23
1

ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

1

 

Page 2: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

2

ขอบเขตเนื้อหา ความรูทัว่ไปเกี่ยวกับกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน 4 ภารกิจ 6 คานิยมรวม 7 สัญลักษณ 7 วิสัยทัศน 8 พันธกิจ 8 โครงสราง 8 เจตนารมณของกระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชน 9 อายุและความรับผิดทางอาญา 9 กฎหมายท่ีหนวยงานตองใชในการปฏิบัติงาน 14 กระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชนในอาเซียน 36 พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครวัและวิธีพิจารณาคดีแรงงานและครอบครวั พ.ศ. 2553 62 อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก 124 ความรูเกี่ยวกับจิตวิทยาเด็กและวัยรุนทั่วไป 180 ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 205 ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวขอสอบ พรบ.ศาลเยาวชนและครอบครัวฯ 291 แนวขอสอบ พรบ.คุมครองเด็ก 307 แนวขอสอบ ความรูทัว่ไปเก่ียวกับกรมพินิจและคุมครองเด็ก 328

 

Page 3: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

3

ความรูทั่วไปเกีย่วกับ กรมพินจิและคุมครองเด็กและเยาวชน

. ในสมัยที่ยังใชกฎหมายลักษณะ อาญา ร.ศ. 127 การปฏิบัติตอเด็กท่ีกระทําความผิด ตามกฎหมาย ศาลไดแตพิเคราะหถึงความรูสึกผิดชอบของเด็กประกอบกับลักษณะ ของความผิดท่ีเด็กไดกระทําลง แลวกําหนดโทษไปตามความเหมาะสมกับความผิด และความรูสึกรับผิดชอบของเด็ก สวนการควบคุมเด็กที่กระทําผิด ในป พ.ศ. 2450 ไดมีการจัดตั้งโรงเรียนดัดสันดานขึ้นที่เกาะสีชัง อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยใหอยูในความดูแลของกรมตํารวจ โรงเรียนดังกลาวเปนสถานที่ควบคุมเด็กท่ี กระทําความผิดซึ่งมีอายุระหวาง 10 - 16 ป ไวใหการแกไขเปล่ียนแปลงอุปนิสัย สวนที่เสียหายและปลูกฝงนิสัยที่ดี ตอมาไดโอนกิจการโรงเรียนดัดสันดานใหอยู ในการดูแลของกรมราชทัณฑ ในป พ.ศ. 2478 ไดตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา โดยมีบทบัญญัติใหศาลมีอํานาจ ส่ังใหเด็กท่ีมีอายุในเขตบังคับ (อายุไมครบ 15 ป) ที่ไมไดไปเรียนอยูในโรงเรียนประถมศึกษา โดยปราศจากเหตุผลอันสมควรไปไวในโรงเรียนฝกอาชีพ และตอมาไดตราพระราชบัญญัติ ราชทัณฑ พ.ศ. 2479 และพระราชบัญญัติจัดการฝกและอบรมเด็กบางจําพวก พ.ศ. 2479 ข้ึนใชบังคับ โดยไดมีบทบัญญัติวางวิธีปฏิบัติตอนักโทษและตอเด็กท่ีตองคําพิพากษาให หนัก ไปในทางฝกอบรม ไมใชการทําโทษเชนแตกอน กรมราชทัณฑจึงไดจัดตั้งโรงเรียนฝกอาชีพ สําหรับเด็กท่ีกระทําผิดท่ีมีอายุยังไมครบ 18 ป และแยกควบคุมผูตองโทษครั้งแรกที่มีอายุ ต่ํากวา 25 ป ไวเปนพิเศษ โดยเปล่ียนชื่อโรงเรียนดัดสันดานเปนโรงเรียนฝกอาชีพ พรอมกับ ยายจากเกาะสีชังมาตั้งอยูที่ตําบลเกาะใหญ อําเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สวนผูตองโทษครั้งแรกที่มีอายุต่ํากวา 25 ป ไดจัดตั้งเปนทัณฑสถานวัยหนุม ตอมากรมราชทัณฑ ไดโอนกิจการโรงเรียนฝกอาชีพไปใหกรมประชาสงเคราะหดําเนินการตาม พระราชบัญญัติ จัดการฝกและอบรมเด็กบางจําพวก (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2501 ซึ่งกรมประชาสงเคราะห ไดรับเด็ก วฝกอบรม ณ เยาวชนสถานบานหวยโปง จังหวัดระยอง สวนทัณฑสถานวัยหนุมยังคงอยูกับ กรมราชทัณฑ พระราชบัญญัติควบคุมเด็กและนักเรียน พ.ศ. 2481 ไดมีบทบัญญัติใหกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย เปนเจาหนาที่จัดการกับเด็กนักเรียนและเด็กอนาถาที่ประพฤติตนไมสมควร แกวัยและใหศาลมีอํานาจสั่งถอนอํานาจปกครองบิดามารดาหรือผูปกครองเด็กที่ใช อํานาจปกครอง โดยมิชอบเสียบางสวนหรือทั้งหมดได และตั้ง

Page 4: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

4 เจาหนาที่ใหเปนผูปกครองแทนกระทรวงศึกษาธิการ ไดจัดใหมีสารวัตรนักเรียนออกทําการตรวจตราดูแลความประพฤติของเด็กนักเรียน ในกรุงเทพมหานคร สวนกรมประชาสงเคราะหไดจัดตั้งสถานสงเคราะหเปนที่ใหการเล้ียงดูและอบรม ข้ึน เชน สถานสงเคราะหเด็กออน โรงเรียนชาติสงเคราะห โรงเรียนประชาสงเคราะห วิทยาลัยพิบูลประชาสรรค เยาวชนสถานทุงมหาเมฆ และเยาวชนสถานบางละมุง จังหวัดชลบุรี รัฐบาลไดเล็งเห็นความสําคัญของเด็กท่ีกระทําผิดมาโดยตลอด และเห็นวาบทบัญญัติของกฎหมาย ที่เกี่ยวของยังมีขอบกพรองและมีอุปสรรคอยูหลายประการ ทั้งกฎหมายท่ีบัญญัติไวก็เฉพาะสําหรับการ ปฏิบัติตอเด็กหลังจากศาลมีคําพิพากษาหรือมีคําส่ังแลว สวนวิธีปฏิบัติตอเด็กในระหวางที่ถูกจับกุมและ ระหวางการพิจารณาคดีไมมีกฎหมายบัญญัติวิธีการไว เด็กจึงไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกับผูใหญกระทํา ความผิดซึ่งเปนการไมเหมาะสมและมีผลเสียหายแกเด็ก จึงไดตราพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและ เยาวชน พ.ศ. 2494 และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2494 กระทรวงยุติธรรม จึงไดจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน กลาง กับสถานพินิจและคุมครองเด็กกลางขึ้นเปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2495 โดยมี ที่ทําการชั่วคราวอยูที่อาคารศาลแขวงพระนครใต (เดิม) ตําบลตลาดนอย อําเภอสัมพันธวงศ จังหวัดพระนคร สวนอาคารที่ทําการถาวรไดกอสรางข้ึนในที่ดินราชพัสดุใกล ศาลเจาพอหลักเมือง ดานถนนราชินี จัดทําสัญญาจางกอสรางอาคารดังกลาว เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2495 เปนเงินทั้งส้ิน 1,370,000 บาท กําหนดเวลากอสราง 300 วัน การเปดทําการศาลคดีเด็กและเยาวชน กับสถานพินิจและคุมครองเด็ก เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2495 นับเปนการเริ่มตนแหงระบบการแกไขเยียวยาเด็กและเยาวชนที่ถูกตองเหมาะสม โดยแยกปฏิบัติตอเด็กและ เยาวชนที่กระทําความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมสําหรับผูใหญ ทั้งกฎหมายไดบัญญัติใหมีการสืบเสาะ และพินิจขอเท็จจริงเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ภาวะแหงจิต และส่ิงแวดลอมทั้งปวงไปพรอมกับการสอบสวน ขอเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทําความผิด ซึ่งจะทําใหศาลไดทราบถึงสาเหตุแหงการกระทําผิดกอน แลวจึงใชมาตรการแกไขเด็กและเยาวชนดวยวิธีการที่เหมาะสมเปนรายบุคคล ตอมากระทรวงยุติธรรม ไดเสนอปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2494 และพระราชบัญญัติ วิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2494 ใหเหมาะสมย่ิงข้ึน ซึ่งตอมาไดตราพระราชบัญญัติจัดตั้ง ศาลคดีเด็กและเยาวชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2506 และพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2506 โดยมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2507

Page 5: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

5

ภารกิจ 1. พิทักษคุมครองสิทธแิละสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน ผูเยาวและครอบครัวที่เขาสู

กระบวนการยุติธรรม โดยสงเสริมการใช กระบวนการยุติธรรมทางเลือกและมาตรการอื่นๆ 2. ดําเนินการดานคดี ดานการปองกนั บําบัด แกไข ฟนฟู พฒันาและสงเคราะหและ

ติด ตามประเมินผล 3. ประสานความรวมมอืและสรางเครือขายกับชุมชน องคกรภาครัฐ ภาคเอกชนทัง้

ภายในและตางประเทศ เพื่อสนับสนุนกระบวนการยุติธรรมและปองกนัการกระทําผิดของเด็กและเยาวชน

4. ศึกษา วิเคราะห วิจัยและพัฒนากฏหมาย รูปแบบและวิธกีารปฏิบัติตอเด็กและเยาวชน

5.พัฒนาการบริหารจัดการและบุคลากรดวยระบบการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี

คานิยมรวม (Unity) สามัคคี (Unity) มีเมตตา (Kindness) มุงมั่น (Effort) พัฒนาเด็กและเยาวชน

(Development)

วิสัยทัศน เปนองคกรมาตรฐานที่เปนผูนําดานการพิทักษผูเยาวและคืนเด็กดีสูสังคม

พันธกิจ 1. พิทักษผูเยาวเพื่อสวัสดิภาพและอนาคต 2. ยกระดับคุณภาพการดูแล แกไข บําบัดฟนฟู เด็กและเยาวชน 3. พัฒนาบุคลากรและระบบงานใหมีประสิทธิภาพ

เจตนารมณของกระบวนการยุติธรรมสําหรับเด็กและเยาวชน การแกไขใหเด็กและเยาวชนใหกลับตนเปนคนดี โดยมีหลักสําคัญมุงไปในทางที่จะ

สงเคราะหใหเด็กไดมีโอกาสแกไขความประพฤติและปรับปรุงตัวเองใหเขากับสภาพส่ิงแวดลอมทั้งครอบครัวและสังคมมากกวาการแกไขดวยวิธีกําราบและลงโทษ โดยถือวาสาเหตุที่เด็กเหลานี้กระทําผิดกฎหมายนั้นเนื่องจากไมไดรับการอบรมสั่งสอนและความเอาใจ

Page 6: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

6

การสืบเสาะขอเท็จจริง ในการสืบเสาะขอเท็จจรงิ บุคลากรของสถานพินจิ จะดําเนินการดังนี้ - ถามปากคาํเด็กหรือเยาวชน - ถามปากคาํบิดามารดา ผูปกครองหรือบุคคลทีเ่ด็กหรือเยาวชนอยูดวย - ถามปากคาํผูเสียหาย - ถามปากคาํบุคคลที่เกี่ยวของอื่น เชน ครู นายจาง - สืบเสาะสภาพแวดลอมของเด็กหรือเยาวชน - ตรวจสภาพรางกาย ตรวจทางจติวทิยา ตรวจพเิคราะหทางจิต หรือตรวจอยางอื่นที่

เห็นวาจําเปน

-ประมวลขอเท็จจริงท่ีไดพรอมท้ังทําความเห็นเกี่ยวกบัสาเหตุแหงการกระทําผิดและเสนอความเหน็เกี่ยวกับการลงโทษหรือการใชวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชน

สิทธิของเด็กและเยาวชนเม่ือถูกจับกุมและถูกควบคุมตัวยังหนวยงานของกรมพินิจฯสิทธิของเด็กและเยาวชนเม่ือถูกจับกุมและถูกควบคุมตัวยังหนวยงานของกรมพินิจฯ

เด็กและเยาวชนจะไมถูกควบคุมตัวโดยมิชอบดวยกฎหมาย เด็กหรือเยาวชนท่ีไมสมควรถูกดําเนินคดีจะไดรับการแกไขและหันเหออกจาก

กระบวนการยุติธรรม เด็กและเยาวชนที่ถูกควบคุมตัวในสถานควบคุมจะไดรับการปฏิบัติเสมือนอยูในบาน

ไดรับการศึกษาเสมือนอยูในโรงเรียน เด็กและเยาวชนจะไมถูกลงโทษดวยการเฆี่ยนหรือวิธีการอื่นๆ อัน ไมสมควรแกวัย เด็กและเยาวชนมีสิทธิไดรับการเย่ียมหรือติดตอส่ือสารกับบุคคลในครอบครัว เด็กและเยาวชนจะมีน้ําสะอาดด่ืมและใชอยางเพียงพอ จะไดรับนมและอาหารอยาง

ถูกตองตามหลักโภชนาการ จะมีเส้ือผาเครื่องนุงหมท่ีสะอาดถูกสุขอนามัย มีที่อยูอาศัยถูกสุขลักษณะ

เด็กและเยาวชนที่เจ็บปวยจะไดรับการดูแลเปนพิเศษและไดรับการรักษาพยาบาลอยางทันทวงที

เด็กและเยาวชนจะไดรับการเตรียมความพรอมเพื่อกลับคืนสูครอบครัวและชุมชนให สามารถกลับไปอยูรวมกันไดอยางมีความสุข

เด็กและเยาวชนที่มีความประพฤติดี ตั้งใจศึกษาอบรมจนเปนที่ประจักษ จะไดรับการเสนอใหปลอยกอนกําหนดหรือลดระยะเวลาฝกอบรมในโอกาสอันควร

Page 7: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

7 การฟองคดีตอศาล

ในกรณีมีการจับกุม หรือเขามอบตัว มีกําหนดระยะเวลาสูงสุดดังนี้ ความผิดท่ีมอีัตราโทษจําคุกไมเกิน 6 เดือน ตองฟองภายใน 30 วัน ความผิดท่ีมอีัตราโทษจําคุกเกิน 6 เดือน ไมเกิน 5 ป ตองฟองภายใน 60 วัน ความผิดท่ีมอีัตราโทษจําคุกเกิน 5 ป ตองฟองภายใน 90 วัน ทั้งนี้ ข้ึนอยูกับระยะเวลาที่ศาลอนุญาตใหผัดฟองได โทษหรือวิธกีารสําหรับเด็กและเยาวชนที่กระทําผิด ที่ศาลอาจกําหนดไดแก วากลาวตักเตือนปรบั คุมความประพฤต ิฝกอบรม จําคุก ขอควรปฏิบัต ิของบิดามารดา ผูปกครอง (หรือบุคคลที่เด็กหรือเยาวชนอยูดวย)

กรณีมาติดตอสถานพินิจฯ เอกสารหลักฐานซึ่งปรากฏอายุของเด็กหรือเยาวชน เอกสารแสดงตนของผูปกครอง ใหปากคําตอพนักงานคมุประพฤต ิและ มาพบตามกาํหนดนัดทุกครั้ง ทั้งนี้ในกรณีที่บิดามารดามีสวนสนับสนุนใหเด็กหรือเยาวชนกระทําผิด ศาลอาจถอน

อํานาจปกครองของบิดามารดาที่มีตอเด็กหรือเยาวชนนั้นเปนการชั่วคราวได เปนเวลาไมเกิน 2 ป

ในกรณีที่ศาลพิพากษาแลวหากพบวาพฤติการณเปล่ียนแปลงไป ศาลอาจเปล่ียนแปลงคําพิพากษาเกี่ยวกับการลงโทษหรือวิธีการสําหรับเด็กและเยาวชนได

การดูแลแกไขเด็กและเยาวชนระหวางรับการฝกอบรม หากพบวามคีวามประพฤติดีและตั้งใจรับการฝกอบรม อาจไดรับการปลอยตัวกอนครบกาํหนดการฝกอบรมได

Page 8: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

8

ขอกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่หนวยงานในสงักัดตองใชในการปฏิบัติงาน

สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครวัและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัวพ.ศ. 2553 มีบทบญัญัติหลายประการที่มีผลเปล่ียนแปลงการดําเนินงานของสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน และศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชน เพื่อใหบุคลากรของหนวยงานในสังกัดกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนมีความเขาใจในขอกฎหมาย กฎ ระเบียบที่เปล่ียนแปลงไป รวมทั้งใหทุกหนวยสามารถปฏิบัติไดอยางถูกตองตรงกัน จึงไดจัดทําเอกสารฉบับนี้ข้ึน อยางไรก็ตามคําอธบิายเพียงเปนการนําเสนอใหรูหลัก แตในบางครัง้หากตางหนวยงานมีความเห็นเปนอยางอื่นก็ควรวิเคราะหใหรอบคอบ รับฟงความเห็นหนวยงานอื่นโดยปราศจากอคติแลวตดัสินใจดําเนินงานในสิ่งที่ดีที่สุด

การทํางานของสถานพินิจฯ ที่ตองเก่ียวของกับศาล หรือตองดําเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ

1. รับตัวเดก็หรือเยาวชนจากศาล และรับแจงการจับกุมหรือการเขามอบตัวจากพนักงานสอบสวน

สถานพินิจฯ ไดรับทางใดทางหนึ่งก็เปนจุดเริ่มตนที่จะทําใหมีอํานาจในการสืบเสาะขอเท็จจริงหากไดรับตัวจากศาล ก็ติดตามสอบถามหนังสือแจงจากพนักงานสอบสวนเพื่อทราบขอกลาวหาและพฤติการณคดี

การสืบเสาะนั้นไมใชการปฏิบัติตามคําส่ังศาล แตเปนการปฏิบัติตามท่ีกฎหมายกําหนดคือมาตรา 82 ประกอบ มาตรา 36 (1) ซึ่งศาลสั่งหรือไม สถานพินิจก็ตองทําอยูแลว ศาลไมมีอํานาจที่จะกําหนดระยะเวลาการสืบเสาะของสถานพินิจแตการสั่งเชนนั้นก็เปนผลดีที่จะเรงรัดการทํางาน และระยะเวลาที่ศาลกําหนดคือ 30 วันก็นับวาไมเรงรัดจนเกินไป

ในกรณีเชนนี้ควรออกแบบกระบวนงานใหสามารถดําเนินการไดสะดวก กิจกรรมใดไมสงผลตอการเพิ่มคุณภาพของงานก็ควรตัดออก กิจกรรมที่จําเปนหรือที่กฎหมายกําหนดใหทําก็ยังตองคงไวการเรงรัดออกรายงานนับวาเปนความปรารถนาดีที่จะใหมีการฟองและพิพากษาไดเร็วข้ึน อันเปนประโยชนตอเด็กและเยาวชนที่จะพนจากกระบวนการยุติธรรมโดยเร็ว

ในกรณีที่เด็กหรือเยาวชนไดรับการปลอยชั่วคราวไปจากศาล แลวมาพบพนักงานคุมประพฤติควรถามปากคําโดยเร็ว หัวหนาคดีควรบริหารจัดการใหมีพนักงานคุมประพฤติถามคําใหการในวันเดียวกันเพื่อเปนการอํานวยความสะดวกแกประชาชน และแกไขปญหาที่อาจ

Page 9: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

9 เกิดจากการไมมาพบตามกําหนดซึ่งจะสงผลใหไมสามารถออกรายงานไดโดยเร็ว การบริหารจัดการก็อาจจายสํานวนใหพนักงานคุมประพฤติที่อยูในขณะนั้น หรือสามารถดําเนินการไดทันที หรือจัดเปนเวรเพื่อการถามปากคํากรณีเรงดวนเชนนี้

๒.การสืบเสาะขอเท็จจริงในคดีอาญา ขอเท็จจริงทีม่าตรา ๓๖ (1) กําหนดใหตองสืบเสาะ สํานักพัฒนฯ ควรนํา flow การ

ทํางานมาพิจารณาวากิจกรรมที่กําหนดนั้นเปนอยางไร - อะไรทีต่องทําตามกฎหมายก็ตองคงไว - อะไรที่แมจะมากกวาที่กฎหมายกําหนดแตจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการดูแล

แกไขก็คงไวหากการคงไวนั้นยังอยูในความสามรถที่จะดําเนนิการได หรือควรพยายามดําเนินการใหได

- การจะใชกจิกรรมใดควรคํานึงผลที่ไดเปนสําคัญ มิใชไดเพียงรูปแบบที่กําหนด - กิจกรรมใดที่เกินจําเปนตัดออกไดก็ควรตัด เชนกลุมที่ไมตองรับการแกไข ก็ไม

จําเปนตองไปขอคําแนะนําจากสหวิชาชีพ กลุมที่แกไขไดไมยากนั้นบุคคลกรของหนวยงานก็นาจะเสนอแนวทาง และดําเนินการหรือประสานใหมีการดําเนินการแกไขเองได สวนกลุมที่ยากตอการแกไขก็ควรจะรับคําแนะนําจากผูที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องนั้นโดยการจัดใหบุคคลดังกลาวไดรับการแตงตั้งแลวเชิญมาประชุมเพื่อขอคําแนะนําการนําเสนอขอเท็จจริงตามมาตรา ๓๖ (1) นั้น เปนการนําเสนอพยานเอกสารตอศาล ซึ่งตาม ป.วิ อาญาตองนําพยานบุคคลมาสืบประกอบพยานเอกสารแตมาตรา ๑๑๘ แหง พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ บัญญัติวาศาลจะรับฟงรายงานอันมิใชขอเท็จจริงเกี่ยวกับการกระทําผิดโดยไมตองมีพยานบุคคลมาประกอบรายงานนั้นก็ได ในทางตรงขามศาลจะเรียกมาสืบประกอบก็ได ดังนั้นการรวบรวมขอเท็จจริงของเด็กและเยาวชนที่มีการดําเนินการโดยนักวิชาชีพหลายวิชาชีพ ควรเปนรายงานแยกแตละวิชาชีพใครทํารายงานสวนใดก็สามารถรับรองหรือยืนยันขอเท็จจริงไดเฉพาะสวนที่ตนทํา และเมื่อศาลติดใจสงสัยรายงานฉบับใด ก็จะไดเชิญผูทํารายงานนั้นไปศาลเพื่อสืบประกอบหรือสอบถามเพิ่มเติม การนํารายงานของทุกวิชาชีพมารวมเปนรายงานฉบับเดียวนั้นเวลาที่ศาลเรียกสอบถามก็จะเรียกคนท่ีลงชื่อในรายงานซึ่งไดแกพนักงานคุมประพฤติ ในการนี้

พนักงานคุมประพฤติไมสามารถตอบคําถาม หรือใหความเห็นทางดานจิตวิทยา หรือทางการแพทยได

รายงานนั้นควรจัดทําในลักษณะชุดรายงานประกอบดวย - รายงานสิ่งแวดลอม โดยพนักงานคุมประพฤต ิ

Page 10: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

10

อนุสัญญาวาดวยสิทธเิด็ก Convention on the Rights of the Child

สรุปความเปนมาของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กเริ่มตนมาจากการคํานึงถึงหลักสําคัญ 5 ประการ คือสิทธิ

พลเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สําหรับเรื่องสวัสดิภาพ และการคุมครองพิทักษสิทธิเด็กท่ีกําหนดไวในปฏิญญาเจนีวา ในป พ.ศ. 2466(ค.ศ.1923) โดย “สหภาพกองทุนชวยเหลือเด็กระหวางประเทศ” เปนความพยายามครั้งแรกที่จะรวบรวมเงื่อนไขตางๆ เกี่ยวกับสิทธิเด็กไวภายใตเอกสารฉบับเดียวกัน และตอมาไดรับการทบทวนและเพิ่มเติมในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนเมื่อป พ.ศ. 2491 (ค.ศ.1948) ซึ่งไดกลายมาเปนพื้นฐานของขอความทั้งสิบขอในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิเด็ก ซึ่งสมัชชาใหญองคการสหประชาชาติ ไดลงมติเปนเอกฉันท เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2502 (ค.ศ.1959)

ความจําเปนตองมีอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กเปนสวนสําคัญของสิทธิมนุษยชนซึ่งเปนสิทธิที่กําหนดไวภายใตปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2491 และกติกาสากลตาง ๆ รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ ที่มีผลบังคับทางกฎหมาย เพื่อกอใหมีการเสริมสรางและพิทักษสิทธิมนุษยชนอยางแทจริง ดังนั้น การพิทักษสิทธิเด็กก็ควรจะตองอยูบนพื้นฐานของกฏหมายที่แนนอนเปนที่ยอมรับโดยทัดเทียมกันดวยภูมิหลังดังกลาวนี้เอง ประเทศโปแลนดจึงไดเสนอใหมีอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กข้ึนกอนปเด็กสากล (พ.ศ. 2522) ซึ่งความคิดริเริ่มนี้เปนโอกาสและแรงผลักดันใหมีการตั้งคํานิยามท่ีชัดเจนข้ึนเกี่ยวกับมาตรฐานสิทธิมนุษยชนสําหรับเด็ก ตลอดจนนําเอาขอมูลที่มีอยูแลวมาปรับรวมเขาดวยกัน และลดชองโหวที่มีอยูในขอความตางๆ แลวมีการประเมินผลโดยละเอียด เพื่อนําไปบรรจุไวในเอกสารระหวางประเทศเพียงฉบับเดียวที่จะมีผลบังคับใชทางกฏหมายไดอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็กจัดทําขึ้นโดยองคการสหประชาชาติหลังจากที่ประเทศโปแลนดนําเสนอรางอนุสัญญาเมื่อป 2521 โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติไดพิจารณาทบทวนอยางละเอียด และไดตั้งคณะทํางานรางอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ซึ่งประกอบดวยผูแทนจากประเทศสมาชิกของคณะกรรมาธิการดานสิทธิมนุษยชน 43 ประเทศ ผูแทนจากประเทศอื่น ๆ ที่เปนภาคีองคการสหประชาชาติอาจจะเขารวมประชุมดวยในฐานะ “ผูสังเกตการณ” และอาจมีสวนรวมในการอภิปรายไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้แลวองคการระหวางประเทศและองคกรเอกชน ซึ่งมีการติดตอปรึกษางานกับคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแหงสหประชาชาติ ก็อาจจะสงผูแทน

Page 11: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

11 เขารวมประชุมไดดวย ทั้งนี้ผูแทนจากองคกรเอกชนไดรับความยินยอมใหเขารวมดวยอยางเต็มที่ในการหารือเรื่องอนุสัญญาฉบับนี้ อนึ่ง การประชุมตาง ๆ ของคณะทํางานเปดใหสาธารณชนไดรับรูดวย

อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก ไดผานการพิจารณาของคณะทํางานขององคการสหประชาชาติ และไดรับการรับรองจากประเทศตางๆ ในการประชุมสมัชชาใหญสหประชาชาติในเดือนพฤศจิกายน 2532 สาเหตุสําคัญของการเลือกเอาป 2532 เพราะเปนโอกาสครบรอบปที่ 10 ของปเด็กสากลและครบรอบปที่ 10 ของการเริ่มกระบวนการรางอนุสัญญา นอกจากนี้ยังเปนโอกาสครบรอบปที่ 30 ของการประกาศปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิเด็กอีกดวย

สาระสําคัญของอนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก อนุสัญญาฉบับนี้มี 54 ขอ แบงเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 เริ่มจากขอที่ 1 ถึง ขอที่ 41 เปนขอที่วาดวยหลักการและเนื้อหาเก่ียวกับ

สิทธิตางๆ ที่เด็กพึงไดรับ สวนที่ 2 เริ่มจากขอที่ 42 ถึงขอที่ 45 เปนขอที่กําหนดเปนหลักเกณฑและแบบพิธีซึ่ง

ประเทศที่ใหสัตยาบันแกอนุสัญญาตองปฏิบัติตาม สวนที่ 3 เริ่มจากขอที่ 46 ถึงขอที่ 54 เปนขอเกี่ยวของกับกลไกของอนุสัญญาซึ่ง

กําหนดวิธีการสอดสองดูแลการปฏิบัติตามอนุสัญญาและกําหนดเงื่อนไขตาง ๆในการบังคับใช

สําหรับเนื้อหาในสวนที่ 1 ซึ่งวาดวยหลักการและเนื้อหาเกี่ยวกับสิทธิเด็กท่ีพึงไดรับ อาจแบงไดเปน 6 หลักการดวยกันคือ

1. หลักการทั่วไป เปนการคุมครองสิทธิเสรีภาพท่ัว ๆ ไป ในแงทั้งสวนบุคคลการแสดงความเห็น ศาสนา วัฒนธรรม ความเสมอภาคภายใตกฎหมายเดียวกันการศึกษาและอื่น ๆ นอกจากนั้นเปนสวนที่เกี่ยวกับการคุมครองดูแลเด็ก โดยทั่วไปโดยกําหนดไวในรูปหลักพึงปฎิบัติของรัฐภาคี อยางไรก็ตามมีบทบัญญัติที่ตัดปญหาผลกระทบทางลบในการบังคับใชอนุสัญญานี้เปดทายไววาอนุสัญญานี้ไมมีผลทําใหเด็กไดรับความคุมครองนอยไปกวาที่เขามีอยูตามกฎหมายอื่น ๆ สาระสําคัญของหลักนี้อยูในขอ 1 2 3 4 5 6 11 12 13 14 15 16 25 30 38 และ 41

2. หลักการคุมครองรางกายชีวิต เสรีภาพ และสวัสดิภาพของเด็ก

Page 12: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

12

ความรูเกี่ยวกับจิตวิทยาเด็กและวัยรุนทัว่ไป

จิตวิทยาเด็ก จิตวิทยาเด็ก (Child Psychology) เปนสาขายอยของจิตวิทยาพัฒนาการ ซึ่งคําวาจิตวิทยา หมายถึง การศึกษาเชิงวิทยาศาสตรวาดวยเรื่องพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิต โดยเฉพาะมนุษยมีจุดมุงหมายเพื่ออธิบาย ทําความเขาใจ ทํานายและควบคุมพฤติกรรมนั้นๆ (ศิริวรรณ สาระนาค, 2544) แชนท็อก (Santrock, 2003) ไดอธิบายความหมายของพัฒนาการ คือแบบแผนของการเปล่ียนแปลงซึ่งเริ่มตนตั้งแตภาวะตั้งครรภ และตอเนื่องไปจนตลอดชวงชีวิต ดังนั้นจากแนวคิดของนักจิตวิทยาหลายทานสรุปไดวา พัฒนาการหมายถึงการเปล่ียนแปลงทั้งทางรางกาย อารมณ สังคม และจริยธรรมตามระยะเวลา และตอเนื่องกันไปอยางมีระบบ จิตวิทยาเด็กจึงหมายถึง การศึกษาพัฒนาการของเด็ก (ตั้งแตทารกแรกเกิดจนถึงวัยเด็กตอนปลาย อายุ ประมาณ 0-11 ป) โดยเนนวา เด็กมีพฤติกรรมเปนอยางไร พฤติกรรมของเด็กเปล่ียนแปลงไดอยางไร อะไรคือสาเหตุที่ทําใหเด็กมีความแตกตางระหวาง และ/หรือเกิดปญหา ตลอดจนมีแนวทางในการแกไขและปองกันปญหาเด็กหรือสงเสริมพัฒนาเด็กใหมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จิตวิทยาเด็กมีวัตถุประสงคหลักคือศึกษาขอบเขตที่แตกตางกันเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็ก จุดมุงหมายของจิตวิทยาเด็ก 1. เขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรม พัฒนาการและธรรมชาติของเด็กในทุกดาน 2. เขาใจสาเหตุที่ทําใหเด็กมีความแตกตางระหวางบุคคลและ/หรือทําใหเด็กเกิดปญหา 3. เพื่อประยุกตความรู เกี่ยวกับจิตวิทยาเด็กไปใชในการควบคุม และทํานายพฤติกรรมเด็ก ตลอดจนปรับพฤติกรรมเด็กใหเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคุณภาพ ตามบทบาทหนาที่ที่แตกตางกันของแตละบุคคลที่เกี่ยวของกับเด็ก 4. เพื่อใหบุคคลดํารงชีวิตและจัดสถานภาพแวดลอมที่ดีใหแกเด็กโดยการปองกันหรือแกไขปญหาเด็ก ตลอดจนสงเสรมิศักยภาพของเด็กแตละบุคคลใหถึงขีดสูงสุด

Page 13: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

13 พัฒนาการในวัยตางๆ

นักจิตวิทยาพัฒนาการนิยมแบงชีวิตตลอดชีวิตเปนชวงเวลาหลายชวง เรียกวา วัย แตละชวงวัย อาศัยอายุตามปฏิทินเปนเกณฑในการแบง พัฒนาการที่สําคัญในวัยตางๆ มีดังนี้

วัยกอนเกิด (Prenatal Period) เปนวัยนับตั้งแตปฏิสนธิจนถึงคลอด ซึ่งมีระยะเวลาตั้งแตประมาณ 250 – 280 วัน

หรือประมาณ 9 เดือน ชีวิตใหมไดกําเนิดข้ึนมาเมื่อไข(Ovum)ของแมไดรับการผสมกับอสุจิ(Sperm Cell) ของพอ ซึ่งชีวิตใหมนี้มีโครโมโซม 23 คู ไดมาจากพอและแมคนละคร่ึง สําหรับลักษณะเพศนั้นถูกกําหนดโดยการผสมโครโมโซม X หรือ Y จากพอกับโครโมโซม X ของแม ถาลูกได XX จะเปนเพศหญิง สวน XY จะเปนเพศชาย สําหรับรูปรางหนาตานั้นมียีนส(Genes) เปนตัวกําหนด ทั้งนี้ข้ึนอยูกับลักษณะเดนดอยของยีนสพอและแม ถาลักษณะยีนสแมเดนก็จะขมลักษณะยีนสพอใหดอย ลูกท่ีเกิดมาจะเหมือนแมมากกวาพอ ในทํานองเดียวกัน ถายีนสพอเดนลูกก็จะเหมือนพอ ที่วานี้เปนไปตามกฎของเมนเดล(Mendel) ภายหลังจากการปฏิสนธิบริเวณทอนําไข (Fallopian tube) ประมาณ 24 ชั่วโมงแลว ไขก็จะแบงเซลล โดยท่ีแตละเซลลจะแบงตัวมันเองออกเปน 2 สวน ซึ่งมีลักษณะเหมือนเดิมทุกประการไปเรื่อยๆ กระบวนการนี้จะเกิดข้ึนซ้ํากันจนกระทั่งเกิดเซลลข้ึนมากมาย ในขณะที่มีการแบงเซลลกลุมของเซลลก็จะคอยๆเคล่ือนมาตามทอนําไขไปยังมดลูก ปกติการเดินทางของไขถึงมดลูกจะกินเวลาประมาณ 7 วัน กลุมของเซลลจะมีเสนผาศูนยกลางเพียง 2/100 นิ้วเทานั้น เซลลนี้จะยึดติดกับผนังมดลูก ไขที่ไดรับการผสมอาจแบงไดเปน 3 ระยะดังนี้ (Bernstein. 1988 : 38-39) ระยะที่1 คือ Germinal stage คือระยะตั้งแตแรกเกิด ถึง 2 สัปดาหแรกที่ไขไดรับการผสมและเซลลตางๆ ที่เกิดข้ึนจะมีลักษณะเหมือนตัวมันเอง ระยะที่ 2 คือ Embryonic stage คือระยะตั้งแตสัปดาหที่ 2 ถึง สัปดาหที่ 6 สัปดาหรวม 4 สัปดาหจากระยะที่หนึ่ง เริ่มตนของระยะนี้เซลลจะแบงออกเปน 3 ชั้นดวยกันคือเนื้อเย่ือชั้นใน (endoderm) ซึ่งตอมาจะพัฒนาเปนระบบทออาหารเนื้อเย่ือชั้นกลาง (mesoderm) เปนแหลงที่จะพัฒนาเปนกลามเนื้อ หลอดเลือด เย่ือบุตางๆในรางกาย อวัยวะสืบพันธุ อวัยวะขับถาย กระดูก เนื้อเย่ือชั้นนอก (ectoderm) จะพัฒนาเปนผิวหนัง อวัยวะรับความรูสึก ระบบประสาท สมอง เมื่อส้ินสุดระยะที่ 2 หรือ สองเดือนหลังปฏิสนธิเซลลและอวัยวะจะมีลักษณะของมนุษยอยางคราวๆ

Page 14: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

14

แนวขอสอบพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553

11. ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางอยูที่ใด ก. จังหวัดกรุงเทพมหานคร ข. จังหวัดนนทบุรี ค. จังหวัดสมุทรปราการ ง. จังหวัดปราจีนบุรี ตอบ ก. จังหวัดกรุงเทพมหานคร

ศาลเยาวชนและครอบครัว ใหจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวกลางขึ้นในกรุงเทพมหานคร และใหมีเขตอํานาจตลอดกรุงเทพมหานคร 12.ผูรับผิดชอบงานของศาลเยาวชนและครอบครัวทั่วราชอาณาจักรคือใคร ก. อธิบดีผูพพิากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ข. อธิบดีศาลชั้นตน ค. อธบิดีผูพพิากษาภาค ง. ผูพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัว ตอบ ก. อธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง

อธิบดีผูพิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลางเปนผูรับผิดชอบงานของศาลเยาวชนและครอบครัวทั่วราชอาณาจักร โดยใหมีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับอธิบดีผูพิพากษาศาลชั้นตนและอธิบดีผูพิพากษาภาคตามที่บัญญัติไวในพระธรรมนูญศาลยุติธรรม 13.ศาลเยาวชนและครอบครัวตองมีผูพิพากษาไมนอยกวากี่คน

ก. หนึ่งคน ข. สองคน ค. สามคน ง. ส่ีคน ตอบ ข. สองคน ศาลเยาวชนและครอบครัวตองมีผูพิพากษาไมนอยกวาสองคน และผูพิพากษาสมทบ

อีกสองคนซึ่งอยางนอยคนหน่ึงตองเปนสตรี จึงเปนองคคณะพิจารณาคดีไดสวนการทําคําพิพากษาหรือคําส่ังของศาลนั้น ถาคําพิพากษาหรือคําส่ังจะตองทําโดยองคคณะพิจารณาคดีคําพิพากษาหรือคําส่ัง นั้นจะตองบังคับตามคะแนนเสียงฝายขางมากของผูพิพากษาและผูพิพากษาสมทบ ที่เปนองคคณะพิจารณาคดีนั้น ในกรณีที่มีคะแนนเสียงเทากัน ใหนํา

Page 15: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

15 บทบัญญัติแหงพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับโดยอนุโลม 14. ผูพิพากษาสมทบตองมีคุณสมบัติดังขอใด ก. อายุไมต่ํากวาสามสิบหาปบริบูรณ ข. เคยอบรมเล้ียงดูเด็ก ค. ไมเปนขาราชการ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ผูพิพากษาสมทบจะไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งจากบุคคลซึ่งคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมตามกฎหมายวาดวยระเบียบ ขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรมคัดเลือกตามหลักเกณฑและวิธีการท่ีคณะ กรรมการตุลาการศาลยุติธรรมตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการศาล ยุติธรรมกําหนดในระเบียบ และตองมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหาม ดังตอไปนี้

(1) มีอายุไมต่ํากวาสามสิบหาปบริบูรณ (2) มีหรือเคยมีบุตร หรือเคยอบรมเลี้ยงดูเด็ก หรือเคยทํางานเกี่ยวกับการ

สงเคราะหหรือการคุมครองสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน หรือครอบครัว มาเปนเวลาไมนอยกวาสามป

(3) มีคุณสมบัติที่จะเปนขาราชการศาลยุติธรรมไดตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการฝายตุลาการศาลยุติธรรม เวนแตพื้นฐานความรูซึ่งตองไมต่ํากวาปริญญาตรีหรือเทียบเทา หรือเคยเปนผูพิพากษาสมทบ

(4) มีความสุขุมรอบคอบ ทัศนคติ อัธยาศัย และความประพฤติเหมาะสมแกการพิจารณาคดีที่อยูในอํานาจของศาลเยาวชนและครอบครัว

(5) ไมเปนขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐ ขาราชการการเมือง สมาชิกรัฐสภาหรือทนายความ 15. ผูพิพากษาสมทบมีวาระในการดํารงตําแหนงคราวละก่ีป

ก. หนึ่งป ข. สองป ค. สามป ง. ส่ีป ตอบ ค. สามป

Page 16: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

16

ผูพิพากษาสมทบใหดํารงตําแหนงคราวละสามป และจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งผูที่พนจากตําแหนงเนื่องจากครบวาระใหดํารงตําแหนงตอไปอีกก็ได แตจะดํารงตําแหนงเกินสองวาระติดตอกันมิได ผูพิพากษาสมทบท่ีพนจากตําแหนงเนื่องจากครบวาระใหคงปฏิบัติหนาที่ตอไปจน กวาผูพิพากษาสมทบคนใหมจะเขารับหนาที่ 16. ขอใดเปนทัณฑที่จะลงแกเด็กหรือเยาวชนซึ่งอยูในความควบคุมของสถานพินิจ ก. เขาแผนฟนฟูพิเศษ

ข. ตัดสิทธิประโยชนและความสะดวก ค. ถูกท้ังขอ ก. และ ข. ง. ไมมีขอใดกลาวถูกตอง ตอบ ค. ถูกทั้งขอ ก. และ ข. ทัณฑที่จะลงแกเด็กหรือเยาวชนซึ่งอยูในความควบคุมของสถานพินิจ ใหมี ดังตอไปนี้

(1) เขาแผนฟนฟูพิเศษเพื่อปรับพฤติกรรม (2) ตัดสิทธิประโยชนและความสะดวกที่สถานพินิจอํานวยใหบางประการ

17.คณะกรรมการสหวิชาชีพประจําสถานพินิจ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิในวิชาชีพดานใด

ก. ดานจิตวิทยา ข. สังคมสงเคราะห ค. สาธารณสุข ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ คณะกรรมการสหวิชาชีพประจําสถานพินิจ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิในวิชาชีพดาน

จิตวิทยา สังคมสงเคราะห สาธารณสุข และการศึกษา 18. ศูนยฝกและอบรมในกรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม มีใครเปนผูบังคับบัญชา ก. อธิบดี ข. ผูอํานวยการ ค. ผูพิพากษา ง. ผูวาราชการจังหวัด ตอบ ข. ผูอํานวยการ

Page 17: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

17

แนวขอสอบพระราชบัญญัติคุมครองเด็ก พ.ศ. 2546 7. เด็กที่ไมมีบิดามารดาหรือผูปกครองหรือมีแตไมเล้ียงดูหรือไมสามารถเล้ียงดูได จนเปนเหตุใหเด็กตองเรรอนไปในที่ตาง ๆ หมายความถึงขอใด ก. เด็ก ข. เด็กเรรอน ค. เด็กกําพรา ง. เด็กพิการ ตอบ ข. เด็กเรรอน

“เด็กเรรอน” หมายความวา เด็กที่ไมมีบิดามารดาหรือผูปกครองหรือมีแตไมเล้ียงดูหรือไมสามารถเลี้ยงดูได จนเปนเหตุใหเด็กตองเรรอนไปในที่ตาง ๆ หรือเด็กที่มีพฤติกรรมใชชีวิตเรรอนจนนาจะเกิดอันตรายตอสวัสดิภาพของตน 8. เด็กที่บิดาหรือมารดาเสียชีวิต เด็กที่ไมปรากฏบิดามารดาหรือไมสามารถสืบหาบิดามารดาได หมายความถึงขอใด ก. เด็ก ข. เด็กเรรอน ค. เด็กกําพรา ง. เด็กพิการ ตอบ ค. เด็กกําพรา

“เด็กกําพรา” หมายความวา เด็กท่ีบิดาหรือมารดาเสียชีวิต เด็กที่ไมปรากฏบิดามารดาหรือไมสามารถสืบหาบิดามารดาได 9.เด็กที่อยูในครอบครัวยากจนหรือบิดามารดาหยาราง ทิ้งราง ถูกคุมขัง หรือแยกกันอยูและไดรับความลําบาก หมายความถึงขอใด ก. เด็กท่ีอยูในสภาพยากลําบาก ข. เด็กท่ีเส่ียงตอการกระทําผิด ค. เด็กกําพรา ง. เด็กพิการ

ตอบ ก. เด็กที่อยูในสภาพยากลําบาก “เด็กที่อยูในสภาพยากลําบาก” หมายความวา เด็กท่ีอยูในครอบครัวยากจนหรือ

บิดามารดาหยาราง ทิ้งราง ถูกคุมขัง หรือแยกกันอยูและไดรับความลําบาก หรือเด็กท่ีตองรับภาระหนาที่ในครอบครัวเกินวัยหรือกําลังความสามารถและสติปญญา หรือเด็กท่ีไมสามารถชวยเหลือตัวเองได

Page 18: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

18 10. เด็กที่มีความบกพรองทางรางกาย สมอง สติปญญา หรือจิตใจ ไมวาความบกพรองนั้นจะมีมาแตกําเนิดหรือเกิดข้ึนภายหลัง หมายความถึงขอใด ก. เด็กท่ีอยูในสภาพยากลําบาก ข. เด็กท่ีเส่ียงตอการกระทําผิด ค. เด็กกําพรา ง. เด็กพิการ ตอบ ง. เด็กพิการ

“เด็กพิการ” หมายความวา เด็กที่มีความบกพรองทางรางกาย สมอง สติปญญา หรือจิตใจ ไมวาความบกพรองนั้นจะมีมาแตกําเนิดหรือเกิดข้ึนภายหลัง 11.เด็กท่ีประพฤติตนไมสมควร เด็กท่ีประกอบอาชีพ หมายความถึงขอใด ก. เด็กท่ีอยูในสภาพยากลําบาก ข. เด็กท่ีเส่ียงตอการกระทําผิด ค. เด็กกําพรา ง. เด็กพิการ ตอบ ข. เด็กที่เสี่ยงตอการกระทําผิด

“เด็กที่เสี่ยงตอการกระทําผิด” หมายความวา เด็กท่ีประพฤติตนไมสมควร เด็กท่ีประกอบอาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลที่นาจะชักนําไปในทางกระทําผิดกฎหมายหรือขัดตอศีลธรรมอันดี หรืออยูในสภาพแวดลอมหรือสถานที่อันอาจชักนําไปในทางเสียหาย ทั้งนี้ ตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง 12. บิดามารดา ผูอนุบาล ผูรับบุตรบุญธรรม และผูปกครองตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หมายความถึง ก. ผูปกครอง ข. ครอบครัวอุปถัมภ ค. ผูอุปถัมภ ง. ครอบครัว

ตอบ ก. ผูปกครอง “ผูปกครอง” หมายความวา บิดามารดา ผูอนุบาล ผูรับบุตรบุญธรรม และผูปกครอง

ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และใหหมายความรวมถึงพอเล้ียงแมเล้ียง ผูปกครองสวัสดิภาพ นายจาง ตลอดจนบุคคลอื่นซึ่งรับเด็กไวในความอุปการะเล้ียงดูหรือซึ่งเด็กอาศัยอยูดวย

13. การคนหาและรวบรวมขอเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนํามาวิเคราะหวินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห แพทย จิตวิทยา กฎหมาย หมายความถึงขอใด ก. คนหาและรวบรวม ข. สืบเสาะและพินิจ ค. ปกปองและคุมครอง ง. คุมครองและพินิจ

Page 19: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

19

ตอบ ข. สืบเสาะและพินิจ “สืบเสาะและพินิจ” หมายความวา การคนหาและรวบรวมขอเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล

และนํามาวิเคราะหวินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห แพทย จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวของกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น

14.“สถานรับเล้ียงเด็ก” หมายความวา สถานที่รับเล้ียงและพัฒนาเด็กท่ีมีอายุไมเกินกี่ป ก. หาปบริบูรณ ข. หกปบริบูรณ ค. สิบปบริบูรณ ง. สิบหาปบริบูรณ ตอบ ข. หกปบริบูรณ “สถานรับเล้ียงเด็ก” หมายความวา สถานที่รับเล้ียงและพัฒนาเด็กท่ีมีอายุไมเกินหกป

บริบูรณ และมีจํานวนตั้งแตหกคนข้ึนไป ซึ่งเด็กไมเกี่ยวของเปนญาติกับเจาของหรือผูดําเนินการสถานรับเล้ียงเด็กดังกลาว ทั้งนี้ ไมรวมถึงสถานพยาบาลหรือโรงเรียนทั้งของรัฐและเอกชน 15. สถานรับเล้ียงเด็ก ตองมีเด็กตั้งแตกี่คนข้ึนไป ก. สามคนข้ึนไป ข. หาคนข้ึนไป ค. หกคนข้ึนไป ง. เจ็ดคนข้ึนไป

ตอบ ค. หกคนขึ้นไป 16. “สถานสงเคราะห” หมายความวา สถานที่ใหการอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กที่จําตองไดรับการสงเคราะห ซึ่งมีจํานวนตั้งแตกี่คนข้ึนไป ก. 4 คน ข. 6 คน ค. 10 คน ง. 15 คน

ตอบ ข. 6 คน “สถานสงเคราะห” หมายความวา สถานที่ใหการอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็ก

ที่จําตองไดรับการสงเคราะห ซึ่งมีจํานวนตั้งแตหกคนข้ึนไป 17.สถานที่ใหการศึกษา อบรม ฝกอาชีพ เพื่อแกไขความประพฤติ บําบัด รักษา และฟนฟูสมรรถภาพทั้งทางดานรางกายและจิตใจแกเด็กท่ีพึงไดรับการคุมครองสวัสดิภาพ เรียกวา ก. สถานคุมครองสวัสดิภาพ ข. สถานคุมครองสวัสดิการ

Page 20: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

20 48.รัฐบาลจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดตั้งกองทุนข้ึนกองทุนหนึ่งในสํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เพื่อเปนทุนใชจายในการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็ก เรียกวา

ก. กองทุนคุมครองเด็ก ข. กองทุนงบประมาณเด็ก ค. กองทุนสวัสดิการเด็ก ง. กองทุนพัฒนาและสงเสริมเด็ก ตอบ ก. กองทุนคุมครองเด็ก ใหรัฐบาลจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดตั้ งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในสํานักงาน

ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย เรียกวา “กองทุนคุมครองเด็ก” เพื่อเปนทุนใชจายในการสงเคราะห คุมครองสวัสดิภาพ และสงเสริมความประพฤติเด็ก รวมทั้งครอบครัวและครอบครัวอุปถัมภของเด็กตามพระราชบัญญัตินี้ 49. กองทุนคุมครองเด็กประกอบดวย ก. เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให ข. เงินที่ไดรับจากงบประมาณรายจายประจําป ค. เงินอุดหนุนจากตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ

ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

50. คณะกรรมการบริหารกองทุนคณะหนึ่ง ประกอบดวยผูใดเปนประธานกรรมการ

ก. ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ง. ผูแทนกรมบัญชีกลาง ตอบ ก. ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย

51. ขอใดเปนกรรมการในคณะกรรมการบริหารกองทุน

ก. ผูแทนสํานักงบประมาณ ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

Page 21: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

21

แนวขอสอบความรูทั่วไปเกี่ยวกบักรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน

1. ขอใดเปนภารกิจของกรมพินจิและคุมครองเด็กและเยาวชน ก. พิทักษคุมครองสิทธแิละสวัสดิภาพเด็ก เยาวชน ผูเยาวและครอบครัวที่เขาสูกระบวนการยุติธรรม โดยสงเสริมการใช กระบวนการยุติธรรมทางเลือกและมาตรการอื่นๆ

ข. ดําเนินการดานคดี ดานการปองกัน บําบัด แกไข ฟนฟู พัฒนาและสงเคราะหและติด ตามประเมินผล

ค.พัฒนาการบริหารจัดการและบุคลากรดวยระบบการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ

2. “ดอกบัว” ในสัญลักษณ กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนหมายถึง ก. คุณธรรม ความรู ข. อํานาจ ความเขมแข็ง การปกปองคุมครอง ค. ความรุงเรือง ศักด์ิศรี ความสงางาม ง. ความรับผิดชอบในการผดุงความยุติธรรมใหสถิตเสถียร ปราศจากอคติ

ตอบ ก. คุณธรรม ความรู 3. “พญานาค” ในสัญลักษณ กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนหมายถึง ก. คุณธรรม ความรู ข. อํานาจ ความเขมแข็ง การปกปองคุมครอง ค. ความรุงเรือง ศักด์ิศรี ความสงางาม ง. ความรับผิดชอบในการผดุงความยุติธรรมใหสถิตเสถียร ปราศจากอคติ

ตอบ ข. อํานาจ ความเขมแข็ง การปกปองคุมครอง 4. “ตราดุลพาห” ในสัญลักษณ กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนหมายถึง ก. คุณธรรม ความรู ข. อํานาจ ความเขมแข็ง การปกปองคุมครอง

Page 22: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

22 ค. ความรุงเรือง ศักด์ิศรี ความสงางาม ง. ความรับผิดชอบในการผดุงความยุติธรรมใหสถิตเสถียร ปราศจากอคติ

ตอบ ง. ความรับผิดชอบในการผดุงความยุติธรรมใหสถิตเสถียร ปราศจากอคติ 5. “สีน้ําเงิน” ในสัญลักษณ กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนหมายถึง ก. คุณธรรม ความรู ข. ความรมเย็น สงบนิ่ง ค. พระมหากษัตริย ง. ความรุงเรือง ศักด์ิศรี ความสงางาม

ตอบ ค. พระมหากษัตริย

6. “สีทอง” ในสัญลักษณ กรมพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนหมายถึง ก. คุณธรรม ความรู ข. ความรมเย็น สงบนิ่ง ค. พระมหากษัตริย ง. ความรุงเรือง ศักด์ิศรี ความสงางาม

ตอบ ง. ความรุงเรือง ศักดิ์ศรี ความสงางาม 7.ศาลที่มีอํานาจพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน คือ

ก. ศาลเยาวชนและครอบครัว ข. ศาลชั้นตน ค. ศาลฎีกา ง. ศาลเด็ก ตอบ ก. ศาลเยาวชนและครอบครัว

8.อายุข้ันต่ําที่ตองเขาสูกระบวนการยุติธรรม คือ เทาใด ก. เกินกวาหาป ข. เกินกวาเจ็ดป ค. เกินกวาสิบป ง. เกินกวาสิบหาป

ตอบ ค. เกินกวาสิบป

Page 23: ขอบเขตเนื้อหา - SheetRam.comsheetram.com/upload/e-Book/337.pdf · 2018-08-06 · ประมวลกฎหมายอาญา 257 แนวข อสอบ

23

ส่ังซื้อไดท่ี www.SheetRam.com

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,

085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมช่ือ และอเีมลลที ่ LINE ID : sheetram

โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,

085-9993722,085-9993740