นผลเชนนี้

มนุษยจึงไมอาจหลีกเลี่ยงจากการบริหารหรือการบริหารราชการไดงาย และทําใหกลาวไดอยางมั่นใจ

วา “ที่ใดมีประเทศ ที่นั้นยอมมีการบริหาร” วิวัฒนาการของโลกยุคโลกาภิวัตน ทําใหสถานการณดาน

การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การบริหารงานภาครัฐและเอกชน มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว

กวางขวาง เพราะความกาวหนาทางดานการสื่อสารเทคโนโลยี การถายทอดขอมูลขาวสารอยาง

รวดเร็วสูประชาชน แตระบบการบริหารงานของภาครัฐ และเอกชนเกิดความไมสอดคลอง และทันตอ

ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจึงทําใหสังคมโลกหันกลับมามองถึงสาเหตุปญหาที่แทจริง ในการบริหาร

ของแตละประเทศที่มีผลกระทบตอดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งสงผลตอองคการอื่นๆ อยาง

มากมาย การบริหารเปนเรื่องสําคัญยิ่งตอการดําเนินงานขององคการ เพราะเปนเครื่องมือที่ชี้ใหเห็น

ถึงความสําเร็จ และความลมเหลว ความมีประสิทธิภาพหรือความไรประสิทธิภาพขององคการ เพื่อให

บรรลุตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวโดยนําศาสตรและศิลป พรอมทรัพยากรทางการบริหารมาใชใน

กระบวนการบริหารไดอยางเหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพ การบริหารจัดการโดยใชโรงเรียนเปน

ฐานเปนรูปแบบการบริหารที่ไดรับความสนใจในวงการบริหารสถานศึกษาเปนอยางมากในปจจุบัน

เพราะเปนรูปแบบที่สอดคลองกับแนวทางการบริหารตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ

พุทธศักราช ๒๕๔๒ นอกจากนั้นการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานจะตองมีการลดอํานาจสั่งการจาก

ระดับกระทรวงมาใหคณะกรรมการสถานศึกษา และถายโอนอํานาจการบริหารจัดการจากเขตพื้นที่

การศึกษามาสูสถานศึกษาโดยตรง ทําใหการบริหารสถานศึกษาเปนการตัดสินใจ ณ ฐานปฏิบัติการ

(Site-Based Decision making) ซึ่งจะตองมีการใหอํานาจการสถานศึกษาในการบริหารจัดการ

Page 16: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

ตนเอง โดยระบบการมีสวนรวมจากผูที่มีสวนไดสวนเสียโดยตรง สอดคลองกับสํานักงานการ

ประถมศึกษาแหงชาติที่ไดกลาววา การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานสามารถสนองความตองการของ

สถานศึกษาและชุมขน การบริหารในรูปแบบของคณะกรรมการสามารถระดมผูมีประสบการณใน

ชุมชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร สงผลใหชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของ และพรอมใจกันในการ

พัฒนาประสิทธิภาพ1การบริหารและพัฒนาคุณภาพผูเรียน สําหรับนโยบายการปฏิรูประบบบริหาร

จัดการของสํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติไดกําหนดใหการปรับระบบบริหารโดย

ใชโรงเรียนเปนฐานเปนยุทธศาสตรและไดกําหนดมาตรการในการดําเนินการไว ๕ ประการ ไดแก ๑)

ปรับระบบบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ๒) เรงรัดการกระจายอํานาจใหสถานศึกษา ๓) สงเสริมให

ใชกระบวนการบริหารแบบมีสวนรวม ๔) สรางเครือขายการมีสวนรวมของทุกภาคสวนสังคม และ

๕) สงเสริมการบริหารที่มุงเนนผลสําฤทธิ์ ปจจุบันมีการปรับโครงสรางการบริหารการศึกษาขั้น

พื้นฐาน กลาวคือ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่

๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ ไดกําหนดนิยามของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง สถานศึกษาที่จัด

การศึกษากอนระดับอุดมศึกษา หมายความวา มีการรวมสถานศึกษาที่สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ

การประถมศึกษาแหงชาติและกรมสามัญศึกษาตามโครงสรางเดิมที่มีบริบทตางกัน ดังนั้น จึงตอง

พยายามพัฒนาระบบการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานใหมีประสิทธิภาพ

ซึ่งจากการศึกษาแนวคิดและหลักการสําคัญเกี่ยวกับการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

และจากขอมูลการรายงานผลการบริหารที่ประสบความสําเร็จของผูบริหารสถานศึกษาตนแบบที่ผาน

มา พบวาในการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานนั้น มีแนวทางและปญหาที่แตกตางกันออกไป เพื่อให

การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานมีประสิทธิภาพจึงมีความจําเปนตองศึกษาสภาพปจจุบันของ

โรงเรียนและกําหนดแนวทางการบริหารใหเหมาะสมกับสภาพและความตองการของโรงเรียนเปน

สําคัญ2 เพื่อพัฒนาตามแผนยุทธศาสตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มุงเนนพัฒนาคนใหเปนคนเกง

เปนคนดี มีความสุข และมุงสรางสังคมใหเขมแข็งและมีดุลยภาพ ๓ ดาน คือ สังคมสุขภาพ สังคมแหง

ปญญาและการเรียนรูและสังคมสมานฉันทและเอื้ออาทรตอกัน3

เนื่องจากโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน จังหวัดขอนแกน มีประเด็นที่หนาสนใจเกี่ยวกับ

การสงเสริมระสิทธิภาพในการบริหารจัดการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ที่มีความสําคัญตอการ

1 รับขวัญ ภาคภูมิ, “ความสัมพันธระหวางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษากับสุขภาพองคกรของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานพื้นที่การศึกษากําแพงเพชรเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฎกําแพงเพชร, ๒๕๔๗ ).

2 สมศักดิ์ รอบคอบ, “ประสิทธิภาพการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๔๘).

3 กระทรวงศึกษาธิการ, แผนพัฒนาการศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๔๕),หนา ๑๐.

Page 17: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

บริหารโรงเรียนเปนอยางยิ่ง มีความเจริญกาวหนาทางดานวิชาการ มีชื่อเสียงดานการผลิตนักเรียนที่มี

คุณภาพ มีกิจกรรมการเรียนรูรวมกันระหวางโรงเรียนกับชุมชน มีกิจกรรรมเพื่อสังคมมากมาย และ

พบวาการบริหารจัดการโรงเรียนในดานการสื่อสารการสั่งการและการติดตอประสารงานของผูบริหาร

โรงเรียนกับบุคลากรหรือองคกรภายนอกยังตองไดรับการสงเสริมพัฒนาใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สิ่งที่

จะทําใหการบริหารจัดการโรงเรียนประสบผลสําเร็จ คือการนําเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามา

ประยุกตใชเพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน จึงตองพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความ

เชี่ยวชาญ มีความพอใจ มีความขยันขันแข็ง มีความเอาใจใสใครครวญอยูเสมอซึ่งหมายถึง หลักอิทธิ

บาท ๔4 ไดแก ๑) ฉันทะ ความพอใจ คือ ความตองการที่จะทํา รักที่จะทําสิ่งนั้นอยูเสมอและ

ปรารถนาจะทําใหไดผลดี ๒) วิริยะ ความเพียร คือ ขยันหมั่นประกอบสิ่งนั้นดวยความพยายาม เข็ม

แข็ง อดทน เอาธุระไมทอถอย ๓) จิตตะ ความคิด คือ ตั้งจิตรับรูในสิ่งที่ทํา และทําสิ่งนั้นดวยความคิด

เอาจิตฝกใฝไมปลอยใจใหฟุงซานเลื่อนลอยไป ๔) วิมังสา ความไตรตรอง หรือ ทดลอง คือ หมั่นใช

ปญญาพิจารณาใครครวญตรวจตาหาเหตุผลและตรวจสอบขอยิ่งหยอนในสิ่งที่ทํานั้น มีการวางแผน

วัดผล คิดคนวิธีแกไขปรับปรุง เปนตนนั้นเอง

ดวยเหตุนี้ ผูศึกษาวิจัยจึงตองศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมการ

บริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน จังหวัดขอนแกน โดยจําแนกปจจัยสวนบุคคล และแนวทางการ

ประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน ใหเปนแนวทางในการ

พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพสูงสุดตอไป

๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจัย ๑.๒.๑ เพื่อศึกษาการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียน

กีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑.๒.๒ เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลัก

อิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจําแนกตามเพศ อายุ

วุฒิการศึกษา ประสบการณในการสอน ตําแหนง ของครูและนักเรียน ๑.๒.๓ เพื่อศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ และขอเสนอแนะแนวทางในการ

สงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย

4 พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺ โต) , พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๙,

(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๑๘๖.

Page 18: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑.๓ ปญหาที่ตองการทราบ ๑.๓.๑ การสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬา

จังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนอยางไร

๑.๓.๒ ขอเสนอแนะแนวการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการสงเสริมประสิทธิภาพการ

บริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย เปนอยางไร

๑.๔ ขอบเขตการวิจัย การศึกษาวิจัยเรื่อง การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตของ

การวิจัยไว ดังนี้ ๑.๔.๑ ขอบเขตดานเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้ เปนการศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพ

การบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน โดยใชหลักเกณฑ

และวิธีการของการบริหารจัดการ โดยประยุกตหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ๑.๔.๒ ขอบเขตดานตัวแปร

ตัวแปรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดแบงออกเปน ๒ ตัวแปร ซึ่งประกอบดวย

๑. ตัวแปรตน (Independent Variables) คือ ปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ อายุ วุฒิ

การศึกษา ประสบการณการสอน ตําแหนง

๒. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ความคิดเห็นของบุคลากรตอประสิทธิภาพ

การบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ตามหลักอิทธิบาท

๔ ทั้ง ๔ ดาน ไดแก ดานฉันทะ (ความพอใจ) ดานวิริยะ (ความเพียร) ดานจิตตะ (ความเอาใจใส) และ

ดานวิมังสา (ความรอบคอบ)

๑.๔.๓ ขอบเขตดานประชากร

ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอนในสถานศึกษาและ

นักเรียน ในโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ซึ่งมีจํานวน ๒๒๓

คน สุมกลุมตัวอยาง ๑๔๓ คน

๑.๔.๔ ขอบเขตดานพื้นที่

พื้นที่ที่ใชศึกษา ไดแก โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัด

ขอนแกน

Page 19: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑.๔.๕ ขอบเขตดานระยะเวลา

การวิจัยในครั้งนี้ ดําเนินการตั้งแต เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ถึงเดือน กุมภาพันธ พ.ศ.

๒๕๕๙ รวมเปนระยะเวลา ๖ เดือน

๑.๕ สมมติฐานการวิจัย ๑.๕.๑ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียนเพศตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหาร

โรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน

๑.๕.๒ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียนอายุตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหาร

โรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔แตกตางกัน

๑.๕.๓ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียนวุฒิการศึกษาตางกันมีความคิดเห็นตอการ

บริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตาง

๑.๕.๔ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน มีประสบการณสอนตางกันมีความคิดเห็นตอการ

บริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตาง

๑.๕.๕ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียนมีตําแหนงตางกันมีความคิดเห็นตอการ

บริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตาง

๑.๖ นิยามศัพทเฉพาะที่ใชในการวิจัย

๑.๖.๑ การประยุกตใช หมายถึง การนําเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาปรับใชให

เขากัน หรือการนําเอาหลักธรรมมาประกอบรวมกันในการสงเสริมประสิทธิภาพในการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมตอนปลาย

๑.๖.๒ อิทธิบาท ๔ หมายถึง ฐาน หรือ หนทางสูความสําเร็จ คุณธรรมที่นําไปสู

ความสําเร็จ แหงผลที่มุงหมาย เพื่อนําไปใชในสถานศึกษา ประกอบดวย

๑. ฉันทะ (ความพอใจ) คือ ความตองการที่จะทํา ใฝใจรัก จะทําสิ่งนั้นอยูเสมอ

และปรารถนาจะทําสิ่งนั้นอยูเสมอ และปรารถนาจะทําใหไดผลดียิ่งๆขึ้นไป

๒. วิริยะ (ความเพียร) คือ ขยันหมั่นเพียร ประกอบสิ่งนั้นดวยความพยายาม

เข็มแข็ง อดทน

๓. จิตตะ (ความตั้งจิตมุงมั่น) คือ ตั้งจิตรับรูในสิ่งที่ทํา และทําสิ่งนั้นดวย

ความคิด

๔. วิมังสา (ความไตรตรอง ) คือ หมั่นใชปญญา พิจารณา ใครครวญ ตรวจหา

เหตุผล มีการวางแผน วัดผล คิดคน แกไข ปรับปรุง เปนตน

Page 20: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑.๖.๓ ประสิทธิภาพ หมายถึง ความสามารถที่ทําใหเกิดผลในการงาน ความสามารถที่

จะทํางานใหเกิดผลสําเร็จ ผลการปฏิบัติงาน ถาหากผลการปฏิบัติงานดีถือวามีประสิทธิภาพในการ

ทํางานสูง และถาหากผลการปฏิบัติงานไมดีถือวาประสิทธิภาพในการทํางานต่ํา

๑.๖.๔ ผูบริหารสถานศึกษา หมายถึง บุคลาการวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร

สถานศึกษาในโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยม อ.เมือง จ.ขอนแกน

๑.๖.๕ ครู หมายถึง ครูผูทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอน ในโรงเรียนกีฬาจังหวัด

ขอนแกน มัธยม จังหวัดขอนแกน

๑.๖.๖ นักเรียน หมายถึง นักเรียนที่ เรียนในโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยม

จังหวัดขอนแกน

๑.๖.๗ โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน หมายถึง สถานศึกษาตามกฎหมายที่มีหนาที่ หรือ

มีวัตถุประสงค ในการจัดการศึกษาดานวิชาการและดานกีฬา

๑.๗ ประโยชนที่ไดรับ ๑. ไดแนวทางในการนําไปบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมกีฬาขอนแกน ระดับมัธยมศึกษา

ตอนปลาย อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ตามหลักอิทธิบาท ๔ ๒. ไดแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ตามหลัก

อิทธิบาท ๔ โดยจําแนกปจจัยสวนบุคคล ๓. ผลที่ ไดรับจากการวิจัยจะเปนขอมูลสําหรับนํ าไปพัฒนาหรือประยุกต ใช ใน

ประสิทธิภาพการจัดการบริหารโรงเรียนมัธยมกีฬาของแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

Page 21: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

บทที่ ๒

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ียวของ

การศึกษาวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร

จัดการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย” นั้น ผูดําเนินการวิจัยไดทําการศึกษา

คนควา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับหลักอิทธิบาท ๔ พัฒนาประสิทธิภาพ และการ

บริหารจัดการ เพื่อนํามากําหนดเปนกรอบแนวคิดการวิจัยโดยผูวิจัยไดแบงประเภทของแนวคิด

ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของตามลําดับ ดังนี้

๒.๑ แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา

๒.๑.๑ ความหมายการพัฒนา

๒.๑.๒ แนวคิด ทฤษฎเีกี่ยวกับการพัฒนา

๒.๒ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับประสิทธิภาพ

๒.๒.๑ ความหมายและความสําคัญของประสิทธิภาพ

๒.๒.๒ แนวคิดเกี่ยวกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

๒.๒.๓ ทฤษฎเีกี่ยวกับประสิทธิภาพ

๒.๓ แนวคิด ทฤษฎเีกี่ยวกับการบริหาร

๒.๓.๑ ความหมายการบริหาร

๒.๓.๒ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหาร

๒.๓.๓ ทฤษฎเีกี่ยวกับการบริหาร

๒.๔ แนวคิดที่เกี่ยวกับหลักอิทธิบาท ๔

๒.๔.๑ ความหมายและความสําคัญของอิทธิบาท ๔

๒.๔.๒ องคประกอบของหลักอิทธิบาท ๔

๒.๔.๓ อิทธิบาท ๔ ที่ปรากฏในพระไตรปฎก

๒.๕ งานวิจัยที่เกี่ยวของ

๒.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย

Page 22: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒.๑ แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา ๒.๑.๑ ความหมายการพัฒนา การพัฒนา (Development) สนิท สมัครการ มองวา การพัฒนาสังคมเปนกระบวนการ

เปลี่ยนแปลงตามแผนทางสังคมและวัฒนธรรม(A process of planed socio-cultural change) นั้น คือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากแผนการกระทําทั้งหลายที่กอผลกระทบตอแบบแผนความสัมพันธทางสังคม และแบบแผนของคานิยมทางวัฒนธรรมของกลุมมนุษยใดๆ ถือเปนการพัฒนาสังคมทั้งหมด ความหมายนี้รวมถึงทางเศรษฐกิจ การเมือง ครอบครัว การศึกษา และการอนามัยดวย๑

สุนทรี โคมิน ไดกลาววา การพัฒนา คือการพัฒนาในทุกดานของความเปนดีอยูดีของคน (Well- being of individaul) นั่นคือทางเศรษฐกิจ ทางการเมือง และทางสังคม-วัฒนธรรม๒

บรรพต วีระสัย เห็นวา “การพัฒนา” ไมมีความหมายที่ชัด แตมีแนวกวางๆ ทางดานความเจริญ ความงอกงาม ความเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี๓ และปกติมักแยกออกไปในการพัฒนาดานตางๆ เชน ทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ทางการบริหาร๔

Saul M. katz ไดใหความหมายไววา การพัฒนานั้นเปนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางสําคัญเปลี่ยนสภาพรัฐที่มีความเปนอยูของคนในชาติในลักษณะหนึ่งไปสูลักษณะอื่นที่มีคุณคามากกวาเดิม โดยมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองประกอบกัน๕

Edward W. Weider ไดรวบรวมแนวความคิดนักวิชาการที่ใหความหมายคําวา “การพัฒนา” ออกเปน ๔ กลุมคือ

กลุมแรกเห็นวาการพัฒนาเปนเรื่องของการเจริญเติบโต (Growth) โดยมีปริมาณผลที่สูงขึ้น เชน การปลูกสรางบาน เปนตน

กลุมที่สองมองวา เปนเรื่องของการเปลี่ยนแปลงในระบบที่กระทําการ (System change) กลุมที่สาม เห็นวาการพัฒนา เปนการปฏิบัติการโดยมีจุดหมาย (Goal orientation)

โดยเฉพาะจุดหมายเพื่อใหทันสมัย (modernity) หรือการสรางชาติ (nation-building) และความกาวหนาทางเศรษฐกิจสังคม (socio-economic progress) ซึ่งความทันสมัยนั้น หมายถึงการมีสภาพเศรษฐกิจดีขึ้นกวาเดิม ฯลฯ สวนการสรางชาติ ซึ่งเปนผลอีกอยางหนึ่ง ที่ไดจากการพัฒนานั้นมองไดหลายดาน สําหรับประเทศดอยพัฒนานั้น อาจมองไดวาเปนเอกลักษณของชาติ (national

๑ Snit smuckarn, “Social Development and Peasant Culture : A Thai case” in Suntaree Komin (ed), Social Development : A Synthesis of East and Western Experiences.BKK : NIDA, 1982 p 115-6.

๒ Suntaree Komin, “The Relevance of value System to Social Development in S.komin (ed), Social Development : A Synthesis, op cit, p. 213.

๓ บรรพต วีระสัย และ สุขุม นวลสกุล, รัฐศาสตรทั่วไป (พระนคร : โรงพิมพคุรุสภา,๒๕๑๕) หนา ๒๐๑.

๔ บรรพต วีระสัย,สังคมวิทยา-มานุษยวิทยา (พระนคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง ๒๕๑๗) หนา ๓๓๕.

๕ Saul M.katz. “ A system Approach to Development administration” . In Fred W.Riggs.( ed.) . FRONTIERS OF DEVELOPMENT ADMINITRATION, ( Durham, North Carolina : Duke University Press,1970 ) p.110.

Page 23: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

identity) ความเปนปกแผนของประเทศ (solidarity) การกอรางสรางตัวของประเทศและการเขามีสวนรวมของประชาชน (structuralization and participation) สําหรับความกาวหนาทางเศรษฐกิจสังคม หมายถึงการแกไขปรับปรุงโดยทั่วถึงและไมลดละ ทั้งในดานวัตถุและสวัสดิการสังคม ซึ่งสามารถเห็นผลไดและวัดได เชน ดูรายไดเฉลี่ยตัวหัว (per capita income) เพิ่มสูงขึ้น หรือเด็กที่สําเร็จการศึกษาระดับสูงเพิ่มจํานวนมากขึ้น และอื่นๆในลักษณะเดียวกันกับประเทศที่พัฒนาไดอยางรวดเร็ว จะตองเปนประเทศที่มีการปฏิบัติงานโดยมีจุดหมาย (goal oriented country) มุงใหเกิดความทันสมัย ในบานเมืองพรอมกับเนนหนักในการสรางชาติ และความกาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคม

กลุมที่สี่ มองวา เปนการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไวกอน (Planed change) เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว๖

ราชบัณฑิตยสถาน ไดใหความหมายของคําวา “การพัฒนา” วาในภาษาไทยมาจาก“วฑฺฒน”ในบาลี และ“วรฺธน” ในภาษาสันสกฤต แปลวา ความเจริญ๗

สนธยา พลศรี ไดใหความหมายและอธิบายไววา “การพัฒนา” มาจากคําภาษาบาลี วา วัฒนะ แปลวา เจริญ ซึ่งแบงออกเปนสองสวน คือการพัฒนาคน เรียกวา ภาวนา กับ การพัฒนาสิ่งอื่นๆ ที่ไมใชคน เชน วัตถุ และสิ่งแวดลอมตาง ๆ เรียกวา พัฒนา หรือ วัฒนา เชน การกอสรางถนน บอน้ํา อางเก็บน้ํา สะพาน โรงงานผลิตกระแสไฟฟา เปนตน จึงเปนเรื่องของการเพิ่มพูน ขยายทําใหมากขึ้นหรือทําใหโตขึ้นในทางวัตถุ และไดเสนอขอคิดไววา คําวา “การพัฒนา”หรือคําวา “เจริญ”นั้นไมไดแปลวาทําใหมากขึ้นเพิ่มพูนขึ้นอยางเดียวเทานั้นแตมีความหมายวา รก เชน น สิยาโลกวฑฺฒโน แปลวาอยาเปนคนรกโลกอีกดวยดังนั้นการพัฒนาจึงเปนสิ่งที่ทําแลวมีความจะเจริญจริงๆ คือไมตองเกิดปญหาตามหรือไมเสื่อมถอยลงไปกวาเดิมถาเกิดปญหาหรือเสื่อมลงไมใชเปนการพัฒนา๘ และไดสรุปแนวคิดนักวิชาการตางๆที่กลาวถึงความหมายของ “การพัฒนา” วา ๑. การทําใหดีขึ้น เจริญกาวหนาขึ้นโดยไมหยุดนิ่ง

๒. การเปลี่ยนแปลงสภาพที่ไมพอใจ ไปสูสภาพที่นาพอใจอยางมีระบบ ๓. การกระจายรายไดของบุคคลไปสูชุมชน ๔. กระบวนการเจริญเติบโตในทางเศรษฐกิจ ๕. กระบวนการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของชนบท ทั้งดานเศรษฐกิจและ สังคม ๖. กระบวนการจัดการองคการทางสังคมที่สามารถไปสูสภาพที่ดีกวา ๗. การปรับปรุงระบบสังคมใหทันสมัย ๘. การเพิ่มขีดความสามารถของสังคมอยางสูงสุด

๖ Edward W. Weidner. “ The Elements of Development Administration” in Edward

Weidner ( ed.) . DEVELOPMENT ADMINISTRATION IN ASIA. ( Kingsport,Tennessee : Kingsport press.1970). p. 4-9.

๗ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ , (กรุงเทพมหานคร : นานมีบุคสพับลิเคชันส จํากัด, ๒๕๔๖), หนา ๗๗๙.

๘ สนธยา พลศรี, ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน, พิมพครั้งที่ ๔, (กรุงเทพมหานคร : โอเดียน

สโตร, ๒๕๔๕), หนา ๒.

Page 24: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐

๙. การเปลี่ยนแปลงในระบบทั้งคุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดลอม ๑๐. การเปลี่ยนแปลงที่มีทิศทาง หรือวางแผนไวลวงหนา ๑๑. การสรางความเสมอภาคดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และระหวางชุมชน

ตางๆ ๑๒. การปรับปรุงเงื่อนไขตางๆที่สังคมไมพึงปรารถนาและแบงแนวคิดเกี่ยวกับการ

พัฒนาออกไดเปน ๓ กลุมลักษณะดังนี้กลุมที่ ๑ มีความคิดเห็นวา “การพัฒนา” หมายถึงความเจริญเติบโต (Growth) คือ เปนการเพิ่มผลผลิต ซึ่งกระทําโดย ระบบสังคมรวมกับสิ่งแวดลอม เชน การผลิตขาวเพิ่มขึ้น การสรางถนน สะพาน เขื่อน เปนตน กลุมที่ ๒ มีความคิดเห็นวา การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระบบกระทําการ เชน มีการเปลี่ยนแปลงระบบสังคม ระบบการเมือง และ ระบบการบริหาร กลุมที่ ๓ มีความคิดเห็นวา การพัฒนาเปนการเนนถึงวัตถุประสงคหลักถาเปนการบริหาร ก็ตอบริหารดวยวัตถุประสงค คือ การทํางานที่มุงเนนวัตถุประสงคเปนหลัก กลาวคือ การพัฒนาตองเปนไปตามวัตถุประสงค และความตองการที่ไดรับความเห็นชอบหรือ การสนับสนุนจากบุคคลที่เกี่ยวของอยางกวางขวาง๙

ฑิตยา สุวรรณชฏ ไดกลาวถึงความหมายของการพัฒนาไววาการพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลงที่ตองการและไดกําหนดทิศทางและมุงที่จะควบคุมอัตราการเปลี่ยนแปลงและรับรูการที่จะเปลี่ยนแปลงนั้นดวยสภาวะการพัฒนาเปนสภาวะสมาชิกของสังคมไดใชความรูความสามารถของตนไดเต็มที่โดยไมมีสภาวะครอบงํา เชน ความบีบคั้นทางการเมือง ความบีบคั้นทางเศรษฐกิจหรือความไมสมบูรณในอนามัยทุกคนสามารถที่จะนําเอาศักยะของตนออกมาใชใหเปนประโยชน-อยางเต็มที่เชนการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรของไทยไมสามารถจะใชรถแทรกเตอรแบบ อเมริกาได ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ไดประดิษฐ “ควายเหล็ก” ขึ้นมาใชไถนาในสภาพแวดลอมของสังคมไทย๑๐

สัญญา สัญญาวิวัฒน ไดกลาววาการพัฒนาทุกอยางตองเปนการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกอนแลวจะตอมีสิ่งอื่นหรือมีลักษณะอื่นเขามาผสมจึงจะเรียกวาการเปลี่ยนแปลงแบบนี้เรียกวาการพัฒนาลักษณะที่เพิ่มเขามาที่สําคัญนั้นคือทศิทางของการเปลี่ยนแปลงที่มีการกําหนดไวลวงหนา๑๑

การพัฒนา (Development) มีความหมายเปนสองนัย ก็คือ ๑. ในความหมายอยางแคบ การพัฒนา หมายถึง การประดิษฐคิดคนหรือริเริ่มทําสิ่ง

ใหม ๆ ขึ้นมาและนํามาใชเปนครั้งแรก เชนการคิดคนกระแสไฟฟา การกระดิษฐเครื่องคอมพิวเตอร ๒. ในความหมายอยางกวาง การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นของ

ระบบตาง ๆ ในสังคมที่ไดรับการยอมรับจากคนในสังคมนั้น โดยมีหลักที่ใชในการพิจารณาโดยมีจุดเนนอยูที่ลักษณะของการพัฒนา คือ

๙ สนธยา พลศรี, ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน, (กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๓), หนา

๘. ๑๐ ฑิตยา สุวรรณชฏ, “สังคมวิทยา” ในวิทยาศาสตรสังคม, (กรุงเทพมหานคร : สํานักวิจัย สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, ๒๕๑๗), หนา ๑๘๗ – ๑๘๙. ๑๑ สัญญา สัญญาวิวัฒน, ทฤษฎีการพัฒนาสังคม, (กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด เอมีเทรดด

ริ้ง, ๒๕๒๒), หนา ๓-๑๓.

Page 25: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑

๑. การเปลี่ยนแปลงในดานปริมาณ คุณภาพ และสิ่งแวดลอม ทุกดานใหดีขึ้นหรือเหมาะสมกวาสภาพที่เปนอยูเดิม

๒. มีลักษณะเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นอยางมีลําดับขั้นตอนตอเนื่องกันไป ๓. มีลักษณะเปนพลวัตร ซึ่งหมายความวาเกิดขึ้นอยางตอเนื่องไมหยุดยั้ง ๔. มีลักษณะเปนแผนและโครงการ คือ เกิดขึ้นจากการเตรียมการไวลวงหนา

วาจะเปลี่ยนแปลงใคร ดานใด ดวยวิธีการใด เมื่อใด ใชงบประมาณและสิ่งสนับสนุนเทาใด ใครรับผิดชอบ

๕. มีลักษณะเปนวิชาการ ซึ่งหมายถึง การกําหนดขอบเขตและกลวิธีที่นํามาใชใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตามเปาหมายที่กําหนด เชน การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาชนบท การพัฒนาอุตสาหกรรม การพัฒนาชุมชน การพัฒนาการศึกษา

๖. มีลักษณะที่ใหน้ําหนักตอการปฏิบัติการจริงที่ทําใหเกิดผลจริง ๗. การเปลี่ยนแปลงนี้เปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากมนุษย โดยมนุษย และเพื่อมนุษย

หรืออาจจะเกิดขึ้นเอง ๘. มีเกณฑหรือเครื่องชี้วัด ซึ่งสามารถจะบอกไดวาการเปลี่ยนแปลงไมวาจะ

เปนดานคุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดลอมดีขึ้นมากหรือนอยเดียงใด ในระดับใด๑๒ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต) ไดกลาวถึงการพัฒนาไววา ตอนนี้ในการพัฒนาของ

วงวิชาการไดมีความเปลี่ยนแปลงใหมความเชื่อถือและความหวังในคุณคาของวิทยาศาสตรไดเสื่อมหรือออนกําลังลง ฉะนั้นมนุษยศาสตรนี่แหละควรจะมีความสําคัญมากขึ้น พรอมนั้น ในเวลาเดียวกัน กระแสการพัฒนาของโลกก็เปลี่ยนแปลงไปอยางที่ไดบอกแลวเมื่อสักครูนี้วา คนไดเห็นพิษภัยของการพัฒนาที่มุงเนนทางดานความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแลว ในเมื่อเห็นวาการพัฒนาที่เนนเศรษฐกิจเปนโทษ การพัฒนาโดยใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนปจจัยสําคัญก็พลอยลดความสําคัญลงไปดวย คนก็หันมาเนนการพัฒนาที่จะรักษาสิ่งแวดลอมแลวก็มาเนนการพัฒนาคน บทบาทของมนุษยศาสตรก็นาจะเดนขึ้น จะเห็นวาการพัฒนาแนวใหมก็สอดคลองกับความเจริญทางวิชาการเหมือนกัน คนหันมามองวาจะตองลดบทบาทของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีลงและเบนจุดเนนของการพัฒนาจากการพัฒนาเศรษฐกิจมาที่การพัฒนาคนหรืออยางนอยก็ใหประสานสอดคลองกัน โดยมุงใหนําไปสูการดํารงอยูรวมกันดวยดีอยางเกื้อกูลกันขององค ๓ อยางนี้ คือ ๑) ตัวคน หรือชีวิตมนุษย ๒) สังคม ๓) ธรรมชาติแวดลอม

คนยุคปจจุบันและตอไปนี้จะตองคิดกันมากวาทําอยางไรจะใหองคประกอบ ๓ สวนนี้อยูดวยกันอยางดีโดยสอดคลองประสานกลมกลืน แตเมื่อแนวความคิดเปลี่ยนไป ปฏิบัติการก็ไปไมทัน ไมสอดคลอง จึงยังมีความขัดแยงโดยเฉพาะประเทศที่กําลังพัฒนา กระแสความนิยมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยียังสูงอยู ขณะที่ในประเทศท่ีพัฒนาแลว กระแสความนิยมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีลดลง

๑๒ การพัฒนา,[ออนไลน],แหลงที่มา:http://www3.cdd.go.th/narathiwat/j/index. php?option

=com_content&view=article&id=83:-1-&catid=47:2011-02-21-16-38-29. (๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖)

Page 26: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๒

ไปนั้น ประเทศที่กําลังพัฒนาก็ยังตื่นเตนคลั่งไคลเทคโนโลยี นอกจากนั้นความจําเปนของประเทศ เชน การพัฒนาอุตสาหกรรม ก็เขามาบีบบังคับอีกวาเราจะตองอาศัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี๑๓

จากการศึกษาสรุปไดวา การพัฒนา คือการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสิ่งตางๆ ไมวาจะเปนทางดาน เศรษฐกิจสังคมการเมือง และวัฒนธรรมประเพณี ของสังคมชุมชนสภาพสิ่งแวดลอมที่เชื่อมโยงจากสภาพหนึ่งไปสูอีกสภาพหนึ่งที่เจริญขึ้นดีขึ้นอยางมีทิศทางมีเปาหมายดวยคนของชุมชน นั้นๆ เริ่มตนตั้งแตการรับรูถึงปญหาความตองการของตนเอง โดยขอความชวยเหลือจากภายนอกหรือจากภาครัฐบาลใหนอยที่สุดการดําเนินการพัฒนาตองใชวิธีการที่ถูกตองพรอมกับความเหมาะสมกับการพัฒนาชุมชุมชนอาจทําเปนโครงการตาง ๆ เพื่อจะเปลี่ยนแปลงปรับปรุงคนในชุมชนใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีควบคูไปกลับการพัฒนาวัตถุโดยการใชวิธีการที่เหมาะสมกับชุมชนนั้น ๆ เปน การกระทําที่ถูกตองดําเนินการที่ตอเนื่องอยางเปนระบบมีขั้นตอนและไดรับการยอมรับของสวนรวมในสังคมชุมชน

๒.๑.๒ แนวคิด ทฤษฎ ีเกี่ยวกับการพัฒนา ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาไดเริ่มตนขึ้นเมื่อคริสตศตวรรษที่ ๑๘ เมื่อนักวิชาการตางพา

กันคิดคน เพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมมนุษย หลังจากนั้น ก็ไดมีการเปลี่ยนแปลงแกไขปรับปรุงใหมีอํานาจในการอธิบายสูงขึ้นมาตามลําดับ การจําแนกทฤษฎีการพัฒนานั้น สามารถกระทําไดหลายวิธี เชน จําแนกตามยุคสมัย จําแนกตามสาขาที่เกี่ยวของ จําแนกตามสํานักความคิดของผูสรางทฤษฎี จําแนกตามอุดมการณอํานาจ หรือจําแนกตามวิถีทัศนในดานตาง ๆ

จุดมุงหมายของการจําแนกก็เพื่อที่จะใหผูศึกษาทําความเขาใจในเรื่องการพัฒนา รวมทั้งวิวัฒนาการอยางเปนระบบ การที่ผูศึกษาจะใชระบบการจําแนกแบบใดเพื่อที่จะสงผลใหการทําความเขาใจละเอียดออนลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น ยอมจะขึ้นอยูกับภูมิหลัง รวมทั้งความถนัดของผูศึกษาแตละคน ในเอกสารวิชาการนี้ ทฤษฎีการพัฒนา สามารถจําแนกออกได ๒ กลุมใหญ ๆ ตามเงื่อนไขของเวลา คือ

กลุมทฤษฎยีุคกอนสมัยใหม (Pre-Modernization Era) กลุมทฤษฎียุคสมัยใหม (Modernization Era)

ทฤษฎีทั้ง ๒ กลุม มีวิวัฒนาการตอเนื่องกันมาตามธรรมชาติของสังคม ลักษณะที่สําคัญประการหนึ่งของทฤษฎีทางดานสังคมศาสตร ก็คือ การที่จะตองไดรับการพิสูจนความถูกตองได (Falsify) ทุกเมื่อ ตามลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคม นั่นคือ ไมมีทฤษฎีทางสังคมศาสตรทฤษฎีใดที่ยิ่งใหญจนสามารถใหคําอธิบายปรากฏการณทางสังคมไดอยางลึกซึ้งรอบดาน (Grand Theory) ดังนั้น จึงเปนภารกิจ รวมทั้งความจําเปนที่ผูศึกษาจะตองติดตาม รื้อสราง (Deconstruct) ทําใหเปนปจจุบัน (Update) แนวคิดรวมทั้งทฤษฎีตาง ๆ เพื่อเสริมสรางความเขาใจเกี่ยวกับปรากฏการณทางสังคมใหทันสมัยอยูเสมอ

อยางไรก็ตาม ทฤษฎีบางทฤษฎีก็ยังคงอํานาจในการทําความเขาใจและอํานาจในการอธิบายไวไดเปนอยางดี ถึงแมวาจะถูกสรางขึ้นและผานอดตีอันยาวนานมาแลว ดังจะเห็นไดดังตอไปนี ้

๑. กลุมทฤษฎียุคกอนสมัยใหม (Pre-Modernization)

๑๓ พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ.ปยุตฺโต), การศึกษาทั่วไปเพ่ือพัฒนามนุษย (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรี

นครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๒), หนา ๒๔-๒๕.

Page 27: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๓

๑.๑. ทฤษฎีแรกของการพัฒนา (The first development theory) ทฤษฎีแรกของการพัฒนา เกิดขึ้นจากตนแบบเกาดั้งเดิมของการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ซึ่งกําหนดขึ้นในชวงปลายศตวรรษที่ ๑๘ โดย อดัม สมิธ (Adam Smith) อดัม

เฟอรกูสัน (Adam Ferguson) และจอหน มิลลา (John Millar) ซึ่งเปนที่ยอมรับของนักวิชาการรุนใหม เชน จอหน โทเอ (John Toye) โกฟเฟอรี ฮอธรอน (Groffery Howthron) ดัดเล เซียรส (Dudley Seers) และปเตอร เพรสตัน (Peter Preston) วาเปนจุดเริ่มตนของแนวความคิดเกี่ยวกับความกาวหนาในปจจุบัน

ทฤษฎีแรก ของการพัฒนาดังกลาวนี้ ถือวา วิถีของการยังชีพการเลี้ยงชีวิต (Mode of subsistence) ในสังคมมนุษยเปนสิ่งสําคัญที่จะตองนํามาพิจารณาเพื่อกําหนดเงื่อนไขของการพัฒนาทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม โดยอาศัยพื้นฐานของสังคมอังกฤษและสกอตแลนดในศตวรรษที่ ๑๘ นักวิชาการสามคนแรก คือ สมิธ เฟอรกูสันและมิลลา มีความเห็นรวมกันวา การเปลี่ยนแปลงในวิถีการยังชีพมีอยู ๔ ขั้นตอนที่สําคัญ คือ

๑. การลาสัตวและการรวมกลุม (Hunting and gathering) ๒. วิถีชีวิตเรียบงายในชนบทและสงบแบบชาวนาหรือพวกเลี้ยงแกะ (Pastoralism) ๓. ตั้งหลักแหลงทําการเกษตรเปนอาชีพ (Settled agriculture) ๔. การคาขาย (Commerce)

และทํานายดวยวา อารยธรรมดานการพาณิชย (Commercial civilization) จะเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปในสังคมที่เจริญกาวหนา

แนวคิดของตนแบบนี้ ก็คือ “การเปลี่ยนแปลงจากยุคปาเถื่อนไปสูความเจริญรุงเรืองเปนขั้นตอนที่ถือวาเปนการสรางความกาวหนาไปสูจุดหมายปลายทางตามความปรารถนาของทุกสังคม”

ตั้งแตตนศตวรรษที่ ๑๙ เปนตนมา ตนแบบเกาดั้งเดิมนี้ ไดแตกแขนงออกเปนทฤษฎีการพัฒนา ๓ ประการ คือ

๑. ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary theory) ๒. ทฤษฎีเทคโนแครท (Technocratic theory) ๓. ทฤษฎีมารกซิสต (Marxist theory)

พวกเทคโนแครทและมารกซิสตมีความเห็นวา ขอกําหนดเกี่ยวกับวิถียังชีพของตนแบบดั้งเดิมนั้นไมมีความชัดเจนพอ เพราะถือวา วิถียังชีพ ระดับรายได ความมั่นคั่ง ตัวบทกฎหมาย รูปแบบการบริหาร และวัฒนธรรมของแตละสังคมเปนตัวแปรตาม สวนปจจัยแวดลอม เชน ภูมิอากาศ และความอุดมสมบูรณของดินเปนตัวแปรอิสระเทานั้น โดยมิไดวิเคราะหวา จะมีลูทางเขาไปสูอารยธรรมเชิงพาณิชยไดอยางไร

จากตัวแบบตั้งเดิมดังกลาว พวกเทคโนเครทจึงไดกําหนดตัวแบบขึ้นมาโดยนําเอาอารยธรรมทางวิทยาศาสตร (Scientific civilization) เขามาแทนอารยธรรมเชิงพาณิชย โดยอธิบายอารยธรรมทางวิทยาศาสตรวา “องคการทางสังคม” จะตองประกอบดวยตัวแปรสําคัญบางอยาง เชน คุณคาเชิงวิทยาศาสตรที่มีเหตุผล ความเปนระเบียบเรียบรอย การไมยึดอยูกับเรื่องสวนบุคคล การแจกแจงภาระหนาที ่

Page 28: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๔

สาระสําคัญของทฤษฎีเทคโนแครท ตามแนวคิดของ เซนต ไซมอน (Saint Simon) ไดอธิบายวา “การสะสมความรูและวิทยาการอยางแทจริงจะสามารถนํามาใชประโยชนในการปฏิรูปเศรษฐกิจและสรางสรรคระบบสังคมได และสามารถปดเปาความสับสนในระบบสังคมไดดวย” ดังนั้น นักวิทยาศาสตรธรรมชาติและนักสังคมศาสตรจึงไดรับการยอมรับวาเปนผูนําในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งระดับชาติและระหวางประเทศ”

แนวคิดดังกลาวของไซมอน เปนที่ยอมรับและมีอิทธิพลมากในหมูนักวางแผนผูเชี่ยวชาญขององคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับการพัฒนาในปจจุบัน

๑.๒ ทฤษฎีในสมัยอาณานิคม (Colonialism Theory) ตั้งแตกอนจนถึงระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง นักสังคมศาสตรใหความสนใจกับปญหา

ทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศดอยพัฒนานอยมาก ทั้ง ๆ ที่สภาพการณตาง ๆ ของประเทศเหลานั้นยังดอยพัฒนา ซึ่งแตกตางกับประเทศพัฒนาอยางมากมาย ผูที่สนใจและทําการศึกษาการดํารงชีวิตของคนในประเทศดอยพัฒนาลาหลังที่สวนใหญเปนอาณานิคมนั้น มักจะเปนพวกนักมานุษยวิทยาและนักชาติวงศวิทยา (Ethnologist) ที่สนใจในกลไกการทํางานตาง ๆ ของสังคมดั้งเดิมที่อยูเปนปาบนภูเขาเหตุผลที่ไมคอยจะมีความสนใจ ในปญหาความยากจน ของประเทศดอยพัฒนาใน

ขณะนั้น สวนมากจะมาจากความสัมพันธแหงอํานาจทางการเมืองระดับโลก ประเทศเมืองแมถือวาการปกครองอาณานิคมเปนงานอยางหนึ่งของชาวยุโรปที่จะตองทําใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง คือ การเปดประเทศเหลานั้นในทางเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชนกลับมาสูเมืองแม ดังนั้น จึงไมมีความสนใจในการที่จะศึกษาวิจัยถึงสาเหตุของความไมสมดุลทางเศรษฐกิจหรือการที่จะหาวิธีแกไขปญหาดังกลาว หรือหากทําการศึกษาวิจัยไดผลออกมาก็ไมแนใจวาจะสามารถทําใหฝายการเมืองยอมรับไปปฏิบัติได ยิ่งกวานั้นการศึกษาดังกลาวอาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะของประเทศเมืองแมไดดวยเชนกัน และยังไมมีใครจะคิดวาปญหาตาง ๆ เหลานั้นจะแกไขใหสําเร็จได การเอาชนะความดอยพัฒนาและความยากจนโดยการเพิ่มรายไดและยกมาตรฐานการดํารงชีวิตใหสูงขึ้นคงจะเปนการเสี่ยงหรือความกลาที่ขาดประสบการณอยางมาก

แนวความคิดหนึ่งที่นาสนใจ ก็คือ ความเห็นพื้นฐานอันหนึ่งที่ยอมรับกันแลววาเปน สาเหตุของความดอยพัฒนา คือ ความดอยพัฒนามีสาเหตุมาจากความเขาใจวาปจจัยทาง

ธรรมชาติจํานวนหนึ่งที่มีอยูตลอดเวลา โดยมิสามารถจะเอาชนะได แมโดยมาตรการทางการเมืองก็ตาม ดังนั้น วิธีการทางทฤษฎีที่อธิบายตามแนวความคิดอันนี้ จึงถือวาเปนทฤษฎีความดอยพัฒนา ไมใชทฤษฎีการพัฒนา ทั้งนี้ เพราะเปนทฤษฎีที่ไมมีแนวทางหรือกลยุทธที่จะเอาชนะความดอยพัฒนาได

ลักษณะสําคัญยิ่งของความเห็นพื้นฐานอันนี้ ก็คือ ทัศนคติทางอารมณที่วาเชื้อชาติของตัวดีกวาพวกอื่น (Ethnocentrism) ความสูงเดนทางรางกายและความเฉลียวฉลาดของคนผิวขาวในประเทศอุตสาหกรรมทั้งหลายถือวามีสิทธิที่จะปกครองดูแลประเทศของคนผิวอื่น ๆ เหตุผลอันนี้ดูเหมือนจะเปนเครื่องมือที่สมบูรณมาก เพราะคนผิวอื่นไมอาจจะเปลี่ยนแปลงผิวของตัวเองใหขาวได พวกผิวขาวจึงใชเหตุผลนี้เสริมสรางอํานาจเพื่อปกครองอาณานิคมไดและยังใชอางอิงไดดวยวาพวกผิวขาวไมจําตองรับผิดชอบทางศีลธรรมและทางการเมืองตอความยากจนและความดอยพัฒนาของคนผิว

Page 29: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๕

อื่นในประเทศอาณานิคม ทั้งยังอางตอไปดวยวาเปนภาระหนาที่ของคนผิวขาวที่จะตองมาคอยปกครองดูแลคนเหลานั้น ซึ่งไมสามารถปกครองตนเองได

๒. ทฤษฎีสมัยใหม (Modernization Theories) ในยุคสมัยใหม มีทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก กลุมทฤษฎีที่สําคัญมี

ดังตอไปนี้ คือ ๒.๑ ทฤษฎีการทําใหทันสมัย (Modernization Theory) ๒.๒ ทฤษฎีจักรวรรดินิยม (Imperialism Theory) ๒.๓ ทฤษฎีการพัฒนาอยางอื่น (Others Development Theories)

ทั้งสองทฤษฎีเกิดจากประเพณีการคิดแบบคนในยุโรปและทั้งสองมีความคิดเหมือนกัน คือ มีเปาหมายการพัฒนาที่จะใหประเทศกําลังพัฒนาจําเริญรอยตามกระบวนการความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาแลว โดยใชเวลานอยที่สุด เชน ตามประเทศอุตสาหกรรมใหทันสมัยในดานสวัสดิการ แตทั้งสองทฤษฎีมีลักษณะตรงกันขามเมื่ออธิบายถึงความดอยพัฒนาและตัวแบบของการเอาชนะความดอยพัฒนา ซึ่งจะไดกลาวตอไปนี้ คือ

๒.๑ ทฤษฎีการทําใหทันสมัย (Modernization Theories) ประกอบดวย ๑. ทฤษฎีการทําใหทันสมัย (Modernization theory) ๒. ทฤษฎีโครงสราง (Structural Theory) ๓. ทฤษฎีการแปลงรูป (Transformation Theory) ๔. ทฤษฎีการแพรกระจาย (Diffusion Theory) ๕. ทฤษฎีการพัฒนาทวิภาค (Dual Development Theory) ๖. ทฤษฎีโครงสราง-หนาที่นิยม (Structural-Functionalism Theory) ๗. ทฤษฎีการแกปญหา (Solution Theory) ๘. ทฤษฎีการสะสมทุน (Capital Accumulation Theory) ๙. ทฤษฎีแรงผลักดันเพื่อการพัฒนา (Big Push Theory) ๑๐. ทฤษฎีการเจริญเติบโตอยางสมดุล (Theory of Balance Growth) ๑๑. ทฤษฎีการเจริญเติบโตอยางไมมีดุลยภาพ (Theory of Unbalance

Growth ๒.๒ ทฤษฎีจักรวรรดินิยม (Imperialism Theories) ประกอบดวย ๑. ทฤษฎีการพึ่งพา (Dependency Theory) ๒. ทฤษฎีความดอยพัฒนา (Underdevelopment Theory) ๒.๓ ทฤษฎีอื่น (Other Development Theories) เชน ๑. ทฤษฎีความพอใจในความตองการขั้นพื้นฐาน (Theory of Satisfaction

of Basic Needs)

Page 30: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๖

๒.ทฤษฎีโครงสรางความสัมพันธระหวางประเทศ (Structural Theories of National Relation)๑๔

การพัฒนา เปนแนวคิดที่มีรากฐานมาจากความสนใจ ซึ่งเกิดขึ้นจากการสังเกตปรากฏการณการเปลี่ยนแปลงทางดานสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งอธิบายไวอยางชัดเจนวา สังคมและวัฒนธรรมของมนุษยชาติมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาดวยสาเหตุตาง ๆ หลายประการดังตอไปนี้

๑.การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมทางกายภาพ (Physical Environment) ๒.การเปลี่ยนแปลงทางดานประชากร (Population Change) ๓.การอยูโดดเดี่ยวและการติดตอกัน (Isolation and Contact) ๔.โครงสรางทางสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Structure) ๕.ระดับของความรูและเทคโนโลยี (Knowledge and Technology) ๖.ปจจัยที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางอื่น เชน การเล็งเห็นความจําเปนใน

การเปลี่ยนแปลง หรือนโยบายของผูนําประเทศ จากปรากฏการณทางสังคมที่ผานมา เราจะพบวา การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ

วัฒนธรรมเปนเรื่องตามธรรมชาติที่เกิดขึ้นโดยไมอาจหลีกเลี่ยงได การพิจารณาเรื่องการเปลี่ยนแปลงจึงตองทําความเขาใจทั้งในดานทิศทางของการเปลี่ยนแปลง (Direction) ขนาดของการเปลี่ยนแปลง (Magnitude) ระยะเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลง (Time) สาเหตุที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือตอตานการเปลี่ยนแปลง (Change & Resistance to Change)

สิ่งที่จะตองทําความเขาใจในเบื้องตน คือ ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมนั้น กินความครอบคลุมไปถึงการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่กาวหนาหรือถดถอยก็ได แตที่เปนพื้นฐานแนวคิดที่สําคัญของการพัฒนา ก็คือ ทิศทางของการเปลี่ยนแปลง (Direction for Change) ในลักษณะที่กาวหนาหรือการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นเทานั้น

คําวา “พัฒนา” เกิดขึ้นและนํามาใชครั้งแรกในคริสตศตวรรษที่ ๑๙ โดยนักเศรษฐศาสตรไดนํามาใชเรียกการแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรป ซึ่งเกิดการเปลี่ยนแปลงจากการใชแรงงานคนและสัตวมาเปนพลังงานจากเทคโนโลยี เชน เครื่องจักร เครื่องยนตตาง ๆ อาชีพของคนในสังคมเปลี่ยนจากเกษตรกรรมเปนการประกอบอาชีพทางดานอุตสาหกรรม วิถีการผลิตเปลี่ยนจากเพื่อการยังชีพเปนวิถีการผลิตเพื่อการคา ที่อยูอาศัยเปลี่ยนจากชนบทเปนเมือง สิ่งแวดลอมเปลี่ยนจากสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติเปนสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น หลังจากนั้น คําวา พัฒนา ก็ไดแพรกระจายออกไปทั่วโลก โดยความหมายกวาง ๆ ทั่วไปแลว หมายถึง การกระทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสูอีกสภาพหนึ่งที่ดีกวาเดิมอยางเปนระบบ

องคประกอบที่เกี่ยวของกับการพัฒนามีอยูสามสวน คือ ผูกระทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง เจตนารมณ อุดมการณ วิธีการรวมทั้งกระบวนการตาง ๆ ที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง และเปาหมายของกระทําที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ความเขาใจชัดเจนในแตละองคประกอบเหลานี้ จึงจําเปนอยางยิ่งสําหรับการศึกษาวิชาการที่วาดวยการพัฒนา

๑๔ โกนิษฐ ศรีทอง, เอกสารประกอบการสอนวิชา “แนวคิดและทฤษฎีทางการพัฒนาสังคม”,

(กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖), หนา ๑-๕.

Page 31: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๗

คําถามที่มักจะเกิดขึ้นบอยครั้งในศาสตรที่วาดวยการพัฒนา ก็คือ การพัฒนาหรือการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นของสังคมนั้นแทที่จริงแลวเปนการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นของใคร เกิดขึ้นจากการกระทําของใคร และมีจุดมุงหมายรวมทั้งเจตนารมณที่แทจริงอยางไร จึงตองการทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น

จากการศึกษาเชิงวาทกรรม (Discourse Studies) พบวา มีการแอบแฝงซอนเรนความตองการที่แทจริงของผูที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ไมวาจะเปนอุดมการณ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ วิธีการ นั่นคือ การพัฒนาที่ผานมาในอดีตเปนเพียงการบิดเบือน ซอนเรนฉันทามติเชิงวิชาการที่แทจริงของพัฒนศาสตร โดยพยายามใชวาทกรรมครอบงําระบบความคิด รวมไปถึงการชี้นําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมเปาหมายใหเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ผูสรางวาทกรรมตองการ นอกเหนือไปจากนั้น ยังมีขอคิดเห็นทางวิชาการที่นาสนใจอยางยิ่งวา ภายใตเงื่อนไขที่บริสุทธิ์ การพัฒนาที่แทจริงไมมีทางที่จะเกิดขึ้นได ถาหากไมสามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงเชิงลบของสังคมซึ่งเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นควบคูกันไปพรอมกับการเปลี่ยนแปลงในทางบวกหรือการพัฒนา๑๕

W.W. Rostow (Rostow’s Stages of Growth) นักเศรษฐศาสตรไดเขียนไววา การเปลี่ยนแปลงความเปลี่ยนแปลงจากความดอยพัฒนาไปสูความพัฒนาของแตละประเทศมีลําดับขั้นตอนโดยสามารถแบงออกไดเปน ๕ ขั้นตอน คือ

1. ขั้นลําดับดั้งเดิม (The traditional society) 2. ขั้นกอนที่ระบบเศรษฐกิจจะทะยานขึ้น (The precondition for take off) 3. ขั้นทะยานขึ้น (The take off) 4. ขั้นผลักดันไปสูความเจริญเติบโตแบบเต็มที่ (The drive to maturity) 5. ขั้นที่มีการบริโภคขนาดใหญ (The age of high mass consumption)๑๖

ทฤษฎีศักยภาพการพัฒนาและแพรกระจาย (Development Potentia Diffusion Theory)ประกอบดวย ๒ สวนคือ ศักยภาพการพัฒนา ประกอบดวยสังกัป ๔ ตัว คือ

๑. ทรัพยากรธรรมชาติ ๒. ทรัพยากรมนุษย ๓. องคการสังคม และ ๔. ภาวะผูนํา

ทฤษฎีสวนนี้อธิบายวา ๔ สิ่งนี้เปนตัวเหตุใหเกิดการพัฒนาสังคม ๔ สิ่งนี้ถือเปนศักยภาพของสังคม อีกสวนคือ ทฤษฎีการแพรกระจายนวัตกรรม (Diffusion Theory) มีสังกัป ๑ ตัวคือ การติดตอกับโลกภายนอก (contact) นี่ก็เหมือนกัน อธิบายการพัฒนาวาเกิดจากการติดตอกันระหวางสังคม โดยเฉพาะสังคมดอยพัฒนาที่ติดตอกับสังคมพัฒนา จะทําใหสังคมดอยพัฒนามีระดับการ

๑๕ [อ อ น ไ ล น ], แ ห ล ง ที่ ม า : http://www3.cdd.go.th/narathiwat/j/index.php?option

=com_content&view=article&id=83:-1-&catid=47:2011-02-21-16-38-29.(๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖) ๑๖ [อ อ น ไล น ], แ ห ล ง ที่ ม า : http://geography.about.com/od/economic-geography/a/

Rostow-S-Stages-Of-Growth-Development-Model.htm. (๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖)

Page 32: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๘

พัฒนาสูงขึ้น ทฤษฎีศักยภาพและการแพรกระจายมีตัวเชื่อม คือ การฝกอบรม (training) ซึ่งทางวิชาการเรียกวาตัวแปรแทรก (intervening variable) สําหรับนักปฏิบัติการพัฒนาสังคม ก็มองตัวนี้เปนปจจัยเหตุใหเกิดการพัฒนาอีกตัวหนึ่งนั่นเอง

ส รุ ป ว า ต าม ท ฤษ ฎี นี้ สั งคม จะพั ฒ น า ได โด ยมี เห ตุ ป จ จั ย ๖ ป ระก าร คื อ ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรมนุษย องคการสังคม ภาวะผูนํา การติดตอและการฝกอบรม ยิ่งมีสิ่งตาง ๆ เหลานี้มากเพียงใด การพัฒนาก็ยิ่งมีสูงขึ้นเทานั้น

อธิบายสังเขป โดยยอดังนี้ ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource) หมายถึง สิ่งที่อยูตามธรรมชาติไมใชสิ่งที่

มนุษยสรางขึ้น ตัวอยางไดแก ดิน น้ํา ปา แรธาตุ เชน น้ํามัน กาซ ทองคํา เงิน เพชร ทรัพยากรมนุษย (Human resource) หมายถึง มนุษยนั่นเอง แตหมายเฉพาะกลุมคน

ในวัย แรงงาน เพราะคนวัยนี้มีกําลังแรงงานเปนประโยชนตอการพัฒนา สวนคนวัยอื่น คือ วัยชรา (๖๐ ปขึ้นไป) หรือวัยเด็ก (๑๔ ปลงมา) เปนภาระมากกวาเปนประโยชนตอการพัฒนา

องคการสังคม (social organization) หมายถึง สวนหนึ่งของโครงสรางสังคมที่เปนกลุมประเภทตางๆและมีหนาที่ตางๆกัน ซึ่งประกอบดวย ความสัมพันธทางสังคม หนาที่ แบบแผนพฤติกรรม สังคมที่เปนประโยชนตอการพัฒนา คือ องคการสังคมประเภทสหจร (association) เชน กลุมอาชีพสหกรณ คณะกรรมการ กลุมทางการศึกษา เปนตน

ภาวะผูนํา (Leadership) พูดใหเขาใจงาย หมายถึง จํานวนคนที่เปนผูนํา เชน ผูนําทางการเมือง มีกํานัน ผูใหญบาน แพทยตําบล เปนตน ผูนําทางการศึกษา เชน ครู กรรมการศึกษา เปนตน ผูนําทางเศรษฐกิจ เชน ผูร่ํารวยพอคาผูนํากลุมชาวนา ผูนํากลุมชาวไร ผูนํากลุมทอผา เปนตนผูนําทางศาสนา เชน สมภารวัด

การติดตอ (contact) หมายถึง การที่คนของชุมชนหนึ่ง เปนชุมชนชนบท ติดตอกับคนในอีกชุมชนหนึ่งคือ ชุมชนเมือง การติดตอระหวางชุมชน ระหวางเมือง ระหวางประเทศ เรียกวา การติดตอในความหมายนี้ทั้งสิ้น

การฝกอบรม (training) หมายถึง การไดรับการศึกษาของประชาชนโดยเฉพาะการศึกษาที่จะเปนประโยชนตอการดํารงชีพ เชน การฝกอาชีพดานตาง ๆ การฝกเกี่ยวกับสหกรณ การฝกเกี่ยวกับสาธารณสุข การฝกเกี่ยวกับการตลาด การฝกเกี่ยวกับการชาง เปนตน

การพัฒนา (รวมถึงการพัฒนาสังคม) หมายถึง การมีคุณภาพชีวิต (quality of Life) ที่ดีขึ้นอาจวัดคุณภาพชีวิตไดหลายแบบ เชน วัดทางการศึกษา เศรษฐกิจ การเมือง อนามัย หรือทางจิตใจ มีสิ่งเหลานี้สูงขึ้นหรือมากขึ้นก็ถือวามีการพัฒนาสูงขึ้น๑๗

สรุปวา การพัฒนาคือการทําใหเจริญดีขึ้นในทางที่ถูกตอง โดยมีการวางแผนหรือเปนไปตามธรรมชาติเพื่อใหบรรลุเปาหมายสันติสุขและสันติภาพ สอดคลองกับทุกขั้นตอนและการเปลี่ยนแปลง ไมวา จะเปนคน วัตถุสิ่งของ และ สิ่งแวดลอม รวมไปถึงจิตใจและวัฒนธรรม โดยประสานเหตุ ทั้ง ๖ ดานไปพรอมกันคือ ๑) ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource) ๒)ทรัพยากร

๑๗ ทรงวิทย แกวศรี,, เอกสารประกอบการสอนวิชา “แนวคิดและทฤษฎีทางการพัฒนาสังคม”,

(กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖), หนา ๑๑-๑๓.

Page 33: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๙

มนุษย (Human resource) ๓)องคการสังคม (social organization) ๔)ภาวะผูนํา (Leadership) การติดตอ (contact) ๕)การฝกอบรม (training) โดยคํานึงถึงสถาบันทางสังคมที่จะเกิดการพัฒนาและเจริญขึ้นคือ ๑) สถาบันครอบครัว (Family institution) ๒) สถาบันศาสนา (Religious institution) ๓) สถาบันการศึกษา (Educational institution) ๔) สถาบันการเมืองการปกครอง (Political & Administrational institution) ๕) สถาบัน เศรษฐกิจ (Economy institution) ๖ ) สถาบันวิทยาศาสตรและนันทนาการ (Science & Entertainment institution) ๗ ) สถาบันรัฐธรรมนูญ (Constitutional institution) ๘) สถาบันวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม (Cutural & Environment institution) ใหเปลี่ยนแปลงพัฒนาไปตามแผนและบรรลุเปาหมายอยางถูกตองและตามเหตุปจจัยไมเกิดผลกระทบที่รายแรงตอสิ่งอื่นๆ

๒.๒ แนวคดิ ทฤษฎี เกี่ยวกับประสิทธิภาพ แนวทางการสรางประสิทธิภาพการบริหารจัดการนั้น จําเปนตองอาศัยแนวคิดและ

ทฤษฎีตางๆ ที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพมาเปนตนแบบของการพัฒนาและปรับปรุงกลาวคือ เมื่อใด ก็

ตามที่องคการตองการงานที่มีประสิทธิภาพ บุคลากรในองคการนั้นๆ ก็ควรจะตองทราบและทําความ

เขาใจในความหมายและความสําคัญของหลกัประสิทธิภาพอยางแทจริงเพื่อที่จะไดนา มาเปน

แบบอยางในการปฏิบัติที่ถูกตอง แมนยา และยั่ งยืน ดังนั้น เพื่อให เกิดความเขาใจในหลัก

ประสิทธิภาพใหมากขึ้นผูวิจัยจึงคนควาแนวคิด ความหมายและความสําคัญของประสิทธิภาพการ

ปฏิบัติงานซึ่งคนควาเอกสารของนักวิชาการวิชาการ ผูมีความรูความชํานาญ ทั้งชาวไทยและ

ชาวตางชาติ ดังนี้

๒.๒.๑ ความหมายและความสําคัญของประสิทธิภาพ

เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ ง ได ใหความหมายของประสิทธิภาพไวดั งนี้ ประสิทธิภาพ

(Efficiency) หมายถึงการเปรียบเทียบทรัพยากรที่ ใชไป (Input) กับผลที่ ไดจากการทา งาน

(Output) วาดีขึ้นอยางไร แคไหน ในขณะที่กําลังทํางานตามเปาหมายขององคกรคงเดิม๑๘

ติน ปรัชญพฤทธิ์ ไดกลาวถึงประสิทธิภาพไวดังนี้ ประสิทธิภาพ (Efficiency) คือ การ

สนับสนุนใหมีวิธีการบริหารที่จะไดรับผลดีมากที่สุดโดยสิ้นเปลืองคาใชจายนอยที่สุดนั่นก็คือการ ลด

คาใชจายทางดานวัตถุและบุคลากรลงในขณะที่พยายามเพิ่มความแมนตรงความเร็วและความ

ราบเรียบของการบริหารใหมากขึ้น๑๙

สัญญา สัญญาวิวัฒน ไดกลาวถึงประสิทธิภาพไวดังนี้ ประสิทธิภาพหมายถึง การวัดผล

การทา งานขององคกรนั้นวาทา งานไดปริมาณงานมากนอยแคไหน คุณภาพงานดีมากนอยแค ไหน

๑๘ เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง, การบริหารรัฐกิจ แนวคิด หลักการ และการปฏิบัติ, (ขอนแกน : หางหุนสวน จํากัด ขอนแกนการพิมพ, ๒๕๓๕), หนา ๕๗.

๑๙ ติน ปรัชญพฤทธิ์, ศัพทรัฐประศาสนศาสตร, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖), หนา ๗.

Page 34: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๐

ใชเงิน เวลา แรงงานไปมากนอยแคไหน โดยรวมความมีประสิทธิภาพเราจะใหหมายถึง ทํางานได

ปริมาณและคุณภาพมาก องคกรโดยรวมมีความสมัครสมานสามัคคีมีสันติภาพและ ความสุขรวม เปน

ผลดีตอสวนรวมและผูรับบริการแตใชเวลาแรงงานและงบประมาณนอย๒๐

สมใจ ลักษณะ ไดกลาวถึงประสิทธิภาพไวดังนี้ ประสิทธิภาพเปนเรื่องของการใช ปจจัย

และกระบวนการในการดา เนินงานโดยมีผลผลิตที่ไดรับเปนตัวกํากับการแสดงประสิทธิภาพ ของการ

ดําเนินงานใดๆ อาจแสดงคาของประสิทธิภาพในลักษณะการเปรียบเทียบระหวางคาใชจาย ในการ

ลงทุนกับผลกําไรที่ ไดรับ ซึ่งถาผลกําไรมีสูงกวาตนทุนเทาใดยิ่งแสดงถึงประสิทธิภาพมากขึ้น

ประสิทธิภาพอาจไมแสดงประสิทธิภาพเชิงตัวเลข แตแสดงดวยการบันทึกถึงลักษณะการใช เงิน วัสดุ

คน และเวลา ในการปฏิบัติงานอยางคุมคา ประหยัด ไมมีการสูญเปลาเกินความจา เปน รวมถึงการใช

กลยุทธหรือเทคนิควิธีการปฏิบัติที่เหมาะสมสามารถนา ไปสูการบังเกิดไดเร็ว ตรงและ มีคุณภาพ

ประสิทธิภาพมี ๒ ระดับ ดังนี้ (๑) ประสิทธิภาพของบุคคล และ (๒)ประสิทธิภาพของ องคการ

ประสิทธิภาพของบุคคล หมายถึง การทา งานเสร็จโดยสูญเวลาและเสียพลังนอยที่สุด คานิยมการทํา

งานที่ยึดกับสังคมคือการทา งานไดเร็ว และไดงานดีบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทํางาน คือ บุคคลที่

ตั้งใจปฏิบัติงานอยางเต็มความสามารถใชกลวิธีหรือเทคนิคการทา งานที่จะสราง ผลงานไดมากเปน

ผลงานที่มีคุณภาพเปนที่นาพอใจโดยสิ้นเปลืองทุน คาใชจาย พลังงาน และเวลา นอยเปนบุคคลที่มี

ความสุขและพอใจในการทา งานเปนบุคคลที่มีความพอใจที่จะเพิ่มพูนคุณภาพ และปริมาณของ

ผลงาน คิดคน ดัดแปลงวิธีการทา งานใหไดผลดียิ่งขึ้นอยูเสมอประสิทธิภาพของ องคการ คือ การที่

องคกรสามารถดําเนินงานตางๆ ตามภารกิจหนาที่ขององคการโดยใชทรัพยากร ปจจัยตางๆ รวมถึง

กําลังคนอยางคุมคาที่สุดมีการสูญเปลานอยที่สุด มีลักษณะการดา เนินงานไปสู ผลตามวัตถุประสงค

ไดอยางดีโดยประหยัดทั้งเวลา ทรัพยากร และกําลังคน องคการมีระบบการ บริหารจัดการที่เอื้อตอ

การผลิตและการบริการไดตามเปาหมาย องคการมีความสามารถใช ยุทธศาสตร กลยุทธ เทคนิค

วิธีการและเทคโนโลยีอยางฉลาด ทําใหเกิดวิธีการทํางานที่เหมาะสม มี ความราบรื่นในการดําเนินงาน

มีปญหาอุปสรรคและความขัดแยงนอยที่สุด บุคลากรมีขวัญกําลังใจดี มีความสุขความพอใจในการทํา

งาน๒๑

ชุมศักดิ์ ชุมนุม ไดใหความหมายของประสิทธิภาพไวดังนี้ ในการปฏิบัติงานให ไดผลดี

หรือไมดีนั้น ผูปฏิบัติจะตองไดรับการตอบสนองความตองการทั้งภายนอกและภายใน ซึ่งหากไดรับ

การตอบสนองแลวยอมหมายถึงการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งแบงได ๒ ประเภท คือ (๑)

๒๐ สัญญา สัญญาวิวัฒน, ทฤษฏีองคกรประสิทธิภาพ รวมบทความสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา,

(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๖๓. ๒๑

สมใจ ลักษณะ, การพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางาน, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร :

เฟองฟาพริ้นติ้ง, ๒๕๔๓), หนา ๗ - ๘.

Page 35: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๑

ความตองการภายนอก ไดแก รายไดหรือคาตอบแทน ความมั่นคงปลอดภัยในการ ปฏิบัติงาน

สภาพแวดลอมทางกายภาพที่ดี และตําแหนง/หนาที่ (๒) ความตองการภายใน ไดแก ความตองการ

ไดรับการยอมรับจากหมูคณะ ความตองการแสดงความรูสึกเกี่ยวกับการจงรักภักดี ความเปนเพอื่น

และความรัก และความตองการในศักดิศ์รีของตนเอง๒๒

สุรนาท ขมะณะรงค ไดกลาวถึงประสิทธิภาพไวดังนี้ ประสิทธิภาพในระบบราชการมี

ความหมายรวมถึงการผลิตภาพและประสิทธิภาพโดยประสิทธิภาพเปนสิ่งที่วัดไดหลายมิติตามแต

วัตถุประสงคที่ตองการพิจารณา คือ (๑) ประสิทธิภาพในมิติของคาใชจายหรือตนทุนการผลิต ไดแก

การใชทรัพยากรการบริหาร คือ คน เงิน วัสดุ เทคโนโลยีที่มีอยูอยางประหยัดคุมคาและเกิดการ

สูญเสียนอยที่สุด (๒) ประสิทธิภาพในมิติของกระบวนการบริหาร ไดแก การทํางานที่ถูกตองได

มาตรฐาน รวดเร็ว และใชเทคโนโลยีที่สะดวกกวาเดิม และ (๓) ประสิทธิภาพในมิติของผลผลิต และ

ผลลัพธ ไดแก การทํางานที่มีคุณภาพเกิดประโยชนตอสังคม เกิดผลกําไร ทันเวลา ผูปฏิบัติงาน มี

จิตสํานึกที่ดีตอการทํางานและบริการ เปนที่พอใจของลูกคาหรือผูมารับบริการ๒๓

กิบสัน (Gibson) ไดกลาวถึงประสิทธิภาพไวดังนี้ ประสิทธิภาพ หมายถึงอัตราสวน ของ

ผลผลิตตอตัว ปอนเกณฑการวัดประสิทธิภาพรวมถึงผลตอบแทนจากการลงทุนหรือทรัพยสิน

คาใชจายตอหนวย คาสูญเสีย และสูญเปลา การใชทรัพยากรต่ํากวาขีดความสามารถอัตราการใช

สอย เปนตน เกณฑการวัดประสิทธิภาพจะตองเปนอัตราสวน เชน อัตราสวนของผลประโยชนตอ

คาใชจาย (rations of benefit to cost)๒๔

จอหน มิลเลท (John D. Millet) ไดกลาวถึงประสิทธิภาพดังนี้ ประสิทธิภาพ หมายถึง

ผลการปฏิบัติงานที่กอใหเกิดความพึงพอใจแกมวลมนุษย และไดรับผลกําไรจากการ ปฏิบัติตามนั้น

ดวย ซึ่งอาจเขียนเปนสูตร ดงันี้๒๕

E = (O - I) + S E = Efficiency คือ ประสิทธิภาพของงาน

O = Output คือ ผลิตผลหรือผลงานที่ไดรับออกมา

I = Input คือ ปจจัยนําเขาหรือทรัพยากรในการบริหารที่ใชไป

S = Satisfaction คือ ความพงึพอใจในผลงานที่ออกมา

๒๒ ชุมศักดิ์ ชุมนุม, ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสํานักงานศึกษาธิการอําเภอ

: กรณีศึกษา เขตการศึกษา ๑๐. (กรุงเทพมหานคร : เฟองฟา พริ้นติ้ง, ๒๕๔๙), หนา ๖๔. ๒๓ สุรนาท ขมะณะรงค, นโยบายสาธารณะและหลักการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง,

(ขอนแกน : โรงพิมพมหาวิทยาลัยขอนแกน, ๒๕๔๐), หนา ๓๕. ๒๔ Gibson,J.L., Organization: Behavior, structure and processes. (3rd ed). (Dellas,Texas:

Business Publications, 1979), p. 50. ๒๕ John D. Millet, J.D., Management in the public service, (New York : Hill, 1954), p. 4.

Page 36: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๒

ฮอรเบริตซ ไซมอน (Herbert A. Simon) ไดกลาวถึงประสิทธิภาพไวดังนี้ ทรรศนะ

เกี่ยวกับประสิทธิภาพคลายคลึงกับ Millet คือ ถาจะพิจารณาวางานใดจะมีประสิทธิภาพสูงสุดนั้น ให

ดูจากความสัมพันธระหวางปจจัยนําเขา (Input) กับผลผลิต (Output) ที่ไดรับออกมา ดังนั้น ตาม

ทรรศนะนี้ประสิทธิภาพจึงเทากับผลผลิตลบดวยปจจัยนําเขา และถาเปนการบริหารราชการและ

องคการก็บวกกับความพงึพอใจ ของผูรับบริการ (Satisfaction) เขาไปดวย๒๖

ปเตอรสัน และ พลาวแมน (Peterson & Plowman) ไดกลาวถึงประสิทธิภาพไวดังนี้

ความหมายของประสิทธิภาพ ตามนัยเชิงธุรกิจ หมายถึง การผลิตสินคาใหมีคุณภาพ เหมาะสมตาม

ความตองการมากที่สุด โดยใชตนทุนการผลิตต่ํา ที่สุดซึ่งประสิทธิภาพในทางธุรกิจนั้นมุงพิจารณา ใน

เรื่องประสิทธิภาพของงานโดยอาศัยปจจัยดานคาใชจาย คุณภาพ เวลาและวิธีการเปนสิ่งสําคัญ๒๗

จากขอมูล เชิ งวิชาการที่ กล าวข างตน ผู วิ จั ยสามารถสรุปประเด็นสํ าคัญ ไดว า

ประสิทธิภาพ หมายถึง ระดับความสําเร็จตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายของการดา เนินงานที่

ประหยัดทั้งงบประมาณ ระยะเวลา และทรัพยากรตางๆ

๒.๒.๒ แนวคดิของประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน

เปนที่ทราบกันดีอยูแลววาบุคลากรถือเปนหัวใจสําคัญของการวัดประสิทธิภาพและ เปน

ขอมูลปฐมภูมิที่จะนํามาพัฒนาประสิทธิภาพขององคการ หากเราตองการใหบุคลากรใน องคการมี

ประสิทธิภาพในการทา งาน ผูบริหารควรจะตองศึกษาขอมูลในดานองคประกอบของตวับุคคล เพราะ

องคประกอบเหลานี้จะเปนปจจัยสําคญัที่จะนําไปสูการพัฒนาประสิทธิภาพในการ ทา งานที่ยั่งยืน ซึ่ง

ผูดําเนินการวิจัยไดทําการศึกษาคนควาขอมูล ไดดงันี้

๑. ปรัชญาและอุดมการณในการพัฒนาตนเอง ปรัชญาและอุดมการณในการพัฒนา

ตนเอง หมายถึง หลักการที่บุคคลยึดถือสา หรับการพัฒนาตนเอง เพราะมนุษยทุกคนพัฒนาตนเอง

ได ทุกคนสามารถพัฒนาตนเองไปถึงระดับการมีสัจการแหงตน ดังนั้น มนุษยจึงจําเปนตองเรียนรู

ตลอดเวลา เพื่อสรางความกาวหนาและรูทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม ซึ่งแนวทางในการ กําหนด

ปรัชญาและอุดมการณในการพัฒนาตนเองควรเริ่มตนดวยการศึกษาความหมายของชีวิต ศึกษา

ความคิด และยึดแบบอยางของบุคคลดีในสังคมเพื่อนา มาเปนแบบอยาง ตองเริ่มตนดวยการ มอง

ตนเองวามีคาตอสังคม และคิดวิเคราะหประเมินตนเองอยูตลอดเวลา เพื่อคนหาขอบกพรองที่ ควรนา

มาพฒันาปรับปรุง นั่นเอง

๒๖ Herbert A. Simon, H.A., Administrative behavior, (New York : McMillan, 1960), p. 180-

181. ๒๗ Peterson, E., & Plowman, E.G., Business Organization and Management. Homewood,

(Illinois : Richard D. lrwin, 1953), p. 50.

Page 37: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๓

๒. บุคลิกภาพ

เพอรวิน (Pervin) ไดกลาวถึงบุคลิกภาพไวดังนี้ บุคลิกภาพเปนลักษณะเฉพาะตัวที่

ปรากฏเปนนิสัย (Habit) เชน ชอบเลนกีฬา ปรากฏเปนอุปนิสัย (Trait) เชน เขมงวด (Rigid) ซื่อสัตย

เจาอารมณ โดยสรุปบุคลิกภาพมีความหมายดวยกัน ๒ แบบ คือความหมายทั่วไป และความหมาย

เฉพาะ

ความหมายทั่วไปของบุคลิกภาพ หมายถึง บุคลิกภาพที่เปนผลรวมของลักษณะ ประจํา

ตัวของแตละบุคคล ซึ่งประกอบไปดวยลักษณะทางรางกาย เชน รูปราง หนาตากริยาทาทาง ลักษณะ

ทางจิตใจ อารมณ และความรูสึก

ความหมายเฉพาะ หมายถึง การเนนบุคลิกภาพในแงอุปนิสั ย (Traits) ที่ เปน

คุณลักษณะเฉพาะตัวของบุคคลที่มาจากองคประกอบทางจิตใจ อารมณ และความรูสึกของบุคคลที่ มี

ตอตนเองและตอสงัคม เชน บุคลิกภาพที่เปนอุปนิสัยขยันหมั่นเพยีร เปนตน๒๘

๓. ความตองการ หมายถึง ความตองการการพัฒนาทางดานความรู ทักษะทัศนคติ

และพัฒนาทางดานความคิดให มีความคิดอยางเปนระบบ การท ี่จะทําใหบ ุคลากรในองค การม ี

ความคิดอยางเปนระ บบเอง ทำ ใหอ งคการเปนอ งค การแหงการเรียนรู ซึ่งการพัฒนาบ ุคลากร

สาหร ับองคการแหงการเรียนรู จะประกอบไปดวย (๑) ร ูภารกจิ และวิสัยทัศน ขององคการ กลาวคือ

ตองทราบวาภารกิจทำอะไรและมีวิสัยทัศน ไปในทิศทางใด (๒) ทําความเขาใจในความสามารถของ

บุคลากรในองคการวามีความสามารถอะไร มีทัศนคติอยางไร สมควรที่จะดําเนินการพัฒนาตรงจด

ไหน โดยอาจมการดําเนินการทดสอบกอน (๓) ปรับทัศนคต ิของบ ุคลากรในองคการให มีความ

จงรักภักดีตอองคการหรือตอหนวยงานและให มีใจรักในการเรียนรู (๔) พัฒนาความรู และทักษะ

ของบ ุคลากรในองคการ (๕) พัฒนาทักษะดานการเรียนรู ตองทาให บ ุคลากรในองคการเกดความ

ตองการในการเรียนรูอยางแทจริงและรูจักขวนขวายหาความรูอยูสม่ําเสมอ (๖) สรางระบบการ

บริหารจดการท ี่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ และ (๗) สรางบริบทท ี่เอ ื้ออำนวยตอการเรียนรู เชน

หากใครค ิดหรือเสนออะไรท ี่ดีท ี่เปนประโยชน ก็ควรมีการให รางวัล ซึ่งไมจำเปนตองเปนเม็ดเงิน

อาจเปนการชมเชยซึ่งสิ่งทั้งหลายเหลานี้คือความตองการทั้งสิ้น ด ังนั้นผูบริหารจึงตองใหการ

สนับสนุนและใหความสำคญัไปพร อมๆ กันดวย

๔. คานยิม คือ หลักการหรือมาตรฐานที่บ ุคคลยึดถือเปนกฎเกณฑของการตัดสินวาสิ่ง

ใดมีคาสําหรับตัวเขา ตัวมาตรฐานนี้จะเปนกรอบชี้นําใหบ ุคคลมีความสนใจ เจตคต ิและการ

ประพฤติปฏิบัติไปในทศิทางที่สอดคลองกบคานยมของตนเอง ๒๙ คานิยมเปนตนทางของเจตคติของ

บุคคล เมื่อบุคคลนิยมยึดถือวาสิ่งใดมีคาท ีเขาตองการจะทำให เกิดเจตคติพอใจในสิ่งนั้น มีอิทธิพล

๒๘ Pervin, Modern Management, (New Jersey : Prentice-Hill, 1989), p. 7. ๒๙ สมใจ ลักษณะ, การพัฒนาประสทธิภาพการทางาน , (กรงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎสวน

สุนันทา, ๒๕๔๓), หนา ๔๓.

Page 38: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๔

ทำใหเกิ ดความ โนม เอ ียงท ีจะ ทำพฤติกรรมใหเขาใกล หรือ ไดมาซึ่งสิ่งนั้นคานิยมขอ บ ุคคล มี

สวนประกอบ ๓ สวน ไดแก (๑) สวนประกอบดานความรู ความคิด (Cognition) (๒) สวนประกอบ

ดานอารมณ ความร ูสึก (Affection) และ (๓) สวนประกอบของการแสดงออก (Expression)

๕. การมเปาประสงคที่เหมาะสมของชีวิตและการทำงานการกําหนดเปาประสงคของ

ชีวิตและการทำงานเปนเรื่องสำคญัของบ ุคคลเพราะแตละบ ุคคลมีชีว ิต ความเปนอยู และฐานะทาง

เศรษฐกิจและสังคมแตกตางกันสวนหนึ่งมาจากการที่บุคคลเหลานั้นมีเปาประสงคแตกตางกัน แนว

ทางการกําหนดเปาประสงคของชีวิตและการทำงานทีจ่ะนําไปสูผลสำเร็จควรใชกระบวนการ ดังนี้

๑) สำรวจ ขอเดน-ขอดอย ของตนเอง

๒) ศ ึกษาสภาพแวดลอม

๓) ประเมนทางเลือก

๔) การเรียงลําดับขั้นของเปาประสงค

๕) การหมั่นตรวจสอบและปรับปรุงเปาประสงค

๖) การ คนควาวิธีการนําไปสูเปาประสงคและวิธีการปร ับปรุงเปาประสงค

๖. ความสามารถในการสำรวจตนเองความสามารถในการสำรวจตนเอง หมายถึง การ

สำรวจเพ ื่อให รูจกตนเองอยางถกตอง ชดเจน ครบถวน เปนกลว ิธท ี่สําคัญของการพัฒนาตนเอง

พฒันาประสิทธิภาพการทางาน เพื่อใหบังเกิดตามเปาประสงคและการทางาน การสำรวจตนเองจะ

มุงไปทีอ่งคประกอบ ๒ องคประกอบ ดงันี้

ก. การสำรวจลักษณะสวนตัวของตนเองในดานตางๆ โดยเฉพาะบ ุคลิกภาพ

และดานความร ูสึก เชน ความสนใจ ความตองการ เปนตน

ข. การสำรวจปญหาและอุปสรรคที่ตนเองตองเผชิญในการดํารงชีว ิตเน นเปน

พ ิเศษใน เรือ่งปญหาและอุปสรรคในการทางาน

เมื่อดำเนินการสำรวจดวยวิธีการตางๆ เชน วิเคราะหตนเอง หรือการระบ ุสวนที่เปน

ขอเดน-ขอดอย ที่เกี่ยวกับตนเอง ก็ควรนําผลการสำรวจมาใชเปนประโยชน ในการพัฒนาตนเองเพ ื่อ

เพิม่ประสิทธิภาพของการทำงานและเพิม่คณุภาพของชีวิต

นงนุช นุตรัตน ไดศึกษา “ความตองการในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏ ิบัต ิงานของ

ขาราชการเพ ื่อรองรับการบริหารงานภาครัฐแนวใหม : ศ ึกษากรณี ขาราชการใน สานกงานปล ัด

กระทรวงการคล ัง ” ผลก ารศึกษาวิจัยพบวา การสํารวจตนเองแล วพบข อด อ ย จ ุดออน หรอขอ

บกพรองใดๆ ก็ตาม สามารถใชประโยชน จากวิกฤตเหลานั้นพลิกให เกิดเปนโอกาส คือ การนําสวน

ดอยตางๆ เหลานั้นมาเปนเปาหมายของการพัฒนาตนเอง เชน นําการขาดทักษะดานคอมพิวเตอร

มาเปนเปาหมายในการพัฒนาตนเองดานคอมพิวเตอร นําเรื่องผูบริหารไมสน ับสนุนมา เป น

Page 39: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๕

เปาหมายในการทํางานดวยการศ ึกษานโยบายและความสนใจของผูบริหารและปรับปรุงการ ทา

งานใหสนองนโยบาย สอดคลองกบความสนใจของผูบริหาร เปนตน๓๐

๗. ความสามารถในการพชิิตอุปสรรคในการทํางาน การพ ิชิตปญหาและอุปสรรคใน การ

ทำงาน เปนเรื่องสำคัญของการไปสูความสำเร็จตามเปาประสงคของการทํางานบ ุคคลจำนวน มาก

ท ี่ประสบความลมเหลวในการการดําเนินชีว ิต และการทำงาน สวนใหญมักเกิดจากการขาด

ความรู แนวค ิดและวิธีการปฏ ิบ ัติท ี่จะ เพิ่มความสาม ารถในตนเอ งในก ารเอ าชนะ ปญหาแล ะ

อุปสรรค การพัฒนาตนในเทคนิควิธีการพ ิชิตปญหาและอุปสรรคจึงถือเปนสิ่งท ี่จำเปนอีกประการ

หนึ่ง ๘. การสร างความเชื่อมั่นในตนเอง สมิต อาชวนิกุล ไดกลาวถึงการสรางความเชื่อมั่น

ในตนเองไว ดังนี้ คนที่เชื่อมั่นในตนเอง คือ คนที่ค ิดอยูในใจวาตนเองทำไดเหมือนคนทั่วไป มีจิตใต

สำนึกท ี่มีพลังงานและมีอํานาจสรางสรรคคอยางมหาศาล คนท ี่เชื่อมั่นในตนเองก็เทากับเขารูจักใช

พลังงานท ี่ซอนเรนอยูในตัวของเขาไดอยางมีประโยชน๓๑ ล ักษณะของความเชื่อมั่นในตนเองม ี

ความสำคัญตอความสำเร็จในการทำงานของบ ุคคลทั่วไป เพราะเปนคุณสมบัติท ี่ทำใหบ ุคคลท ี่ม ี

สต ิปญญา มีความรู ความฉลาดความสามารถ และคุณธรรมจริยธรรมท ี่ดีงามใกลเคียงกันความ

เชื่อมั่นในตนเองจ ึงเปนคุณลักษณะสำคัญของการเปนผูนําผูประสบความสุขความสำเร็จในชีวิตเปน

คุณลักษณะของบ ุคคลท ี่หมูคณะและส ังคมตองการและน ับเปนปจจัยสำคัญประการหนึ่งของการ

เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององคการซึ่งบ ุคคลท ี่มีความเชื่อมั่นในตนเองจะฉลาดในการ

คนหาจ ุดเดนของตนเองนํามาเปนจ ุดที่ยอมร ับนับถือภูมิใจในคุณคาของงานเปนผูที่ดำเนินชีว ิตอยาง

มีเปาหมายมีความมุงมั่นเด ็ดเดี่ยวในการพยายามดำเนินชีว ิตและทากิจกรรมเพ ื่อให บรรลุเปาหมาย

โดยไมทอถอย หวั่นเกรง หรือว ิตกกังวล ตอปญหาและอุปสรรคตางๆ ท ี่ตองเผชิญ ในแตละ

สถานการณ

จากขอมูลเชิงว ิชาการท ี่กลาวขางตน ผูว ิจัยสามารถสรุปประเด ็นสำคัญไดวาหลักการ

และแนวค ิดของประสิทธิภาพการปฏ ิบัต ิงาน หมายถึง การปฏ ิบัต ิงานโดยอาศัยหล ักค ิดหรือ

กระบวนการคิดท ี่แมนยำเชื่อถือไดเพ ื่อให การดำเนินงานนั้นๆ สำเร็จลุลวงตามวัตถุประสงคของ

องคการ งานเสร็จทนัตอสถานการณและผลงานทีไ่ดร ับนั้นมีประโยชน ตอองคการดวย

๓๐

นงนุช นุตรัตน , “ความตองการในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของขาราชการเพื่อ

รองรับการบริหาร งานภาครัฐแนวใหม : ศึกษากรณี ข าราชการในสานกงานปล ัดกระทรวงการคล ัง ”, รัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑ ิต, (ว ิทยาลัยการบริหารรัฐกจิ : มหาว ิทยาลัยบรูพา, ๒๕๔๙), หนา ๑๖ – ๑๙.

๓๑ สมิต อาชวนกิ ุล, ยทุธศาสตรการสงเสริมการปรับเปล ี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยม

(กรงุเทพมหานคร : ศรเีมืองการพิมพ, ๒๕๓๓), หนา ๙๒-๙๓.

Page 40: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๖

๒.๒.๓ ทฤษฎี เก ี่ยวของก ับประสิทธิภาพ

ผูวิจัยไดศกึษาคนควาและรวบรวมทฤษฎีทีเ่กีย่วของกบัประสิทธิภาพ ดงันี้

๑) ทฤษฎ ีระบบ ทฤษฎีระบบเปนการมององคการเปนระบบตามหน าท ี่ท ี่ส ัมพันธ กับสภาพแวดลอม ใน

ทฤษฎีระบบนี้ (System) เปนกลุมท ี่เกี่ยวของกันซึ่งตองการบรรลุจุดมุงหมายรวมกันท ุกระบบของ

องคการประกอบดวย ๔ สวนทีเ่กีย่วของกนั คอื๓๒

๑. ปจจัยนำเขา (Input) ทร ัพยากรขององคการหรือทร ัพยากรการบริหารเปนทรัพยากร

ที่นําเขาสูระบบการบริหารเพ ื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทางาน ซึ่งในการบริหาร

จัดการตองตระหนักถึงสถานะและการใชทรัพยากรขององคการอยูเสมอปจจัยนําเขาประกอบดวย

ทรัพยากรทางกายภาพ วัตถุดิบ ทรัพยากรมนุษย ทรัพยากรทางการเง ิน ทรัพยากรขอมูล และ

เทคโนโลยี๓๓

๒. กระบวนการแปรสภาพในการบริหาร (Transformation Process) เปนขั้นตอนการ

นําทรัพยากรขององคการที่เปนปจจัยนําเขา หรือปจจัยการผลิต แลวแปรสภาพออกมาเปนผลผลิต

(Output) ๓. ผลผลิต (Outputs) เปนสิ่งที่ไดจากกระบวนการแปรสภาพ ประกอบดวยผลิตภัณฑ

และบริการผลลัพธ ดานการเง ิน (กําไรและขาดท ุน) ผลลัพธ การดําเนินงานของพน ักงาน ความพ ึง

พอใจของลูกคา เพื่อตอบสนองความตองการของตลาด ผลผลิตเหลานเปนผลผลิตโดยผูบริหารใน

ทกุระดับที่ทํางานเพือ่ใหบรรลุจุดหมายขององคการ

๔. การปอนกลับ (Feedback) เปนขอมูลเกี่ยวกับสภาพและผลลัพธที่ เกี่ยวของกับ

กิจกรรมองคการ ซึ่งขอมูลเหลานี้ใชเพื่อปรับปรุงปจจัยนําเขาและกระบวนการแปรสภาพในการ

บริหาร เพือ่ใหไดผลลัพธที่พงึพอใจมากขึ้น

จากขอมลเชิงว ิชาการท ี่กลาวขางตน ผู ว ิจัยสามารถสรุปประเด ็นสำคัญได วา ทฤษฎี

ระบบหมายถึง การสรางระบบให กับองคการตามกรอบองคประกอบ ๔ สวน ไดแก ปจจัยนําเขา

กระบวนการแปรสภาพในการบริหาร ผลผลิต และการปอนกลับ ซึ่งทกุสวนจะทำงานแบบส ัมพันธกัน

ตามหนาทีแ่ละสภาพแวดลอม

๓๒ ศ ิริวรรณ เสรรีัตน, องคการและการจ ัดการ, (กรุงเทพมหานคร : ธรรมสาร, ๒๕๔๕), หนา ๔๕. ๓๓ Bateman. Thomas S. & Scott A. Snell. (1999). Management: Building Competitive

Advantage. (4th ed). Boston : Irwin McGraw-Hill.

Page 41: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๗

๒) ทฤษฎ ีการจูงใจ

ทฤษฎีการจูงใจของ Alderfer (Alderfer ERG theory) เปนทฤษฎีความตองการซึ ่ง

กําหนดลำด ับขั้นตอนความตองการ เอลเดอรเฟอร (Alderfer) ไดชี้ความแตกตางระหวางความ

ตองการในระดับตาและความตองการในระดับสูงซึ่งเกี่ยวของกับความตองการของมาสโลวจาก ๕

ประเภท เหลือเพยีง ๓ ประเภท ดังนี้๓๔ ๑. ความตองการในการอยูรอด (Existence Needs (E)) เปนความตองการในระดับ

ต่ําสุดและมีลักษณะเปนรูปธรรม ประกอบดวยความตองการตามทฤษฎีมาสโลว ค ือ ความตองการ

ของรางกายและความตองการความปลอด

๒. ความตองการความส ัมพันธ (Related Needs (R)) มีลักษณะเปนรูปธรรมน อยลง

ประกอบดวยความตองการดานสังคมตามทฤษฎีของมาสโลวบวกดวยความตองการความปลอดภัย

และความตองการการยกยอง ๓. ความตองการความเจริญกาวหน า (Growth Needs (G)) เปนความตองการใน

ระ ด ับสูงสุดในระ ดับขั ้นตนขอ งเอ ลเดอ รเฟอ ร (Alderfer) และมีความ เปนรูปธรรม ต่ําสุด

ประกอบดวยสวนทีเ่ปนความตองการการยกยองบวกดวยความตองการประสบความสําเร็จ

ตามทฤษฎีมาสโลว เอลเดอรเฟอร (Alderfer) พบวา บ ุคคลจะไดรับการกระต ุนโดย

ความตองการมากกวาหนึ ่งระด ับ ต ัวอย างความตองการท ี่จะได ร ับ เงิน เด ือนท ี่เพ ียงพอ

(ความ ตองการการอยูรอด) ในขณะเดียวกันจะเกิดความตองการการยอมรับ ความพอใจ (ความ

ตองการ ทางสังคม) และเกิ ดความตองการก ารสรางสรรค ต องการความกาวหนา (ความ

ตองการการ เจรญิเต ิบโต) เอลเดอรเฟอร (Alderfer) ยังคนพบวาลำดับของประเภทความตองการจะ

แตกตางกนั ในแตละบุคคลอีกดวย ทฤษฎี ERG ยังสรุปไดวา ความตองการของบ ุคคลสามารถเปลี่ยนไปในระดับสูงขึ้น

หรือต่ําลงไดขึ้นอยูกับวาเขาสามารถตอบสนองความตองการในระดับต่ํา ลงหรือความตองการใน

ระดบัสูงขึ้นไดหรือไม

จากขอมูลเชิงวิชาการที่กลาวขางตน ผูวิจัยสามารถสรุปประเด็นสําคญัไดวา ทฤษฎจีูงใจ

หมายถึง กลไกการสรางแรงจูงใจใหตรงกับความตองการใหมากที่สุด โดยเลือกระดับความตองการ

ออกเปน ๓ ระดับประกอบดวย ความตองการในการอยูรอด ความตองการความสัมพันธ และความ

ตองการความเจริญกาวหนา

๓๔ ศ ิริวรรณ เสรรีัตน, องคการและการจ ัดการ, (กรุงเทพมหานคร : ธรรมสาร, ๒๕๔๕), หนา ๔๕.

Page 42: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๘

๒.๓ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหาร

การบริหาร (Administration) เปนเรื่องที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอการดําเนินงานของ

องคการ เพราะเปนเครื่องมือสําคัญที่จะชี้ใหเห็นความสําเร็จ หรือความลมเหลว ความมีประสิทธิภาพ

หรือความไรประสิทธิภาพของหนวยงาน การบริหารเปนเครื่องบงชี้ใหทราบถึงความเจริญกาวหนา

ของสังคม ความกาวหนาของวิทยาการตาง ๆ การบริหารเปนมรรคที่สําคัญจะนําไปสูความกาวหนา

การบริหารเปนลักษณะการท างานรวมกันของกลุมบุคคลในองคการซึ่งมีการวินิจฉัยสั่งการ นัก

บริหารจะตองคํานึงถึงปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ การวินิจฉัยสั่งการเปนเครื่องแสดงใหทราบถึง

ความสามารถของนักบริหาร และความเจริญเติบโตของการบริหารชีวิตประจําวันของมนุษยไมวาใน

ครอบครัวหรือองคการใดยอมเกี่ยวของกับการบริหารอยูเสมอดังนั้น การบริหารจึงเปนเรื่องที่นาสนใจ

และจําเปนตอการที่จะดํารงชีวิตของมนุษยในสังคม มีนักบริหาร นักวิชาการ และนักการศึกษา

มากมายหลายทานไดใหความหมายของการบริหารไวหลายทัศนะ ซึ่งพอสรุปไดดังนี้

๒.๓.๑ ความหมายการบริหาร

คําวา “การบริหาร”(Administration) ใชในความหมายกวาง ๆ เชน การบริหารราชการ

อีกคําหนึ่ง คือ “ การจัดการ” (Management) ใชแทนกันได กับคําวา การบริหาร สวนมากหมายถึง

การจัดการทางธุรกิจมากกวาโดยมีหลายทานไดระบุดังนี้

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ ไดใหความหมายไววา

การบริหาร หมายถึง การปกครอง เชน บริหารสวนทองถิ่น ดําเนินการจัดการ เชน การ

บริหารธุรกิจ๓๕

พิทยา บวรวัฒนา กลาววา การบริหารเปนเรื่องของการนําเอากฎหมายและนโยบาย

ตางๆ ไปปฏิบัติใหเกิดผล ซึ่งเปนหนาที่ของขาราชการที่จะทํางานดวยความเต็มใจ ดวยความเที่ยง

ธรรมและอยางมีประสิทธิภาพตามหลักเกณฑที่กําหนดไว๓๖

สมคิด บางโม ไดสรุปวา การบริหารหรือการจัดการ หมายถึง ศิลปะ ในการใชคน เงิน

วัสดุอุปกรณขององคการและนอกองคการ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ

ยุทธ ไกยวรรณ ไดกลาวถึงการบริหารวา หมายถึง กลุมบุคคลหรือบุคคลที่ทําหนาที่

วางแผนใหคนอื่นทํางานแทน โดยอาศัยใชศาสตรและศิลป เพื่อใหงานสําเร็จตามเปาหมาย (Goal)

๓๕ ราชบัณฑิตสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร :

นานมีบุคสพับบลิเคชั่นส, ๒๕๔๖), หนา ๖๐๙. ๓๖ พิทยา บวรวัฒนา, การบริหารเชิงบูรณาการ, (นนทบุรี : สํานักงานขาราชการพลเรือน, ๒๕๔๖),

หนา ๒.

Page 43: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒๙

ขอกําหนดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการบริหารตองอยูบนพื้นฐานของปจจัยการบริหาร (Factor

Management) ดวย๓๗

สิรภพ เหลาลาภะ ไดใหความหมายเกี่ยวกับการบริหารไว ๒ นัย คือ ๑) คําวา บริหารมา

จากภาษาบาลีวา ปริหาร มาจากศัพทวา ปริ แปลวา รอบ และ หร ธาตุในความนําไป ดังนั้น คําวา

บริหาร จึงแปลวา นําไปโดยรอบ อีกสํานวนหนึ่ง คําวา บริหาร แปลวา ออมหนี, หลีกหนี, หลบหนี

ดังในประโยคภาษาบาลีวา “ปฺหํ ปริหริต ํสมตฺโถ” แปลวา ผูสามารถเพื่อการออมหนี หลีกหนี หลบ

ซึ่งปญหา หรือแปลวา ผูสามารถบริหารปญหา และนําปญหาไปโดยรอบ หรือกําจัดปญหาใหหมดสิ้น

ไป ๒) คําวา บริหาร แปลมาจากภาษาอังกฤษ วา Administer และ Administration แปล

ความหมายคือ การปกครอง ดําเนินการ อํานวยการ จัดการ จัดให วาง สงเสริม และบํารุง๓๘

จากการศึกษา คนควา เอกสารงานวิจัย สรุปไดวา การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทํา

ใหสิ่งตาง ๆ ไดรับการกระทําจนเปนผลสําเร็จ คือ ผูบริหารไมใชเปนผูปฏิบัติ แตเปนผูใชศิลปะทําให

ผูปฏิบัติทํางานจนสําเร็จตามจุดมุงหมายที่ผูบริหารตัดสินใจเลือกแลว การบริหารเปนเครื่องบงชี้ให

ทราบถึงความเจริญกาวหนา การบริหารเปนลักษณะการทํางานรวมกันของกลุมบุคคลในองคการ มี

ลักษณะการวินิจฉัยสั่งการ นักบริหารจะตองคํานึงถึงปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ เพราะการวินิจฉัยสั่ง

การเปนเครื่องแสดงใหทราบถึงความสามารถของนักบริหารและการเจริญเติบโตของการบริหาร

ชีวิตประจําวันของมนุษยไมวาในครอบครัวองคการใดยอมเกี่ยวของกับการบริหารอยูเสมอ ดังนั้นการ

บริหารจึงเปนเรื่องที่นาสนใจ และจําเปนตอการที่จะดํารงชีวิตของบุคคลในสังคมและ การบริหาร

หมายถึง การใชศาสตรและศิลปนําเอาทรัพยากรบริหาร มาประกอบเปนกระบวนการบริหาร ใหบรรลุ

วัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยปจจัยหลัก คือ เงิน บุคคล วัสดุสิ่งของ และ

วิธีการปฏิบัติงานเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามเปาหมาย

๒.๓.๒ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหาร

การบริหารงานเปนเรื่องของการทํางานที่เปนขั้นเปนตอนและคิดอีกอยางหนึ่ง คือ การ

ทํางานที่มีการวางแผนเพื่อที่ทํางานไดอยางไมผิดพลาดหากมีการวางแผนงานกอนลงมือ ดังจะเห็นได

จากนักวิชาการที่ไดออกแบบเปนโมเดลหรือขั้นตอนการทํางานและการบริหารงานไวหลาย ๆ ทาน

ดังนี้

เมธาพันธ โพธิธีรโรจน ไดกลาวถึง การบริหารจัดการของพระพุทธองคเพียบพรอมไป

ดวย ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ผูบริหารผูนําและบุคลากรในองคกรรูไดจริง ปฏิบัติการไดจริงและไดรับผล

การ ปฏิบัติจริง (Really Enlightened) ผลพัฒนของงานหมุนขยับขับเคลื่อนไปตามยุทธศาสตร

๓๗ สมคิด บางโม, การบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๕), หนา ๖๑. ๓๘ สิรภพ เหลาลาภะ, พุทธศาสตรการเมือง, (กรุงเทพมหานคร : สหธรรมิก, ๒๕๔๕), หนา ๑๔๐

Page 44: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๐

ยุทธวิธี และแนวทางที่พระพุทธองคทรงพิสูจนมาแลวและบุคลากรในพุทธบริษัทสามารถพิสูจนใหเห็น

ผลดวย ตนเองไดหรือถามีปญหาก็มีพระพุทธองคและผูนาระดับตางๆคอยเปนกัลยาณมิตรชวยหรือ

แนะนาจน บรรลุผลสําเร็จในที่สุด โดยวิธีการดังกลาวนี้กอใหเกิดเอกภาพและดุลยภาพในองคกรโดย

สวนรวมหรือหากเห็นวามีความขัดแยงก็หาขอยุติเปนที่สุดไดและขอยุตินั้นก็จะเปนที่ยอมรับโดยสังคม

ทั้งหมดแลว จึงนามาเปนบรรทัดฐานในทางปฏิบัติและบังคับใชเพื่อความผาสุกของบุคลากรในองคกร

อยางยั่งยืน ตอไป๓๙

เสนาะ ติเยาว ไดกลาวถึงหลักสําคัญของการบริหาร ๕ ลักษณะ คือ๔๐

๑. การบริหารเปนการทํางานกับคนและโดยอาศัยคน หมายความวา การบริหารเปน

กระบวนการทางสังคม คือ อาศัยกลุมคนที่รวมกันทํางานเพื่อบรรลุเปาหมายขององคการ ผูบริหาร

จะตองรับผิดชอบใหสําเร็จโดยอาศัยความรวมมือของบุคคลอื่น มิฉะนั้นจะทํางานไมสําเร็จ

สาระสําคัญของการบริหารในขอนี้แสดงใหเห็นวา ผูบริหารที่ประสบความสําเร็จจะตองมีสิ่งตางๆ

เหลานี้ คือ มีความสัมพันธระหวางบุคคลที่ดี มีความเปนผูนําและสามารท างานเปนทีมได มี

ความสามารถในการปรับเปลี่ยนใหเขากับสภาพแวดลอมไดหากมีการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ

และมีความสามารถทําใหงานบรรลุเปาหมายได

๒. การบริหารทําใหงานบรรลุเปาหมายขององคการ เปาหมายหรือวัตถุประสงคของ

องคการตองอาศัยความรวมมือกันของคนทุกคนจึงจะทําใหสําเร็จลงได เปาหมายเปนสิ่งที่ทําให

ผูบริหารจะตองทําใหบรรลุไดนั้นจะตองมีลักษณะสําคัญ ๓ ประการ คือ เปาหมายตองสูงแลวสามารถ

ทําใหสําเร็จ เปาหมายสูงเกินไปก็ทําใหสําเร็จไมได เปาหมายต่ําไปก็ไมทาทายไมมีคุณคา ประการที่

สอง การจะไปถึงเปาหมายจะตองมีระบบงานที่ดีมีแผนงานที่มีประสิทธิภาพ ประการสุดทายจะตอง

ระบุเวลาที่จะทําใหบรรลุเปาหมายนั้น

๓. การบริหารเปนการสมดุลระหวางประสิทธิผลและประสิทธิภาพ คําวา ประสิทธิผล หมายความวา ทํางานบรรลุผลสําเร็จตามที่กําหนด สวนคําวา ประสิทธิภาพ หมายความวา ทํางานโดยใชทรัพยากรอยางประหยัดหรือเสียคาใชจายต่ําสุด การทํางานใหสําเร็จอยางเดียวไมพอแตจะตองคํานึงถึงคาใชจายที่ประหยัดอีกดวย การทํางานใหไดทั้งสองอยาง คือ งานบรรลุผลตามที่ตองการและการใชทรัพยากรต่ําสุดเปนความสมดุลระหวางประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ๔. การบริหารเปนการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ใหเกิดประโยชนสูงสุด เปนที่รูกันโดยทั่วไปวา เราอาศัยในโลกที่มีทรัพยากรจํากัดการใชทรัพยากรตางๆ จึงตองตระหนัก ๒ ขอใหญๆ คือ เมื่อใชทรัพยากรใดไปแลวทรัพยากรนั้นจะหมดสิ้นไปไมสามารถกลับคืนมาใหมได และจะตอง

๓๙ เมธาพันธ โพธิธีโรจน, การวิเคราะหการจดัองคการบรหิารตามแนวมนุษยศาสตร, พุทธจักร ปที่

๔๙ ฉบับที่ ๙ (เดือน ก.ย , ๒๕๔๘) หนา ๔๗. ๔๐ เสนาะ ติเยาว, หลักการบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๔),หนา ๑ -

๒.

Page 45: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๑

เลือกใชทรัพยากรใหเหมาะสมอยาใหเกิดสิ้นเปลืองโดยเปลาประโยชน ดังนั้น การบริหารกับเศรษฐศาสตรจึงมีความสัมพันธอยางใกลชิด เศรษฐศาสตรเปนการศึกษาถึงการกระจายการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดอยางไร สวนผูบริหารในองคการจะตองผลิตสินคาและบริหารให เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๕. การบริหารจะตองเผชิญกับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป ผูบริหารที่ประสบความสําเร็จจะตองสามารถคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางถูกตอง และสามารถปรับตัวเองใหเขากับการเปลี่ยนแปลงนั้น สุพิณ เกชาคุปต ไดกลาวถึง การบริหารแบบมีสวนรวม (Participation Management) เปนแนวทางการบริหารที่เปดโอกาสใหพนักงานเขามามีสวนรวมในการคิด การวางแผน และการตัดสินใจในกิจการงานตางๆ ที่เขามีสวนรับผิดชอบอยู การมีสวนรวมในกิจกรรมขององคการทําใหพนักงานเกิดความรูสึกเปนเจาของ มีสวนไดสวนเสียกับการดําเนินงานตางๆขององคกรใดๆ ที่ใชนโยบายการบริหารแบบนี้เปนการแสดงใหพนักงานไดรูวาฝายบริหารเห็นความสําคัญของพนักงาน ที่มีตอความสําเร็จขององคการ ทําใหเกิดความรูสึกที่ดี มีความภูมิใจและรับผิดชอบตองานอยางเต็มที่ซึ่งเปนการจูงใจในการทํางานที่ดีวิธีหนึ่ง๔๑ สมยศ นาวีการ ใหความหมายวา การบริหาร เปนกระบวนการของการวางแผนการจัดองคการและสั่งการควบคุมกํากับ ความพยายามของสมาชิกขององคการและใชทรัพยากรอื่นๆเพื่อความสําเร็จตามเปาหมายขององคการที่กําหนดไว ลักษณะที่สําคัญของการบริหาร มีลักษณะ ที่สําคัญ ๘ ประการ ดังนี๔้๒ ๑. การบริหารเปนกิจกรรมอยางหนึ่ง มิใชบุคคลหนึ่งบุคคลใดหรือกลุมใด กลุมหนึ่ง ถาจะกลาวถึงบุคคลผูทําหนาที่บริหารนั้นก็เรียกวา ผูบริหาร ๒. การบริหารเปนงานที่มีจุดหมาย ทั้ งนี้ หมายความวา ในการบริหารงานนั้น จําเปนตองมีการกําหนดวัตถุประสงคหรือจุดหมายไวกอน ไมวาจะกําหนดไวอยางชัดเจนหรือไม ก็ตาม สวนการบริหารนั้นจะเปนแนวทางในการดําเนินงานใหสําเร็จตามจุดมุงหมาย ๓. การบริหารเปนแนวทางสําคัญที่มีอิทธิพลตอสังคมภายในและภายนอกองคกรดังเชน ถาผูบริหารตองการปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ก็อาจไดโดยการจัดการเครื่องจักรเครื่องมืออันทันสมัยมาใชจัดการฝกอบรมคนงานใหมีความสามารถยิ่งขึ้น ซึ่งจะเปนผลดีตอองคกรและผูปฏิบั ติ งานดวย ตั วอย างผลกระทบตอสั งคมภายนอกเปนตนวา ถ าองคการนั้ นๆ มีนโยบายที่จะทําประโยชนตอสังคม เชน สงเสริมการศึกษาในชุมชนโดยใหการศึกษา หรือ บริจาคเงินกอสรางโรงเรียนก็นับวาองคกรนั้นมีสวนชวยพัฒนาสังคมภายนอก องคกรบางแหงอาจ ไมนําพาตอความเดือดรอนรําคาญซึ่งองคกรของตนกอขึ้น เชน สิ่งเหลานี้ยอมเปนผลของการบริหารอันมีอิทธิพลตอชีวิตมนุษยและสิ่งแวดลอม

๔๑สุพิณ เกชาคุปต, การจัดการปฏิบัติงาน, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๔), หนา ๙๒-๙๓. ๔๒สมยศ นาวีการ, การบริหารเชิงกลยุทธ, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพบรรณกิจ, ๒๕๔๔), หนา ๗๘.

Page 46: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๒

๔. การบริหารเปนเรื่องเกี่ยวกับความสามารถของกลุมคน ธุรกิจกอตั้งขึ้นเพื่อดําเนินการใหบรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคโดยกลุมคน มิใชเปนความสามารถของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เพียงบุคคลเดียวเทานั้น ทั้งนี้ เพราะวาคนเรายอมมีขอบเขตความสามารถจํากัด ทั้งดานกําลังกาย กําลังสมองและเวลา จึงจะตองไดรับความรวมมือรวมใจจากบุคคลมาชวยกัน ๕. การบริหารจะไดรับผลสําเร็จดวยดีก็ โดยการรวมแรงรวมใจของบุคคลอื่นๆนอกเหนือไปจากเจาของธุรกิจ ทั้ งนี้ เนื่องจากบรรดาเจาของ เชน ผูถือหุนอาจไมมีเวลาหรือความสามารถในการบริหารจึงตองจัดหาผูอื่นที่มีความสามารถในการบริหารองคกร ๖ . ก า รบ ริ ห า รจ ะดํ า เนิ น ไป อ ย า งมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพ ได ก็ โด ย ก าร ใช ค ว าม รู ความชํานาญ และการฝกฝนอบรมทางดานบริหารมาโดยเฉพาะ จึงเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวาการบริหารเปนวิชาชีพอยางหนึ่งของผูบริหาร โดยเฉพาะผูบริหารสูงสุดไมจําเปนตองมีความรูทางเทคนิคในการปฏิบัติ โดยตรง แตผูบริหารจะตองมีความรู ความชํานาญในการบริหาร อันไดแก การวางแผน การจัดองคการ ฯลฯ ๗. การบริหารเปนสิ่งที่ไมมีตัวตน ไมสามารถมองเห็นได แตสิ่งที่จะแสดงใหเห็นวา การบริหารดําเนินไปอยางไร ไดผลดีหรือไมเพียงใดนั้น ก็คือ ผลงาน เพราะวาผลงานจะเปนเครื่องวัดความสามารถทางการบริหาร ๘. เจาของธุรกิจไมจําเปนตองทําหนาที่ผูบริหารเสียเอง โดยทั่วไปแลว (ยกเวนองคกรขนาดเล็ก) คณะผูบริหารมักจะเปนกลุมบุคคลอื่น ๆ ที่มีความสามารถทางการบริหารทําหนาที่ในนามเจาของธุรกิจ ธงชัย สันติวงษ ไดใหความหมายของการบริหารวา การบริหาร หมายถึง ภาระหนา ที่ของผูนําของกลุม ซึ่งจะตองจัดการใหทรัพยากรทั้งที่เปนตัวคน และวัตถุสามารถประสานเขาดวยกัน เพื่อรวมกันทํางานเปนองคกรที่มีประสิทธิภาพได และขณะเดียวกันจะตองจัดการนําองคการใหสัมพันธกับสภาพแวดลอมภายนอกไดอยางดีที่สุด๔๓ ติน ปรัชญพฤทธิ์ ไดเสนอทฤษฎีสําคัญในการบริหารไว ๗ ประการ คือ๔๔ ๑. การวางแผน หมายถึง การกําหนด โครงการอยางกวางๆ วามีอะไรบางที่จะตองลงมือปฏิบัติตามลําดับ วางแนววิธีปฏิบัติพรอมดวยวัตถุประสงคของการปฏิบัติงานนั้นกอนลงมือปฏิบัติการ ๒. การจัดองคการ หมายถึง การจัดรูปโครงสรางหรือเคาโครงของการบริหารโดยกําหนดอํานาจหนาที่ของหนวยงานยอยหรือตําแหนงตางๆ ของหนวยงานใหชัดเจน พรอมดวยกําหนดลักษณะ และวิธีการติดตอสัมพันธตามลําดับขั้นแหงอํานาจหนาที่สูงต่ําลดหลั่นลงไป

๓. การจัดคนเขาทํางาน หมายถึง การบริหารงานเกี่ยวกับตัวบุคคลของหนวยงานการบริหารบุคคลดังกลาว รวมตั้งแตการแสวงหาคนทํางานมาบรรจุ การแตงตั้ง การฝกอบรม และการพัฒนาบุคคล การบํารุงขวัญ ลดชั้น ตลอดจนการพิจารณาใหพนจากงาน และการบํารุงรักษาสภาพของการทํางานใหดี และมีประสิทธิภาพใหคงอยูตอไป

๔๓ ธงชัย สันติวงษ, องคการและการบริหาร, พิมพครั้งที่ ๙,(กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๗), หนา ๒๖. ๔๔ ติน ปรัชญพฤทธิ์, หลักการจัดการ, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙), หนา ๒๔-๒๖.

Page 47: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๓

๔. การสั่งการ หมายถึง การอํานวยการหรือการวินิจฉัยสั่งการ หลังจากการไดวิเคราะหและพิจารณาโดยรอบคอบ รวมทั้งการติดตามดูแลใหมีการปฏิบัติตามคําสั่งนั้นๆ ๕. การประสานงาน หมายถึง การประสานงานหรือติดตอ สัมพันธกับหนวยงานยอยหรือตําแหนงตางๆ ในองคการ เพื่อกอใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ไมมีการทํางานที่ซ้ําซอน หรือขัดแยงกัน สามารถทํางานประสานความกลมกลืนกัน เพื่อวัตถุประสงคหลักขององคการ ๖. การรายงาน หมายถึง การเสนอรายงานไปยังผูบังคับบัญชา หรือยังหนวยงาน ที่เกี่ยวของทั้งบนและลาง เพื่อทราบความกาวหนาของงานทุกระยะสะดวกแกการประสานงานอื่นจะเปนการสรางความเขาใจอันดีรวมกัน ตลอดจนเปนการบํารุงขวัญไปในตัวดวย ๗. การงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรทรัพยากร หรือการทํางบประมาณ การเงิน วางแผนหรือโครงการในการจายเงิน การบัญชีและการควบคุมการใชจายเงินโดยรอบคอบและรัดกุม พงษศักดิ์ ปญจพรผล กลาววา กระบวนการบริหารควรประกอบดวย ๑๐ ประการ คือ๔๕ ๑. การวางแผน (Planning) หมายถึง การกําหนดงานหรือวิธีการปฏิบัติงานไวเปนการลวงหนา โดยเกี่ยวกับการคาดการณ (Forecasting) การกําหนดวัตถุประสงค (Set Objective) การพัฒนากลวิธี (Develop strategies) ในการวางแผน ซึ่งตองคํานึงถึงนโยบาย (Policy) เพื่อใหแผนงานที่กําหนดขึ้นไวมีความสอดคลองกันในการดําเนินงาน ๒. การจัดการ (Organizing) หมายถึง การพัฒนาระบบการทํางานเพื่อใหงานตางๆสามารถดําเนินไปโดยมีการประสานงานกันอยางด ี ๓. การจัดคนเขาทํางาน (Staffing) การจัดการบุคคลเขาปฏิบัติงานใหเหมาะสมตามตําแหนงหนาที่รับผิดชอบ ๔. การตัดสินใจ (Decision) หมายถึง ความสามารถของผูบริหารในการที่จะตัดสินใจ แยกแยะและวิเคราะหออกมาใหไดวาในการทํางานจะตองมีการตัดสินใจในเรื่องใดบาง ๕. การสั่งการ (Directing) การศึกษาวิธีการวินิจฉัยสั่งการ รวมทั้งการควบคุมและนิเทศงาน ตลอดจนศิลปะในการบริหารที่จะทําใหการทํางานประจําวันของเจาหนาที่ทุกคนเปนไปดวยดี ๖. การควบคุม (Controlling) หมายถึง การรวมมือประสานงาน เพื่อการดําเนินการเปนไปดวยดี และราบรื่น ศึกษาหลักเกณฑและวิธีการที่จะทําการประสานงานดีขึ้น และดําเนินการแกไขเมื่อเกิดปญหาขึ้น ๗. การรวมมือประสานงาน (Coordinating) หมายถึง การประสานงานใหผูปฏิบัติงานทุกฝายมีความเขาใจในงาน เขามารวมทํางานกันอยางพรอมเพรียงกัน ขอตกลงที่สําคัญยิ่งของการประสานงาน คือ ความรวมมือ ซึ่งเปนเรื่องของ “จิตใจ” ๘. การสื่อขอความ (Communicating) หมายถึง การผานขาวสารขอมูลและความเขาใจเพื่อท่ีจะใหผูใตบังคับบัญชา หรือบุคคลอื่นเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามท่ีตองการ

๔๕ พงษศักดิ์ ปญจพรผล, องคการและการจัดการ, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๔๒), หนา ๖๔-๗๒.

Page 48: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๔

๙. การรายงานผล (Reporting) หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติของหนวยงานใหแก ผูบริหารและสมาชิกของหนวยงานไดทราบความเคลื่อนไหวของการดําเนินงานตลอดจนการประชาสัมพันธ (Public Relation) แจงใหประชาชนทราบ ซึ่งโดยทั่วไปการรายงานจะหมายถึง วิธีการของสถาบันหนวยงานที่เกี่ยวของกับการใหขอมูลแกผูสนใจมาติดตอสอบถามผูบังคับบัญชาผูรวมงาน ความสําคัญของการรายงานนั้นจะตองตั้งอยูบนรากฐานของความเปนจริง ๑๐. การงบประมาณ (Budgeting) หมายถึง การงบประมาณ โดยศึกษาใหทราบถึงระบบและกรรมวิธีในการบริหารเกี่ยวกับงบประมาณและการเงิน ตลอดจนการใชงบประมาณในการควบคุมงาน ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, และวิบูลย โตวณะบุตร ไดกลาวถึงการบริหารวา เปนศิลปะ ในการทํางานใหบรรลุเปาหมายรวมกับผูอื่น ยังเปนกิจกรรมที่บุคคลตั้งแต ๒ คนขึ้นไป รวมมือกันดําเนินการใหบรรลุวัตถปุระสงคอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน ๔๖ สมศักดิ์ คงเที่ยง ไดกลาววา การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทําใหสิ่งตาง ๆ ไดรับการก ระ ทํ า จ น เป น ผ ล สํ า เร็ จ ก ล า ว คื อ ผู บ ริ ห า ร ไม ใช เป น ผู ป ฏิ บั ติ แ ต เป น ผู ใช ศิ ล ป ะ ทําใหผูปฏิบัติทํางานจนสําเร็จตามจุดมุงหมายที่ผูบริหารตัดสินใจเลือกแลว (Simon) การบริหาร ยั ง เป น ก ระบ วน การทํ า งาน ร วมกั บ ผู อื่ น เพื่ อ ให เกิ ด ผ ลสั ม ฤท ธิ์ ต าม เป าห ม ายอย า งมีประสิทธิภาพ (Sergiovanni) การบริหาร ยังตองการทํางานกับคณะบุคคลตั้งแต ๒ คนขึ้นไป ที่รวมปฏิบัติการใหบรรลุเปาหมายรวมกัน (Barnard) การบริหาร หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมมือกันดําเนินการ เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายๆอยางที่บุคคลรวมกันกําหนดโดยใชกระบวนการอยางมีระบบและใชทรัพยากรตลอดจนเทคนิคตางๆ อยางเหมาะสมยังใหความหมายของคําวา “การบริหาร” ทั้งคลายๆ กันและแตกตางกัน ขอยกตัวอยางสัก ๖ ความหมาย ดังนี้๔๗ ๑. การบริหาร คือ ศิลปะของการทํางานใหสําเร็จโดยใชบุคคลอื่น ๒. การบริหาร คือ การทํางานของคณะบุคคล ตั้งแต ๒ คนขึ้นไป ที่รวมกันปฏิบัติการใหบรรลุเปาหมายรวมกัน ๓. การบริหาร คือ การที่บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมกันทํางานเพื่อจุดประสงคอยางเดียวกัน ๔. การบริหาร คือ กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต ๒ คนขึ้นไปรวมกันดําเนินการใหบรรลุจุดประสงครวมกัน ๕. การบริหาร คือ การใชศาสตรและศิลปนําทรัพยากรการบริหาร (Administrative resource) มาประกอบการตามกระบวนการบริหาร ( Process of administration ) ใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ

๔๖ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ , และวิบูลย โตวณะบุตร,หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๔๒), หนา ๒. ๔๗สมศักดิ์ คงเที่ยง, หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : มิตรภาพการพิมพและสติวดิโอ,๒๕๔๒), หนา ๑.

Page 49: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๕

๖. การบริหาร คือ ศิลปะในการทําใหสิ่ งตางๆไดรับการกระทําจนเปนผลสําเร็จ หมายความวา ผูบริหารไมใชผูปฏิบัติ แตใชศิลปะทําใหผูปฏิบัติงานทํางานจนเปนผลสําเร็จตรงตามจุดหมายขององคการ หรือตรงตามจุดหมายที่ผูบริหารตัดสินใจเลือกแลว พระธรรมโกศาจารย กลาวถึงพุทธวิธีการบริหารไววา การบริหาร หมายถึง

การทํางานใหสําเร็จโดยอาศัยคนอื่น (Getting things done through other people) เมื่อวาตาม

คํานิยามนี้การบริหารในพระพุทธศาสนาเริ่มมีขึ้นเปนรูปธรรมสองเดือนนับจากวันที่พระพุทธเจาตรัสรู

นั่นคือ ในวันอาสาฬหบูชา เมื่อพระพุทธเจาทรงแสดงพระธรรมเทศนาเปนครั้งแรกแก พระปญจ

วัคคียซึ่งทําใหเกิดพระสังฆรัตนะขึ้น เมื่อมีพระสังฆรัตนะเปนสมาชิกใหมเกิดขึ้นจึงทําใหครบทั้ง

๓ รัตนะ คือ พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ รวมเรียกวา พระรัตนตรัย พระพุทธศาสนาจึงดํารงสืบ

ตอมาจนถึงปจจุบันเปนเวลากวา ๒,๕๐๐ ป เปนขอมูลใหเราไดศึกษาเรื่องพุทธวิธีบริหารนอกจากนี้ยัง

มีพุทธพจนที่เกี่ยวเนื่องกับการบริหารกระจายอยูในพระไตรปฎก การศึกษาพุทธพจนเหลานั้นก็จะทํา

ใหทราบถึงพุทธวิธีการบริหารการศึกษา พุทธวิธีบริหารในครั้งนี้เปนหนาที่ของนักบริหาร เปนกรอบใน

การพิจารณาใหสอดคลองกับ การบริหาร หนาที่ (Function) ของนักบริหารมีอยู ๕ ประการตามคํา

ยอในภาษาอังกฤษวา POSDC๔๘

๑. P คือ Planning หมายถึง การวางแผน เปนการกําหนดแนวทางดําเนินงาน ในปจจุบันเพื่อความสําเร็จที่จะตามมาในอนาคต ผูบริหารที่ดีตองมีวิสัยทัศนเพื่อกําหนดทิศทาง ขององคกร ๒. Oคื อOrganizing หมายถึ ง การจั ดองค กร เป นการกํ าหนดโครงสร า งความสัมพันธของสมาชิกสายบังคับบัญชาภายในองคกร มีการแบงงานกันทําและการกระจายอํานาจ ๓. S คือ Staffing หมายถึง งานบุคลากร เปนการสรรหาบุคลากรใหม การพัฒนาบุคลากรและการใชคนใหเหมาะสมกับงาน ๔. D คือ Directing หมายถึง การอํานวยการ เปนการสื่อสาร เพื่อใหเกิดการดําเนินการตามแผน ผูบริหารตองมีมนุษยสัมพันธที่ดีและมีภาวะผูนํา ๕. C คือ Controlling หมายถึง การกํากับดูแล เปนการควบคุมคุณภาพของการปฏิบัติงานภายในองคกรรวมทั้งกระบวนการแกปญหาภายในองคกร สิรภพ เหลาลาภะ ไดกลาวความหมายเกี่ยวกับการบริหารไว ๒ นัย คือ ๔๙ ๑. คําวา บริหาร มาจากภาษาบาลีวา ปริหาร มาจากศัพทวา ปริ แปลวา รอบ และหร ธาตุในความนําไป ดังนั้น คําวา บริหาร จึงแปลวา นําไปโดยรอบ อีกสํานวนหนึ่ง คําวา บริหาร แปลวา ออมหนี, หลีกหนี, หลบหนีดังในประโยคภาษาบาลีวา “ปฺหํ ปริหริตํ สมตฺโถ” แปลวา ผูสามารถเพื่อการออมหนี หลีกหนี หลบซึ่งปญหา หรือแปลวา ผูสามารถบริหารปญหา และนําปญหาไปโดยรอบหรือกําจัดปญหาใหหมดสิ้นไป

๔๘พระธรรมโกศาจารย, (ประยูร ธมฺมจิตฺโต), พุทธวิธีการบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙), หนา ๒-๕. ๔๙ สิรภพ เหลาลาภะ, พุทธศาสตรการเมือง, (กรุงเทพมหานคร :สหธรรมิก, ๒๕๔๕), หนา ๑๔๐.

Page 50: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๖

๒. คําวา บริหาร แปลมาจากภาษาอังกฤษวา Administer และ Administration แปลความหมาย คือ การปกครอง ดําเนินการ อํานวยการ จัดการ จัดใหวาง สงเสริม และบํารุง ทองหลอ เดชไทย ไดกลาวถึง การบริหารเปนการจัดการอยางมีระเบียบแบบแผนเกี่ยวกับการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด และทําใหงานดําเนินเปนไปอยางราบรื่น บรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวดวยความรวมมือของกลุมบุคคล และยังเสนอวา “การบริหาร” และ “การจัดการ” นั้นบางครั้งอาจใหแทนกันไดเนื่องจากเปนกิจกรรมที่หวังผลขั้นสุดทายอยางเดียวกัน คือ ความสําเร็จของงาน “การบริหาร” ใชมากในการบริหารรัฐวิสาหกิจ สวน “การจัดการ” ใชมากในทางธุรกิจ หรืออาจกลาววา “การบริหาร” มุงเนนที่การกําหนดนโยบายและการวางแผน สวน “การจัดการ” เปนการนําเอานโยบายและแผนไปดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคตามที่กําหนดไว๕๐ สมคิด บางโม ไดอธิบายองคประกอบของการบริหารที่สําคัญ และมีความจําเปนตอองคการ ดังนี้๕๑ ๑. วัตถุประสงคที่แนนอน กลาวคือ จะตองรูวา จะดําเนินการไปทําไม เพื่ออะไร และตองการอะไรจากการดําเนินการ เชน ตองมีวัตถุประสงคในการใหบริการ หรือในการผลิต ตองรูวาจะผลิตเพื่อใคร ตองการผลตอบแทนเชนใด ถาหากไมมีเปาหมายหรือวัตถุประสงคแลวก็ไมมีประโยชนที่จะบริหาร การดําเนินงานตางๆ จะไมมีผลสําเร็จ เพราะไมมีเปาหมายกําหนดไวแนนอน ๒. ทรัพยากรในการบริหาร ไดแก วัตถุและเครื่องใชเพื่อประกอบการดําเนินงานรวมไปถึงความสามารถในการจั ดการ ทรัพยากรในการบ ริห าร ได แก ๔ MS คื อ มนุ ษ ย (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ (Material) และความสามารถในการจัดการ (Management) หรือ ๖ MS ที่มีเครื่องจักร (Machine) และตลาด (Market) เพิ่มเขามาซึ่งในปจจุบันมีความจําเปนมากขึ้น ๓. มีการประสานงานระหวางกัน หรือเรียกไดวามีปฏิกิริยาระหวางกัน กลาวคือ เปาหมายและวัตถุประสงครวมทั้งทรัพยากรในการบริหารทั้ง ๔ MS หรือ ๖ MS ดังกลาว จะตองมีความสัมพันธซึ่งกันและกันและเกิดปฏิกิริยาระหวางกัน หรือกลาวไดวา จะตองมีระบบของการทํางานรวมกันและที่เกิดขึ้นจริงๆ ดวยการนําปจจัยทั้งหลายเบื้องตนมาไวรวมกันแลว ไมเกิดปฏิกิริยาระหวางกัน ไมเกิดความสัมพันธ ระหวางกัน การบริหารก็จะไมเกิดขึ้น ๔. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการบริหารงานนั้นสิ่งที่วัดผลสําเร็จของงานวา บรรลุเปาหมายของวัตถุประสงคขององคการก็คือ ประสิทธิผลขององคการ หมายถึง ความสามารถขององคการ ในอันที่จะบริหารงานใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการในการใชทรัพยากรขององคการที่มีอยูระยะสั้น โดยเปรียบเทียบกับปจจัยนําเขาและคาใชจายกับปจจัยนําออกและรายไดขององคการ

จากที่กลาวมาขางตนพอสรุปไดวา การบริหาร เปนการบริหารที่ทําใหผูรับบริการเกิดความพอใจโดยเนน การบริหารจัดการในทุกเรื่องเพื่อใหไดตามนโยบายและเปาหมายที่เกี่ยวกับคุณภาพ ซึ่งในการบริหารการศึกษานั้นตองเนนการกระจายอํานาจการบริหารจัดการใหมากที่สุด ใหทุกภาคสวนไดเขามามีสวนรวมในกระบวนการบริหารสถานศึกษา เพื่อทําใหสถานศึกษาเกิดคุณภาพ

๕๐ ทองหลอ เดชไทย, หนวยที่ ๑ แนวคิดเกี่ ยวกับการบริหารสาธารณสุข , (นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๔), หนา ๕. ๕๑ สมคิด บางโม,การบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๕), หนา ๖๒-๖๓.

Page 51: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๗

และมีประสิทธิภาพ ซึ่งตองอาศัยหลักการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ซึ่งเปนการสรางความเขมแข็งใหกับสถานศึกษาใหสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยางมีคุณภาพไดตามมาตรฐาน

๒.๓.๓ ทฤษฎเีกี่ยวกับการบริหาร

จากการศึกษาเอกสารปรากฏวา มีนักวิชาการไดใหแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหาร

ไวหลายทาน ดังนี้

Peter F Drucker : คือ ศิลปะในการทํางานใหบรรลุเปาหมายรวมกับผูอื่น๕๒

เฮอรเบิรต เอ ไซมอน (Herbert A. Simon) กลาวคือ กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต ๒ คนขึ้นไป รวมมือกับดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน๕๓

เดล โยเดอร (Dale Yoder) กลาววา การบริหาร หมายถึง การนําไปสูกระบวนการของ

การท ากิจกรรมที่มีการวางแผน (Planning) การอํานวยการ (Directing) และความรวมมือ

(Coordinating) โดยเฉพาะกิจกรรมดานเศรษฐกิจ

กูลิค และเออรวิค (Gulick L. and Urwick J ไดกลาววา กระบวนการบริหารนั้นตอง

ประกอบดวยขั้นตอนที่สําคัญ หรือที่ เรียกกันยอ ๆ วา “POSDCORB Model” ซึ่งอธิบายตาม

ความหมายไดดังนี ้

๑. การวางแผน (P=Planning) หมายถึง การจัดวางโครงการและแผนปฏิบัติงานไว

ลวงหนาวาจะตองทําอะไรบางและทําอยางไร

๒. การจัดการองคการ (O=Organizing) หมายถึง การจัดหนวยงาน กําหนดโครงสราง

ของหนวยงาน การจัดสายงานตําแหนงตาง ๆ กําหนดอํานาจหนาที่ใหชัดเจน

๓. การจัดหาบุคคล (S=Staffing) หมายถึง การจัดหาบุคคล เปนการบริหารงาน ดาน

บุคคล อันไดแกการจัดอัตรากําลัง การสรรหา การพัฒนาบุคลากร การสรางบรรยากาศ การทํางานที่

ดีการประเมินผลการทํางาน และการใหพนจากงาน

๔. การอํานวย (D=Directing) หมายถึง การตัดสินใจ การวินิจฉัยสั่งการหนวยงานให

เกิดความรวมมือเพ่ือดําเนินไปสูเปาหมายเดียวกัน

๕. การประสานงาน (Co=Coordinating) หมายถึง การประสานงานกิจการดานตาง ๆ

ของหนวยงาน ใหเกิดความรวมมือเพ่ือดําเนินไปสูเปาหมายเดียวกัน

๖. การรายงาน (R=Reporting) หมายถึง การรายงานผลการปฏิบัติของหนวยงาน

ใหแกผูบริหารและสมาชิกของหนวยงานไดทราบความเคลื่อนไหวของการดําเนินงานวากาวหนา

เพียงใด

๕๒หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา,แหลงที่มาขอมูล, www edu.nu.ac.th/selfaccess../๖๕๑๗๑๑๑๑๑๐๑๘๑๑.[สืบคน ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗],

๕๓แหล งที่ มาของขอมูล ,http://docs,google.com/document/edit?id...hl=en.[สืบคน ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗],

Page 52: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๘

๗. การงบประมาณ (B=Budgeting) หมายถึง การงบประมาณ การจัดทํางบประมาณ

บัญชีการใชจายเงิน การควบคุมและการตรวจสอบดานการเงิน๕๔

เทเลอร (Taylor) บิดาแหงการบริหารที่มีหลักเกณฑไดพัฒนาการบริหารที่มีหลักเกณฑ

ซึ่งมี พื้นฐานอยูในหลักการ (Principles) ที่สําคัญ ๔ ประการ คือ

๑. ตองมีการคิดคนและกําหนดวิธีการที่ดีที่สุด (One Best Way) สําหรับงานแตละ อยาง

ตองมีการกําหนดวิธีการทางานที่ดีที่สุดชวยใหสามารถทางานเสร็จลุลวงไปดวยดีตาม วัตถุประสงค

มาตรฐานของงานจะตองมีการจัดวางเอาไวโดยมีหลักเกณฑที่ไดพิสูจนมาแลววาเปนวิธี ที่ดีที่สุดจริง

และในเวลาเดียวกันการจายผลตอบแทนแบบจูงใจตางๆ ก็จายใหตามผลผลิตทั้งหมด

๒. ตองมีการคัดเลือกและพัฒนาคนงานโดยตระหนักถึงความสําคัญและคุณคาของการ

รูจักงานใหเหมาะสมสอดคลองกับคนงาน นอกจากนี้ตองมีการอบรมคนงานใหรูจักวิธีการทางานที่ถูก

วิธีดวย และในการคัดเลือกคนงานจะตองมีการพิจารณาเปนพิเศษที่จะใหไดคนที่มีคุณสมบัติที่ดีที่สุด

ตรงตามงานที่จะใหทํา

๓. ดวยวิธีการพิจารณาอยางรอบคอบเกี่ยวกับวิธีการทางาน ควบคูกับการพิจารณา

คนงานนั้น คนงานจะไมคัดคานตอวิธีทํางานใหมที่ไดกําหนดขึ้น เพราะโดยหลักเหตุผลคนงานทุกคน

จะเห็นจริงถึงโอกาสที่จะไดรับรายไดสูงขึ้นจากการทางานถูกวิธีจะชวยใหไดผลผลิตสูงขึ้น

๔. การประสานรวมมือกันอยางใกลชิดระหวางผูบริหารและคนงาน ฝายบริหารควรจะ

ไดประสานอยางใกลชิดเปนประจํากับคนงานที่เปนผูปฏิบัติงาน แตตองไมใชโดยการลงมือปฏิบัติงาน

ที่ควรจะเปนของคนงานเทานั้น๕๕

เฮนรี ฟาโย (Henri Fayol) ไดสรุปสาระสําคัญของหลักการบริหาร ไวดังนี ้

๑. หนาที่ทางการบริหาร (Management function) ซึ่งประกอบดวยหนาที่ทางการ

บริหาร ๕ ประการ คือ การวางแผน (Planning) การจัดองคการ (Organizing) การบังคับบัญชาสั่ง

การ (Commanding) การประสานงาน (Coordinating) และการควบคุม (Controlling)

๒. ผูบริหารจะตองมีลักษณะพรอมดวยความสามารถทางรางกายจิตใจ ไหวพริบ

การศึกษาหาความรูเทคนิคการทํางานและประสบการณตาง ๆ

๓. หลักการบริหาร ซึ่งมีหลักทั่วไปที่ใชเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับผูบริหาร ๑๔ ขอ คือ

๑. หลักการเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ (Authority and

responsibility)

๕๔ Luther Gulick and Lyndall Urwick, Papers on the Science of Administration, (New

York : Institute of Public Administration, 1937), pp.37 - 38. ๕๕ ธงชัย สันติวงษ, องคการและการบริหาร, พิมพครั้งที่ ๑๑, (กรุงเทพมหานคร: ไทย วัฒนาพานิช,

๒๕๔๓), หนา ๔๗-๔๘.

Page 53: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๓๙

๒. หลักของการมีผูบังคับบัญชาเพียงคนเดียว (Unity of command)

๓. หลักการมีจุดมุงหมายรวมกัน (Unity of direction)

๔. หลักการธํารงไวซึ่งสายงาน (Scalar of chain)

๕. หลักการแบงงานกันทํา (Division of work, or specialization)

๖. หลักเกี่ยวกับระเบียบวินัย (Discipline)

๗. หลักของการถือประโยชนสวนบุคคลรองจากประโยชนสวนรวม

(Subordination of individual to general interest)

๘. หลักของการใหผลประโยชนตอบแทน (Remuneration)

๙. หลักของการรวมอํานาจไวสวนกลาง (Centralization)

๑๐. หลักของการมีระเบียบเรียบรอย (Order)

๑๑. หลักของความเสมอภาค (Equity)

๑๒. หลักของการมีเสถียรภาพของการวาจางทํางาน (Stability of tenure)

๑๓. หลักของความคิดริเริ่มสรางสรรค(Initiative)

๑๔. หลักของความสามัคคี(Esprit de corps)๕๖

วิลเลียม อูชิ (William Ouchi) ไดกลาวทฤษฎีของการบริหาร คือ ทฤษฎี Z โดยหลังจาก

การศึกษาการบริหารของธุรกิจญี่ปุน และสหรัฐอเมริกา และไดทําการประสมประสานกันโดยมี

แนวคิดดานการบริหาร ดังนี้

๑. การจางงานระยะยาว

๒. การตัดสินใจเปนเอกฉันท

๓. ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล

๔. การประเมินผลและการเลื่อนตําแหนงแบบคอยเปนคอยไป

๕. การควบคุมในตัวเองไมเปนทางการโดยมีการวัดผลอยางชัดเจนและเปนทางการ

๖. เสนทางอาชีพแบบเชี่ยวชาญเฉพาะดานในระดับปานกลาง ๗. มีความเกี่ยวของในลักษณะครอบครัว๕๗

ทฤษฎีการบริหาร Abraham Harold Maslow : ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการ ๕ ขั้น

๕๖ Henri Fayol, Industrial and General Administration, (New York : Mc-Grew Hill,1930),

pp. 17 - 18 ๕๗ William Ouchi, Organization and Management, (Eaglewood Cliffs : Prentice

Hill,1971), p. 283.

Page 54: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๐

มาสโลว เปนเจาของทฤษฎีลําดับขั้นความตองการ ๕ ลําดับ ถาคุณเปนนักอาน

เรื่องราวที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทั้งหลาย มาสโลว จะถูกนํามาอางอิงตลอด ยังไมเห็นมีใครจะ

มาแทนที่ได

ถาคุณสนองความตองการของลูกนองไดทั้งหมดตามหลักการของมาสโลว องคกรของคุณ

จะประสบผลสําเร็จ ไมเชื่อก็ลองดู ยกเวนลูกนองของคุณเปนคนที่ไมรูจักพอ ไดคืบจะเอาศอก ไดศอก

จะเอาวา ถาเปนเชนนั้น มาสโลวก็เอาไมอยู๕๘

มาสโลว เปนผูวางรากฐานจิตวิทยามนุษยนิยม เขาไดพัฒนาทฤษฎีแรงจูงใจ ซึ่งมี

อิทธิพลตอระบบการศึกษาของอเมริกันเปนอันมาก ทฤษฎีของเขามีพื้นฐานอยูบนความคิดที่วา

การตอบสนองมีแรงขับเปนหลักการเพียงอันเดียวที่มีความสําคัญที่สุดซึ่งอยูเบื้องหลังพฤติกรรมของ

มนุษย เขามีความเชื่อวา มนุษยมีแนวโนมที่จะมีความตองการอันใหมที่สูงขึ้น แรงจูงใจของคนเรา

มาจากความตองการ พฤติกรรมของคนเรามุงไปสูการตอบสนองความพอใจ มาสโลว แบงความ

ตองการพ้ืนฐานของมนุษยออกเปน ๕ ระดับดวยกัน ไดแก

๑. ความตองการทางกายภาพ (Physiological Needs) หมายถึง ความตองการพื้นฐาน

ของรางกายซึ่งจําเปนในการดํารงชีวิต ไดแกความตองการอาหาร น้ํา อากาศ เสื้อผา

๒. ความตองการความปลอดภัย (Safety Needs) หมายถึงความตองการมั่นคงปลอดภัย

ทั้งทางดานรางกายและจิตใจ

๓. ความตองการทางสังคม (Social Needs) หมายถึง ความตองการที่จะเปนที่รักของ

ผูอื่น และตองการมีสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่น

๔. ความตองการยกยองชื่อเสียง (Esteem Needs) หมายถึง ความปรารถนาที่จะมอง

ตนเองวามีคุณคาสูง เปนที่นาเคารพยกยองจากทั้งตนเองและผูอื่นและ ตองการที่จะใหผูอื่นเห็นตนมี

ความสามารถ มีคุณคา มีเกียรติ มีตําแหนงฐานะ บุคคลที่มีความตองการประเภทนี้จะเปนผูที่มีความ

มั่นใจในตนเอง

๕. ความตองการที่จะรูจักตนเองตามสภาพที่แทจริง และความสําเร็จของชีวิต (Self–

Actualization Needs )หมายถึง ความตองการที่จะรูจักและเขาใจตนเองตามสภาพที่แทจริงเพื่อ

การพัฒนาชีวิตของตนเองใหสมบูรณ (Self-fulfillment) รูจักคานิยม มาสโลว ตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับ

ความตองการมนุษยไวดังนี้

๑. มนุษยมีความตองการอยูเสมอ

๒. ความตองการท่ีไดรับการตอบสนองแลวจะไมเปนสิ่งจูงใจของพฤติกรรมนั้น ๆ

๕๘แ ห ล งที่ ม าข อ งข อ มู ล ,group.wunjun.com/valrom201/topic/36321311262.[สื บ ค น ๒

สิงหาคม ๒๕๕๗].

Page 55: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๑

๓. ความตองการของมนุษยจะเรียงกันเปนลําดับขั้น ตามความสําคัญ Henry Fayol

: บิดาทฤษฎีการบริหารจัดการสมัยใหม Henri Fayol (๑๘๔๑-๑๙๒๕) เปนบิดาของทฤษฎีการ

จัดการการปฏิบัติการ(Operational management theory)หรือบางทางก็ถือกันวาเปนบิดาของการ

บริหารจัดการสมัยใหม เขาเชื่อวาการบริหารนั้นเปนเรื่องของทักษะ และเขาสนใจที่จะศึกษาองคการ

โดยรวมและมุงเนนที่กิจกรรมการจัดการ (Managerial activities) ซึ่งประกอบดวยกิจกรรมหาอยาง

คือ

๑. การวางแผน(Planning)

๒. การจัดองคการ(Organizing)

๓. การบังคับบัญชา หรือการสั่งการ (Commanding)

๔. การประสานงาน (Coordinating)

๕. การควบคุม (Controlling)

อังริ ฟาโยล (Henri Fayol) เปนนักอุตสาหกรรมชาวฝรั่งเศส มีประสบการณดานการ

บริหารองคการของรัฐขนาดใหญ ไดนําเสนอหลักการทีเขาเรียกวา หลักการจัดการ ๑๔ ประการ

(Fayol's Fourteen Principles of Management) ซึ่งมีดังตอไปนี้ คือ๕๙

๑. การจัดแบงงาน (division of work) หลักการก็คือการทําใหคนจํานวนมากที่

ตองมาทํางานรวมกัน ไดมีการจัดแบงหนาที่ตามความสามารถหรือความเชี่ยวชาญพิเศษของแตละคน

เพื่อใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

๒. การมีอํานาจหนาที่ (authority) ผูจัดการตองสามารถออกคําสั่งไดสอดคลอง

กับอํานาจหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย ทําใหคําสั่งที่ออกไปนั้นมีความถูกตอง เกิดความรับผิดชอบควบคู

กันไป เมื่อใดที่มีการใชอํานาจหนาที่ เมื่อนั้นความรับผิดชอบก็จะตองติดตามไปดวย

๓. ความมีวินัย (discipline) ผูใตบังคับบัญชาหรือพนักงานตองเชื่อฟง ตองเคารพ

กฎเกณฑขององคการ การที่คนจะมีวินัยที่ดีนั้นเกิดจากความเปนผูนําที่มีประสิทธิภาพ มีความเขาใจที่

ชัดเจนระหวางฝายจัดการและคนทํางาน ทั้งนี้ เมื่อมีการทําผิดกฎระเบียบขององคการ ก็จะมีผลทําให

ไดรับโทษ

๔. เอกภาพของสายบังคับบัญชา (unity of command) พนักงานหรือลูกจางทุก

คนจะไดรับคําสั่งจากผูบังคับบัญชาเพียงคนเดียว สายบังคับบัญชาจะมีลักษณะเปนทอดๆไป แตละคน

จะรูวาใครคือเจานายของตน

๕. เอกภาพในทิศทาง (unity of direction) คนในกลุมกิจกรรมขององคการจะมี

จุดมุงหมายเดียวกัน รับแผนเดียว และจากหัวหนาเดียว

๕๙แหลงที่มาของขอมูล,www.novabizz.net-๑๐๗.html. [สืบคน ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗],

Page 56: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๒

๖. ผลประโยชนของหมูคณะจะตองเหนือผลประโยชนสวนตน (Subordination

of Individual Interests to the General Interests) คนที่เขามาทํางานในองคการนั้นจะตองเปนที่

ยอมรับวาผลประโยชนขององคการจะตองมาเหนือผลประโยชนสวนตน

๗. มีระบบคาตอบแทนที่ยุติธรรม (remuneration) คนทํางานตองเห็นประโยชน

ขององคการเหนือผลประโยชนสวนตน แตองคการก็จะตองทําหนาที่จัดระบบคาตอบแทนเหมาะสม

แกความสามารถและเปนไปอยางยุติธรรม

๘. ระบบการรวมศูนย (centralization) การรวมศูนยในที่นี้หมายถึงระดับของ

การที่ผูใตบังคับบัญชาจะมีสวนในการตัดสินใจอยางไร การจะกระจายอํานาจ หรือรวมอํานาจเพียงใด

นั้น ขึ้นอยูกับความเหมาะสม ประเด็นจะอยูที่ วาทําอยางไรจึงจะรวมศูนยไดในแตละกรณี แนวคิดนี้

มองเห็นความจําเปนขององคการที่ตองมีศูนยรวมอํานาจ

๙. สายบังคับบัญชา (scalar chain) หมายถึงสายบังคับบัญชาจากระดับสูงลงมาสู

ระดับต่ําสุด สายการสื่อสารติดตอก็จะเปนไปตามนี้ คือจะเปนไปตามระดับขั้น อยางไรก็ตาม ถาสาย

การบังคับบัญชากอใหเกิดการเสียเวลาลาชา ก็ใหมีการขามขั้นตอนได และทั้งนี้ตองเปนขอตกลง

ระหวางสวนงานที่เกีย่วของ

๑๐. ความเปนระบบระเบียบ (order) หมายถึง คนก็ดีหรือวัสดุอุปกรณทั้งหลายก็

ดี จะอยูในที่อันเหมาะสมในเวลาอันเหมาะสม และความเปนระบบระเบียบนี้ในสวนหนึ่งหมายความ

วาถาเกิดการเปลี่ยนแปลง เชนคนปวยงาน ลางาน ก็สามารถมีคนทดแทนได เพราะมีความเปนระบบ

ทําใหรูงานกัน

๑๑. ความเทาเทียมกัน (equity) ในที่นี้ ผูเปนหัวหนาจะตองมีการตอบสนองตอ

ผูใตบังคับบัญชาอยางมีเมตตาและยุติธรรม การใชอํานาจของผูบริหารจะเปนไปดวยหลักการ มิใชจะ

ทําอะไรไดตามใจ

๑๒. ความมั่นคงและสามัญฐานะของบุคลากร (stability of tenure of

personnel) ทั้งนี้โดยมองวา การที่มีคนเปลี่ยนงานบอยๆ นั้นอาจจะทําใหงานไมมีประสิทธิภาพ ฝาย

บริหารควรวางแผนงานใหสามารถมีการทดแทนกําลังคนกันได เมื่อมีตําแหนงวางลง

๑๓. การริเริ่มสรางสรรค (initiative) ผูใตบังคับบัญชาจะสามารถมีความคิดริเริ่ม

สรางสรรค ทีจ่ะทํางานออกมาไดในระดับที่สูง

๑๔. วิญญาณแหงหมูคณะ (esprit de corps) การสรางขวัญและกําลังใจในการ

ทํางาน มีความราบรื่น และความเปนปกแผนใน Luther Gulick : POSDCORB

Luther Gulick เปนผูคิดรูปแบบการบริหารจัดการโดยมีกิจกรรม ๗ ประการมาใชใน

การบริหารจัดการและในวงการบริหารจะรูจักกิจกรรมทั้ง ๗ ประการ นี้เปนอยางดีโดยมีคํายอวา

POSDCORB(CO คือคําเดียวกัน) มีการนํารูปแบบการบริหารจัดการของ Luther Gulick ไปใชในการ

Page 57: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๓

บริหารองคกรสมัยใหมอยางกวางขวาง แนวความคิดที่นําเอามุมมองทั้ง ๗ ดานมาใชนั้นสอดคลองกับ

ทฤษฎีการบริหารจัดการของ Henri Fayol , Frederick W.Taylor และ Max Weber๖๐

Luther Gulick ใหความสําคัญของการควบคุม การสั่งการและการประสานงาน

จะตองสรางขอบขายการควบคุม (span of control) ใหเกิดประสิทธิภาพ ตองพิจารณาปจจัยตาง ๆ

ประกอบ เชน จํานวนคนที่เปนหัวหนา จํานวนคนที่เปนลูกนอง ความสามารถเฉพาะตัวของหัวหนา

ลักษณะเฉพาะของงานที่ทําและเสถียรภาพขององคการ อีกสิ่งหนึ่งที่ตองคํานึงถึงในการบริหารจัดการ

องคกรคือเอกภาพการควบคุม (unity of command) องคการที่ดีตองสามารถสรางโครงสรางอํานาจ

ภายในองคการในลักษณะที่มีหัวหนาฝายบริหารควบคุมและประสานงานตาง ๆ แตเพียงผูเดียว

องคการเกิดขึ้นมา เพราะมนุษยที่มาอยูรวมกันไดชวยกันแบงงานกันทําตามความชํานาญ

พิเศษของแตละคนซึ่งเปนการประหยัดเวลา และแรงงานในการทํางานอยางยิ่ง เมื่อสังคมตอง

ขยายตัวขึ้นลักษณะการแบงงานกันทําจะสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น จนในที่สุดจําเปนตองสรางกลไกหรือ

โครงสรางบางประการเพื่อผูกโยงประสานหนวยงานแตละหนวย (work unit) เขาดวยกัน ดังนั้นหัวใจ

ทฤษฎีเกี่ยวกับองคการจึงเปนเรื่องของความพยายามจัดโครงสราง ในการประสานงานระหวางหนวย

ทํางานยอยใหมีประสิทธิภาพหลัก ในการประสานงานหนวยทํางานยอยมีอยูสองวิธีที่ตองใชควบคูกัน

ไป คือ วิธีแรกเรียนวา การประสานงานโดยการสรางกลไกในความควบคุมภายในองคการ หมายถึง

การจัดตั้งโครงสรางอํานาจ (structure of authority) ซึง่ประกอบดวยสายการบังคับบัญชาระหวาง

หัวหนาและลูกนองเปนลําดับชั้น เชื่อมโยงจากยอดถึงฐานของโครงสรางอํานาจ โดยใหคนในแตละขั้น

ของโครงสรางดังกลาวแบงงานกันทําเปนหนวยงาน วิธีที่สอง เรียกวา การประสานงานโดยการผูกมัด

ทางใจ ทําใหคนที่มารวมกันทํางานมีพลังจิตตั้งใจประกอบการงานเต็มความสามารถและทําดวยความ

กระตือรือรน บรรยากาศในการทํางานดังกลาวจะสรางขึ้นมาไดตองอาศัยความสามารถของผูนํา หรือ

(leadership) กิจกรรม ๗ ประการ มีดังนี ้

P - Planning

O - Organizing

S - Staffing

D - Directing

CO - Coordinating

R - Reporting

B - Budgeting

๖๐แหลงที่มาของขอมูล,http://www.gotoknow.org/posts/๒๗๕๐๑๓.[สืบคน ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗],

Page 58: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๔

P คือการวางแผน (planning) หมายถึง การกําหนดเปาหมายขององคการวาควร

ทํางานเพื่อบรรลุวัตถุประสงคอะไร และจะดําเนินการอยางไร

O คือการจัดองคการ (organizing) หมายถึง การจัดตั้งโครงสรางอํานาจอยางเปน

ทางการภายในองคการเพื่อประสานงานหนวยทํางานยอยตาง ๆ ใหสามารถบรรลุเปาหมายของ

องคการได

D คือการสั่งการ (directing) หมายถึง การที่หัวหนาฝายบริหารมีหนาที่ตองตัดสินใจอยู

ตลอดเวลา โดยพยายามนําเอาการตัดสินใจดังกลาวมาเปลี่ยนเปนคําสั่งและคําแนะนํา นอกจากนี้ ยัง

หมายถึงการที่หัวหนาฝายบริหารตองทําหนาทีเ่ปนผูนําขององคการ

S คือการบรรจุ (staffing) หมายถึง หนาที่ดานบริหารงานบุคคลเพื่อฝกอบรมและ

เจาหนาที่และจัดเตรียมบรรยากาศในการทํางานที่ดีไว

CO คือการประสานงาน (co-ordinating) หมายถึง หนาที่สําคัญตาง ๆ ในการประสาน

สวนตาง ๆ ของงานใหเขาดวยกันอยางด ี

R คือการรายงาน (reporting) หมายถึง การรายงานความเคลื่อนไหวตาง ๆ ของ

องคการใหทุกฝายทราบ ทั้งนี้อาจใชวิธีการตาง ๆ เชน การวิจัยและการตรวจสอบ

B คือการงบประมาณ (budgeting) หมายถึง หนาที่ในสวนที่เกี่ยวของงบประมาณในรูป

ของการวางแผนและการควบคุมด านการเงินการบัญ ชี Douglas Mc Gregor : ทฤษฎี X

และทฤษฎี Y

ทฤษฎีนี้อาจจะเรียกไดวาเปนทฤษฎีการมองตางมุม ในความเปนจริงของคนทุกคนไมมีใครจะรายอยางบริสุทธิ์ คือไมมีขอดีเลย คงไมมีและในทางกลับกัน ก็คงไมมีใครที่ดีรอยเปอรเซ็นต ไมมีขอดางพรอยเลย ก็คงไมมีอีกเชนกันแตไมใชวาพอเราจะไดผลประโยชนจากใครก็มองเขาดีไปหมด ถึงแมวาในความเปนจริงเขาจะไมดีไปเสียทุกอยาง ผลประโยชนสําหรับเราแลว ทุกอยางก็ดูจะไมดีไปเสียทั้งหมด ถึงแมวา ที่จริงแลวเขาก็ไมใชคนที่เลวรายนัก เรามาลองศึกษาความคิดของคุณ Douglas Mc Gregor (1906-1964) ดูซิวาเปนอยางไร

ทฤษฎี X Theory X) เปนปรัชญาการบริการจัดการแบบดั้งเดิม โดยมองวาพนักงานเกียจ

คราน ไมกระตือรือรน ไมชอบงานและพยายามหลีกเลี่ยงงาน

ทฤษฎี Y (Theory Y) เปนปรัชญาการบริการจัดการ โดยมองวาพนักงานมีความ

รับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มในการแกปญหาในการทํางานและไมมีความเบื่อหนายในการทํางาน

สรุปแนวคิดทฤษฎีการบริหาร องคกรเกิดขึ้นมาเพราะมนุษยที่มาอยูรวมกันไดชวยกันแบงงานกันทําตามความชํานาญของแตละคนโดยการจัดตั้งโครงสรางอํานาจและการประสานงานโดยการผูกมัดทางใจทําใหคนที่มารวมกันทํางานตั้งใจทํางานอยางเต็มความสามารถโดยอาศัยความสามารถของผูนํา

Page 59: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๕

การบริหาร หมายถึง กิจกรรมตางๆ ที่บุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไปรวมมือกันดําเนินการเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใดหรือหลายๆอยางที่บุคคลรวมกันกําหนดโดยใชกระบวนอยางมีระบบและใหทรัพยากรตลอดจนเทคนิคตางๆ อยางเหมาะสม ๖๑

๒.๔ แนวคิดที่เกี่ยวของกับหลักอิทธิบาท ๔ การศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดศึกษาคนควาหาขอมูลแนวคิดที่เกี่ยวของกับหลักอิทธิบาท ๔

ซึ่งสามารถอธิบายได ดังตอนี ้

๒.๔.๑ ความหมายและความสําคัญของหลักอิทธิบาท ๔

ผูวิจัย ไดทําการศึกษาคนควาขอมูลที่เกี่ยวของกับความหมายและความสําคัญของหลัก

อิทธิบาท ๔ จากแหลงขอมูลที่หลากหลาย เพื่อใหเกิดความเขาใจและเขาถึงความหมายและ

ความสําคัญโดย ไดมีนักวิชาการที่ไดรับการยกยองจากบุคคลทั่วไปในดานเปนผูมีความรูความสามารถ

ไดกลาวถึงไวดงันี้

พระอภิธรรมปฎก วิภังค ไดกลาวถึง อิทธิปาทวิภังค สุตตันตภาชนีย ดังนี้ คําวา อิทธิ

มีอธิบายวา ความสําเร็จ ความสําเร็จดวยดี กิริยาที่สําเร็จ กิริยาที่ สําเร็จดวยดี ความได ความได

เฉพาะ ความถึง ความถึงดวยดี ความถูกตอง การทําใหแจง ความเขาถึง ธรรมเหลานั้น คําวา อิทธิ

บาท มีอธิบายวา เวทนาขันธ สัญญาขันธ สังขารขันธ และวิญญาณขันธของ บุคคลผูเปนอยางนั้น (ผู

ไดธรรมที่มีฉันทะ วิริยะ จิตตะ และวิมังสา) คําวา เจริญอิทธิบาท มีอธิบายวา ภิกษุเสพ เจริญ ทําให

มากซึ่งธรรมเหลานั้น เพราะฉะนั้นจึงเรียกวา เจริญอิทธิบาท ๔ คือ คุณธรรมที่ ทําใหผูปฏิบัติตาม

ประสบความสําเร็จ ๔ ประการ ดังนี๖้๒

ฉันทิทธิบาท ภิกษุเจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยฉันทสมาธิและปธานสังขาร เปนอยางไร

ถาภิกษุท า ฉันทะใหเปนอธิบดีแลวไดสมาธิ ไดเอกัคคตาจิต นี้เรียกวา ฉันทสมาธิ ภิกษุนั้นสรางฉันทะ

พยายาม ปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อปูองกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไมเกิดมิใหเกิดขึ้น

สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว

สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิตมุงมั่น เพื่อยังกุศลธรรมที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น

สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อความดํารงอยู ไมเลือนหาย ภิยโย

ภาพ ไพบูลย เจริญเต็มที่แหงกุศลธรรมที่เกิดแลว ธรรมเหลานี้เรียกวา ปธานสังขาร ประมวลยอ

ฉันทสมาธิและปธาน สังขารเขาเปนอยางเดียวกัน จึงนับไดวาฉันทสมาธิและปธานสังขาร ดวย

ประการฉะนี้

๖๑ สมศักดิ์ คงเที่ยง, การบริหารบุคลากรและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย,(กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๔๖),หนา ๔๒.

๖๒ อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๓๔๒-๓๔๗.

Page 60: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๖

วิริยิทธิบาท ภิกษุเจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยวิริยสมาธิและปธานสังขาร เปนอยางไร

ถาภิกษุทํา วิริยะใหเปนอธิบดีแลวไดสมาธิ ไดเอกัคคตาจิต นี้เรียกวา วิริยสมาธิ ภิกษุนั้นสรางฉันทะ

พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุงมั่น เพื่อปูองกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไมเกิดมิใหเกิดขึ้น

สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประคองจิต มุงมั่น เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว สราง

ฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประคองจิตมุงมั่น เพื่อยังกุศลธรรมที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น สราง

ฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประคองจิต มุงมั่น เพื่อความดํารงอยู ไมเลือนหาย ภิยโยภาพ

ไพบูลย เจริญเต็มที่แหงกุศลธรรมที่เกิดแลว ธรรมเหลานี้เรียกวา ปธานสังขาร ประมวลยอวิริยสมาธิ

และปธาน สังขารเขาเปนอยางเดียวกัน จึงนับไดวาวิริยสมาธิและปธานสังขาร ดวยประการฉะน ี

จิตติทธิบาท ภิกษุเจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยจิตตสมาธิและปธานสังขาร เปนอยางไร

ถาภิกษุทํา จิตใหเปนอธิบดีแลวไดสมาธิ ไดเอกัคคตาจิต นี้เรียกวา จิตตสมาธิ ภิกษุนั้นสรางฉันทะ

พยายาม ปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อปูองกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไมเกิดมิใหเกิดขึ้น

สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลว

สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิตมุงมั่น เพื่อยังกุศลธรรมที่ยังไมเกิดใหเกิดขึ้น

สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อความดํารงอยู ไมเลือนหาย ภิยโย

ภาพ ไพบูลย เจริญเต็มที่แหงกุศลธรรมที่เกิดแลว ธรรมเหลานี้เรียกวา ปธานสังขาร ประมวลยอจิตต

สมาธิและ ปธานสังขารเขาเปนอยางเดียวกัน จึงนับไดวาจิตตสมาธิและปธานสังขาร ดวยประการฉะนี ้

วิมังสิทธิบาท ภิกษุเจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยวิมังสาสมาธิและปธานสังขาร เปน

อยางไร ถาภิกษุทํา วิมังสาใหเปนอธิบดีแลวไดสมาธิ ไดเอกัคคตาจิต นี้เรียกวา วิมังสาสมาธิ ภิกษุนั้น

สรางฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อปูองกันบาปอกุศลธรรมที่ยังไมเกิดมิ

ใหเกิดขึ้น สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อละบาปอกุศลธรรมที่

เกิดขึ้นแลว สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิตมุงมั่น เพื่อยังกุศลธรรมที่ยังไมเกิดให

เกิดขึ้น สรางฉันทะ พยายามปรารภความเพียร ประครองจิต มุงมั่น เพื่อความดํารงอยู ไมเลือนหาย

ภิยโยภาพ ไพบูลย เจริญเต็มที่แหงกุศลธรรมที่เกิดแลว ธรรมเหลานี้เรียกวาปธานสังขาร ประมวลยอ

วิมังสาสมาธิและ ปธานสังขารเขาเปนอยางเดียวกันจึงนับไดวาวิมังสาสมาธิและปธานสังขาร ดวย

ประการฉะนี้

พุทธทาสภิกขุ ไดกลาวถึงความหมายของอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้ อิทธิบาท ๔ คือ บทของ

พระธรรมเชนวาจะมีฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ที่เรียกวาอิทธิบาท นี้ตองมีและมีไดโดยไมรูสึกตัวคน

ที่มีการทํางานยอมทํางานดวยความพอใจความขยันขันแข็ง ความเอาใจใสใครครวญอยูเสมอนี้เรียกวา

เขามีอิทธิ บาททั้งสี่ประการนั้นโดยไมรูสึกตัว๖๓

๖๓ พุทธทาสภิกขุ, การงานที่เปนสุข, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพธรรมสภา, ๒๕๔๙), หนา ๓๐.

Page 61: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๗

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต) ไดเขียนเกี่ยวกับอิทธิบาท ๔ สรุปไดวาหลักธรรมที่

ไมเคยลาสมัย หรือหลักธรรมอันเปนหลักแหงความสําเร็จ หรือทางแหงความสําเร็จ ๔ ประการ ที่ใน

ปจจุบันแมเราจะหลงลืมกันไปบางวา คืออะไร แตถาหากไดยอนรําลึกกันบางวามีอะไร และคืออะไร

จะเห็นไดวาหลักธรรมอายุ ๒ พันกวาปนี้ ไมมีคราวใดที่จะเรียกวาลาสมัย

๑. ฉันทะ เพราะเหตวุาทรงรักสิ่งที่ทรงทํา จึงไดทําสิ่งที่ทําอยูในขณะนี้

๒. วิริยะ คือความพากเพียร ความพยายามไมยอทอ

๓. จิตตะ คือความเอาพระทัยจดจอในสิ่งที่ทรงทํา เพราะฉะนั้นทานจึงทําได

๔. วิมังสา ทํางานแลวไมทิ้ง คอยตรวจสอบ ทบทวน ไตรตรอง พิจารณา ดังนั้น หลัก

ความสําเร็จ ปฏิบัติตามหลักธรรม ที่จะนําไปสูความสําเร็จแหงกิจการ ที่ เรียกวา อิทธิบาท (ธรรมให

ถงึความสําเร็จ) ซึ่งมี ๔ ขอ คือ

๑. ฉันทะ : รักงาน (การเห็นคุณคา ความรัก ความพอใจ) คือ มีใจรัก พอใจ

จะทําสิ่งนั้น และทําดวยใจรัก ตองการทําใหเปนผลสําเร็จอยางดีแหงกิจหรืองานที่ทํา มิใชสักวาทําพอ

ใหเสร็จๆ หรือ เพียงเพราะอยางไดรางวัลหรือผลกําไร

๒. วิริยะ : สูงาน (ความเพียร เห็นเปนความทาทาย ใจสู ขยัน) คือ พากเพียร

ทํา ขยัน หมั่นประกบ หมั่นกระทําสิ่งนั้นดวยความพยายามเขมแข็งอดทน เอาธุระ ไมทอดทิ้ง ไม

ทอถอย กาว ไปขางหนาจนกวาจะสําเร็จ

๓. จิตตะ : ใสใจงาน (ความคิด อุทิศตัวตองาน ใจจดจอ จริงจัง) คือ เอาจิต

ฝกใฝ ตั้งจิต รับรูในสิ่งที่ทํา และทําสิ่งนั้นดวยความคิดไมปลอยจิตใจใหฟุงซานเลื่อนลอย ใชความคิด

ในเรื่องนั้น บอยๆ เสมอๆ ทํากิจหรืองานนั้นอยางอุทิศตัวอุทิศใจ

๔. วิมังสา : ทํางานดวยปญญา (ไตรตรอง พิสูจน ทดสอบ ตรวจตรา

ปรับปรุงแกไข) ใช ปญญาสอบสวน คือ หมั่นใชปญญาพิจารณาใครครวญตรวจตราหาเหตุผล และ

ตรวจสอบขอยิ่งหยอน เกินเลยบกพรองขัดของในสิ่งที่ทํานั้น โดยรูจักทดลอง วางแผน วัดผล คิดคน

วิธีแกไขปรบัปรุง เปนตน เพื่อจัดการและดําเนินงานนั้นใหไดผลดียิ่งขึ้นไป๖๔

หลวงพอปญญานันทภิกขุ ไดกลาวถึงความหมายของอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้ อิทธิบาท ๔

คือ ขอธรรมะที่เปนบันไดแหงความสําเร็จในการปฏิบัติกิจทุกอยางประกอบไปดวย ฉันทะ ความ

พอใจในเรื่องเราจะทํา วิริยะ ความเพียรไมทอถอยในการประกอบกิจนั้นๆ จิตตะ เอาใจใสไมทอดธุระ

ในเรื่องนั้นๆ วิมังสา จะตองทํางานนั้นตอไป บันไดสูความสําเร็จสี่ประการที่กลาวนี้ขอสุดทายสําคัญ

สุด๖๕

๖๔ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), ธรรมนูญชีวิต, พิมพครั้งที่ ๔๖, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ

กรมศาสนา, ๒๕๔๕), หนา ๔๐. ๖๕ หลวงพอปญญานันทภิกขุ, งานคือชีวิตชีวิตคืองานบันดาลสุข, (กรุงเทพมหานคร : สถาบันบันลือ

ธรรม ,ม.ป.ป.), หนา ๖๐.

Page 62: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๘

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ไดกลาวถึงความหมายของอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้ อิทธิบาท

๔ คือ ทางแหงความสําเร็จ จุดเริ่มที่จะนําไปสูความสําเร็จ ถาเราพัฒนาคนถูกตองอยางที่วามนุษยไม

แปลกแยกจากความเปนจริงของธรรมชาติตั้งแตขั้นพื้นฐานทุกอยางก็สอดคลองไปกันไดหมดไมมีอะไร

เสียหายเมื่อเราวางฐานไดดีแลวเราก็ใชหลักการตางๆ ในการทํางานบนพื้นฐานแหงความถูกตองนั้น

เมื่อพ้ืนฐานถูกตองแลวเราเอาธรรมะอะไรมาใชตอนนี้ก็เดินหนาไปดวยดี เชน เอาหลักอิทธิบาทมาใชก็

คือ หลักแหงความสําเร็จ๖๖

พระกวีวรญาณ อางใน พัชราพร วีรสิทธิ์ ไดกลาวไววา หลักในการทํางานใหสําเร็จนั้น

ตามหลักพระพุทธศาสนาเรียกวา “อิทธิบาท” มาจากคําวา อิทธิ = ความสําเร็จ บาท = วิถีทางที่จะ

นําไปสู เมื่อ “อิทธิบาท” เปนชื่อของธรรมหมวดหนึ่ง ก็หมายความวา ธรรมหมวดนั้นแหละเปน

“หลักการ” สําคัญที่จะนําเราไปสูจุดหมายปลายทาง หรือไปสูความสําเร็จได๖๗

พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโน) ไดกลาวถึงความหมายของอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้ อิทธิ

บาท๔ คือคุณธรรมที่จะนําผูประพฤติปฏิบัติใหประสบความสําเร็จในสิ่งที่ตนประสงคซึ่งตองไม

เหลือวิสัยคือสิ่งที่ตนประสงคนั้นตองอยูในวิสัยที่อาจใชความเพียรพยายามทําใหเกิดขึ้นไดมิใชเปน

ความเพอฝนที่ไมมีโอกาสประสบความสําเร็จคุณธรรมกลุมนี้เรียกวา อิทธิบาท ๔๖๘

พระธรรมโกศาจารย (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) ไดกลาวความหมายของหลักอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้ อิทธิบาท ๔ คือ ใชคุณธรรมนําทางสูความสําเร็จที่ตนประสงคตองมีความพึ่งพอใจมีความเพียรมีสมาธิจึงทําใหเกิดปญญาและหัวใจของการบริหารเชิงพุทธที่สําคัญที่สุด คือ พรหมวิหาร ๔ ตองมี่ทั้งเมตตา กรุณา ใหความชวยเหลือสั่งสอนผูนอยใหเรียนรูที่จะอยูดวยตนเอง มีมุทิตา ปลอยใหเขาเติบโตไดไมเขา การแทรกแซงและอุเบกขา รูจักความพอดีปลอยวางฝกจิตใหพอเพียงในสิ่งที่มีที่เปนนี้คือหลักธรรมประจําใจที่จะชวยใหเราดํารงชีวิตและบริหารงานไดอยางทีป่ระเสริฐและบริสุทธิ์๖๙

ปญญา ใชบางยาง ไดกลาวถึง อิทธิบาท ๔ ไวเปน ๒ นัย คือ นัยแหงพระสูตรและนัย แหงพระอภิธรรมจะแสดงหนักไปทางโลกุตตระ ในที่นี้เปนการแสดงตามนัยแหงพระสูตร ความหมาย ของอิทธิบาท มีดังนี้ความพอใจ การทําความพอใจ ความใครเพื่อจะทําความฉลาด ความพอใจใน ธรรม นี้เรียกวา ฉันทะ ความปรารถนาความเพียรทางใจ ความขะมักเขมน ความบากบั่น ความตั้ง หนา ความพยายาม ความอุตสาหะ ความอดทน ความเขมแข็ง ความหมั่น ความกาวไปอยางไม

๖๖ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ธรรมะกับการทํางาน , พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมูลนิธิพุทธธรรม,๒๕๔๓), หนา ๗๙.

๖๗ พัชราพร วีรสิทธิ์ , “ความสัมพันธระหวางองคประกอบหาประการของบุคลิกภาพและ ความสามารถในการเผชิญปญหาและอุปสรรคตามหลักอิทธิบาท ๔ ของเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานอยูในสํานักงาน ประกันสังคม”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต , (บณัฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๖), หนา ๑๑.

๖๘ พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ),อธิบายหลักธรรมตามหมวดจากนวโกวาท,(กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพธรรมสภา,๒๕๔๘), หนา ๑๖๖. ๖๙ พระธรรมโกศาจารย (ประยูร ธมฺจิตฺโต), “ธรรมในใจของนักบริหารไฮโซ”, หนังสือพิมพไทยรัฐ, (ฉบับวันท่ี ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๑).

Page 63: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๔๙

ทอถอย ความไมทอดทิ้งฉันทะ ไมทอดทิ้งธุระ ความประคับประคอง ธุระไวดวยดี วิริยะ วิริยินทรีย วิริยพละ สัมมาวายามะ นี้เรียกวา วิริยะ จิต มโน มานัส มโน วิญญาณธาตุ นี้เรียกวา จิต ปญญา กิริยา ที่รูชัด ความไมหลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิ นี้เรียกวา วิมังสา๗๐

สนอง วรอุไร ไดกลาวไววา อิทธิบาท ๔ คือ สูตรสําเร็จของชีวิต ตามที่พระพุทธเจา ตรัสไววา จิตเปนรากฐานของสิ่งทั้งหลาย จิตประเสริฐกวาสิ่งทั้งหลาย สิ่งทั้งหลายสําเร็จไดดวยจิต เพราะฉะนั้น ความสําเร็จจึงอยูที่ใจ ไมวาเราจะตองการอะไรหกเราตั้งใจกําหนดจิตไวมั่นคง ทุกสิ่งจะ สําเร็จไดดังใจ และอิทธิบาท ๔ ใหถึงขั้น คือ ทําสิ่งตางๆ ดวยใจรัก ดวยความพากเพียร ดวยใจจดจอ และใชปญญาไตสวนอยางสม่ําเสมอ แลวความสําเร็จจะไมหนีไปไหน๗๑

จากความหมายของหลักอิทธิบาท ๔ พอสรุปไดวา อิทธิบาท ๔ เปนหลักธรรมที่ทําให ประสบความสําเร็จเปนบันไดแหงความสุขและความสําเร็จ คนเราเมื่อมีความรัก ความพอใจ ขยันหมั่นเพียรความเอาใจใสใครครวญอยูเสมอการท างานยอมมีประสิทธิภาพและคนทํางานก็ยอมมี ความสุข ๒.๔.๒ องคประกอบของหลักอิทธิบาท ๔ ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาขอมูลที่เกี่ยวของกับองคประกอบของหลักอิทธิบาท ๔ จากแหลงขอมูลที่หลากหลาย เพื่อใหเกิดความเขาใจและเขาถึงหลักอิทธิบาท ๔ อยางถองแท ทั้งที่ไดมีนักวิชาการที่ไดรับการยกยองจากบุคคลทั่วไปในดานเปนผูมีความรูความสามารถเกี่ยวกับหลักอิทธิบาท ๔ ไดกลาวถึงองคประกอบของหลักอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) กลาวถึงองคประกอบของอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้๗๒ ๑. ฉันทะ แปลวา ความพอใจ ไดแก ความมีใจรักในสิ่งที่ทํา และพอใจใฝรักในจุดหมายของสิ่งที่ทํานั้นอยากทําสิ่งนั้นๆ ใหสําเร็จอยากใหงานนั้นหรือสิ่งนั้นบรรลุ พูดงายๆวารักงานและรักจุดหมายของงาน พูดใหลึกลงไปในทางธรรมวา ความรักความใสใจปรารถนาตอภาวะดีงามเต็มเปยมสมบูรณ ซึ่งเปนจุดหมายของสิ่งที่กระทําหรือจะเขาใหถึงไดดวยการกระทํานั้น อยากใหสิ่งนั้นๆ เขาถึงหรือดํารงอยูในภาวะที่ดีที่งดงามที่ประณีต ที่สมบูรณที่สุดของมันหรืออยากใหภาวะดีงามเต็มเปยมสมบูรณของสิ่งนั้นๆของงานนั้นอยากทําใหสําเร็จตามจุดหมายที่ดีงามนั้น เมื่อเห็นสิ่งนั้นหรืองานนั้นกําลังเดินหนาไปสูจุดหมาย ก็เกิดปติเปนความอิ่มเอมใจ ครั่นสิ่งหรืองานที่ทําบรรลุจุดหมายก็ไดรับความโสมนัสเปนความฉ่ําชื่นใจที่พรอมดวยความรูสึกโปรงโลงผองใส เบิกบานแผออกไปเปนอิสระไรขอบเขต ถาสามารถปลุกเราฉันทะใหเกิดอยางแรงกลา เกิดความรักในคุณคาความดีงาม ความสมบูรณของสิ่งนั้นหรือจุดหมายนั้นอยางเต็มที่แลว คนก็จะทุมเทชีวิตจิตใจอุทิศใหแกสิ่งนั้น เมื่อรักแทก็มอบใจใหอาจถึงขนานยอมสละชีวิตเพื่อสิ่งนั้นได เมื่อมีฉันทะแลวก็ตองทําการสิ่งนั้น ใหดีที่สุดให

๗๐ ปญญา ใชบางยาง , ธรรมาธิบายหลักธรรมในพระไตรปฎก , (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ธรรมสภา, ๒๕๔๘), หนา ๕๐.

๗๑ สนอง วรอุไร, ทําชีวิตใหไดดีและมีสุข, พิมพครั้งที่ ๑๐, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพอัมรินทร , ๒๕๕๐), หนา ๙๗.

๗๒ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ธรรมะกับการทํางาน , พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพมูลนิธิพุทธธรรม,๒๕๔๓), หนา ๗๙.

Page 64: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๐

สําเร็จผลอยางดีที่สุดของสิ่งนั้นของงานนั้น ไมหวงพะวงกับสิ่งลอเราหรือผลตอบแทนทั้งหลาย จิตใจมุงแนวแน มั่นคงในการดําเนินสูจุดหมาย เดินเรียบสม่ําเสมอ ไมซาน ไมสาย ฉันทะสมาธิ จึงเกิดขึ้นโดยนัยนี้ และพรอมนั้น ๒. วิริยะ แปลวา ความอาจหาญ แกลวกลา บากบั่น กาวไป ใจสู ไมยอทอไมหวั่นกลัวตออุปสรรคและความยากลําบาก เมื่อคนรูวาสิ่งใดมีคุณคาควรแกการบรรลุถึง ถาวิริยะเกิดขึ้นแกเขาแลว แมไดยินวาจุดหมายจะบรรลุถึงไดยากนัก มีอุปสรรคมาก หรืออาจใชเวลายาวนานเทานั้นปเทานี้เดือนเขาก็ไมทอถอยกลับเห็นเปนสิ่งทาทายที่เขาจะเอาชนะใหไดใหสําเร็จ คนที่มีความเพียร เทากับมีแรงหนุนเวลาทํางานหรือปฏิบัติธรรมก็ตาม จิตใจจะแนวแนมั่นคง พุงตรงตอจุดหมาย สมาธิก็เกิดขึ้นได เรียกวาเปน วิริยะสมาธิ ๓. จิตตะ แปลวา ความคิดจดจอ หรือเอาใจฝกใฝ ไดแก ความมีจิตผูกพัน จดจอเฝาคิดเรื่องนั้นใจอยูกับงานนั้น ไมปลอย ไมหางไปไหน ถาจิตตะเปนไปอยางแรงกลาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรืองาน อยางใดอยางหนึ่ง คนผูนั้นจะไมสนใจรับรูเรื่องอื่นๆ ใครพูดอะไรเรื่องอื่นๆไมสนใจ แตถาพูดเรื่องงานนั้น จะสนใจเปนพิเศษโดยทันที บางทีจัดทําเรื่องนั้น งานนั้น ขลุกงวนอยูไดทั้งวันทั้งคืน ลืมกินลืมนอน ความมีใจฝกใฝเชนนี้ยอมทําใหสมาธิเกิดขึ้น จิตจะแนวแน แนบสนิทในจิตที่ทํา มีกําลังมากเฉพาะสําหรับกิจนั้น เรียกวาเปนจิตตะสมาธิ ๔. วิมังสา แปลวา ความสอบสวนไตรตรอง ไดแก การใชปญญาพิจารณาหมั่นใครครวญตรวจหาเหตุผล และตรวจสอบขอยิ่งหยอน เกินเลย บกพรองหรือขัดของ เปนตนในกิจที่ทํา รูจักทดลองและคิดคนหาทางแกไขและปรับปรุง ขอนนี้เปนการใชปญญาชักนําสมาธิซึ่งจะเห็นไดไมยากคนมีวิมังสาเปนพวกชอบคิด คนหาเหตุผล ชอบสอบสวนทดลอง เมื่อทําอะไร ก็คิดพิจารณาทดสอบไป เชนคิดวาผลนี้เกิดจากเหตุอะไรทําไมจึงเปนอยางนี้ ผลนี้เกิดจากปจจัยที่เปนองคประกอบเหลานี้เทานี้ ถาชักองคประกอบนี้ออกเสียจะเปนอยางนี้ ถาเพิ่มองคประกอบนี้เขาไปแทนจะเกิดผลอยางนี้ ลองเปลี่ยนองคประกอบนั้นแลว ไมเกิดผลอยางที่คาดหมาย เปนเพราะอะไร จะแกไขจุดไหน เปนเหตุใหจิต แนวแนแลนดิ่งไปกับเรื่องที่พิจารณา ไมฟุงซานไมวอกแวก เรียกวาเปนวิมังสาสมาธิ๗๓ วิทย วิศทเวทย และ เสถียรพงษ วรรณปก ไดกลาวถึงองคประกอบของหลักอิทธิบาท ๔ ไวดังนี้ องคประกอบของ อิทธิบาท ๔ ไดแก๗๔

1. ฉันทะ คือ ความพอใจรักใครในสิ่งนั้น 2. วิริยะ คือ ความเพียรหมั่นประกอบสิ่งนั้น 3. จิตตะ คือ ความเอาใจฝกใฝสิ่งนั้น 4. วิมังสา คือ การหมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต) ไดใหความหมายอิทธิบาท 4 วา คุณเครื่องใหถึง ความสําเร็จ คุณธรรมที่นําไปสูความสําเร็จแหงผลที่มุงหมายมี 4 อยาง คือ 1. ฉันทะ ความพอใจ คือ ความตองการที่จะทํา ใฝใจรักจะทําสิ่งนั้นอยูเสมอและ ปรารถนาจะทําใหผลดียิ่งๆ ขึ้นไป 2. วิริยะ

๗๓ พระธรรมปฎก(ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธรรม, พิมพครั้งที่ ๘, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๒), หนา ๘๔๒-๘๔๔ ๗๔ วิทย วิศทเวทย และเสถียรพงษ วรรณปก, หนังสือเรียนวิชาพระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษา ปที่ ๕, (กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน, ๒๕๔๔), หนา ๘๙

Page 65: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๑

ความเพียร คือ ขยันหมั่น ประกอบสิ่งนั้นดวยความพยายามเขมแข็ง อดทน เอาธุระไมทอถอย 3. จิตตะ ความคิดมุงไป คือ ตั้งจิตรับรูในสิ่งที่ทําและทําในสิ่งนั้นดวยความคิด เอาจิต ฝกใฝไมปลอยใหฟุงซานเลื่อนลอยไป อุทิศตัวอุทิศใจใหสิ่งที่ทํา 4. วิมังสา ความไตรตรอง หรือ ทดลอง คือ หมั่น ใชปญญาพิจารณาใครครวญตรวจหา เหตุผลและตรวจสอบขอยิ่งหยอนในสิ่งที่ทํานั้น มีการวางแผน วัดผล คิดคนวิธีแกไขปรับปรุง เปนตน๗๕ จารุมาศ เรืองสุวรรณ ไดสรุปหลักอิทธิบาท 4 ไววา เปนหลักแหงการประกอบการงาน ใดๆ ใหสําเร็จ ประกอบดวย ฉันทะ คือ ความพอใจและรักที่จะทําในงานนั้นๆ วิริยะ คือ ความ พากเพียรในทํางานอยางไมยอทอจนงานสําเร็จ จิตตะ คือ การตั้งใจทํางานหมั่นตรวจตรางานอยูเสมอเอาใจใสในสิ่งที่ทําไมเอาใจไปคิดในเรื่องอื่น วิมังสา คือ การคิดไตรตรองเกี่ยวกับงานที่ทํา ใช สติปญญาคิดใครครวญขอดีขอเสีย และปรับแกอยางมีเหตุผล๗๖ สุชีพ ปุญญานุภาพ ไดใหคําแปลของอิทธิบาท 4 ไว 2 ทาง คือ หนึ่ง แปลวา ขอปฏิบัติ ที่ใหรูฤทธิ์(Basic of Psychic Power) อีกอยางหนึ่งแปลวา ขอปฏิบัติที่ใหบรรลุถึงความสําเร็จ (Low of Success) และสุชีพ ปุญญานุภาพ (2539: 676) ไดใหความหมายอิทธิบาท 4 ไวอีกวา เปนคุณให บรรลุความสําเร็จ 4 อยาง ไดแก ฉันทะ ความพอใจรักใครในสิ่งนั้น วิริยะความเพียร จิตตะ เอาใจใส วิมังสา ใชปญญาพิจารณาสอบสวน๗๗ บุญมี แทนแกว กลาววา ตามหลักพุทธศาสนากลาวไววาผูหวังความเจริญควรปฏิบัติใน ธรรมอันเปนเครื่องนําไปสูความเจริญ หรือสําเร็จตามความประสงค หมายความวาเมื่อตองการความ เจริญกาวหนาตองสรางเหตุผลเพื่อใหเกิดผลนั้นๆ เพราะผลยอมมาจากเหตุ การสรางเหตุนั้นถึงแมจะ ยากยิ่งเพียงใด หากใชคุณธรรมเขาสนับสนุนแลวยิ่งจะสําเร็จตามความประสงคได คุณธรรมที่จะชวย ใหสําเร็จหรือความเจริญกาวหนาดังประสงค คือ อิทธิบาท 4๗๘ สุทธิพงษ ศรีวิชัย กลาววา อิทธิบาท 4 คุณธรรมที่นําไปสูความสําเร็จแหงผลที่มุงหมาย หรือ หนทางแหงการดําเนินชีวิตไปสูความสําเร็จ ความถูกตอง และการเขาถึงประโยชนสุข นอกจากนี้ อิทธิบาทยังเปนธรรมที่อนุโลมไดวา มีจุดมุงหมายเพื่อความสําเร็จในการปฏิบัติหนาที่การงานของ บุคคล เชน ประสบความสําเร็จทางดานการเรียน การประกอบอาชีพการดํารงชีวิต เปนตน๗๙ ปริญญ จงวัฒนา กลาววา อิทธิบาท 4 คือ คุณธรรม 4 ประการที่เปนฐานนําไปสู ความสําเร็จ ดังนี้

๗๕ พระพรหมคุณาภรณ, (ป.อ. ปยุตโฺต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบบัประมวลธรรม,พิมพรวมเลม

3 ภาค ครั้งที่ 15, (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจันทรเพ็ญ,2550), หนา 160/231 ๗๖ จารุมาศ เรืองสุวรรณ, พันเอก, การสังเคราะหแบบจําลองการสอนวิชาชีพชางตามหลักอิทธิบาท

4 ของพลทหารในสวนสนับสนุนกองบัญชาการทองทัพบก ,ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ปร.ด.อาชีวศึกษา,(บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ถายเอกสาร,2548), หนา ๓๕.

๗๗ สุชีพ ปุญญานุภาพ, คุณลักษณะพิเศษแหงพระพุทธศาสนา, พิมพครั้งที่ 2, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ มหามกุฎราชวิทยาลัย,๒๕๔๑), หนา ๑๙.

๗๘ บุญมี แทนแกว,จริยศาสตร,พิมพครั้งที่ 3, (กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,๒๕๓๙), หนา ๑๔๒. ๗๙

สุทธิพงษ ศรีวิชัย,ผศ.ดร, “หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร ”, สารนิพนธพุทธ

ศาสตรบัณฑิต, ( กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๑๕๕๐), หนา ๒๓๘ .

Page 66: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๒

๑. ฉันทะ ความพอใจ ความพึงใจที่จะกระทํากิจใดๆ เพื่อที่ ใหไดรับผลสําเร็จตาม ปรารถนา

๒ .วิริยะ ความเพียร คือ มีความขยันหมั่น เพียรที่จะกระทํากิจใดๆ ที่ไดตั้งปรารถนาไว แลวและไดมีความพอใจ พึงใจ กระทําแลวใหสําเร็จลุลวงตามปรารถนา

3. จิตตะ จิตจดจอ คือ มีสติ มีสมาธิ ในการที่จะกระทํากิจใดๆ ที่ตั้งปรารถนาไวแลวไดมี ความพอใจ พึงใจกอกิจกรรมนั้นแลวไดใชความเพียรพยายามแลว ก็ตองใชกําลังใจ กําลังความคิด กําลังสติปญญา และสมาธิ ไมหันเหไปทางอื่น การกระทํากิจนั้นๆ ใหสําเร็จลุลวงไปตามปรารถนา

4. วิมังสา ความไตรตรอง ทดสอบ ทดลอง พินิจพิจารณา เมื่อกระทําสิ่งใดๆ แลวยอม ประสบปญหา ใหญบางเล็กบาง ก็ตองใชการใครครวญพิจารณาถึงปญหาตางๆเหลานั้นดวยอุบาย ปญญา ตั้งขอสมมติฐานเปนเหตุ เพื่อที่จะหาปจจัยองคประกอบในสิ่งที่ตนรูมาเปนขอเปรียบเทียบเชิง กระทบ เพื่อที่จะสามารถแกไขปญหาที่เกิดขึ้นได และทําการทดสอบทดลอง สามารถใหผลไดจริงตาม ที่ตั้งขอสมมุติหรือไม กระทําซ้ําแลวซ้ําอีกจนมีความแนใจ จนสามารถประสบกับความสําเร็จไดตาม ปรารถนาตั้งใจ๘๐

๒.๔.๓ อิทธิบาท ๔ ที่ปรากฏในพระไตรปฎก จากการทบทวนเอกสารปรากฏวา มีนักวิชาการและผูวิจัยไดศึกษาและอธิบายถึงอิทธิ บาท ๔ ที่ปรากฏในพระไตรปฎกไวหลายทาน ดังนี้ ในพระพุทธศาสนานั้น สมาธิที่เกิดจากฉันทะและความเพียรที่มุงมั่น เจริญอิทธิบาท ประกอบดวย วิริยสมาธิปธานสังขารหมายถึง สมาธิที่เกิดจากวิริยะและความเพียรสรางสรรค เจริญ อิทธิบาทประกอบดวย จิตตสมาธิปธานสังขาร หมายถึง สมาธิที่ เกิดจากจิตตะและความเพียร สรางสรรค เจริญอิทธิบาทประกอบดวย วิมังสาสมาธิปธานสังขาร หมายถึง สมาธิที่เกิดจากวิมังสา และความเพียรสรางสรรค เพราะฉะนั้น อิทธิบาท ๔ มีองคประกอบ ดังนี้ ฉันทสมาธิ๘๑ หมายถึง สมาธิที่เกิดจากฉันทะ วิริยะ หมายถึง การปรารภความเพียรทางใจ สัมมาวายามะ จิต หมายถึง มโน มานัส มโนวิญญาณธาตุที่สมกัน ความบากบั่น ความตั้งหนา ความพยายาม ความอุตสาหะ ความ ทนทาน ความเขมแข็ง ความกาวไปอยางไมทอถอย ความไมทอดทิ้งธุระ ความประคับประคองธุระไว ดวยดี วิริยะ วิริยินทรย วิริยะพละสัมมาวายามะ วิมังสา หมายถึง ปญญา กิริยาที่รูชัด ความไมหลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฎฐิสมาธิหมายถึง ความตั้งอยูแหงจิต ความดํารงอยูแหงจิต ความไมสายไป แหงจิต ความไมฟุงซานแหงจิต ภาวะที่จิตไมสายไป ความสงบ สัมมาสมาธิ (สภาวะที่จิตมีอารมณ เดียว) นอกจากนี้ องคพระสัมมาสัมมพุทธเจา ไดตรัสถึง อิทธิบาท ซึ่งไดทรงแสดงพระธรรม เทศนาที่ปรากฏในพระอภิธรรมปฎก ดังนี ้ อิทธิบาท ๔ ไดแก ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ๘๒

๑) เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยฉันทสมาธิและปธานสังขาร

๘๐ ปริญญ จงวัฒนา, พุทธธรรมเพื่อกัลยาณมิตร, (กรุงเทพฯ: บจก. ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการ

พิมพ,๒๕๕๐), หนา ๑๔๔ – ๑๔๕. ๘๑ ม.ม.(ไทย) ๑๓/๒๔๗/๒๙๒. ๘๒ อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๔๓๑ – ๔๖๕/๓๔๒ – ๓๕๗.

Page 67: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๓

๒) เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยวิริยสมาธิและปธานสังขาร ๓) เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยจิตตสมาธิและปธานสังขาร ๔) เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยวิมังสาสมาธิและปธานสังขาร หลักธรรมที่ทําใหผูปฏิบัติบรรลุถึงความสําเร็จทั้งในการดําเนินชีวิตและการปฏิบัติงาน

ตองประกอบดวยคุณสมบัติตามหลักอิทธิบาททั้ง ๔ ประการ ซึ่งองคสมเด็จพระสัมมาสัมมพุทธเจา พระองคไดทรงปฏิบัติมาดวยพระองคเองและไดทรงตรัสสั่งสอนใหพุทธบริษัทไดรูและปฏิบัติตามจน เปนที่ประจักษชัดแจงและเห็นจริงตามคําสั่งสอนของพระองค ดังนั้นที่มาและความหมายของหลัก อิทธิบาทจึงมีปรากฏตามในพุทธพจน ดังนี้

อิทธิบาท ๔ ไดแก ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ๑. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยฉันทาสมาธิและปธานสังขาร ๒. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยวิริยสมาธิและปธานสังขาร ๓. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยจิตตสมาธิและปธานสังขาร ๔. เจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยวิมังสาสมาธิและปธานสังขาร๘๓ ในมหาปรินิพพานสูตร พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงอานุภาพของอิทธิบาท ๔ ประการ

ไววา อานนท กรุงราชคฤหนารื่นรมย ภูเขาคิชฌกูฏนารื่นรม อิทธิบาท ๔ ผูใดผูหนึ่งเจริญทําใหมาก แลว ทําใหเปนดุจยานแลว ทําใหเปนที่ตั้งแลว ใหตั้งมั่นแลว สั่งสมแลว ปรารภดี ผูนั้นเมื่อมุงหวัง พึง ดํารงอยูไดหนึ่งกัลปหรือเกินกวาหนึ่งกัลป อิทธิบาท ๔ ตถาคตเจริญทําใหมากแลว ทําใหเปนดุจยาน แลว ทําใหเปนที่ตั้งแลว ใหตั้งมั่นแลว สั่งสมแลว ปรารภดีแลว ตถาคตเมื่อมุงหวังพึ่งดํารงอยูไดหนึ่ง กัลปหรือเกินกวาหนึ่งกัลป๘๔

ในชนวสภสูตร สนังกุมารพรหม ไดกลาวถึงการเจริญอิทธิบาท ๔ ประการ โดยพวก เทพชั้นดาวดึงสไดกลาววา พระผูมีพระภาคผูทรงรูทรงเห็น เปนพระอรหันตสัมมาสัมมพุทธเจาพระองค นั้น ทรงบัญญัติอิทธิบาท ๔ ประการนี้ แมที่ทรงบัญญัติไวอยางดี ก็เพียงเพื่อเพิ่มพูนความสําเร็จ เพื่อใหชํานาญในเรื่องความสําเร็จ เพื่อพลิกแพลงใหเกิดความสําเร็จภิกษุในธรรมวินัยนี้๘๕ ๑. เจริญอิทธิบาท คือฉันทสมาธิปธานสังขาร (สมาธิที่เกิดจากฉันทะและความเพียร สรางสรรค)

๒. เจริญอิทธิบาท คือวิริยสมาธิปธานสังขาร (สมาธิที่เกิดจากวิริยะและความเพียร สรางสรรค) ๓. เจริญอิทธิบาท คือจิตตสมาธิปธานสังขาร (สมาธิที่เกิดจากจิตตะและความเพียร สรางสรรค)

๔. เจริญอิทธิบาท คือวิมังสาสมาธิปธานสังขาร (สมาธิที่เกิดจากวิมังสาและความเพียร สรางสรรค)

๘๓ อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๔๓๑/๓๔๒. ๘๔ ที.ม.(ไทย) ๑๐/๑๗๙/๑๒๗. ๘๕ ที.ม.(ไทย) ๑๐/๒๘๗/๒๑๘.

Page 68: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๔

โดยเนื้อความในชนวสภสูตรดังที่ไดกลาวมานี้ แสดงถึงอานิสงสของการเจริญอิทธิบาท ธรรมเพื่อเพิ่มพนูความสําเร็จ เพื่อเพิ่มพูนความชํานาญซึ่งกอใหเกิดความสําเร็จ ตลอดทั้งการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเพื่อนําไปสูความสําเร็จตามสมประสงค

ในพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กลาวถึง การเจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยฉันทสมาธิและปธานสังขารดังนี้

ภิกษุเจริญอิทธิบาทที่ประกอบดวยฉันทสมาธิและปธานสังขารเปนอยางไร ถา ภิกษุทําฉันทะใหเปนอธิบดีแลวไดสมาธิ ไดเอกัคคตาจิต นี้เรียกวา ฉันทสมาธิ ภิกษุนั้นสรางฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุงมั่นเพื่อปองกันบาป

อกุศลธรรมที่ยังไมเกิดมิใหเกิด ภิกษุนั้นสรางฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุงมั่นเพื่อละบาปอกุศล

ธรรมที่เกิดขึ้นแลว ภิกษุนั้นสรางฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียง ประคองจิต มุงมั่นเพื่อยังกุศลธรรมที่ ยัง

ไมเกิดใหเกิด ภิกษุนั้นสรางฉันทะ พยายาม ปรารภความเพียร ประคองจิต มุงมั่นเพื่อความดํารงอยู ไม

เลือนหาย ภิยโยภาพ ไพบูลย เจริญเต็มที่แหงกุศลธรรมที่เกิดแลวธรรมเหลานี้เรียกวาปธานสังขาร ประมวลยอฉันทสมาธิและปธานสังขารเขาเปนอยางเดียวกัน จึงนับไดวาฉันทสมาธิและ

ปธานสังขาร ดวยประการฉะนี๘้๖ บรรดาธรรมเหลานั้น ฉันทะ เปนไฉน ความพอใจ การทําความพอใจ ความเปนผูประสงคจะทํา ความฉลาด ความพอใจใน

ธรรม นี้เรียกวา ฉันทะ ภิกษุเปนผูเขาไปถึงแลว เขาไปถึงแลวดวยดี เขามาถึงแลว เขามาถึงแลวดวยดี เขาถึง

แลวเขาถึงแลวดวยดี ประกอบแลวดวยฉันทสมาธิและปธานสังขารนี้ ดวยประการฉะนี้เพราะฉะนั้นจึง เรียกวา ประกอบดวยฉันทะสมาธิปธานสังขาร๘๗

สรุปไดวา อิทธิบาท ๔ หมายถึง หลักธรรมที่ปฏิบัติเพื่อเอาชนะปญหาและอุปสรรค ตางๆ เปนหนทางนําไปสูความสําเร็จในหนาที่การงานตางๆตามที่มุงหวังไว ซึ่งประกอบดวยฉันทะ (ความพอใจ) วิริยะ (ความเพียร) จิตตะ (ความคิด) และวิมังสา (ความไตรตรอง)

๒.๕ งานวิจัยที่เกี่ยวของ พระมหาสมคิด โครธา ไดทําการวิจัยเรื่อง “การใชอิทธิบาท ๔ ในการเรียนของพระนิสิต

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” ผลการศึกษาพบวา พระนิสิตสถานภาพแตกตางกันมีการ

ใชหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน พระนิสิตที่เปนพระภิกษุมีการใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการเรียนดาน

ฉันทะ ดานจิตตะ แตกตางกันกับพระนิสิตที่เปนสามเณร และทางดานวิริยะ กับดานวิมังสา ไม

แตกตางกัน และ พระนิสิตชั้นปที่ ๔ มีการใชอิทธิบาท ๔ แตกตางกันกับชั้นปที่ ๑ ชั้นปที่ ๒ และชั้นป

๘๖ อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๔๓๒/๓๔๒. ๘๗ อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๔๓๓/๓๔๓.

Page 69: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๕

ที่ ๓ พิจารณาพบวาพระนิสิตชั้นปที่ ๔ มีการใชอิทธิบาท ๔ ในการเรียนดานฉันทะ และดานวิริยะ

แตกตางกันกับพระนิสิตชั้นปที่ ๑,๒ และ ๓ สวนดานจิตตะและดานวิมังสาไมแตกตางกัน๘๘

พระมหาสุนันท กิตฺติสทฺโท (สายพิมพพงษ) ไดทําการวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชอิทธิ

บาท ๔ ในการทํางานศึกษากรณีผูทําเครื่องปนดินเผาดานเกวียน จังหวัดนครราชสีมา” ผลการศึกษา

พบวา ธรรมะที่เรียกวา อิทธิบาท ๔ เปนธรรมะที่แสดงใหเห็นถึงหลักการทํางานใหบรรลุความสําเร็จ

ตามจุดมุงหมายที่กําหนดไวและสามารถนําไปใชในการประกอบกิจการและอาชีพไดทุกประเภทสวน

ผลจากการศึกษาในพื้นที่ตําบลดานเกวียนของกลุมผูประกอบอาชีพทําหัตถกรรมเครื่องปนดินเผานั้น

พบวา กลุมตัวอยางชาวดานเกวียนไดใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการทํางานครบทุก ๔ องคประกอบ คือ มี

ความพึงพอใจมีความรักในอาชีพการงาน (ฉันทะ) มีความขยันหมั่นเพียรมุงมั่น (วิริยะ) มีการเอาใจใส

ดูแล (จิตตะ) และมีการพิจารณาหาชองทางในการปรับงานใหเหมาะสม (วิมังสา) ซึ่งผลจากการ

ประยุกตใชหลักอิทธิ บาท ๔ ทําใหชาวดานเกวียนไดทํางานในอาชีพที่ตนเองรักอยางตอเนื่อง และ

นํามาซึ่งความสําเร็จในกิจการงานอาชีพ และกลุมคนที่เลิกหรือหยุดกิจการนั้นมักบกพรองในการ

ประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ ขอใดขอหนึ่ง โดยเฉพาะขอที่ ๑-๒ และเมื่อวิเคราะหถึงกลุมที่มีพื้นฐาน

อาชีพ (ความรูตางกัน) ก็พบวาทั้ง ๓ กลุมสามารถประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการประกอบอาชีพได

เปนอยางดีทั้งโดยรูตัวและไมรูตัว

พระวุฒิพงษ ถาวรจิตฺโต (รักเรียน) การนําหลักอิทธิบาท ๔ มาใชในการปฏิบัติงาน :

ศึกษาเฉพาะกรณีองคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ผลการศึกษาวิจัย

พบวา การนําหลักอิทธิบาท ๔ มาใชในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ องคการบริหารสวนตําบล พบวา

เจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบลมีการนําหลักอิทธิบาท ๔ มาใชในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมอยู

ในระดับมากที่สุดและเมื่อจําแนกเปนรายดานพบวา เจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบลมีการนําหลัก

อิทธิบาท ดานวิริยะ ดานจิตตะ และดานวิมังสา มาใชในการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด ยกเวนดาน

ฉันทะ เจาหนาทีองคการบริหารสวนตําบลนํามาใชในการปฏิบัติงานในระดับมาก การเปรียบเทียบ

การนําหลักอิทธิบาท ๔ มาใชในการปฏิบัติ งานของเจาหนาที่องคการบริหารสวนตําบล โดยจําแนก

ตาม เพศ ระดับการศึกษา ประสบการณในการปฏิบัติงาน สถานภาพในการปฏิบัติงานและขนาดของ

องคการบริหารสวนตําบล พบวา ไมแตกตางกันซึ่งปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว ยกเวนดานอายุ พบวา

๘๘ พระมหาสมคิด โครธา, “การใชอิทธิบาท ๔ ในการเรียนของพระนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย”, วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๗).

Page 70: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๖

เจาหนาที่ที่มีอายุตางกันมีการนําหลักอิทธิบาท ๔ มาใชในการปฏิบัติงานแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว๘๙

พระครูพิศาลถิรธรรม ไดศึกษาเรื่อง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาสใน

เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา การบริหารมคีวามสําคัญตอการดําเนินงานของวัดใน

อันที่จะพัฒนาใหเปนระบบ สามารถสงเสริมภิกษุสงฆ สามเณร ใหเปนผูที่ มีความรูความสามารถ

และประสบการณ ปฏิบัติตนอยูในกรอบของพระธรรมวินัย และสามารถเปนแบบอยางที่ดีตอการ

พัฒนาชุมชนเปนอยางดี การบริหารวัดในปจจุบันไดเปลี่ยนรูปแบบ ระบบ วิธีการ การสรางระบบให

เหมาะสมกับผูอยูอาศัยในวัดนั้นๆ และสังคมโดยรอบ เพื่อใหการบริหารเปนไปตามความหมายที่วา

การปกครอง การดูแลรักษาหมูคณะและการดําเนินงานหรือการจัดการกิจกรรมตางๆ ของหมูคณะ

หรือองคกรตางๆ ใหสําเร็จลุลวงไปตามนโยบาย และวัตถุประสงคขององคกรนั้นๆ ดวยดีมี

ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาส ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร พบวา ในภาพรวม

อยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๖๒ และเมื่อจําแนกเปนรายดานพบวา ดานการปกครอง

,ดานการศึกษาสงเคราะห และดานการสาธารณูปการ มีประสิทธิภาพอยู ในระดับมาก สวนดานการ

ศาสนาศึกษา การเผยแผ และการสาธารณสงเคราะหมีประสิทธิภาพอยูในระดับปานกลาง ผล

การศึกษาปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะเกี่ยวกับประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาส

ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร พบวา ปญหาที่สําคัญไดแก เจาอาวาสบางรูปขาดวิสัยทัศน ขาด

เปาหมาย ในการบริหารจัดการวัดที่ชัดเจน การบริหารจัดการวัดของเจาอาวาสบางสวนไมมีการ

ประชุม ปรึกษาวางแผน และกําหนด วัตถุประสงคการพัฒนาวัดอยางเปนรูปธรรม เปนการบริหาร

จัดการวัดตามความเคยชินที่เคยปฏิบัติมา ขาดการประสานงานระหวาง วัด บาน และชุมชน และเจา

อาวาสบางรูปใชคนไมถูกกับงาน จึงทําใหงานขาดประสิทธิภาพ แนวทางในการแกไขปญหา ไดแก

ควรมีการประชุมพระภิกษุ สามเณร ภาย ในวัด เนื่องๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัด

และเพื่อความสามัคคีภายในวัด สงเสริมใหเจาอาวาสเปดรับความรูใหมๆ เพื่อนํามาใชในการบริหาร

จัดการวัดมีการนําเอา เทคโนโลยีสมัยใหม มาใชในการพัฒนาวัดมากขึ้น และควรมีการจัดกิจกรรมที่

สรางสรรคระหวางวัดและชุมชน๙๐

พระครูใบฎีกาอภิชาติ ธมฺมสุทฺโธ (พรสุทธิชัยพงศ) ไดวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพการริหาร

งานของเจาอาวาสในจังหวัดนนทบุรี ผลการศึกษาพบวา ประสิทธิภาพในการบริหารงานของเจา

๘๙ พระวุฒิพงษ ถาวรจิตฺโต (รักเรียน), “การนําหลักอิทธิบาท ๔ มาใชในการปฏิบัติงาน : ศึกษา

เฉพาะกรณีองคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓).

๙๐ พระครูพิศาลถิรธรรม , “ประสิทธิภาพการบริห ารจัดการวัดของเจาอาวาสในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต , สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓).

Page 71: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๗

อาวาสในจังหวัดนนทบุรี พบวา พระภิกษุและสามเณร มีทัศนะตอประสิทธิภาพในการบริหารงานของ

เจาอาวาสในจังหวัดนนทบุรี โดยรวมอยูในระดับมาก ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๗๓ และเมื่อพิจารณาเปน

รายดาน พบวา พระภิกษุและสามเณร มีทัศนะตอประสิทธิภาพในการบริหารงานของเจาอาวาสใน

จังหวัดนนทบุรีอยูในระดับมากทุกดาน โดยมีคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย คือ ดานการศึกษา อบรม

และสั่งสอนเทากับ ๓.๙๕ ดานการบํารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติเทากับ ๓.๗๘ ดานการให

ความสะดวกในการบําเพ็ญกุศลเทากับ ๓.๖๑ และดานการบริหารและการปกครองเทากับ ๓.๕๖

ตามลําดับ การเปรียบเทียบทัศนะของพระภิกษุและสามเณรตอประสิทธิภาพการบริหารงานของเจา

อาวาสในจังหวัดนนทบุรี จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล พบวา พระภิกษุและสามเณร มีทัศนะตอ

ประสิทธิภาพการ บริหารงานของเจาอาวาสไม แตกตางกันตาม สถานภาพ อายุ พรรษา วุฒิ

การศึกษานักธรรม วุฒิการศึกษาเปรียญธรรมและวุฒิการศึกษาสามัญ จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ ตั้งไว

ผลการศึกษาปญหาและแนวทางในการบริหารงานของเจาอาวาส พบวา ปญหาและแนวทางในการ

บริหารงานของเจาอาวาส ไดแก ๑) ดานการบํารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติ วัดในจังหวัด

นนทบุรีสวนใหญไมมีการจัดทําทะเบียนครุภัณฑ ปญหาเรื่องความสะอาดภายในวัด หรือบริเวณรอบ

นอกของวัด และ บางวัดมีโบราณสถานโบราณวัตถุที่มีสภาพทรุดโทรม ๒) ดานการบริหารและการ

ปกครอง ระยะเวลาในการประชุมแตละครั้งหางกันนานเกินไป และบางวัดมีการรวมศูนยกลางการ

ปกครองไปที่เจาอาวาสเพียงผูเดียว ทําใหในบางครั้งการดูแลอาจไม ทั่วถึงเทาที่ควร ๓) ดาน

การศึกษา อบรมและสั่งสอน ผูที่จะทําหนาที่ ในการอบรมพระภิกษุ และสามเณร มีไมเพียงพอ และ

ไมมีการอบรมครูพระ ทําใหเกิดการขาดแคลนครูพระที่จะทําหนาที่ในการสอนหนังสือทั้งในแผนกบาลี

และแผนกธรรม ๔) ดานการใหความสะดวกในการบําเพ็ญกุศล การติดตอบางครั้งไมสะดวก การจัด

กิจนิมนตไมทั่วถึง พิธีกรหรือมัคคทายก บางวัดยังทําหนาที่ไดไมสมบูรณและไมถูกตองตามรูปแบบ

ประเพณี และสถานที่จอดรถภายในวัดคับแคบจนเกินไปทําใหญาติโยมที่มาติดตอหรือมาทําบุญที่วัด

เกิดความไมสะดวก แนวทางในการแกไขปญหาในดานตางๆ ไดแก ๑) ดานการบํารุงรักษาวัด จัด

กิจการและศาสนสมบัติ การสรรงบประมาณบางสวนเพื่อใชในการจัดทําทะเบียนครุภัณฑ การจัดใหมี

การทําความสะอาดและปรับทัศนียภาพภายในและรอบนอกบริเวณวัดใหมีความสวยงาม รมรื่น

ตลอดจนการซอมแซมโบราณสถานและโบราณวัตถุ ๒) ดานการบริหารและการปกครอง ควรมีการ

จัดประชุมอยางนอยเดือนละครั้ง และควรมีการกระจายอํานาจการปกครองออกไปยังผูที่มีสวนรวมใน

การบริหารและการปกครอง ๓) ดานการศึกษา อบรมและสั่งสอน ควรสงเสริมใหมีการจัดการเรียน

การสอนนักธรรมภายในวัด และควรสนับสนุนใหผูที่มีความรูความสามารถขึ้นมาเปนครูสอนนักธรรม

และควรจัดใหมีการอบรมครูพระทุก ๖ เดือน ๔) ดานการใหความสะดวกในการบําเพ็ญกุศล ควรมี

การจัด ตั้งหนวยงานหรือสํานักงานและจัดใหมีผูรับผิดชอบ ควรมีการจัดอบรมพิธีกร หรือมัคคทา

ยกขึ้นในจังหวัดเพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางถูกตองและเปนรูปแบบเดียวกัน และควรจัดใหมี

Page 72: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๘

สถานที่จอดรถอยางเพียงพอเพื่ออํานวยความสะดวกแกญาติโยมที่มาทําบุญหรือติดตอในการบําเพ็ญ

กุศลตางๆ๙๑

พระครูสังฆรักษกฤษฎิ์ตภณ สุเมโธ ไดวิจัยเรื่องประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของ

เจาอาวาสในเขตอําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี ผลการศึกษาพบวา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ

วัดของเจาอาวาสในเขตอําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี พบวา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัด

ของเจาอาวาสในเขตอําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี ในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ย

เทากับ ๓.๔๕ และเมื่อจําแนกเปนรายดานพบวา ดานการปกครองและดานสาธารณูปการมี

ประสิทธิภาพอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๗๕ และ ๓.๕๔ ตามลําดับ สวนดานอื่นๆ ไดแก

ดานการศาสนศึกษา ดานการศึกษาสงเคราะห ดานการเผยแผ และดานการสาธารณสงเคราะหมี

ประสิทธิภาพอยูในระดับปานกลาง ผลการศึกษาปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะเกี่ยวกับ

ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาสในเขตอําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี พบวาปญหา

ที่สําคัญไดแก เจาอาวาสบางรูปขาดวิสัยทัศน ขาดเปาหมาย ในการบริหารจัดการวัดที่ชัดเจน การ

บริหารจัดการวัดของเจาอาวาสบางสวนไม มีการประชุม ปรึกษา วางแผน และกําหนดวัตถุประสงค

การพัฒนาวัดอยางเปนรูปธรรม เปนการบริหารจัดการวัดตามความเคยชินที่เคยปฏิบัติมา ขาดการ

ประสานงานระหวาง วัด บาน และชุมชน และเจาอาวาสบางรูปใชคนไมถูกกับงาน จึงทําใหงานขาด

ประสิทธิภาพ แนวทางในการแกไขปญหา ไดแก ควรมีการประชุมพระภิกษุ สามเณร ภายในวัด

เนื่องๆเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัด และเพื่อความสามัคคีภายในวัด สงเสริมใหเจา

อาวาสเปดรับความรูใหมๆ เพื่อนํามาใชในการบริหารจัด การวัดมีการนําเอา เทคโนโลยีสมัยใหม มา

ใชในการพัฒนาวัดมากขึ้น และควรมีการจัดกิจกรรมที่สรางสรรคระหวางวัดและชุมชน๙๒

พระครูนนทวีรวัฒน วีรธมฺโม (มีนุสรณ) ไดวิจัยเรื่อง การบริหารงานเทศบาลตําบลตาม

หลักสาราณียธรรม ๖ : กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปลายบาง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี

ผลการวิจัยพบวา การวิจัยเรื่องการบริหารงานเทศบาลตําบลตามหลักสาราณียธรรม ๖ : กรณีศึกษา

เทศบาลตําบลปลายบาง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี พบวา เทศบาลตําบลปลายบางได

บริหารงานตามหลักสาราณียธรรมทั้ง ๖ ดาน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ซึ่งมีคาเฉลี่ย ๓.๖๑ เมื่อ

พิจารณารายละเอียดแตละ ดานพบวา มีการบริหารงานตามหลักสาราณียธรรม ๖ อยู ในระดับมาก

ทุกดาน การเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารงานเทศบาล ตําบล ตามหลัก

๙๑ พระครูใบฎีกาอภิชาติ ธมฺมสุทฺโธ (พรสุทธิชัยพงศ) , “ประสิทธิภาพการบริหารงานของเจาอาวาส

ในจังหวัดนนทบุรี ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓).

๙๒ พระครูสังฆรักษกฤษฎิ์ตภณ สุเมโธ, “ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาสในเขตอําเภอ ลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓).

Page 73: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๕๙

สาราณียธรรม ๖ : กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปลายบาง อํา เภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี จําแนกตาม

ปจจัยสวนบุคคล พบวา ประชาชนในเขตเทศบาลตําบลปลายบาง มีความคิดเห็นแตกตางกันตามเพศ

และอายุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ จึงยอมรับสมมติฐานที่ ตั้งไว สวนประชาชน ที่มี

ระดับการศึกษา และอาชีพตางกัน มีความคิดเห็นตอบริหารงานเทศบาลตําบลตามหลักสาราณียธรรม

๖ ไมแตกตางกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไวแนวทางการนําหลักสาราณียธรรม ๖ ไปประยุกตใช

สําหรับการบริหารงานเทศบาลตําบลปลายบาง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ไดแก ดานเมตตา

กายกรรม เจาหนาที่ไมควรเลือกปฏิบัติในการใหบริการแกผูมาใชบริการ ควรใหบริการตามลําดับใน

การมาใชบริการ เพื่อความเปนธรรมแก ผูรับบริการ ดานเมตตาวจีกรรม เจาหนาที่ กลาววาจาสุภาพ

ตอผูมาใชบริการ ดานเมตตามโนกรรม เจาหนาที่ ตองยึดถือผลประโยชนสวนรวมมากอนประโยชน

สวนตน ใหเกียรติประชาชนที่มาติดตอ และตอนรับดวยไมตรีจิตที่ยิ้มแยมแจมใส ดานสาธารณโภคี

เจาหนาที่ตองมีความซื่อสัตย ไมเห็นแกสินจางรางวัล บริการดวยความเต็มใจ และมีความรับผิดชอบ

ดานศีลสามัญญตา ควรมีความซื่อสัตย สุจริต ไมเห็นแกพวกพอง สําคัญกวาประเทศ หรือเห็นแก

ประโยชนสวนตนมากกวาประโยชนสวนรวม ดานทิฏฐิสามัญญตา ยอมรับฟงความคิดเห็นของ

ประชาชน และนํามาแกไขปรับปรุงตามสภาพจริง๙๓

พระครูวิสุทธานันทคุณ (ครุฑธา) ไดวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการวัดเขาชองพราน

จังหวัดราชบุรี ผลการวิจัยพบวา ประชาชนมีความคิดเห็นตอการบริหารจัดการวัดเขาชองพราน

จังหวัดราชบุรี โดยรวมอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ ๓.๘๗ เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ทั้งดาน

การปกครองดานการ ศาสนศึกษา ดานการศึกษาสงเคราะห ดานการเผยแผพระพุทธศาสนา ดาน

การสาธารณูปการ และ ดานการสาธารณะสงเคราะห พบวา ประชาชน มีความคิดเห็นตอการบริหาร

จัดการวัดเขาชองพราน จังหวัดราชบุรี อยูในระดับมากทุกดาน การเปรียบเทียบความคิดเห็นของ

ประชาชนตอการบริหารจัดการ วัดเขาชองพราน จังหวัดราชบุรี จําแนกตามสถานภาพสวนบุคคล

พบวา ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับ การศึกษา อาชีพ และประสบการณในการเขาวัดที่ตางกัน มี

ความคิดเห็นไมตางกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว๙๔

พระครูสุนทรจารุวรรณ (ชาญ จารุวณฺ โณ) ไดวิจัยเรื่องความพึงพอใจตอการ

บริหารงานศึกษาสงเคราะหในพระพุทธศาสนา : ศึกษากรณีศูนยอบรมเด็กกอนเกณฑในวัดทุงครุเขต

๙๓ พระครูนนทวีรวัฒน วีรธมฺโม (มีนุสรณ) , “การบริหารงานเทศบาลตําบลตามหลักสาราณียธรรม ๖

: กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปลายบาง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ” วิทยานิพนธพุทธศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ) , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓).

๙๔ พระครูวิสุทธานันทคุณ (ครุฑธา), “การบริหารจัดการวัดเขาชองพราน จังหวัดราชบุรี ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, การจัดการเชิงพุทธ, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย,๒๕๕๔).

Page 74: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๐

ทุงครุ กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา การศึกษาสงเคราะหในพระพุทธศาสนา เปนการศึกษาที่จัด

ขึ้นเพื่อเติมเต็มใหกับการศึกษาอีกลักษณะหนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีสวนชวยในทางการ

บริหารการศึกษาแกประชาชน ใหมีความครอบคลุม และสามารถสนองความตองการของประชาชน

ทุกกลุมไดอยางทั่วถึงและเปนธรรม โดยมุงพัฒนาเด็กขาดโอกาสทางการศึกษาใหเปนผูมีความรู

ความสามารถ มีทักษะในการดํารงชีพ มีความคิดสรางสรรค มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่

ถูกตองดีงาม มีเจตนาที่ดีตอครอบครัว สังคมและประเทศชาติ เปนพลเมืองไทยที่มีความรับผิดชอบ

และสามารถปฏิบัติตนตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข สามารถเปน

สื่อกลางระหวางรัฐบาลกับชุมชน และกลับไปเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาทองถิ่นใหมีความเขมแข็ง

และเจริญกาวหนาไดตามควรแกอัตภาพ ความพึงพอใจของผูปกครองเจาหนาที่ฝายพัฒนาชุมชนเขต

ทุงครุ และอาสาสมัครประจําศูนยเด็กเล็กกอนเกณฑวัดทุงครุตอการบริหารงานศูนยอบรมเด็กกอน

เกณฑวัดทุงครุ เขตทุงครุ กรุงเทพมหานคร จํานวน ๑๙๐ คน พบวาโดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู

ในระดับมาก คาเฉลี่ยเทากับ ๓.๖๙ ความพอใจทั้ง ๔ ดานอยูในระดับดีมาก

พระครูใบฎีกาสุวินท สุวิชาโน (สอนเล็ก) ไดวิจัยเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหาร

จัดการการศึกษาตามแนววิถีพุทธ : กรณีศึกษาโรงเรียนวัดชมนิมิตร อําเภอพระประแดง จังหวัด

สมุทรปราการ จากผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ เปนเพศชาย เปนผูปกครอง มีอายุ

ระหวาง ๓๖-๔๕ ป มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเปนขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ มีรายไดตอเดือน

ระหวาง ๕,๐๐๑-๑๐,๐๐๐ บาท และระดับชั้นที่บุตรหลานเรียนคือระดับประถมศึกษาปที่ ๖ ความ

คิดเห็นของครูและผูปกครองนักเรียนที่มีตอการบริหารจัดการศึกษาตามแนว วิถีพุทธของโรงเรียนวัด

ชมนิมิตร คือ ดานวิชาการ ดานบุคลากร ดานกิจการนักเรียน ดานธุรการ การเงิน และพัสดุ ดาน

อาคารสถานที่ ดานความสัมพันธระหวางโรงเรียนกันชุมชน และดานจริยธรรมคุณธรรม พบวา ครู

และผูปกครองนักเรียนมีความคิดเห็นตอการบริหารจัดการศึกษาตามแนววิถีพุทธของโรงเรียนวัดชม

นิมิตรโดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมากทุกดาน๙๕

พระมหาชัยณรงค ญาณกิตฺติ ( ลําไธสง) ไดวิจัยเรื่อง ภาวะผูนําดานมนุษยสัมพันธของ

ผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามหลักสังคหวัตถุ ๔ ผลการวิจัยพบวาบุคลากรมีความคิดเห็นตอภาวะ

ผูนําดานมนุษยสัมพันธของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาตามหลักสังคหวัตถุ ๔ โดยรวมอยูในระดับ

มาก เมื่อพิจารณาในแตละดาน คือ ดานทาน ดานปยวาจา ดานอัตถจริยา และดานสมานัตตตา

๙๕ พระครูใบฎีกาสุวินท สุวิชาโน (สอนเล็ก), “ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการการศึกษาตาม

แนววิถีพุทธ : กรณีศึกษาโรงเรียนวัดชมนิมิตร อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ) , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓).

Page 75: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๑

พบวา บุคลากรมีความคิดเห็นตอภาวะผูนําดานมนุษยสัมพันธของผูบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาอยูใน

ระดับมากทุกดาน๙๖

พระมหานิรันดร สุทฺธิเมตฺติโก (จะมะณี) ไดวิจัยเรื่อง การบริหารงานบุคคลในโรงเรียน

มัธยมศึกษา เขตบางกอกนอย สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๓ ผลการวิจัย

พบวา สภาพการบริหารงานบุคคล โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา

ดานการสรรหาบุคลากร ดานการบํารุงรักษาบุคลากร ดานการพัฒนาบุคลากร ดานการประเมินผล

การปฏิบัติงานและดานการพิจารณาใหบุคลากรพนจากงาน มีสภาพการปฏิบัติอยูในระดับปานกลาง

เชนกัน ยกเวน ดานการวางแผนอัตรากําลัง มีสภาพการปฏิบัติอยูในระดับมากแนวทางในการ

พัฒนาการบริหารงานบุคคล คือ ควรมีการวางแผนอัตรากําลังที่เหมาะสมกับตําแหนงงาน เปดโอกาส

ใหครูมีสวนรวมในการสรรหาบุคลากร มีการสงเสริมขวัญกําลังใจแกบุคลากรที่หลากหลาย มีการ

สงเสริมดานการฝกอบรมสัมมนาทางวิชาการ คุณธรรม จริยธรรมและปฏิบัติธรรม มีการประเมินผล

การปฏิบัติงานตามระบบคุณธรรมและระเบียบปฏิบัติ และในการพิจารณาใหพนจากงานนั้นให

พิจารณาถึงระเบียบของสถานศึกษาเปนหลัก๙๗

พระมหาลําพึง ธีรปฺโญ ไดวิจัยเรื่องการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียน

นวมินทราชูทิศมัชฌิม จังหวัดนครสวรรค ผลการวิจัยพบวา บุคลากรของโรงเรียนนวมินทราชูทิศ

มัชฌิมมีความคิดเห็นตอการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยภาพรวมอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ย

เทากับ ๓.๘๘) เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา มีความคิดเห็นตอการบริหารงานตามหลักธรรมาภิ

บาล อยูในระดับมากทุกดาน ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของเจาหนาที่ตอการบริหารงานตาม

ธรรมาภิบาลของโรงเรียนนวมินทราชูทิศมัชฌิม จังหวัดนครสวรรค จําแนกตามบุคลากรที่ มีเพศ

ตางกัน ที่ มีอายุตางกันมีตําแหนงแตกตางกัน ประสบการณการทํางานตางกัน และมีระดับการศึกษา

ตางกัน พบวา มีความคิดเห็นตอการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยภาพรวมและรายดาน ไม

แตกตางกันทุกดานจึงปฏิเสธสมติฐานที่ตั้งไว ศึกษาปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะตอการ

บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนนวมินทราชูทิศมัชฌิม จังหวัดนครสวรรค ดานหลักนิติ

ธรรม ผูบริหารไมควรเลือกใชงาน เลือกปฏิบัติในแตละบุคคล ผูบริหารควรบริหารงานดวยหลักเหตุผล

ดานหลักคุณธรรม ควรยกเลิกระบบอุปถัมภ และพิจารณาตามผลงานและความสามารถ หลักความ

โปรงใส ควรมีการตรวจสอบไดในทุกกรณี ควรมีการบริหารงานอยางโปรงใส ไมมีการทุจริตคอรัปชั่น

๙๖พระมหานิรันดร สุทฺธิเมตฺติโก (จะมะณี), “การบริหารงานบุคคลในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขต

บางกอกนอย สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๓”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบั ณฑิต, การบริหารการศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔).

๙๗ พระมหาลําพึง ธีรปฺโญ, “การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนนวมินทราชูทิศมัชฌิม จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ), (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓).

Page 76: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๒

ดานหลักมีสวนรวม ควรใหบุคลากรหรือขาราชการมีสวนรวมในการเลื่อนตําแหนงกับผูบังคับบัญชา

ดานหลักความรับผิดชอบ ควรที่จะมอบหมายงานในหนาที่ความรับผิดชอบใหชัดเจน และเหมาะสม

กับตําแหนงงาน ควรชวยกันรับผิดชอบทรัพยสินของหนวยงาน ดานหลักความคุมคา ผูบริหารควรยึด

หลักการบริหารธรรมาภิบาลอยูเสมอ การปฏิบัติงานควรยึดหลักความไมประมาทเพื่อความปลอดภัย

ในชีวิตและทรัพยสิน๙๘

พระปรเมศวร ปฺญาวชิโร (แจมแจง) ไดวิจัยเรื่องความคิดเห็นของครูผูสอนตอการ

บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในเขตอําเภอบรรพตพิสัย

จังหวัดนครสวรรค ผลการวิจัยพบวา ระดับความคิดเห็นของครูผูสอนตอการบริหารงานตามหลักธรร

มาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาโดยรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายดาน

พบวา บุคลากรมีความคิดเห็นตอการบริหารงานในดานหลักความคุมคา มีคาเฉลี่ยสูงสุด สวนในดาน

ดานหลักนิติธรรม มีคาเฉลี่ยต่ําสุด การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นวาการบริหารงานตามหลักธรร

มาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในเขตอําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค โดย

จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ไดแก เพศ , อายุ , สถานภาพ, วุฒิการศึกษา, อายุ, ราชการ, รายได

พบวา ปจจัยสวนบุคคลที่ทําใหความคิดเห็นวาการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหาร

สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในเขตอําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค แตกตางกัน ซึ่งเปนไป

ตามสมมติฐานที่ตั้งไว ไดแก เพศ , วุฒิการศึกษา, อายุราชการ และรายได แนวทางพัฒนา

สถานศึกษาของผูบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในเขตอําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค

ถานําหลักธรรมาภิบาลมาใชในการบริหาร จะทําใหการบริหารงานนั้นสําเร็จลุลวงไปดวยดี เพราะ

หลักธรรมาภิบาลยึดหลักการทํางานที่มีหลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักความ

รับผิดชอบ หลักการมีสวนรวม และหลักความคุมคา นํามาใชในการบริหาร ซึ่งเปนการบริหารการ

ปกครองที่ดีที่ทุกๆ สวนเห็นวาเปนสิ่งที่ดีงาม เหมาะที่จะนํา มาใชในการจัดการบริหารงาน ทําให

หนวยงานนั้นสามารถพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพได๙๙

พระพัฒนศักดิ์ ฐิตวิริโย (ทวีราง) ไดวิจัยเรื่องการบริหารงานโรงเรียนมัธยมศึกษาตาม

หลักธรรมาภิบาล ในเขตอําเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวน

ใหญเปนเพศหญิง มีตําแหนงหนาที่เปนครูผูสอน มีวุฒิการศึกษาอยู ในระดับปริญญาตรี มีรายได/ตอ

๙๘ พระมหาลําพึง ธีรปฺโญ, “การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนนวมินทราชูทิศ

มัชฌิม จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ), (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓).

๙๙ พระปรเมศวร ปฺญาวชิโร (แจมแจง), “ความคิดเห็นของครูผูสอนตอการบริหารงานตามหลักธรร มาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในเขตอําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ), (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓).

Page 77: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๓

เดือน ๑๐,๐๐๐ – ๒๐,๐๐๐ บาท มีอายุ ๓๐ – ๓๙ ป สถานภาพสมรส มีประสบการณสอนต่ํากวา

๕ ป บุคลากรมีความคิดเห็นตอการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยภาพรวมอยูในระดับมาก

เมื่อพิจารณาในแตละดานพบวาบุคลากรมีความคิดเห็นตอการบริหารงานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด ในดาน

หลักคุณธรรม ดานหลักการมีสวนรวม สวนที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด ในดานหลักนิติธรรม๑๐๐

ดิเรก สายศิริวิทย ทําการวิจัยเรื่องบทบาทผูบริหารในการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

ของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา ๖ ผลการวิจัยพบวา ระดับบทบาท

ของผูบริหารในการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ทั้ง ๕ หลักการ คือ ๑) หลักการกระจายอํานาจ

๒) หลักการมีสวนรวม ๓) หลักการคืนอํานาจการจัดการศึกษาใหแกประชาชน ๔) หลักการบริหาร

ตนเอง ๕) หลักการตรวจสอบและถวงดุล สวนใหญมีบทบาทอยูในระดับมาก เมื่อเปรียบเทียบบทบาท

จําแนกตามขนาดโรงเรียน พบวา โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญพิเศษ

บทบาทในระดับมาก สวนโรงเรียนขนาดใหญมาก บทบาทอยูในระดับมากที่สุด๑๐๑

อรทัย แสงทอง ไดศึกษาเรื่อง หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารสถานศึกษาสังกัด

กรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตตลิ่งชันผลการวิจัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวน

ใหญดํารงตําแหนงเปนครูผูสอนและเปนเพศหญิง มีการศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี มีอายุ ๕๐ ปขึ้น

ไป และมีระยะเวลาในการดํารงตําแหนง ๒๐ ปขึ้นไป การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของ

ผูบริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร พบวา โดยภาพรวมและรายดาน

อยูในระดับมากที่สุด สวนครูผูสอนในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร พบวา

ครูผูสอนมีการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก การ

เปรียบเทียบการใชหลักธรรมาภิบาล ระหวางผูบริหารสถานศึกษาและครูผูสอนในสถานศึกษา สังกัด

สํานักงานเขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร พบวา มีการใชหลักธรรมาภิบาลแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ

ทางสถิติที่ระดับ .๐๑ การนําหลักการและแนวการบริหารสถานศึกษาที่เหมาะสม และสอดคลองกับ

หลักธรรมาภิบาล พบวา ผูบริหารสถานศึกษา๑๐๒

บุญมี บุญเอี่ยม ไดทําการวิจัยเรื่อง “ ศึกษาการนําอิทธิบาท ๔ ไปใชในการทํางาน ศูนย

ควบคุมการบินภูเก็ต บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด” ผลการศึกษาพบวา พนักงาน ศูนย

๑๐๐ พระพัฒนศักดิ์ ฐิตวิริโย (ทวีราง), “การบริหารงานโรงเรียนมัธยมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ใน

เขตอําเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔).

๑๐๑ ดิเรก สายศิริวิทย , “บทบาทของผูบริหารในการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา ๖”, วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร , ๒๕๔๕).

๑๐๒ อรทัย แสงทอง, “หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตตลิ่งชัน ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐประศาสนศาสตร , (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑).

Page 78: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๔

ควบคุมการบินภูเก็ตมีการนําหลักอิทธิบาท ๔ ไปใชในการท างานใหประสบผลสําเร็จโดยอาศัย

แรงจูงใจภายนอกการนําอิทธิบาท ๔ ไปใชคือตองสรางฉันทะใหเกิดขึ้นในใจเปนเบื้องตนกอนเพื่อให

เกิดความชอบที่จะทํางานนั้นๆ จากนั้นตองใชวิริยะเพื่อทีจ่ะอดทนตออุปสรรคตางๆ ที่จะทําใหงานนั้น

บรรลุเปาหมายในขณะทํางานตองมีจิตตะ คือความตั้งใจและเอาใจใสในงานมีความรับผิดชอบในงาน

ที่ทําและสุดทายใชวิมังสา คือการพิจารณาไตรตรองงานที่ทําอยางรอบคอบมีการตรวจตราสอบ

ขอบกพรองเพ่ือใหงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด๑๐๓

พัชนี แสงนิล ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “ครูและหลักธรรมของครูตามแนวพุทธปรัชญา”

ผลการวิจัยพบวา แนวคิดของพุทธปรัชญาตั้งอยูบนพื้นฐานของสัจธรรมมีจุดสนใจอยูที่การพัฒนาคน

และการรูเทาทันธรรมชาติอันแทจริงของมนุษย จึงมีวิธีการและแนวคิดที่สอดคลองกับความเปนจริง

ในชีวิตของบุคคลและสังคม สามารถนําหลักการมาประยุกตใชกับครูซึ่งมีบทบาทที่สําคัญในการ

พัฒนาบุคคลและสังคมไดอยางเหมาะสมสําหรับหลักธรรมในการพัฒนาตนของครูเปนหลักธรรมที่

สงเสริมคุณภาพของครูในดานคุณธรรมความรูและวิชาการใหสามารถทําหนาที่ครูไดอยางมี

ประสิทธิภาพ ไดแก สัปปุริสธรรม ๗ อารยวัฒิ ๕ อิทธิบาท ๔ ขันติโสรัจจะ สัมมาทิฎฐิและพรหม

วิหาร ๔๑๐๔

ชาตรี แนวจําปา ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติ

หนาที่ ของบุคลากรสํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบวา

บุคลากรมี การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ไดแกดานฉันทะ ดานวิริยะ ดานจิตตะและดานวิมังสาในการ

ปฏิบัติหนาที่ โดยภาพรวมอยูในระดับมากเมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา การประยุกตใชอิทธิบาท

๔ ดานฉันทะ ดานวิริยะ และดานจิตตะ ในการปฏิบัติหนาที่อยูในระดับมากสําหรับการประยุกตใช

อิทธิบาท ๔ ดาน วิมังสาในการปฏิบัติหนาที่อยูในระดับปานกลาง บุคลากรที่มีเพศ ระดับการศึกษา

และตําแหนงที่ ตางกันมีการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติหนาที่โดยภาพรวมไมแตกตางกัน

สวนบุคลากรที่มี อายุและรายไดตอเดือนตางกันมีการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ โดยภาพรวมแตกตางกัน

สรุปไดวาทุกคน ตองใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะสงผลใหเปนผูที่มีความรัก ความพอใจใน

งาน ปฏิบัติงาน ดวยความพากเพียรบากบั่น ดวยความเอาใจใสในงาน และมีการตรวจสอบ

ความสําเร็จในงานอยูเสมอ๑๐๕

๑๐๓ บุญมี บุญเอี่ยม, “ ศึกษาการนําอิทธิบาท ๔ ไปใชในการท างานศูนยควบคุมการบินภูเก็ตบริษัท วิทยุ การบินแหงประเทศไทย จํากัด” , วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต, ( บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยทักษิณ ๒๕๔๔) .

๑๐๔ พัชนี แสงนิล, “ครูและหลักธรรมของครูตามแนวพุทธปรัชญา ”, วิทยานิพนธคุรุศาสตรมหาบัณฑิต, (กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๓).

๑๐๕ ชาตรี แนวจําปา , “ การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติหนาที่ของบุคลากรสํานักปองกันและ บรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร” , วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต , ( สาขารัฐประศาสนศาสตร), (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๒).

Page 79: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๕

สรุปไดวา การบริหารจัดการโรงเรียนมัธยมศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพ มีความสําคัญอยาง

มาก เนื่องจากเปนงานที่มีผลกระทบตอคนในองคกรและนักเรียนเปนอยางยิ่งซึ่งการทํางานที่มี

ประสิทธิภาพที่ ดีนั้น ตองนําเอาหลักอิทธิบาท ๔ มาใชซึ่งจะตองนํามาประยุกตใหเขากับองคประกอบ

หลายประการ เชน ความความรูความสามารถหรือทักษะในการทํางานของผูบริหาร การบรรลุ

วัตถุประสงคของงานและบรรลุวัตถุเปาหมายขององคการตองอาศัยหลักประสิทธิภาพในดานตางๆ

รวมทั้งมีการใชทรัพยากรใหเกิดความคุมคา โดยลงทุนลงแรงนอยแตไดผลสําเร็จ ผูวิจัยเห็นวาสิ่งหนึ่ง

ที่จะมีสวนเสริมสรางประสิทธิภาพของการบริหารจัดการไดดี ก็คือ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

โดยเฉพาะหลักอิทธิบาท ๔ ซึ่งหากไดมีการประยุกตใชในการบริหารจัดการแลวก็จะกอใหเกิด

ประสิทธิภาพยิ่งๆ ขึ้นไปในองคกรได จากการทบทวนงานวิจัยที่ เกี่ยวของในเรื่องประสิทธิภาพนั้น

ผูวิจัยไดเห็นวามีปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพหลายๆ ดานไดแก ความมีมนุษยสัมพันธ ความ

เขาใจในบทบาทและหนาที่การเอาจริงเอาจังในการปฏิบัติหนาที่ การเปนผูที่ มีความรูความชํานาญ

ความพึงพอใจในการทํางาน ความกาวหนาของงาน เงินเดือน การเลื่อนชั้น บรรยากาศที่ดีในหอง

ทํางาน ความมั่นคงของงาน ความรวมมือของทุกคนในหนวยงาน ความเอาใจใสของผูบังคับบัญชา

ความเขาใจกันระหวางลูกนองและหัวหนา ความสามัคคีของผูรวมงาน เปนตน สิ่งเหลานี้ เปน

องคประกอบทั้งภายในและภายนอกที่เปนตัวทําใหประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเกิดขึ้นในองคกร

ได จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของในเรื่องของการบริหารจักการโรงเรียน นั้นผูวิจัยเห็นวา การ

ดําเนินงานการบริหารจัดการงานวิชาการตามแนวทางโรงเรียนของผูบริหารโรงเรียน มักเกิดปญหาใน

ดานการพัฒนากระบวนการเรียนรู การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาการ

ประสานความรวมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่น การสงเสริมความรู ดานวิชาการแก

ชุมชน และการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการสงเสริมและสนับสนุนงานวิชานการแก

บุคคลอื่น เปนตน โดยรวมแลวการบริหารจัดการควรคํานึงถึงการใชศาสตรและศิลปนําเอาทรัพยากร

บริหาร (Administrative resource) เชน คน เงิน วัสดุสิ่งของ และการจัดการมาประกอบการตาม

กระบวนการบริหาร (Process of administration) ใหบรรลุวัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมี

ประสิทธิภาพ จากงานการวิจัยที่เกี่ยวของจะเห็นไดวาสถานศึกษาสวนใหญใหความสําคัญของการ

บริหารสถานศึกษา ทั้ง ๔ ดาน คือ การบริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล

และการบริหารงานทั่วไป และมีปญหาการบริการจัดการ โรงเรียน ตามขนาดขององคกรมากนอยแต

ละโรงเรียนตามลําดับ

Page 80: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๖

๒.๖ กรอบแนวคิดในการวิจัย งานวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย” ผูวิจัยไดทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่

เกี่ยวของ โดยนํามากําหนดเปนกรอบแนวคิดการวิจัย ( Conceptual Framework ) ประกอบดวย

ตัวแปรตน (Independent Variables) และตัวแปรตาม (Dependent Variables) ดังนี้ ตัวแปรตน

(Independent Variables) คือ ปจจัยสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ วุฒิ

การศึกษา ประสบการณการสอน ตําแหนง ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ การ

ประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลาย

ตัวแปรตน ตัวแปรตาม

(Independent Variables) (DependentVariables)

แผนภูมิภาพที่ ๒.๑ กรอบแนวคิดในการวิจัย

ขอมูลสวนบุคคลของ

ผูบริหาร ครู นักเรียน

- เพศ

- อาย ุ

- วุฒิการศึกษา

- ประสบการณในการสอน

- ตําแหนง

การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔

เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร

จัดการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน

ตามหลักอิทธิบาท ๔

๑. ดานฉันทะ ความพอใจ

๒. ดานวิริยะ ความเพียร

๓. ดานจิตตะ ความเอาใจใส

๔. ดานวิมังสา ความรอบคอบ

Page 81: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

บทที่ ๓

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน” มีขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย ดังนี้

๓.๑ รูปแบบการวิจัย

๓.๒ ประชากรและกลุมตัวอยาง

๓.๓ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

๓.๔ การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

๓.๕ การเก็บรวบรวมขอมูล

๓.๖ การวิเคราะหขอมูล

๓.๗ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

๓.๑ รูปแบบการวิจัย

การวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน

กีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน” เปนการวิจัยเชิ งปริมาณ

(Quantitative Research) วิ จั ย เชิ ง สํ า ร ว จ (Survey Research) โ ด ย ใช แ บ บ ส อ บ ถ า ม

(Questionnaire)

๓.๒ ประชากรและกลุมตัวอยาง ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนดประชากรและกลุมตัวอยางดังนี้

๑. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอนในสถานศึกษา และ

นักเรียนโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน จํานวน ๑๔๓ คน ๒. กลุมตัวอยาง ผูวิจัยไดทําการสุมมาจากประชากร โดยหาขนาดของกลุมตัวอยางจากการใชสูตรคํานวณ

ของ ทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่น ๐.๐๕ หรือรอยละ ๙๕ ดังนี้

Page 82: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๘

สูตรคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางของ ทาโร ยามาเน1 (Taro Yamane) ในกรณีที่ทราบจํานวนประชากร คือ n = N 1 + N(e) 2 โดยที่ n คือ จํานวนกลุมตัวอยาง N คือ จํานวนประชากรทั้งหมด e คือ เปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อนจากการสุมตัวอยาง เมื่อ N = 223 e = 0.05 ดังนั้น n = 223 = 143 1 + 223(.05)2

จากการใชสูตรคํานวณของ ทาโร ยามาเน (Taro Yamane) โดยมีประชากรเปนผูบริหาร

ครู และนักเรียนโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน จํานวน ๒๒๓ รูป/คน จึงไดขนาดกลุมตัวอยาง จํานวน ๑๔๓ รูป/คน แลวจึงแบงจํานวนขนาดของกลุมตัวอยางที่กําหนดไวออกเปน ๓ สวน ตามสัดสวนของผูบริหาร ครู และนักเรียน เพื่อมิใหการสุมตกไปอยูกับกลุมใดกลุมหนึ่ง หรือไมกระจายใหเปนไปตามสัดสวนของประชากรที่ควรจะเปน จากนั้นจึงใชการสุมแบบงายๆ (Simple Random Sampling) เพื่อสุมตัวอยางผูบริหาร ครู และนักเรียน ตามขนาดของกลุมตัวอยางที่ไดจากการคํานวณ โดยใชสูตรการหาจํานวนกลุมตัวอยาง ดังนี้

จํานวนกลุมตัวอยาง = จํานวนกลุมตัวอยางทั้งหมด x (คูณ) จํานวนกลุมประชากรแตละกลุม ÷ (หาร) ดวยกลุมประชากรทั้งหมด ดังตารางที่ ๓.๑

ตารางที่ ๓.๑ การแบงประชากรและกลุมตัวอยาง

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

ที ่ ประชากร จํานวน กลุมตัวอยาง

๑. ผูบริหาร ๑๗ ๑๑

๒. ครู ๓๘ ๒๔

๓. นักเรียน (ม.ปลาย) ๑๖๘ ๑๐๘

รวม ๒๒๓ ๑๔๓

1Taro Yamane, อางถึง ใน สุทธนู ศรีไสย , 2551 : 38 ; อางอิงจาก Taro Yamane. 1973 :

161-163.

Page 83: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๖๙

๓.๓ เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนแบบสอบถามที่ผูวิจัยจะสรางขึ้นเอง จากแนวคิด ทฤษฎี ที่

ไดทบทวนมาแลว แบงแบบสอบถามออกเปน ๓ ตอน คือ ตอนที่ ๑ ขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม ตามลักษณะของคําถามเปนแบบ

ตรวจสอบรายงาน (Check List) โดยถามเกี่ยวกับเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณการสอน และตําแหนง

ตอนที่ ๒ แบบสอบถามเกี่ยวกับทัศนคติของผูบริหาร ครู และนักเรียนที่มีตอการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ตามที่กําหนดไวในขอบเขตการวิจัยดานเนื้อหา

ตอนที่ ๓ แบบสอบถามปลายเปด (Open-end question) เปนการเปดโอกาสใหผูตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะอยางอิสระ ๓.๔ การสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

ผูวิจัยไดดําเนินการสรางเครื่องมือในการวิจัย โดยศึกษาจากเอกสารวิชาการและงานวิจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน โดยมีขั้นตอน ดังนี้

๑. ศึกษาเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๒. กําหนดกรอบแนวคิดในการสรางเครื่องมือ

๓. สรางเครื่องมือจากกรอบเนื้อหาในคําจํากัดความของศัพทที่ใชในการวิจัย

๔. เสนอรางผูทรงคุณวุฒิพิจารณาตรวจสอบคาความเที่ยงตรง และความถูกตองของเนื้อหาไดคาความเที่ยงตรง ๐.๘ – ๑.๐ โดยการหาคาดัชนีความสอดคลองตามวัตถุประสงค IOC (Index of Item-Objective Congruence) ไดคาความเที่ยงตรง ๐.๘ – ๑.๐ จํานวน ๕ ทาน

๕. นําเครื่องมือที่ไดผานการตรวจสอบแลวไปทดลองใช (Try out) ที่โรงเรียนปทุมรัตตพิทยาคม ตําบลบัวแดง อําเภอปทุมรัตต จังหวัดรอยเอ็ด เปนจํานวน ๓๐ ชุด เพื่อหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใชสู ตรสัมประสิทธิ์ แอลฟา (Alpha Coefficients) ตามวิธีของ ครอนบาค (Cronbach) ไดคาที ่๐.๙๒๘

๖. นําแบบสอบถามไปใชกับกลุมตัวอยางเปาหมาย จํานวน ๑๔๓ ชุด

๗. ลักษณะและเกณฑการใหคะแนนเปนมาตราสวนประเมินคาของคะแนนมี ๕ ระดับ โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

ระดับ ๕ หมายถึง ระดับทัศนคติมากที่สุด

ระดับ ๔ หมายถึง ระดับทัศนคติมาก

ระดับ ๓ หมายถึง ระดับทัศนคติปานกลาง

ระดับ ๒ หมายถึง ระดับทัศนคตินอย

ระดับ ๑ หมายถึง ระดับทัศนคตินอยที่สุด

Page 84: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๐

๓.๕ การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี ้๑. ผูวิจัยติดตอหนวยงานหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร

การศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพื่อทําหนังสือถึงผูอํานวยการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน เพื่อขออนุญาตเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม

๒. ผูวิจัยสงแบบถามที่สรางเสร็จเรียบรอยแลวไปยังโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน โดยผูวิจัยเก็บขอมูลดวยตนเองแลวเก็บแบบสอบถามกลับคืนมาดวยตนเอง

๓. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามเพ่ือนํามาวิเคราะหขอมูลทางสถิติตอไป

๓.๖ การวิเคราะหขอมูล

วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร ดังนี ้๑. วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามโดยใชวิธีหาคาความถี่

แลวสรุปออกมาเปนคารอยละ ๒. วิเคราะหขอมูล ทัศนคติของคณาจารยและเจาหนาที่ที่มีตอการประยุกตใชอิทธิบาท ๔

เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน เพื่อหาคาเฉลี่ย (x) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

๒.๑ แปลความหมายของคาเฉลี่ย โดยยึดหลักเกณฑ ดังนี ้

คะแนนเฉลี่ย ๑.๐๐ – ๑.๔๙ แปลความวา ความคิดเห็นนอยที่สุด คะแนนเฉลี่ย ๑.๕๐ – ๒.๔๙ แปลความวา ความคิดเห็นนอย คะแนนเฉลี่ย ๒.๕๐ – ๓.๔๙ แปลความวา ความคิดเห็นปานกลาง คะแนนเฉลี่ย ๓.๕๐ – ๔.๔๙ แปลความวา ความคิดเห็นมาก คะแนนเฉลี่ย ๔.๕๐ – ๕.๐๐ แปลความวา ความคิดเห็นมากที่สุด

๓. วิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบระดับทัศนคติของผูบริหาร ครู และนักเรียน จําแนกตาม

ปจจัยพื้นฐานสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม หาคาความแปรปรวนทางเดียว (One Way

ANOVA)

๔. วิเคราะหขอมูลทัศนคติของผูบริหาร ครู และนักเรียน ที่มีตอการประยุกตใชอิทธิบาท

๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัด

ขอนแกน

Page 85: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๑

๓.๗ สถิติที่ใชในการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใชสถิติการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาคาเฉลี่ยรอยละดวยโปรแกรมสําเร็จรูป

บริการทางสังคมศาสตรใชอยางแพรหลายในทางสถิติ ดังตอไปนี้

๑. สถิติเชิงพรรณนา เปนคาสถิติพื้นฐานเกี่ยวกับคาความถี่รอยละ (Percentage)

คาเฉลี่ย (Mean) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

๒. สถิติ เชิงอนุมานเพื่อหาคา t-test และ F-test (One Way ANOVA Analysis of

Variance) ใชทดสอบเปรียบเทียบคาเฉลี่ยตัวแปรอิสระที่มากกวาสองกลุมอยางมีนัยสําคัญสถิติ

๐.๐๕

๓. การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามปลายเปด (Open ended Question) วิเคราะห

โดยใชเทคนิคการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis Technique) ประกอบบริบทนําเสนอเปน

ความเรียง ประกอบตาราง โดยการแจกแจงความถี่ของผูตอบแบบสอบถามปลายเปด

Page 86: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๒

บทที่ ๔

ผลการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้ศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ผูวิจัยใชกลุมตัวอยางในพื้นที่จํานวน ๑๔๓ คน ไดรับกลับคืนมาทั้ง ๑๔๐ ฉบับ คิดเปนรอยละ ๙๗.๙ งานวิจัยเรื่องนี้เปนการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research) ผูศึกษาไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลตามลําดับ ดังตอไปนี้

๔.๑ ผลการศึกษาสถานภาพของผูตอบแบบสอบถามเพื่อหาคาความถี่ (Frequency) และคารอยละ (Percentage)

๔.๒ ผลการศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ประกอบดวย ๒ ปจจัย ไดแก ตัวแปรตน และตัวแปรตาม จํานวน ๔ ดาน เพื่อหาคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

๔.๓ ผลการเปรียบเทียบการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จําแนกตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณการสอน โดยใชการวิเคราะห T-test และการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

๔.๔ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

Page 87: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๓

ผลการศึกษา ๔.๑ ผลการศึกษาสถานภาพ คาความถี่และคารอยละของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

ตารางที่ ๔.๑ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม

สถานภาพ จํานวน รอยละ

๑. เพศ

ชาย 76 54.3

หญิง 6๓ 45.๗

๒. อาย ุ

ต่ํากวา ๒๐ ป 129 92.1

๒๐ – ๓๐ ป 5 3.6

๓๑ – ๔๐ ป 5 3.6

๔๑ – ๕๐ ป 1 ๐.7

๕๐ ปขึ้นไป ๐ ๐

๓. ระดับการศึกษา

ต่ํากวาปริญญาตรี 124 88.6

ปริญญาตรีหรือเทียบเทา 8 5.7

สูงกวาปริญญาตรี ๘ 5.๗

๔. ประสบการณในการสอน

ต่ํากวา ๕ ป 28 20.0

๖ - ๑๐ ป 5 3.6 ๑๑ – ๒๐ ป 106 75.7

๒๑ ปขึ้นไป 1 ๐.7 ๕. ตําแหนง

ผูบริหารสถานศึกษา 4 2.9 ครูผูสอนในสถานศึกษา 4 2.9

นักเรียน 13๒ 9๔.๓ รวม 140 100.0

จากตารางที่ ๔.๑ กลุมตัวอยางที่ทํางานสํารวจสวนใหญมีสถานภาพเปนชายจํานวน ๗๖

คน คิดเปนรอยละ ๕๔.๓ เปนหญิงจํานวน ๖๓ คน คิดเปนรอยละ ๔๕.๗ สวนใหญมีอายุต่ํากวา ๒๐

Page 88: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๔

ปจํานวน 129 คน คิดเปนรอยละ 92.1 ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 124 คน คิด

เปนรอยละ 88.6 ดานประสบการณการในการสอนอยูในชวง ๑๑ – ๒๐ ป จํานวน 106 คน คิดเปน

รอยละ 75.7 ตําแหนงกลุมตัวอยางเปนนักเรียน ๑๓๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๔.๓ ตามลําดับ

๔.๒ ผลการศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จํานวน ๔ ดาน เพื่อหาคาเฉลี่ย (x�) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ตารางที่ ๔.๒ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ภาพรวม ๔ ดาน

อิทธิบาท ๔ สภาพการปฏิบัติงาน ( n =๑๔๐ )

x� S.D. ระดับ อันดับ ๑. ดานฉันทะ (ความพอใจ) 3.6๕ ๐.4๘ มาก ๓ ๒. ดานวิริยะ (ความเพียร) 3.56 ๐.49 มาก ๔ ๓. ดานจิตตะ (ความเอาใจใส) 4.28 ๐.8๙ มาก ๑ ๔. ดานวิมังสา (ความรอยคอบ) 4.2๔ ๐.5๗ มาก ๒

ภาพรวม 3.93 ๐.48 มาก

จากตารางที่ ๔.๒ ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ภาพรวมอยูในระดับมาก (x�= ๓.๙๓) เมื่อพิจารณาเปนดาน พบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนทุกดานอยูในระดับมากโดยเรียงจากมากไปหานอย คือ ดานจิตตะ(x�=4.2๘) รองลงมา คือ ดานวิมังสา (x�= ๔.๒๔) ดานฉันทะ (x�=3.6๕) และสุดทายดานวิริยะ (x�= 3.56) ตามลําดับ

Page 89: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๕

ตารางที่ ๔.๓ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ

ดานฉันทะ S.D. ระดับ อันดับ ๑. ปฏิ บั ติ งานด วยความสมั ครใจและมุ งห วั ง

ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอ่ืนใด

4.14

๐.71

มาก

๘ ๒. มีความสุข สนุก และจริงจังกับงานที่ปฏิบัติอยู

เสมอแมงานจะมีปญหาอยางมาก

4.05

๐.76 มาก ๗ ๓. ยินดีรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนรวมงานและ

พรอมปฏิบัติตาม

4.31

๐.7๖ มาก ๑ ๔. มีความเต็มใจในการชวยเหลือเพื่อนรวมงานใน

หนวยงาน

4.29

๐.80 มาก ๒ ๕. สมัครใจที่จะปฏิบัติงานอยางสุดความสามารถแม

งานนั้นจะเหนือความสามารถ

4.11

๐.๘๐ มาก ๖ ๖. พอใจที่จะปฏิบัติงานอยางเต็มที่ โดยไมหวัง

ผลตอบแทน

4.14

๐.84 มาก ๔ ๗. ยินดีรับผิดชอบและพรอมใหคําแนะนํา ปรึกษา

และรวมแกปญหาของงานนั้นๆ ดวยความเต็มใจ

4.13

๐.81 มาก ๕ ๘. รักที่จะปฏิบัติและพัฒนางานอยูตลอดเวลาไม

หยุดนิ่งเพื่อใหผลงานที่ไดรับมีประสิทธิผล

4.16

๐.8๒ ๓

รวม 3.6๕ ๐.4๘ มาก จากตารางที่ ๔.๓ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ ภาพรวมอยูในระดับมาก (x�=๓.๖๕) พบวา ขอที่มีความคิดเห็นในระดับมาก ๓ อันดับเรียงจากมากไปหานอย คือ ยินดีรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนรวมงานและพรอมปฏิบัติตาม (x�=4.31) มีความเต็มใจในการชวยเหลือเพื่อนรวมงานในหนวยงาน ( x�=4.29) รักที่จะปฏิบัติและพัฒนางานอยูตลอดเวลาไมหยุดนิ่งเพื่อใหผลงานที่ไดรับมีประสิทธิผล ( x�=4.16) และขอที่มีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ ปฏิบัติงานดวยความสมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอื่นใด (x�=4.14) ตามลําดับ เมื่อพิจารณาในภาพรวมพบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ อยูในระดับที่ ๓

Page 90: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๖

ตารางที่ ๔.๔ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ

ดานวิริยะ S.D. ระดับ อันดับ

๑. ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายไดตอเนื่องยาวนานไมเบื่อหนาย 3.95 ๐.83 มาก ๗

๒. ปฏิบัติงานไดสม่ําเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก 3.93 ๐.9๒ มาก ๘

๓. ปฏิบัติงานทันทีที่ ไดรับมอบหมาย ไมยอทอตออุปสรรค และไมละทิ้งงาน 4.09 ๐.7๙ มาก ๓

๔. ปฏิ บั ติ งานด วยความเพี ยรแม งานนั้ นจะมีอุปสรรคและตองใชระยะเวลายาวนาน 4.04 ๐.84 มาก ๕

๕. มานะบากบั่นไมเกียจครานตอการปฏิบัติงานโดยยึดหลักความสําเร็จของงานเปนที่ตั้ง 4.09 ๐.7๖ มาก ๔

๖. ขยัน อดทน และตั้งใจฝกฝน เพื่อพัฒนาทักษะฝมือใหเกิดความชํานาญ 4.26 ๐.8๑ มาก ๑

๗. ทุมเทเวลาและความสามารถในการปฏิบัติงานแมเปนงานที่ไมถนัด ๔.๐๑ ๐.๗๘ มาก ๖

๘. พยายามและหมั่นเพียรที่จะหาประสบการณในการปฏิบัติงานใหเพิ่มพูน 4.14 ๐.80 มาก ๒

รวม 3.56 ๐.49 มาก จากตารางที่ ๔.๔ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ ภาพรวมอยูในระดับมาก (x�=๓.๕๖) พบวา ขอที่มีความคิดเห็นในระดับมาก ๓ อันดับเรียงจากมากไปหานอย คือ ขยัน อดทน และตั้งใจฝกฝน เพื่อพัฒนาทักษะฝมือใหเกิดความชํานาญ (x�=๔.๒๖) พยายามและหมั่นเพียรที่จะหาประสบการณในการปฏิบัติงานใหเพิ่มพูน ( x�=๔.๑๔) ปฏิบัติงานทันทีที่ ไดรับมอบหมาย ไมยอทอตออุปสรรค และไมละทิ้งงาน ( x�=๔.๐๙) และขอที่มีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ ปฏิบัติงานไดสม่ําเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก ( x�=๓.๙๓) เมื่อพิจารณาในภาพรวมพบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ อยูในระดับที่ ๔

Page 91: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๗

ตารางที่ ๔.๕ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ

ดานจิตตะ S.D. ระดับ อันดับ ๑. เอาใจใสไมปลอยใจใหฟุงซาน ในขณะที่ปฏิบัติงาน 4.61 ๐.๗5 มาก ๑ ๒. ใสใจ ใฝรู ในสิ่งที่เกี่ยวของกับงานอยูเปนนิตย ทั้งใน

และนอกเวลางาน 4.19 ๐.75 มาก ๖ ๓. ตั้งจิตใจแนวแนมั่นคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่อง

อื่นจนกวางานจะสําเร็จ 4.16 ๐.74 มาก ๘ ๔. รับรูและรับผิดชอบในงานอยางเต็มที่ แมงานจะมี

อุปสรรค 4.17 ๐.7๓ มาก ๗ ๕. เอาใจใสในงานและเพ่ือนรวมงาน เมื่อพบปญหา

ก็พรอมที่จะแกไข 4.20 ๐.72 มาก ๕ ๖. ตั้ งมั่ นและตั้ ง ใจจริ งที่ จะปฏิ บั ติ งาน ให ป ระสบ

ความสําเร็จตามเปาหมาย 4.28 ๐.72 มาก ๓ ๗. มีจิตใจออนโยนสามารถปฏิบัติงานใหสําเร็จไดโดยไม

ใชความรุนแรงและไมเกิดความขัดแยง 4.26 ๐.8๓ มาก ๔ ๘. รอบคอบและจริงจังในการปฏิบัติงาน ไมปฏิบัติงาน

แบบขอไปทีหรือฉาบฉวย 4.41 ๐.๗9 ๒

รวม 4.29 ๐.8๙ มาก

จากตารางที่ ๔.๕ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ อยูในระดับมาก ( x�=๔.๒๙) พบวา ขอที่มีความคิดเห็นในระดับมาก ๓ อันดับเรียงจากมากไปหานอย คือ เอาใจใสไมปลอยใจใหฟุงซาน ในขณะที่ปฏิบัติงาน (x�=4.61) รอบคอบและจริงจังในการปฏิบัติงาน ไมปฏิบัติงานแบบขอไปทีหรือฉาบฉวย (x�=4.41) ตั้งมั่นและตั้งใจจริงที่จะปฏิบัติงานใหประสบความสําเร็จตามเปาหมาย ( x�=4.28) และขอที่มีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ ตั้งจิตใจแนวแนมั่นคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่องอื่นจนกวางานจะสําเร็จ (x�=4.16) เมื่อพิจารณาในภาพรวมพบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ อยูในระดับที่ ๑

Page 92: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๘

ตารางที่ ๔.๖ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา

ดานวิมังสา S.D. ระดับ อันดับ ๑. พิจารณาใครครวญหาขอดี-ขอดอย ในการปฏิบัติงาน

ทุกครั้งเพ่ือเปนแนวทางครั้งตอไป 4.29 ๐.7๒ มาก ๓ ๒. ไตรต รองและตรวจสอบขอบกพรองของการ

ปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา 4.21 ๐.78 มาก ๖ ๓. พิจารณาแผนการปฏิบัติงานเพื่อสรางระบบและ

ขั้นตอนที่ชัดเจน 4.26 ๐.75 มาก ๕ ๔. คนควาและวิเคราะหขอมูลเพื่อเพิ่มพูนความสามารถ

ในการปฏิบัติงาน 4.12 ๐.85 มาก ๘ ๕. ตรวจสอบ/ทดสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของ

ผลงานที่ไดรับ 4.20 ๐.8๘ มาก ๗ ๖. คิดคนแนวทางการปรับปรุงงาน และแกไขปญหาที่

เกิดขึ้นดวยเหตุและผล 4.24 ๐.84 มาก ๕ ๗. ศึกษาไตรตรองระบบงานเพื่อใหเกิดกระบวนการ

ทํางานที่มีประสิทธิภาพ 4.30 ๐.78 มาก ๒ ๘. นําความรูจากงานครั้งที่ผานมาเปนเกณฑปรับปรุง

ประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานในครั้งตอไป 4.31 ๐.7๘ มาก ๑

รวม 4.24 ๐.57 มาก

จากตารางที่ ๔.๖ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา อยูในระดับมาก ( x�=๔.๒๔) พบวา ขอที่มีความคิดเห็นในระดับมาก ๓ อันดับเรียงจากมากไปหานอย คือ นําความรูจากงานครั้งที่ผานมาเปนเกณฑปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานในครั้งตอไป ( x�=๔.๓๑) ศึกษาไตรตรองระบบงานเพื่อใหเกิดกระบวนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ( x�=๔.๓๐) พิจารณาใครครวญหาขอดี-ขอดอย ในการปฏิบัติงานทุกครั้งเพื่อเปนแนวทางครั้งตอไป ( x�=๔.๒๙) และขอที่มีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ คนควาและวิเคราะหขอมูลเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติงาน ( x�=๔.๑๒) เมื่อพิจารณาในภาพรวมพบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา อยูในระดับที่ ๒

Page 93: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๗๙

๔.๓ ผลการเปรียบเทียบการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการ

บริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จําแนก

ตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณการสอน โดยใชการวิเคราะห T-test และ

การวิ เคราะห ความแปรปรวนทางเดี ยว (One-way Analysis of Variance :

ANOVA) ๔.๓.๑ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียนเพศตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหาร

โรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน

ตารางที่ ๔.๗ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน เพศตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน และผลการทดสอบสมมติฐานที่ ๑

จําแนกตามเพศ ๔ ดาน ชาย(n=๗๖) หญิง(n=๖๓) S.D. S.D. t Sig.

๑. ดานฉันทะ 3.60 0.48 3.7๒ 0.4๗ ๐.๒๑ ๐.๖๕ ๒. ดานวิริยะ 3.50 0.54 3.6๔ 0.4๓ ๒.๑๑ ๐.๑๕ ๓. ดานจิตตะ 4.1๓ 0.5๘ 4.48 1.13 ๐.๙๕ ๐.๓๓ ๔. ดานวิมังสา 4.1๔ 0.6๖ 4.36 0.42 ๙.๒๕ ๐.๐๐*

รวม 3.84 0.4๘ 4.0๕ 0.46 ๐.๔๓ ๐.๕๒

*มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ๐.๐๕ จากตารางที่ ๔.๗ ผลการเปรียบเทียบการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จําแนกตามเพศทั้ง ๔ ดาน พบวา กลุมตัวอยางมีเพศตางกัน มีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ ภาพรวมพบวาไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ผลการวิเคราะหรายดานพบวา ดานฉันทะ ดานวิริยะ และจิตตะ ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว สวนดานวิมังสา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ สอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 94: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๐

๔.๓.๒ สมมติฐานที่ ๒ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน อายุตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน

ตารางที่ ๔.๘ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน อายุตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันทั้ง ๔ ดานโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

เปรียบเทียบความคิดเห็น แหลงความแปรปรวน

SS df M S F Sig.

๑.ดานฉันทะ

ระหวางกลุม ๐.3๖ 3 ๐.1๒ ๐.5๒ ๐.67

ภายในกลุม 31.2๗ 136 0.23 รวม 31.62 139

๒.ดานวิริยะ ระหวางกลุม 0.30 3 0.10 ๐.40 0.75

ภายในกลุม 33.62 136 ๐.2๕ รวม 33.92 139 ๓.ดานจิตตะ ระหวางกลุม ๐.๑๐ 3 ๐.03 0.04 ๐.99

ภายในกลุม 109.0๕ 136 ๐.80 รวม 109.15 139

๔.ดานวิมังสา ระหวางกลุม 0.18 3 ๐.06 ๐.1๙ ๐.90 ภายในกลุม 44.60 135 0.33 รวม 44.79 138

คาเฉลี่ยรวม ระหวางกลุม ๐.07 3 ๐.02 ๐.11 ๐.95 ภายในกลุม 31.77 135 ๐.23 รวม 31.85 138

*มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ๐.๐๕ จากตารางที่ ๔.๘ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จําแนกตามอายุ พบวา โดยภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 95: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๑

๔.๓.๓ สมมติฐานที่ ๓ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน วุฒิการศึกษาตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตาง

ตารางที่ ๔.๙ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน วุฒิการศึกษาตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันทั้ง ๔ ดานโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

เปรียบเทียบความคิดเห็น แหลงความแปรปรวน

SS df M S F Sig.

๑.ดานฉันทะ ระหวางกลุม ๐.30 3 ๐.10 ๐.44 ๐.72

ภายในกลุม 31.31 136 0.23 รวม 31.62 139

๒.ดานวิริยะ ระหวางกลุม ๐.05 3 ๐.0๒ ๐.0๘ ๐.97

ภายในกลุม 33.86 136 ๐.24 รวม 33.92 139 ๓.ดานจิตตะ ระหวางกลุม ๐.4๕ 3 ๐.1๕ ๐.1๙ ๐.90

ภายในกลุม 108.70 136 ๐.๘๐ รวม 109.15 139

๔.ดานวิมังสา ระหวางกลุม ๐.2๕ 3 ๐.08 ๐.25 0.86 ภายในกลุม 44.54 135 0.33 รวม 44.79 138

คาเฉลี่ยรวม ระหวางกลุม .16 3 ๐.05 ๐.23 ๐.8๘ ภายในกลุม 31.68 135 ๐.2๔ รวม 31.85 138

*มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ๐.๐๕ จากตารางที่ ๔.๙ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จําแนกตามวุฒิการศึกษา โดยภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดานพบวา ดาน พบวา ทุกดานไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 96: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๒

๔.๓.๔ สมมติฐานที่ ๔ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน มีประสบการณสอนตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน

ตารางที่ ๔.๑๐ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน มีประสบการณสอนตางกัน มีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันทั้ง ๔ ดานโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

เปรียบเทียบความคิดเห็น แหลงความแปรปรวน

SS df M S F Sig.

๑.ดานฉันทะ ระหวางกลุม 0.69 3.00 0.23 1.01 0.39 ภายในกลุม 30.94 136.00 0.23

รวม 31.62 139.00 ๒.ดานวิริยะ ระหวางกลุม 0.32 3.00 0.11 0.44 0.73

ภายในกลุม 33.60 136.00 0.25 รวม 33.92 139.00 ๓.ดานจิตตะ ระหวางกลุม 1.06 3.00 0.35 0.44 0.72

ภายในกลุม 108.10 136.00 0.80 รวม 109.15 139.00

๔.ดานวิมังสา ระหวางกลุม 1.18 3.00 0.39 1.22 0.31 ภายในกลุม 43.61 135.00 0.32 รวม 44.79 138.00

คาเฉลี่ยรวม ระหวางกลุม 0.59 3.00 0.20 0.85 0.47 ภายในกลุม 31.26 135.00 0.23 รวม 31.85 138.00

*มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ๐.๐๕ จากตารางที่ ๔.๑๐ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จําแนกตามประสบการณในการสอน โดยภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 97: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๓

๔.๓.๕ สมมติฐานที่ ๕ ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน ตําแหนงตางกันมีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกัน

ตารางที่ ๔.๑๐ การทดสอบสมมติฐานผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน ตําแหนงตางกัน มีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ แตกตางกันทั้ง ๔ ดานโดยใชการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (One-way Analysis of Variance : ANOVA)

เปรียบเทียบความคิดเห็น แหลงความแปรปรวน

SS df M S F Sig.

๑.ดานฉันทะ ระหวางกลุม 0.54 3.00 0.18 0.79 0.50 ภายในกลุม 31.08 136.00 0.23

รวม 31.62 139.00 ๒.ดานวิริยะ ระหวางกลุม 0.56 3.00 0.19 0.77 0.52

ภายในกลุม 33.36 136.00 0.25 รวม 33.92 139.00 ๓.ดานจิตตะ ระหวางกลุม 0.40 3.00 0.13 0.17 0.92

ภายในกลุม 108.76 136.00 0.80 รวม 109.15 139.00

๔.ดานวิมังสา ระหวางกลุม 0.08 3.00 0.03 0.08 0.97 ภายในกลุม 44.71 135.00 0.33 รวม 44.79 138.00

คาเฉลี่ยรวม ระหวางกลุม 0.31 3.00 0.10 0.44 0.72 ภายในกลุม 31.54 135.00 0.23 รวม 31.85 138.00

*มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ๐.๐๕ จากตารางที่ ๔.๑๑ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จําแนกตามตําแหนง โดยภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 98: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๔

๔.๔ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ตารางที่ ๔.๑๒ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ (n=๑๔๐) ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน ดานฉันทะ

จํานวน

รอยละ

๑. ปฏิบัติงานดวยความสมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอื่นใด 78 55.7

๒. มีความสุข สนุก และจริงจังกับงานที่ปฏิบัติอยูเสมอแมงานจะมีปญหาอยางมาก 81 57.9

๓. สมัครใจที่จะปฏิบัติงานอยางสุดความสามารถแมงานนั้นจะเหนือความสามารถ 59 42.1

จากตารางที่ ๔.๑๒ พบวา ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ เรียงลําดับดังนี้ คือ ปฏิบัติงานดวยความสมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอื่นใด คิดเปนรอยละ 55.7 มีความสุข สนุก และจริงจังกับงานที่ปฏิบัติอยูเสมอแมงานจะมีปญหาอยางมาก คิดเปนรอยละ 57.9 และสมัครใจที่จะปฏิบัติงานอยางสุดความสามารถแมงานนั้นจะเหนือความสามารถ คิดเปนรอยละ 42.1 ตารางที่ ๔.๑๓ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ (n=๑๔๐) ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน ดานวิริยะ

จํานวน

รอยละ

๑. ปฏิบัติงานไดสม่ําเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก

๕๗ ๔๐.๗

๒. ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายไดตอเนื่องยาวนานไมเบื่อหนาย ๖๗ ๔๗.๙ ๓. ทุมเทเวลาและความสามารถในการปฏิบัติงานแมเปนงานที่ไมถนัด ๖๕ ๔๖.๔

จากตารางที่ ๔.๑๓ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ เรียงลําดับดังนี้ คือ ปฏิบัติงานไดสม่ําเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก คิดเปนรอยละ ๔๐.๗ ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายไดตอเนื่องยาวนานไมเบื่อหนาย คิดเปนรอย

Page 99: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๕

ละ ๔๗.๙ และทุมเทเวลาและความสามารถในการปฏิบัติงานแมเปนงานที่ไมถนัด คิดเปนรอยละ ๔๖.๔ ตารางที่ ๔.๑๔ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ (n=๑๔๐) ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธภิาพการบริหารโรงเรียน ดานจิตตะ

จํานวน รอยละ

๑. ตั้งจิตใจแนวแนมั่นคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่องอื่นจนกวางานจะสําเร็จ

๖๙

๔๙.๓

๒. รับรูและรับผิดชอบในงานอยางเต็มที่ แมงานจะมีอุปสรรค ๖๘ ๔๘.๖ ๓. ใสใจ ใฝรู ในสิ่งที่เกี่ยวของกับงานอยูเปนนิตย ทั้งในและนอกเวลา

งาน

๖๘

๔๘.๖ จากตารางที่ ๔.๑๔ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ เรียงลําดับดังนี้ คือ ตั้งจิตใจแนวแนมั่นคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่องอื่นจนกวางานจะสําเร็จ คิดเปนรอยละ ๔๙.๓ รับรูและรับผิดชอบในงานอยางเต็มที่ แมงานจะมีอุปสรรค คิดเปนรอยละ ๔๘.๖ และใสใจ ใฝรู ในสิ่งที่เกี่ยวของกับงานอยูเปนนิตย ทั้งในและนอกเวลางาน คิดเปนรอยละ ๔๘.๖ ตารางที่ ๔.๑๕ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา (n=๑๔๐) ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน ดานวิมังสา

จํานวน รอยละ

๑. คนควาและวิ เคราะหขอมูลเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติงาน

๖๒

๔๔.๓

๒. ตรวจสอบ/ทดสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของผลงานที่ไดรับ ๕๙ ๔๒.๑ ๓. ไตรตรองและตรวจสอบขอบกพรองของการปฏิบั ติ งานอยู

ตลอดเวลา

๖๔

๔๕.๗ จากตารางที่ ๔.๑๕ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา เรียงลําดับดังนี้ คือ คนควาและวิเคราะหขอมูลเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติงาน คิดเปนรอยละ ๔๔.๓ ตรวจสอบ/ทดสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของผลงานที่ไดรับ คิดเปนรอยละ ๔๒.๑ และไตรตรองและตรวจสอบขอบกพรองของการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา คิดเปนรอยละ ๔๕.๗

Page 100: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

บทที่ ๕

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้ศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน เปนการศึกษาวิจัยเชิงสํารวจ

(Survey Research) มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท

๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน เพื่อเปรียบเทียบ

ระดับการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน โดยจําแนกตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ

ในการสอน ตําแหนง ของครูและนักเรียน และศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ และ

ขอเสนอแนะแนวทางในการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน

มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๕.๑.๑ ขอมูลพื้นฐานทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม

ดานสถานภาพ ผลการวิจัยจากกลุมตัวอยางจํานวน ๑๔๐ คน สวนใหญเปนชาย

จํานวน ๗๖ คน คิดเปนรอยละ ๕๔.๓ เปนหญิงจํานวน ๖๓ คน คิดเปนรอยละ ๔๕.๗ ดานอายุ

ผลการวิจัย พบวา สวนใหญมีอายุต่ํากวา ๒๐ ปจํานวน 129 คน คิดเปนรอยละ 92.1 ดานระดับ

การศึกษา ผลวิจัย พบวา ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 124 คน คิดเปนรอยละ 88.6

ดานประสบการณในการสอน พบวา ประสบการณการในการสอนอยูในชวง ๑๑ – ๒๐ ป จํานวน

106 คน คิดเปนรอยละ 75.7 ดานตําแหนงกลุมตัวอยางเปนนักเรียน ๑๓๒ คน คิดเปนรอยละ

๙๔.๓ ตามลําดับ

๕.๑.๒ ผลการศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการ

บริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน จํานวน ๔ ดาน

สรุปผลไดดังนี้

๑. ดานฉันทะ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ ภาพรวมอยูใน

ระดับมาก พบวา ขอที่มีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ ยินดีรับฟงความคิดเห็นของเพื่อน

รวมงานและพรอมปฏิบัติตาม มีความเต็มใจในการชวยเหลือเพื่อนรวมงานในหนวยงาน รักที่จะปฏิบัติ

และพัฒนางานอยูตลอดเวลาไมหยุดนิ่งเพื่อใหผลงานที่ไดรับมีประสิทธิผลและขอที่มีความคิดเห็นใน

ระดับต่ําสุด คือ ปฏิบัติงานดวยความสมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอ่ืนใด ตามลําดับ

Page 101: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๗

๒. ดานวิริยะ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ ภาพรวมอยูใน

ระดับมาก พบวา ขอที่มีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ ขยัน อดทน และตั้งใจฝกฝน เพื่อ

พัฒนาทักษะฝมือใหเกิดความชํานาญ พยายามและหมั่นเพียรที่จะหาประสบการณในการปฏิบัติงาน

ใหเพิ่มพูน ปฏิบัติงานทันทีที่ ไดรับมอบหมาย ไมยอทอตออุปสรรค และไมละทิ้งงาน และขอที่มีความ

คิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ ปฏิบัติงานไดสม่ําเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก

ตามลําดับ

๓. ดานจิตตะ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ อยูในระดับมาก

พบวา ขอที่มีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ เอาใจใสไมปลอยใจใหฟุงซาน ในขณะที่

ปฏิบัติงาน รอบคอบและจริงจังในการปฏิบัติงาน ไมปฏิบัติงานแบบขอไปทีหรือฉาบฉวย ตั้งมั่นและ

ตั้งใจจริงที่จะปฏิบัติงานใหประสบความสําเร็จตามเปาหมาย และขอที่มีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด

คือ ตั้งจิตใจแนวแนมั่นคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่องอื่นจนกวางานจะสําเร็จ ตามลําดับ

๔. ดานวิมังสา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา อยูในระดับมาก

พบวา ขอที่มีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ นําความรูจากงานครั้งที่ผานมาเปนเกณฑ

ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานในครั้งตอไป ศึกษาไตรตรองระบบงานเพื่อใหเกิด

กระบวนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ พิจารณาใครครวญหาขอดี-ขอดอย ในการปฏิบัติงานทุกครั้งเพื่อ

เปนแนวทางครั้งตอไป และขอที่มีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ คนควาและวิเคราะหขอมูลเพื่อ

เพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามลําดับ

ภาพรวมทุกดาน ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

ภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนดาน พบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนทุกดานอยูในระดับมากโดยเรียงจากมากไปหานอย คือ ดานจิตตะ

รองลงมา คือ ดานวิมังสา ดานฉันทะ และสุดทายดานวิริยะ ตามลําดับ

๕.๑.๓ ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อ

สงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัด

ขอนแกน สรุปไดดังนี้

๕.๑.๓.๑. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน ตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ จําแนกตามเพศทั้ง ๔ ดาน พบวา กลุมตัวอยางมีเพศตางกัน มีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ ภาพรวมพบวาไมแตกตาง

Page 102: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๘

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ผลการวิเคราะหรายดานพบวา ดานฉันทะ ดานวิริยะ และจิตตะ ไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว สวนดานวิมังสา แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ สอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ๕.๑.๓.๒. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน ตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ จําแนกตามอายุ พบวา ภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ๕.๑.๓.๓ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็น ผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน ตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ จําแนกตามวุฒิการศึกษา พบวา ภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดานพบวา ดาน พบวา ทุกดานไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ๕.๑.๓.๔ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน ตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ จําแนกตามประสบการณการสอน พบวา ภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว ๕.๑.๓.๕ ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน ตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ จําแนกตามตําแหนง พบวา ภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ เมื่อพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

๕.๑.๔ ขอเสนอแนะแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพ

การบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

๑. ดานฉันทะ พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียนควรมีการปฏิบัติงานดวยความ

สมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอื่นใด และ มีความสุข สนุก และจริงจังกับงานที่ปฏิบัติ

อยูเสมอแมงานจะมีปญหาอยางมาก ทั้งสมัครใจที่จะปฏิบัติงานอยางสุดความสามารถแมงานนั้นจะ

เหนือความสามารถ

๒. ดานวิริยะ พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียน ตองปฏิบัติงานไดสม่ําเสมอจนกวา

งานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก และปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายไดตอเนื่องยาวนานไม

เบื่อหนาย ทั้งตองทุมเทเวลาและความสามารถในการปฏิบัติงานแมเปนงานที่ไมถนัด

๓. ดานจิตตะ พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียน ตั้งจิตใจแนวแนมั่นคงตองานหรือ

ภารกิจ ไมคิดเรื่องอื่นจนกวางานจะสําเร็จ รับรูและรับผิดชอบในงานอยางเต็มที่ แมงานจะมีอุปสรรค

และใสใจ ใฝรู ในสิ่งที่เกี่ยวของกับงานอยูเปนนิตย ทั้งในและนอกเวลางาน

Page 103: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๘๙

๔. ดานวิมังสา พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียน คนควาและวิเคราะหขอมูลเพื่อ

เพิ่มพูนความสามารถในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ/ทดสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของผลงานที่

ไดรับ และไตรตรองและตรวจสอบขอบกพรองของการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา

๕.๒ อภิปรายผลการวิจัย ๕.๒.๑ ผลการวิจัยพบวา ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

ภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวาอยูในระดับมากทุกดานโดยจะไดนํามา

อภิปรายผลเปนรายดาน ดังนี ้

๑. ดานฉันทะ พบวา ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดาน

ฉันทะ อยูในระดับที่ ๓ คือ ผูบริหาร ครูผูสอน นักเรียน มียินดีรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนรวมงาน

และพรอมปฏิบัติตาม และมีความเต็มใจในการชวยเหลือเพื่อนรวมงานในหนวยงาน สอดคลองกับ

ชาตรี แนวจําปา ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติหนาที่ ของ

บุคลากรสํานักปองกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบวา บุคลากรมี การ

ประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ไดแกดานฉันทะ ดานวิริยะ ดานจิตตะและดานวิมังสาในการปฏิบัติหนาที่ โดย

ภาพรวมอยูในระดับมากเมื่อพิจารณาในแตละดานพบวา การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ดานฉันทะ ดาน

วิริยะ และดานจิตตะ ในการปฏิบัติหนาที่อยูในระดับมากสําหรับการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ดาน

วิมังสาในการปฏิบัติหนาที่อยูในระดับปานกลาง บุคลากรที่มีเพศ ระดับการศึกษา และตําแหนงที่

ตางกันมีการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติหนาที่โดยภาพรวมไมแตกตางกัน สวนบุคลากรที่มี

อายุและรายไดตอเดือนตางกันมีการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ โดยภาพรวมแตกตางกันสรุปไดวาทุกคน

ตองใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะสงผลใหเปนผูที่มีความรัก ความพอใจในงาน ปฏิบัติงาน

ดวยความพากเพียรบากบั่น ดวยความเอาใจใสในงาน และมีการตรวจสอบความสําเร็จในงานอยูเสมอ

๒. ดานวิริยะ พบวา ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดาน

วิริยะ อยูในระดับที่ ๔ คือ ผูบริหาร ครูผูสอน นักเรียน ตั้งใจฝกฝน เพื่อพัฒนาทักษะฝมือใหเกิดความ

ชํานาญ และพยายาม หมั่นเพียรที่จะหาประสบการณในการปฏิบัติงานใหเพิ่มพูน สอดคลองกับพัชนี

แสงนิล ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “ครูและหลักธรรมของครูตามแนวพุทธปรัชญา” ผลการวิจัยพบวา

แนวคิดของพุทธปรัชญาตั้งอยูบนพื้นฐานของสัจธรรมมีจุดสนใจอยูที่การพัฒนาคน และการรูเทาทัน

ธรรมชาติอันแทจริงของมนุษย จึงมีวิธีการและแนวคิดที่สอดคลองกับความเปนจริง ในชีวิตของบุคคล

และสังคม สามารถนําหลักการมาประยุกตใชกับครูซึ่งมีบทบาทที่สําคัญในการ พัฒนาบุคคลและสังคม

Page 104: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๐

ไดอยางเหมาะสมสําหรับหลักธรรมในการพัฒนาตนของครูเปนหลักธรรมที่ สงเสริมคุณภาพของครูใน

ดานคุณธรรมความรูและวิชาการใหสามารถทําหนาที่ครูไดอยางมี ประสิทธิภาพ ไดแก สัปปุริสธรรม

๗ อารยวัฒิ ๕ อิทธิบาท ๔ ขันติโสรัจจะ สัมมาทิฎฐิและพรหม วิหาร ๔

๓. ดานจิตตะ พบวา ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดาน

วิริยะ อยูในระดับที่ ๑ คือ ผูบริหาร ครูผูสอน นักเรียน มีความเอาใจใสไมปลอยใจใหฟุงซาน ในขณะ

ที่ปฏิบัติงาน และรอบคอบและจริงจังในการปฏิบัติงาน ไมปฏิบัติงานแบบขอไปทีหรือฉาบฉวย

สอดคลองกับพระมหาสุนันท กิตฺติสทฺโท (สายพิมพพงษ) ไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “การ

ประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการทํางานศึกษากรณีผูทําเครื่องปนดินเผาดานเกวียน จังหวัด

นครราชสีมา” ผลการศึกษาพบวา ธรรมะที่เรียกวา อิทธิบาท ๔ เปนธรรมะที่แสดงใหเห็นถึงหลักการ

ทํางานใหบรรลุความสําเร็จตามจุดมุงหมายที่กําหนดไวและสามารถนําไปใชในการประกอบกิจการ

และอาชีพไดทุกประเภทสวน ผลจากการศึกษาในพื้นที่ตําบลดานเกวียนของกลุมผูประกอบอาชีพทํา

หัตถกรรมเครื่องปนดินเผานั้นพบวา กลุมตัวอยางชาวดานเกวียนไดใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการทํางาน

ครบทุก ๔ องคประกอบ คือ มีความพึงพอใจมีความรักในอาชีพการงาน (ฉันทะ) มีความ

ขยันหมั่นเพียรมุงมั่น (วิริยะ) มีการเอาใจใสดูแล (จิตตะ) และมีการพิจารณาหาชองทางในการปรับ

งานใหเหมาะสม (วิมังสา) ซึ่งผลจากการประยุกตใชหลักอิทธิ บาท ๔ ทําใหชาวดานเกวียนไดทํางาน

ในอาชีพที่ตนเองรักอยางตอเนื่อง และนํามาซึ่งความสําเร็จในกิจการงานอาชีพ และกลุมคนที่เลิกหรือ

หยุดกิจการนั้นมักบกพรองในการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ ขอใดขอหนึ่ง โดยเฉพาะขอที่ ๑-๒ และ

เมื่อวิเคราะหถึงกลุมที่มีพื้นฐานอาชีพ (ความรูตางกัน) ก็พบวาทั้ง ๓ กลุมสามารถประยุกตใชอิทธิบาท

๔ ในการประกอบอาชีพไดเปนอยางดีทั้งโดยรูตัวและไมรูตัว และสอดคลองกับบุญมี บุญเอี่ยม ได

ทําการศึกษาวิจัยเรื่อง “ ศึกษาการนําอิทธิบาท ๔ ไปใชในการทํางาน ศูนยควบคุมการบินภูเก็ต

บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด” ผลการศึกษาพบวา พนักงาน ศูนยควบคุมการบินภูเก็ตมี

การนําหลักอิทธิบาท ๔ ไปใชในการท างานใหประสบผลสําเร็จโดยอาศัย แรงจูงใจภายนอกการนํา

อิทธิบาท ๔ ไปใชคือตองสรางฉันทะใหเกิดขึ้นในใจเปนเบื้องตนกอนเพื่อให เกิดความชอบที่จะทํางาน

นั้นๆ จากนั้นตองใชวิริยะเพื่อที่จะอดทนตออุปสรรคตางๆ ที่จะทําใหงานนั้น บรรลุเปาหมายในขณะ

ทํางานตองมีจิตตะ คือความตั้งใจและเอาใจใสในงานมีความรับผิดชอบในงานที่ทําและสุดทายใช

วิมังสา คือการพิจารณาไตรตรองงานที่ทําอยางรอบคอบมีการตรวจตราสอบ ขอบกพรองเพื่อใหงาน

เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

๔. ดานวิมังสา พบวา ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริม

ประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดาน

วิริยะ อยูในระดับที่ ๒ คือ ผูบริหาร ครูผูสอน นักเรียนสามารถนําความรูจากงานครั้งที่ผานมาเปน

Page 105: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๑

เกณฑปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานในครั้งตอไป และศึกษาไตรตรองระบบงานเพื่อให

เกิดกระบวนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ สอดคลองกับ พระครูพิศาลถิรธรรม ไดศึกษาเรื่อง

ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาสในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา

การบริหารมีความสําคัญตอการดําเนินงานของวัดในอันที่จะพัฒนาใหเปนระบบ สามารถสงเสริมภิกษุ

สงฆ สามเณร ใหเปนผูที่ มีความรูความสามารถ และประสบการณ ปฏิบัติตนอยูในกรอบของพระ

ธรรมวินัย และสามารถเปนแบบอยางที่ดีตอการพัฒนาชุมชนเปนอยางดี การบริหารวัดในปจจุบันได

เปลี่ยนรูปแบบ ระบบ วิธีการ การสรางระบบใหเหมาะสมกับผูอยูอาศัยในวัดนั้นๆ และสังคมโดยรอบ

เพือ่ใหการบริหารเปนไปตามความหมายที่วา การปกครอง การดูแลรักษาหมูคณะและการดําเนินงาน

หรือการจัดการกิจกรรมตางๆ ของหมูคณะหรือองคกรตางๆ ใหสําเร็จลุลวงไปตามนโยบาย และ

วัตถุประสงคขององคกรนั้นๆ ดวยดีมี ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาส ในเขตธนบุรี

กรุงเทพมหานคร

๕.๓ องคความรูที่ไดจากการวิจัย จากการวิจัยทําใหทราบองคความรู โดยสรุปวาผูบริหาร ครูผูสอน นักเรียน มีความยินดีรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนรวมงานและพรอมปฏิบัติตาม และมีความเต็มใจในการชวยเหลือเพื่อนรวมงานในหนวยงาน มีความขยัน อดทน และตั้งใจฝกฝน เพื่อพัฒนาทักษะฝมือใหเกิดความชํานาญ และพยายามและหมั่นเพียรที่จะหาประสบการณในการปฏิบัติงานใหเพิ่มพูน อีกทั้งมีความเอาใจใสไมปลอยใจใหฟุงซาน ในขณะที่ปฏิบัติงาน และรอบคอบและจริงจังในการปฏิบัติงาน ไมปฏิบัติงานแบบขอไปทีหรือฉาบฉวย พรอมทั้งมีการนําความรูจากงานครั้งที่ผานมาเปนเกณฑปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานในครั้งตอไป และศึกษาไตรตรองระบบงานเพื่อใหเกิดกระบวนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ๕.๔ ขอเสนอแนะ ๕.๔.๑ ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย

๑) ผูบริหารควรบริหารงานโดยนําหลักอิทธิบาท ๔ มาประยุกตและบูรณาการกับนโยบายของการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและนํามาซึ่ง ประโยชนสุขของคนในชุมชน ๒) สถานศึกษาควรสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมในการการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสทิธิภาพ ๓) เปดโอกาสใหบุคลากรเสนอความตองการ ปญหาและแสดงความคิดเห็นวิจารณการบริหารงานของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน เพื่อ ไดรับขอมูลปรับปรุงแกไขในสวนที่เปนปญหาใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

Page 106: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๒

๕.๔.๒ ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป ๑. ควรศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการบริหารกลุมตัวอยางอื่นๆ เชน

โรงเรียนในเขตพื้นที่ เพื่อสนับสนุนและสามารถนําแนวการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการบริหารไปใชไดจริงในสถานศึกษา

๒. ควรนําหลักธรรมทางพุทธศาสนาในหัวขอธรรมอื่นๆมาประยุกตใชในการบริหารงานในโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

๓. เมื่อทราบแนวการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ควรนํามาสรางเปนรูปแบบการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน โดยการทําการวิจัยในระดับที่สูงขึ้น

Page 107: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๓

บรรณานุกรม ๑. ภาษาไทย : ก. ขอมูลปฐมภูม ิมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ

ราชวิทยาลัย.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

ข. ขอมูลทุติยภูม ิ(๑) หนังสือ กระทรวงศึกษาธิการ, แผนพัฒนาการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๔๕. เกรียงศักดิ์ เขียวยิ่ง, การบริหารรัฐกิจ แนวคิด หลักการ และการปฏิบัต,ิ ขอนแกน : หางหุนสวน

จํากัด ขอนแกนการพิมพ, ๒๕๓๕. โกนิษฐ ศรีทอง, เอกสารประกอบการสอนวิชา “แนวคิดและทฤษฎีทางการพัฒนาสังคม”,กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. ชุมศักดิ์ ชุมนุม, ปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสํานักงานศึกษาธิการอําเภอ :

กรณีศึกษา เขตการศึกษา ๑๐. กรุงเทพมหานคร : เฟองฟา พริ้นติ้ง, ๒๕๔๙. ฑิตยา สุวรรณชฏ, “สังคมวิทยา” ในวิทยาศาสตรสังคม, กรุงเทพมหานคร : สํานักวิจัย สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, ๒๕๑๗. ติน ปรัชญพฤทธิ์, หลักการจัดการ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๓๙ . , ศัพทรัฐประศาสนศาสตร, พิมพครั้งที่ ๖, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖. ทรงวิทย แกวศรี, เอกสารประกอบการสอนวิชา “แนวคิดและทฤษฎีทางการพัฒนาสังคม” กรุงเทพฯ :

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๖. ทองหลอ เดชไทย, หนวยที่ ๑ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารสาธารณสุข, นนทบุร ี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๔. ธงชัย สันติวงษ, องคการและการบริหาร, พิมพครั้งที่ ๙,กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๗.บรรพต วีระสัย และ สุขุม นวลสกุล, รัฐศาสตรทั่วไป พระนคร : โรงพิมพคุรุสภา,๒๕๑๕. บรรพต วีระสัย,สังคมวิทยา-มานุษยวิทยา ,พระนคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง ๒๕๑๗. ปริญญ จงวัฒนา, พุทธธรรมเพื่อกัลยาณมิตร, กรุงเทพฯ: บจก. ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการ พิมพ

,๒๕๕๐ . ปญญา ใชบางยาง , ธรรมาธิบายหลักธรรมในพระไตรปฎก , กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ ธรรมสภา,

๒๕๔๘.

Page 108: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๔

พงษศักดิ์ ปญจพรผล, องคการและการจัดการ, กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๔๒.

พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ),อธิบายหลักธรรมตามหมวดจากนวโกวาท,กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพธรรมสภา,๒๕๔๘.

พระธรรมโกศาจารย (ประยูร ธมฺจิตฺโต), “ธรรมในใจของนักบริหารไฮโซ”, หนังสือพิมพไทยรัฐ, ฉบับวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๑.

, พุทธวิธีการบริหาร, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ธรรมะกับการทํางาน, พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมูลนิธิ

พุทธธรรม,๒๕๔๓. , พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๙, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.

, พุทธรรม, พิมพครั้งที่ ๘, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๒.

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), ธรรมนูญชีวิต, พิมพครั้งที่ ๔๖, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ กรมศาสนา, ๒๕๔๕.

, การศึกษาทั่วไปเพื่อพัฒนามนุษย กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๕๒. , พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม,พิมพรวมเลม 3 ภาค ครั้งที่ 15, กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพจันทรเพ็ญ,2550. พัชนี แสงนิล, “ครูและหลักธรรมของครูตามแนวพุทธปรัชญา ”, วิทยานิพนธคุรุศาสตรมหาบัณฑิต,

กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๓. พิทยา บวรวัฒนา, การบริหารเชิงบูรณาการ, นนทบุรี : สํานักงานขาราชการพลเรือน, ๒๕๔๖. พุทธทาสภิกขุ, การงานที่เปนสุข, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพธรรมสภา, ๒๕๔๙. ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, และวิบูลย โตวณะบุตร,หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา, กรุงเทพมหานคร :

สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง,๒๕๔๒. เมธาพันธ โพธิธีโรจน, การวิเคราะหการจดัองคการบรหิารตามแนวมนุษยศาสตร, พุทธจักร ปที่ ๔๙

ฉบับที่ ๙ เดือน ก.ย , ๒๕๔๘. ราชบัณฑิตสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒, กรุงเทพมหานคร :นานมี

บุคสพับบลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. วิทย วิศทเวทย และเสถียรพงษ วรรณปก, หนังสือเรียนวิชาพระพุทธศาสนาชั้นมัธยมศึกษา ปที่ ๕,

กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน, ๒๕๔๔). ศ ิรวิรรณ เสรีรัตน, องคการและการจ ัดการ, กรุงเทพมหานคร : ธรรมสาร, ๒๕๔๕. สนธยา พลศรี, ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน, กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๓. , ทฤษฎีและหลักการพัฒ นาชุมชน , พิ มพครั้ งที่ ๔ , กรุงเทพมหานคร : โอเดียน

สโตร, ๒๕๔๕.

Page 109: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๕

สนอง วรอุไร, ทําชีวิตใหไดดีและมีสุข, พิมพครั้งที่ ๑๐,กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพอัมรินทร , ๒๕ สมคิด บางโม, การบริหาร, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๔๕.สมใจ ลักษณะ, การพัฒนา

ประสทธิภาพการทางาน , กรงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎสวน สุนันทา, ๒๕๔๓. สมใจ ลักษณะ, การพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางาน, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : เฟองฟาพริ้น

ติ้ง, ๒๕๔๓. สมยศ นาวีการ, การบริหารเชิงกลยุทธ, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพบรรณกิจ, ๒๕๔๔. สมศักดิ์ คงเที่ยง, การบริหารบุคลากรและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย,กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัย

รามคําแหง,๒๕๔๖. , หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : มิตรภาพการพิมพและสติวดิโอ

,๒๕๔๒. สมิต อาชวนิก ุล, ยุทธศาสตรการสงเสริมการปรับเปล ี่ยนกระบวนทัศน วัฒนธรรม และคานิยม

กรุงเทพมหานคร : ศรีเมืองการพิมพ, ๒๕๓๓. สัญญา สัญญาวิวัฒน, ทฤษฎีการพัฒนาสังคม, กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัด เอมีเทรดดริ้ง,

๒๕๒๒. สัญญา สัญญาวิวัฒน, ทฤษฏีองคกรประสิทธิภาพ รวมบทความสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา,

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔. สิรภพ เหลาลาภะ, พุทธศาสตรการเมือง, กรุงเทพมหานคร : สหธรรมิก, ๒๕๔๕. สุชีพ ปุญญานุภาพ, คุณลักษณะพิเศษแหงพระพุทธศาสนา, พิมพครั้งที่ 2, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ มหา

มกุฎราชวิทยาลัย,๒๕๔๑), หนา ๑๙. บุญมี แทนแกว,จริยศาสตร,พิมพครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,๒๕๓๙.

สุทธิพงษ ศรีวิชัย,ผศ.ดร, “หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร ”, สารนิพนธพุทธศาสตรบัณฑิต, กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๑๕๕๐ .

สุพิณ เกชาคุปต, การจัดการปฏิบัติงาน, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๔, หนา ๙๒-๙๓.

สุรนาท ขมะณะรงค, นโยบายสาธารณะและหลักการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง, ขอนแกน : โรงพิมพมหาวิทยาลัยขอนแกน, ๒๕๔๐.

เสนาะ ติเยาว, หลักการบริหาร, กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๔๔. หลวงพอปญญานันทภิกขุ, งานคือชีวิตชีวิตคืองานบันดาลสุข, กรุงเทพมหานคร : สถาบันบันลือธรรม ,

ม.ป.ป.

Page 110: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๖

(๒) วิทยานิพนธ จารุมาศ เรืองสุวรรณ, พันเอก, การสังเคราะหแบบจําลองการสอนวิชาชีพชางตามหลักอิทธิบาท 4

ของพลทหารในสวนสนับสนุนกองบัญชาการทองทัพบก ,ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ปร.ด.อาชีวศึกษา,บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, ถายเอกสาร,2548.

ชาตรี แนวจําปา , “ การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ ในการปฏิบัติหนาที่ของบุคลากรสํานักปองกันและ บรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร” , วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต , ( สาขารัฐประศาสนศาสตร), (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๒).

ดิเรก สายศิริวิทย , “บทบาทของผูบริหารในการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา ๖”, วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร , ๒๕๔๕.

นงนุช นุตรัตน , “ความตองการในการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของขาราชการเพื่อรองรับการบริหาร งานภาครัฐแนวใหม : ศึกษากรณี ข าราชการในสานกงานปล ัดกระทรวงการคล ัง ”, รัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑ ิต, ว ิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ : มหาว ิทยาลัยบรูพา, ๒๕๔๙.

บุญมี แทนแกว,จริยศาสตร,พิมพครั้งที่ 3, (กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร,๒๕๓๙), หนา ๑๔๒. สุทธิพงษ ศรีวิชัย,ผศ.ดร, “หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร ”, สารนิพนธพุทธ ศาสตรบัณฑิต, กรุงเทพฯ: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๑๕๕๐ .

บุญมี บุญเอี่ยม, “ ศึกษาการนําอิทธิบาท ๔ ไปใชในการท างานศูนยควบคุมการบินภูเก็ตบริษัท วิทยุ การบินแหงประเทศไทย จํากัด” , วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยทักษิณ ๒๕๔๔.

พระครูนนทวีรวัฒน วีรธมฺโม (มีนุสรณ) , “การบริหารงานเทศบาลตําบลตามหลักสาราณียธรรม ๖ : กรณีศึกษาเทศบาลตําบลปลายบาง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ” วิทยานิพนธพุทธศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ) , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓.

พระครูใบฎีกาสุวินท สุวิชาโน (สอนเล็ก), “ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการการศึกษาตามแนววิถีพุทธ : กรณีศึกษาโรงเรียนวัดชมนิมิตร อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ) , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓.

พระครูใบฎีกาอภิชาติ ธมฺมสุทฺโธ (พรสุทธิชัยพงศ) , “ประสิทธิภาพการบริหารงานของเจาอาวาสในจังหวัดนนทบุรี ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.

Page 111: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๗

พระครูพิศาลถิรธรรม , “ประสิทธิภาพการบริห ารจัดการวัดของเจาอาวาสในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต , สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.

พระครูวิสุทธานันทคุณ (ครุฑธา), “การบริหารจัดการวัดเขาชองพราน จังหวัดราชบุรี ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, การจัดการเชิงพุทธ, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย,๒๕๕๔.

พระครูสังฆรักษกฤษฎิ์ตภณ สุเมโธ, “ประสิทธิภาพการบริหารจัดการวัดของเจาอาวาสในเขตอําเภอ ลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.

พระปรเมศวร ปฺญาวชิโร (แจมแจง), “ความคิดเห็นของครูผูสอนตอการบริหารงานตามหลักธรร มาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา ในเขตอําเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ), บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓.

พระพัฒนศักดิ์ ฐิตวิริโย (ทวีราง), “การบริหารงานโรงเรียนมัธยมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ในเขตอําเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.

พระมหานิรันดร สุทฺธิเมตฺติโก (จะมะณี), “การบริหารงานบุคคลในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตบางกอกนอย สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๓”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหา บัณฑิต, การบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๔.

พระมหาลําพึง ธีรปฺโญ, “การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนนวมินทราชูทิศมัชฌิม จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ), บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓.

พระมหาลําพึง ธีรปฺโญ, “การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนนวมินทราชูทิศมัชฌิม จังหวัดนครสวรรค ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร (การบริหารจัดการคณะสงฆ), บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓.

พระมหาสมคิด โครธา, “การใชอิทธิบาท ๔ ในการเรียนของพระนิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”, วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๗.

พระวุฒิพงษ ถาวรจิตฺโต (รักเรียน), “การนําหลักอิทธิบาท ๔ มาใชในการปฏิบัติงาน : ศึกษาเฉพาะกรณีองคการบริหารสวนตําบลในเขตอําเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน”, วิทยานิพนธพุทธศาสตร

Page 112: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๘

มหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.

พัชราพร วีรสิทธิ,์ “ความสัมพันธระหวางองคประกอบหาประการของบุคลิกภาพและ ความสามารถในการเผชิญปญหาและอุปสรรคตามหลักอิทธิบาท ๔ ของเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานอยูในสํานักงาน ประกันสังคม”, วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, ๒๕๔๖.

รับขวัญ ภาคภูมิ, “ความสัมพันธระหวางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษากับสุขภาพองคกรของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานพื้นที่การศึกษากําแพงเพชรเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฎกําแพงเพชร, ๒๕๔๗ .

สมศักดิ์ รอบคอบ, “ประสิทธิภาพการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐมเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๔๘.

อรทัย แสงทอง, “หลักธรรมาภิบาลกับการบริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตตล่ิงชัน ”, วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, สาขารัฐประศาสนศาสตร , บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.

(๓) ภาษาอังกฤษ Bateman. Thomas S. & Scott A. Snell. (1999). Management: Building Competitive

Advantage. (4th ed). Boston : Irwin McGraw-Hill. Edward W. Weidner. “The Elements of Development Administration” in Edward Weidner

(ed.). DEVELOPMENT ADMINISTRATION IN ASIA. Kingsport,Tennessee : Kingsport press.1970.

Gibson,J.L., Organization: Behavior, structure and processes. (3rd ed). Dellas,Texas: Business Publications, 1979.

Henri Fayol, Industrial and General Administration, New York : Mc-Grew Hill,1930. Herbert A. Simon, H.A., Administrative behavior, New York : McMillan, 1960. John D. Millet, J.D., Management in the public service, New York : Hill, 1954. Luther Gulick and Lyndall Urwick, Papers on the Science of Administration, New York :

Institute of Public Administration, 1937. Pervin, Modern Management, (New Jersey : Prentice-Hill, 1989. Peterson, E., & Plowman, E.G., Business Organization and Management. Homewood,

Illinois : Richard D. lrwin, 1953.

Page 113: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๙๙

Saul M.katz. “A system Approach to Development administration”. In Fred W.Riggs.(ed.). FRONTIERS OF DEVELOPMENT ADMINITRATION, Durham, North Carolina : Duke University Press,1970 .

Snit smuckarn, “Social Development and Peasant Culture : A Thai case” in Suntaree Komin ( ed) , Social Development : A Synthesis of East and Western Experiences.BKK : NIDA, 1982 .

Suntaree Komin, “The Relevance of value System to Social Development in S.komin (ed), Social Development : A Synthesis, op cit.

Taro Yamane, อางถึง ใน สุทธนู ศรีไสย, 2551 : 38 ; อางอิงจาก Taro Yamane. 1973. William Ouchi, Organization and Management, Eaglewood Cliffs : Prentice Hill,1971. (๔) อินเตอรเนต

[ออนไลน ], แหลงที่มา: http://geography.about.com/od/economic-geography/a/ Rostow-S-Stages-Of-Growth-Development-Model.htm. (๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๖)

[อ อ น ไ ล น ], แ ห ล ง ที่ ม า : http://www3.cdd.go.th/narathiwat/j/index.php?option

=com_content&view=article&id=83:-1-&catid=47:2011-02-21-16-38-29.( ๑ ๑

พฤษภาคม ๒๕๕๖) =com_content&view=article&id=83:-1-&catid=47:2011-02-21-

16-38-29. (๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖)

แหลงที่มาของขอมูล,group.wunjun.com/valrom201/topic/36321311262.[สืบคน ๒ สิงหาคม ๒๕๕๗].

แหลงที่มาของขอมูล,http://www.gotoknow.org/posts/๒๗๕๐๑๓.[สืบคน ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗], การพัฒนา,[ออนไลน],แหลงที่มา:http://www3.cdd.go.th/narathiwat/j/index. php?option

Page 114: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๑

ภาคผนวก ก.

แบบสอบถาม เรื่องการประยุกตใชหลกัอทิธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย

Page 115: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๒

แบบสอบถาม การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย สวนที่ ๑ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชอง หนาขอความตอไปนี้ใหสมบูรณตามความเปนจริง ๑. เพศ ชาย หญิง ๒. อายุ ต่ํากวา ๒๐ ป ๒๐ – ๓๐ ป ๓๑ – ๔๐ ป ๔๑ – ๕๐ ปขึ้นไป ๕๐ ปขึ้นไป ๓. วุฒิการศึกษา ต่ํากวาปริญญาตรี ปริญญาตรีหรือเทียบเทา สูงกวาปริญญาตรี ๔. ประสบการณในการสอน ต่ํากวา ๕ ป ๖ - ๑๐ ป ๑๑ – ๒๐ ป ๒๑ ปขึ้นไป ๕. ตําแหนง ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอนในสถานศึกษา นักเรียน สวนที่ ๒ระดับความคิดเห็นการประยุกตอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร โรงเรียนกีฬาขอนแกน มัธยม ระดับ ๕ = มากที่สุด ๔ = มาก ๓ = ปานกลาง ๒ = นอย ๑ = นอยที่สุด

ขอ การประยุกตอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

ความคิดเห็น

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

ดานฉันทะ ๑. ปฏิบัติงานดวยความสมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือ

สิ่งอื่นใด

๒. มีความสุข สนุก และจริงจังกับงานที่ปฏิบัติอยูเสมอแมงานจะมีปญหาอยางมาก

๓. ยินดีรับฟงความคดิเห็นของเพื่อนรวมงานและพรอมปฏิบตัิตาม ๔. มีความเต็มใจในการชวยเหลือเพื่อนรวมงานในหนวยงาน

Page 116: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๓

ขอ การประยุกตอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

ความคิดเห็น

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

๕. สมัครใจที่จะปฏิบตัิงานอยางสุดความสามารถแมงานนั้นจะเหนือความสามารถ

๖. พอใจท่ีจะปฏิบัติงานอยางเต็มที่ โดยไมหวังผลตอบแทน

๗. ยินดีรับผิดชอบและพรอมใหคําแนะนํา ปรึกษา และรวมแกปญหาของงานนั้นๆ ดวยความเต็มใจ

๘. รักที่จะปฏิบัติและพัฒนางานอยูตลอดเวลาไมหยุดนิ่งเพื่อใหผลงานที่ไดรับมีประสิทธิผล

ดานวิริยะ 9. ปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายไดตอเนื่องยาวนานไมเบื่อหนาย

10. ปฏิบัติงานไดสม่ําเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก

11. ปฏิบัติงานทันทีท่ี ไดรับมอบหมาย ไมยอทอตออุปสรรค และไมละทิ้งงาน

12. ปฏิบัติงานดวยความเพียรแมงานนั้นจะมีอุปสรรค และตองใชระยะเวลายาวนาน

13. มานะบากบั่นไมเกียจครานตอการปฏิบัติงานโดยยึดหลักความ สําเรจ็ของงานเปนที่ตั้ง

14. ขยัน อดทน และตั้งใจฝกฝน เพื่อพัฒนาทักษะฝมือใหเกิดความชํานาญ

15. ทุมเทเวลาและความสามารถในการปฏิบัติงานแมเปนงานที่ไมถนัด

16. พยายามและหมั่นเพียรที่จะหาประสบการณในการปฏิบัติงานใหเพิ่มพูน

ดานจิตตะ 17. เอาใจใสไมปลอยใจใหฟุงซาน ในขณะที่ปฏิบัติงาน 18. ใสใจ ใฝรู ในสิ่งที่เกี่ยวของกับงานอยูเปนนิตย ทั้งในและนอก

เวลางาน

19. ตั้งจิตใจแนวแนมั่นคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่องอ่ืนจนกวางานจะสําเร็จ

20. รับรูและรับผิดชอบในงานอยางเต็มที่ แมงานจะมีอุปสรรค 21. เอาใจใสในงานและเพื่อนรวมงาน เมื่อพบปญหา

ก็พรอมที่จะแกไข

22. ตั้งมั่นและตั้งใจจริงท่ีจะปฏิบัติงานใหประสบความสําเรจ็ตามเปาหมาย

23. มีจิตใจออนโยนสามารถปฏิบตัิงานใหสําเร็จไดโดยไมใชความรุนแรงและไมเกิดความขัดแยง

Page 117: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๔

ขอ การประยุกตอิทธิบาท ๔ เพื่อสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

ความคิดเห็น

มากที่สุด

มาก ปานกลาง

นอย นอยที่สุด

24. รอบคอบและจริงจังในการปฏิบตัิงาน ไมปฏิบัติงานแบบขอไปทีหรือฉาบฉวย

ดานวิมังสา ๒๕. พิจารณาใครครวญหาขอด-ีขอดอย ในการปฏิบัติงานทุกครั้งเพื่อ

เปนแนวทางครั้งตอไป

๒๖. ไตรตรองและตรวจสอบขอบกพรองของการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา

๒๗. พิจารณาแผนการปฏิบัติงานเพื่อสรางระบบและขั้นตอนที่ชัดเจน ๒๘. คนควาและวิเคราะหขอมูลเพื่อเพิม่พูนความสามารถในการ

ปฏิบัติงาน

๒๙. ตรวจสอบ/ทดสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของผลงานที่ไดรับ ๓๐. คิดคนแนวทางการปรับปรุงงาน และแกไขปญหาที่เกดิขึ้นดวย

เหตุและผล

๓๑. ศึกษาไตรตรองระบบงานเพื่อใหเกิดกระบวนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ

๓๒. นําความรูจากงานครั้งที่ผานมาเปนเกณฑปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานในครั้งตอไป

สวนที่ ๓ ปญหาและอุปสรรค .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ขอเสนอแนะ ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณทุกทานที่ตอบแบบสอบถาม นายสุพันธ แสนสี

นิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Page 118: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๐

ภาคผนวก

Page 119: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๕

ภาคผนวก ข.

หนังสือขอความอนุเคราะหตรวจแกไขเครื่องมือที่ใชในการวิจัย

Page 120: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๖

Page 121: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๗

Page 122: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๘

Page 123: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๐๙

Page 124: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๐

Page 125: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๑

ภาคผนวก ค.

หนังสือขอความอนุญาตแจกแบบสอบถามที่ใชในการวิจัย

Page 126: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๒

Page 127: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๓

Page 128: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๔

ภาคผนวก ง.

คาผลทดลองใช (Try out)

Page 129: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๕

ผลทดลองใช (Try out)

Case Processing Summary

N %

Cases Valid 30 100.0

Excludeda 0 .0

Total 30 100.0

a. Listwise deletion based on all variables in the procedure.

Reliability Statistics

Cronbach's Alpha N of Items

.928 31

Item-Total Statistics

Scale Mean if Item Deleted

Scale Variance if

Item Deleted

Corrected Item-Total Correlation

Cronbach's Alpha if Item

Deleted

ฉันทะ 126.83 170.144 .370 .928 A2 127.00 164.552 .604 .925 A3 126.47 166.809 .555 .926 A4 126.60 167.352 .425 .927 A5 126.93 165.099 .515 .926 A6 126.87 164.395 .590 .925 A7 126.67 168.506 .463 .927 A8 126.67 169.747 .313 .929 วิริยะ 126.97 167.551 .409 .928 B10 127.10 158.783 .626 .925 B11 127.07 164.064 .630 .925

Page 130: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๖

B12 126.97 167.413 .472 .927 B13 126.90 170.369 .347 .928 B14 126.60 169.076 .391 .928 B16 126.90 171.128 .333 .928 จิตตะ 126.70 166.148 .564 .926 C18 126.87 159.775 .680 .924 C19 126.87 164.947 .562 .926 C20 126.87 163.499 .600 .925 C21 126.80 168.855 .476 .927 C22 126.60 168.248 .515 .926 C23 126.63 168.240 .474 .927 C24 126.73 165.444 .535 .926 วิมังสา 126.70 169.321 .463 .927 D26 126.90 162.024 .777 .923 D27 126.80 166.717 .612 .925 D28 127.03 161.137 .683 .924 D29 126.77 160.185 .731 .923 D30 126.73 167.306 .550 .926 D31 126.73 167.168 .514 .926 D32 126.73 166.961 .432 .927

Page 131: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๗

ภาคผนวก จ.

ขอความอนุเคราะหใหนิสิตเขาปฏิบัตวิิปสสนากรรมฐาน

Page 132: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๘

Page 133: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๑๙

Page 134: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๒๐

Page 135: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๑๒๑

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ-สกุล : นายสุพันธ แสนสี

เกิด : วันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๙

สถานที่เกิด : จังหวัดรอยเอ็ด

การศึกษา : ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (วท.บ)

ประสบการณทํางาน

พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕ : ครูพลศึกษาโรงเรียนอนุบาลอุดมพันธ อ.ปทุมรัตต จ.รอยเอ็ด

พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗ : ครูสอนวายน้ํา

พ.ศ. ๒๕๕๘- ปจจุบัน : นักจัดการงานทั่วไป ฝายประสัมพันธและเผยแผ มจร.สวนกลาง

ปที่เขาศึกษา : พ.ศ.๒๕๕๗

ที่สําเร็จการศึกษา : ๑๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๙

ที่อยูปจจุบัน : ๑๗๙ ซ.ฉิมพล ี๒๘ แขวง ฉิมพลี เขต ตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร

๑๐๑๗๐

Page 136: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

การประยุกตใชหลักอิทธบิาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

AN APPLICATION OF THE PATH OF ACCOMPLISHMENTFOR PROMOTING EFFICIENCY OF THE ADMINISTRATIONIN KHON KEAN SPORTS HIGHER SECONDARY SCHOOL,

KHON KEAN PROVINCE

นายสุพันธ แสนสี๑

ผศ.ดร.สิน งามประโคน๒ พระมหาสมบูรณ สุธมฺโม, ผศ.ดร.๓ ผศ.ดร.ประพันธ ศุภษร๔

หลักสูตร พธ.ม. สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยบทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค ๑) เพ่ือศึกษาการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๒) เพ่ือเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ๓) เพ่ือศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ และขอเสนอแนะแนวทางในการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกนมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมตัวอยาง คือ ผูบริหาร ครูผูสอน นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจํานวน ๑๔๓ รูป เครื่องมือท่ีใชในวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะหขอมูล ดวยการหาคาความถ่ีรอยละ คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบคาที (t-test) และการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว (F-test)ผลการวิจัย พบวา

๑. การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมตัวอยางจํานวน ๑๔๐ คน เปนชายจํานวน ๗๖ คนคิดเปนรอยละ ๕๔.๓ เปนหญิงจํานวน ๖๓ คน คิดเปนรอยละ ๔๕.๗ มีอายุต่ํากวา ๒๐ ปจํานวน129 คน คิดเปนรอยละ 92.1 ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 124 คน คิดเปนรอยละ88.6 ประสบการณการในการสอนอยูในชวง ๑๑ – ๒๐ ป จํานวน 106 คน คิดเปนรอยละ 75.7 และกลุมตัวอยางเปนนักเรียน ๑๓๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๔.๓ ตามลําดับ

๑ ผูวิจัย นิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, คณะครุศาสตร,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๘.

๒ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ/ผูอํานวยการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา,ครุศาสตร,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

๓ อาจารย ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ/อาจารยประจําภาควิชาการบริหารการศึกษา, ครุศาสตร ,มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

๔ อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ/รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Page 137: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒. ความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนดาน พบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนทุกดานอยูในระดับมากโดยเรียงจากมากไปหานอย คือ ดานจิตตะรองลงมา คือ ดานวิมังสา ดานฉันทะ และสุดทายดานวิริยะ ตามลําดับ

๓. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นตอการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จําแนกตามเพศอายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณสอน ตําแหนง ท้ัง ๔ ดาน ไดแก ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา พบวาภาพรวมไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ เม่ือพิจารณารายดาน พบวาทุกดานไมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕ ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว

๔. ผูบริหารควรนําหลักอิทธิบาท ๔ มาประยุกตและบริหารงานบูรณาการกับนโยบายของการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและนํามาซึ่ง ประโยชนสุขของคนในชุมชน สถานศึกษาควรสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมในการการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพ ควรเปดโอกาสใหบุคลากรเสนอความตองการ ปญหาและแสดงความคิดเห็นวิจารณการบริหารงานของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพ่ือไดรับขอมูลปรับปรุงแกไขในสวนท่ีเปนปญหาใหมีความชัดเจนมากยิ่งข้ึน

คําสําคัญ : การประยุกตใช, หลักอิทธิบาท ๔ , สงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร,โรงเรียนกีฬา

AbstractThere are aims in this research 1) to study promotions in the achievement

or the accomplishment of the administration following on the Iddhipăda(Paths of Success) in the provincial athletic school as the high schools in Khon Kean,2) to compare the levels of the opinions and the efficiency in the administrationaccording to the Iddhipăda and 3) to study the application and the guidance of it.The sampling is the administrators, the teachers, and the students who were 143persons. The used tools in this research are the questionnaires, the data analysis, themean, the percentage, the standard deviation, the t-test, the f-test.The research results

1. The Iddhipăda is applied to develop the achievement or theaccomplishment in this school. The sampling is the 140 persons who were dividedinto two groups between the male and the female. The males are the 76 personswho were accounted on the percentage 54.3 and the females are 63 persons whowere accounted on the percentage at amounts of 45.7. The persons in the samplingare less old than the twenty years old for 129 persons who were accounted on thepercentage 92.1.Their educational level is less than the bachelor degree for 124persons who were accounted in the percentage about 88.6. Their experience in

Page 138: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

teaching of the teachers, who are the 106 persons in the percentage about 75.7, is inperiod from 11 to 20 years. The population is the 132 students in the percentage94.3.

2. The ideas in the application of it are the high level in the overview.When have considered in each items, they were found that it is in the high level bymaking the order by order from the least number to the most number. It started atpoints of the Citta (an intention), of the Vimamsa (Wisdom), of Canda (an attention),and finally the Viriya (perseverance).

3. The results of comparison between the ideas and the application of itdepending upon the sex, the old, educational qualification, the teaching experience,and the official position. The four items of Iddhipăda were found that the overview isnot the significant difference of the statistics in the level 0.05 which related to thewritten synthesis.

4. The administrators should apply it to the policy of this school for theusages to people in the communities and they participate to develop the Iddhipăda(Successful Path). By the way, the chance would be open to the personnelpresenting the needs, the opinions and the problems so completely that theadministrators can get rid of the problems.

Keyword : Application of the Path of Accomplishment ,PromotingEfficiency of the Administration ,Sports Higher Secondary School

บทนํามนุษยเปนสัตวสังคม ซึ่งหมายถึง มนุษยโดยธรรมชาติยอมอยูรวมกันเปนกลุมไมอยูอยาง

โดดเดี่ยว แตอาจมีขอยกเวนนอยมากท่ีมนุษยอยูโดดเดี่ยวตามลําพัง เชน ฤษี การอยูรวมกันเปนกลุมของมมนุษยอาจมีไดหลายลักษณะและเรียกตางกัน เปนตนวา ครอบครัว (Family) เผาพันธุ (Tribe)ชุมชน (Community) สังคม (Society) และประเทศ (Country) เม่ือมนุษยอยูรวมกันเปนกลุมยอมเปนธรรมชาติอีกท่ีในแตหละกลุมจะตองมี “ผูนํา” รวมท้ังมี “แนวทางหรือวิธีการควบคุมการดูแลกันภายในกลุม” เพ่ือใหเกิดความสุขและความสงบเรียบรอย สภาพเชนนี้ไดมีวิวัฒนาการตลอดมา โดยผูนํากลุมขนานใหญ เชน ในระดับประเทศของภาครัฐ ในปจจุบันอาจเรียกวา “ผูบริหาร” ขณะท่ีการดูแลภายในกลุมนั้น เรียกวา การบริหาร (Administration) ดวยเห็นผลเชนนี้ มนุษยจึงไมอาจหลีกเลี่ยงจากการบริหารหรือการบริหารราชการไดงาย และทําใหกลาวไดอยางม่ันใจวา “ท่ีใดมีประเทศ ท่ีนั้นยอมมีการบริหาร” วิวัฒนาการของโลกยุคโลกาภิวัตน ทําใหสถานการณดานการเมืองเศรษฐกิจ สังคม การบริหารงานภาครัฐและเอกชน มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว สอดคลองกับแนวทางการบริหารตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ นอกจากนั้นการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานจะตองมีการลดอํานาจสั่งการจากระดับกระทรวงมาใหคณะกรรมการสถานศึกษา และถายโอนอํานาจการบริหารจัดการจากเขตพ้ืนท่ีการศึกษามาสูสถานศึกษาโดยตรง ทําใหการบริหารสถานศึกษาเปนการตัดสินใจ ณ ฐานปฏิบัติการ (Site-Based Decision making) ซึ่ง

Page 139: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

จะตองมีการใหอํานาจการสถานศึกษาในการบริหารจัดการตนเอง โดยระบบการมีสวนรวมจากผูท่ีมีสวนไดสวนเสียโดยตรง สอดคลองกับสํานักงานการประถมศึกษาแหงชาติท่ีไดกลาววา การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานสามารถสนองความตองการของสถานศึกษาและชุมขน การบริหารในรูปแบบของคณะกรรมการสามารถระดมผูมีประสบการณในชุมชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร สงผลใหชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของ และพรอมใจกันในการพัฒนาประสิทธิภาพ๕การบริหารและพัฒนาคุณภาพผูเรียน การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานและจากขอมูลการรายงานผลการบริหารท่ีประสบความสําเร็จของผูบริหารสถานศึกษาตนแบบท่ีผานมา พบวาในการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานนั้นมีแนวทางและปญหาท่ีแตกตางกันออกไป เพ่ือใหการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานมีประสิทธิภาพจึงมีความจําเปนตองศึกษาสภาพปจจุบันของโรงเรียนและกําหนดแนวทางการบริหารใหเหมาะสมกับสภาพและความตองการของโรงเรียนเปนสําคัญ๖ เพ่ือพัฒนาตามแผนยุทธศาสตรการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีมุงเนนพัฒนาคนใหเปนคนเกง เปนคนดี มีความสุข และมุงสรางสังคมใหเขมแข็งและมีดุลยภาพ ๓ ดาน คือ สังคมสุขภาพ สังคมแหงปญญาและการเรียนรูและสังคมสมานฉันทและเอ้ืออาทรตอกัน๗

เนื่องจากโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน จังหวัดขอนแกน มีประเด็นท่ีหนาสนใจเก่ียวกับการสงเสริมระสิทธิภาพในการบริหารจัดการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ท่ีมีความสําคัญตอการบริหารโรงเรียนเปนอยางยิ่ง มีความเจริญกาวหนาทางดานวิชาการ มีชื่อเสียงดานการผลิตนักเรียนท่ีมีคุณภาพ มีกิจกรรมการเรียนรูรวมกันระหวางโรงเรียนกับชุมชน มีกิจกรรรมเพ่ือสังคมมากมาย และพบวาการบริหารจัดการโรงเรียนในดานการสื่อสารการสั่งการและการติดตอประสารงานของผูบริหารโรงเรียนกับบุคลากรหรือองคกรภายนอกยังตองไดรับการสงเสริมพัฒนาใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน สิ่งท่ีจะทําใหการบริหารจัดการโรงเรียนประสบผลสําเร็จ คือการนําเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกตใชเพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน จึงตองพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเชี่ยวชาญ มีความพอใจ มีความขยันขันแข็ง มีความเอาใจใสใครครวญอยูเสมอซึ่งหมายถึง หลักอิทธิบาท ๔๘ ไดแก ๑) ฉันทะ ความพอใจ คือ ความตองการท่ีจะทํา รักท่ีจะทําสิ่งนั้นอยูเสมอและปรารถนาจะทําใหไดผลดี ๒) วิริยะ ความเพียร คือ ขยันหม่ันประกอบสิ่งนั้นดวยความพยายาม เข็มแข็ง อดทน เอาธุระไมทอถอย ๓) จิตตะ ความคิด คือ ตั้งจิตรับรูในสิ่งท่ีทํา และทําสิ่งนั้นดวยความคิด

๕ รับขวัญ ภาคภูมิ, “ความสัมพันธระหวางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษากับสุขภาพองคกรของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานพ้ืนท่ีการศึกษากําแพงเพชรเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฎกําแพงเพชร, ๒๕๔๗ ).

๖ สมศักดิ์ รอบคอบ, “ประสิทธิภาพการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครปฐมเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารการศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๔๘).

๗ กระทรวงศึกษาธิการ, แผนพัฒนาการศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๔๕),หนา ๑๐.

๘ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺ โต) , พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งท่ี ๙,(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๑๘๖.

Page 140: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

เอาจิตฝกใฝไมปลอยใจใหฟุงซานเลื่อนลอยไป ๔) วิมังสา ความไตรตรอง หรือ ทดลอง คือ หม่ันใชปญญาพิจารณาใครครวญตรวจตาหาเหตุผลและตรวจสอบขอยิ่งหยอนในสิ่งท่ีทํานั้น มีการวางแผนวัดผล คิดคนวิธีแกไขปรับปรุง เปนตนนั้นเอง

ผูศึกษาวิจัยจึงตองศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน จังหวัดขอนแกน โดยจําแนกปจจัยสวนบุคคล และแนวทางการประยุกตใชหลักอิทธบิาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน ใหเปนแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพสูงสุดตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย๑. เพ่ือศึกษาการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิบาท ๔ ของโรงเรียนกีฬา

จังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย๒. เพ่ือเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารตามหลักอิทธิ

บาท ๔ ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจําแนกตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณในการสอน ตําแหนง ของครูและนักเรียน

๓. เพ่ือศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ และขอเสนอแนะแนวทางในการสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย

วิธีการดําเนินการวิจัยรูปแบบการวิจัยการวิจัยเรื่อง “การประยุกตใชอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน

กีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน” เปนการวิจัยเชิ งปริมาณ( Quantitative Research) วิ จั ย เ ชิ ง สํ า ร ว จ ( Survey Research) โ ด ย ใ ช แ บ บ ส อ บ ถ า ม(Questionnaire)

ประชากร และ กลุมตัวอยางประชากรท่ีใชในการศึกษาครั้งนี้ ใชการสุมมาจากประชากร โดยหาขนาดของกลุม

ตัวอยางจากการใชสูตรคํานวณของ ทาโร ยามาเน (Taro Yamane) ท่ีระดับความเชื่อม่ัน ๐.๐๕ หรือรอยละ ๙๕ ไดขนาดกลุมตัวอยาง เปนผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอนในสถานศึกษา และนักเรียนโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน จํานวน ๑๔๓ คน

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยเครื่องมือท่ีใชในการวิจัย เปนแบบสอบถามท่ีผูวิจัยจะสรางข้ึนเอง จากแนวคิด ทฤษฎี ท่ี

ไดทบทวนมาแลว แบงแบบสอบถามออกเปน ๓ ตอน คือ

Page 141: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

ตอนท่ี ๑ ขอมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับผูตอบแบบสอบถาม ตามลักษณะของคําถามเปนแบบตรวจสอบรายงาน (Check List) โดยถามเก่ียวกับเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณการสอน และตําแหนง

ตอนท่ี ๒ แบบสอบถามเก่ียวกับทัศนคติของผูบริหาร ครู และนักเรียนท่ีมีตอการประยุกตใชอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกนมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ตามท่ีกําหนดไวในขอบเขตการวิจัยดานเนื้อหา

ตอนท่ี ๓ แบบสอบถามปลายเปด (Open-end question) เปนการเปดโอกาสใหผูตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมเก่ียวกับปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะอยางอิสระ

การเก็บรวบรวมขอมูลการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดดําเนินการตามข้ันตอน ดังนี้๑. ผูวิจัยติดตอหนวยงานหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพ่ือทําหนังสือถึงผูอํานวยการโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน เพ่ือขออนุญาตเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม

๒. ผูวิจัยสงแบบถามท่ีสรางเสร็จเรียบรอยแลวไปยังโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกนโดยผูวิจัยเก็บขอมูลดวยตนเองแลวเก็บแบบสอบถามกลับคืนมาดวยตนเอง

๓. ตรวจสอบความสมบูรณของแบบสอบถามเพ่ือนํามาวิเคราะหขอมูลทางสถิติตอไปการวิเคราะหขอมูลและสถิติท่ีใชในการวิจัยวิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปเพ่ือการวิจัยทางสังคมศาสตร ดังนี้๑. วิเคราะหขอมูลเก่ียวกับสถานภาพท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามโดยเปนคาสถิติ

พ้ืนฐานเก่ียวกับคาความถ่ีรอยละ (Percentage)๒. วิเคราะหขอมูล ทัศนคติของคณาจารยและเจาหนาท่ีท่ีมีตอการประยุกตใชอิทธิบาท ๔

เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดขอนแกน เพ่ือหาคาเฉลี่ย (x) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

๓. วิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบระดับทัศนคติของผูบริหาร ครู และนักเรียน จําแนกตามป จ จั ย พ้ื นฐ านส ว นบุ ค คลของผู ต อบแบบสอบถาม ห าค า ค ว ามแปรปรวนทา ง เดี ย ว(One Way ANOVA)

๔. วิเคราะหขอมูลทัศนคติของผูบริหาร ครู และนักเรียน ท่ีมีตอการประยุกตใชอิทธิบาท๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลายจังหวัดขอนแกน

ผลการศึกษาผลการศึกษาวิจัยพบวา ดานสถานภาพ ผลการวิจัยจากกลุมตัวอยางจํานวน ๑๔๐ คน

สวนใหญเปนชายจํานวน ๗๖ คน คิดเปนรอยละ ๕๔.๓ เปนหญิงจํานวน ๖๓ คน คิดเปนรอยละ๔๕.๗ ดานอายุ ผลการวิจัย พบวา สวนใหญมีอายุต่ํากวา ๒๐ ปจํานวน 129 คน คิดเปนรอยละ

Page 142: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

92 .1 ดานระดับการศึกษา ผลวิจัย พบวา ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 124 คน คิดเปนรอยละ 88 .6 ดานประสบการณในการสอน พบวา ประสบการณการในการสอนอยูในชวง ๑๑ –๒๐ ป จํานวน 106 คน คิดเปนรอยละ 75 .7 ดานตําแหนงกลุมตัวอยางเปนนักเรียน ๑๓๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๔.๓ ตามลําดับ

การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนดานพบวา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนทุกดานอยูในระดับมากโดยเรียงจากมากไปหานอย คือ ดานจิตตะ รองลงมา คือ ดานวิมังสา ดานฉันทะ และสุดทายดานวิริยะ ตามลําดับ

สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ๑. ดานฉันทะ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหาร

โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานฉันทะ ภาพรวมอยูในระดับมาก พบวา ขอท่ีมีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ ยินดีรับฟงความคิดเห็นของเพ่ือนรวมงานและพรอมปฏิบัติตาม มีความเต็มใจในการชวยเหลือเพ่ือนรวมงานในหนวยงาน รักท่ีจะปฏิบัติและพัฒนางานอยูตลอดเวลาไมหยุดนิ่งเพ่ือใหผลงานท่ีไดรับมีประสิทธิผลและขอท่ีมีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ ปฏิบัติงานดวยความสมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอ่ืนใด ตามลําดับ

๒. ดานวิริยะ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิริยะ ภาพรวมอยูในระดับมาก พบวา ขอท่ีมีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ ขยัน อดทน และตั้งใจฝกฝน เพ่ือพัฒนาทักษะฝมือใหเกิดความชํานาญ พยายามและหม่ันเพียรท่ีจะหาประสบการณในการปฏิบัติงานใหเพ่ิมพูน ปฏิบัติงานทันทีท่ี ไดรับมอบหมาย ไมยอทอตออุปสรรค และไมละท้ิงงาน และขอท่ีมีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ ปฏิบัติงานไดสมํ่าเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยากตามลําดับ

๓. ดานจิตตะ การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานจิตตะ อยูในระดับมากพบวา ขอท่ีมีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ เอาใจใสไมปลอยใจใหฟุงซาน ในขณะท่ีปฏิบัติงาน รอบคอบและจริงจังในการปฏิบัติงาน ไมปฏิบัติงานแบบขอไปทีหรือฉาบฉวย ตั้งม่ันและตั้งใจจริงท่ีจะปฏิบัติงานใหประสบความสําเร็จตามเปาหมาย และขอท่ีมีความคิดเห็นในระดับต่ําสุดคือ ตั้งจิตใจแนวแนม่ันคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่องอ่ืนจนกวางานจะสําเร็จ ตามลําดับ

๔. ดานวิมังสา การประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ดานวิมังสา อยูในระดับมากพบวา ขอท่ีมีความคิดเห็นเรียงจากมากไปหานอย คือ นําความรูจากงานครั้งท่ีผานมาเปนเกณฑปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานในครั้งตอไป ศึกษาไตรตรองระบบงานเพ่ือใหเกิดกระบวนการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพ พิจารณาใครครวญหาขอด-ีขอดอย ในการปฏิบัติงานทุกครั้งเพ่ือ

Page 143: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

เปนแนวทางครั้งตอไป และขอท่ีมีความคิดเห็นในระดับต่ําสุด คือ คนควาและวิเคราะหขอมูลเพ่ือเพ่ิมพูนความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามลําดับ

ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นผูบริหารการศึกษา และครูผูสอน นักเรียน ตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ จําแนกตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณการสอนตําแหนงตางกัน มีความคิดเห็นตอการบริหารโรงเรียนตามหลักอิทธิบาท ๔ ภาพรวมพบวาไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ ๐.๐๕

ขอเสนอแนะแนวทางการศึกษาการสงเสริมคานิยม ๑๒ ประการของนักเรียนโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดเขตดอนเมือง ดังนี้

๑. ดานฉันทะ พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียนควรมีการปฏิบัติงานดวยความสมัครใจและมุงหวัง ผลสําเร็จของงานเหนือสิ่งอ่ืนใด และ มีความสุข สนุก และจริงจังกับงานท่ีปฏิบัติอยูเสมอแมงานจะมีปญหาอยางมาก ท้ังสมัครใจท่ีจะปฏิบัติงานอยางสุดความสามารถแมงานนั้นจะเหนือความสามารถ

๒. ดานวิริยะ พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียน ตองปฏิบัติงานไดสมํ่าเสมอจนกวางานจะสําเร็จโดยไมคํานึงถึงความเหนื่อยยาก และปฏิบัติงานท่ีไดรับมอบหมายไดตอเนื่องยาวนานไมเบื่อหนาย ท้ังตองทุมเทเวลาและความสามารถในการปฏิบัติงานแมเปนงานท่ีไมถนัด

๓. ดานจิตตะ พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียน ตั้งจิตใจแนวแนม่ันคงตองานหรือภารกิจ ไมคิดเรื่องอ่ืนจนกวางานจะสําเร็จ รับรูและรับผิดชอบในงานอยางเต็มท่ี แมงานจะมีอุปสรรคและใสใจ ใฝรู ในสิ่งท่ีเก่ียวของกับงานอยูเปนนิตย ท้ังในและนอกเวลางาน

๔. ดานวิมังสา พบวา ผูบริหาร ครูผูสอน และนักเรียน คนควาและวิเคราะหขอมูลเพ่ือเพ่ิมพูนความสามารถในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบ/ทดสอบคุณภาพและประสิทธิภาพของผลงานท่ีไดรับ และไตรตรองและตรวจสอบขอบกพรองของการปฏิบัติงานอยูตลอดเวลา

ขอเสนอแนะ๑. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย๑) ผูบริหารควรบริหารงานโดยนําหลักอิทธิบาท ๔ มาประยุกตและบูรณาการกับ

นโยบายของการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน เพ่ือใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและนํามาซึ่ง ประโยชนสุขของคนในชุมชน

๒) สถานศึกษาควรสงเสริมใหบุคลากรมีสวนรวมในการการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพ

๓) เปดโอกาสใหบุคลากรเสนอความตองการ ปญหาและแสดงความคิดเห็นวิจารณการบริหารงานของโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน เพ่ือ ไดรับขอมูลปรับปรุงแกไขในสวนท่ีเปนปญหาใหมีความชัดเจนมากยิ่งข้ึน

๒. ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป๑. ควรศึกษาการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการบริหารกลุมตัวอยางอ่ืนๆ เชน

โรงเรียนในเขตพ้ืนท่ี เพ่ือสนับสนุนและสามารถนําแนวการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ ในการบริหารไปใชไดจริงในสถานศึกษา

Page 144: การประยุกต ใช หลักอิทธิบาท ๔ เพื่อส งเสริมประสิทธิภาพการ ... · ๔. ผู บริหารควรนําหลักอิทธิบาท

๒. ควรนําหลักธรรมทางพุทธศาสนาในหัวขอธรรมอ่ืนๆมาประยุกตใชในการบริหารงานในโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน

๓. เม่ือทราบแนวการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแกน มัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดขอนแกน ควรนํามาสรางเปนรูปแบบการประยุกตใชหลักอิทธิบาท ๔ เพ่ือสงเสริมประสิทธิภาพการบริหารโรงเรียน โดยการทําการวิจัยในระดับท่ีสูงข้ึน

เอกสารอางอิงกระทรวงศึกษาธิการ, แผนพัฒนาการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๔๕.พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺ โต) , พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งท่ี ๙,

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.รับขวัญ ภาคภูมิ, “ความสัมพันธระหวางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหาร

สถานศึกษากับสุขภาพองคกรของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานพ้ืนท่ีการศึกษากําแพงเพชรเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวทิยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฎกําแพงเพชร, ๒๕๔๗.

สมศักดิ์ รอบคอบ, “ประสิทธิภาพการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานของสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครปฐมเขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาการบริหารการศึกษา,บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, ๒๕๔๘.