7
แบบจัดเก็บองคความรูในการปฏิบัติงาน องคความรูในการปฏิบัติงาน เรื่อง กระบวนการการมีสวนรวม การทํางานสูผลสัมฤทธิ์งานสงเสริมการเกษตร เจาของความรูชื่อ นางอารีย จักรมานนท ตําแหนง เกษตรอําเภอคีรีรัฐนิคม วันที่บันทึกความรู 11 มิถุนายน 2558 กระบวนการ/ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติ เหตุผลความจําเปนที่ตองใชกระบวนการมีสวนรวมในการทํางาน - นโยบายรัฐตั้งแตป 2540 กําหนดใหรัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการ กําหนดนโยบาย การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ การ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม - รัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่น พึ่งตนเอง และตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง พัฒนาเศรษฐกิจ ทองถิ่นเอง - คนคือศูนยกลางของการพัฒนา กระบวนการมีสวนรวม คือหัวใจของการพัฒนาที่ยั่งยืน มุงพัฒนาสูสังคมทีเขแข็งมีคุณภาพ - การถายโอนภารกิจสําคัญของกรมสงเสริมการเกษตรใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวม 9 ภารกิจ เพื่อกระจายอํานาจกระบวนการพัฒนาชนบทใหทองถิ่นใหทองถิ่นไดมีอํานาจ บทบาท ในการพัฒนาไดเอง ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เปน ลักษณะการถายโอน ที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ทํางานรวมกับรัฐ ซึ่งตองบูรณาการการทํางานรวมกัน โดย องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนผูปฏิบัติ รัฐสนับสนุนวิชาการ ประสานงาน กรมสงเสริมการเกษตร จัดตั้ง ศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบล เปนกลไกลในการทํางานระดับพื้นที่ มุงเนนการบูร ณาการหนวยงานทุกภาคสวน การมีสวนรวมของชุมชนเกษตรกรใหมีบทบาทในการพัฒนา สรางกระบวนการ เรียนรูรวมกัน รวมคน รวมคิด รวมตัดสินใจ รวมดําเนินการ และรวมรับผลการปฏิบัติ บริหารงานโครงการ คณะกรรมการบริหารศูนยที่มีตัวแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันเกษตรกร อาสาสมัครเกษตรและ ผูแทนเกษตรกรจากทุกหมูบาน เพื่อเปนศูนยของชุมชนอยางแทจริง - นโยบายเรงดวนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรที่ประสบปญหาภัยธรรมชาติ ปญหาราคาผลผลิตตกต่ํา ฯลฯ ระบุ ตองผานกระบวนการประชาคม เพื่อตรวจสอบ รับรอง ความถูกตองของขอมูล กอนรับการชวยเหลือ - แผนพัฒนาการเกษตร แผนพัฒนาทองถิ่น ตองผานการประชาคมหมูบาน/ตําบล กอนบรรจุเปนแผนพัฒนา ตําบลและบรรจุขอบัญญัติเขางบประมาณของทองถิ่นและอําเภอ - หลักการทํางานในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ใชหลักการพัฒนาแบบองครวมภูมิสังคม การมีสวนรวมเพื่อ ประโยชนสวนรวม การใหบริการ ณ จุดเดียวการพึ่งพาตนเอง และพึ่งพากันเอง ฯลฯ ดวยเหตุผลดังกลาว กระบวนการการมีสวนรวม จึงถือเปนกลยุทธ สําคัญ ในการผลักดันงานตามพันธ กิจ ของกรมสงเสริมการเกษตรใหไดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมาย เจาหนาที่สงเสริมการเกษตรตองปรับเปลี่ยน บทบาท จากผูปฏิบัติเปนบทบาทที่ปรึกษา แนะนําวิชาการ

แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

แบบจัดเก็บองคความรูในการปฏิบัติงาน องคความรูในการปฏิบัติงาน เรือ่ง กระบวนการการมีสวนรวม การทํางานสูผลสมัฤทธิ์งานสงเสริมการเกษตร

เจาของความรูชื่อ นางอารีย จักรมานนท ตําแหนง เกษตรอําเภอคีรรีัฐนิคม

วันที่บันทึกความรู 11 มิถุนายน 2558

กระบวนการ/ขั้นตอน/วิธีปฏิบัติ

เหตุผลความจําเปนที่ตองใชกระบวนการมีสวนรวมในการทํางาน

- นโยบายรัฐตั้งแตป 2540 กําหนดใหรัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของประชาชนในการ

กําหนดนโยบาย การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ การ

อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

- รัฐตองกระจายอํานาจใหทองถิ่น พึ่งตนเอง และตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง พัฒนาเศรษฐกิจ

ทองถิ่นเอง

- คนคือศูนยกลางของการพัฒนา กระบวนการมีสวนรวม คือหัวใจของการพัฒนาที่ยั่งยืน มุงพัฒนาสูสังคมที่

เขแข็งมคีณุภาพ

- การถายโอนภารกิจสําคัญของกรมสงเสริมการเกษตรใหกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น รวม 9 ภารกิจ

เพื่อกระจายอํานาจกระบวนการพัฒนาชนบทใหทองถิ่นใหทองถิ่นไดมีอํานาจ บทบาท ในการพัฒนาไดเอง

ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 เปน

ลักษณะการถายโอน ที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น ทํางานรวมกับรัฐ ซึ่งตองบูรณาการการทํางานรวมกัน โดย

องคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนผูปฏิบัติ รัฐสนับสนุนวิชาการ ประสานงาน กรมสงเสริมการเกษตร จัดตั้ง

ศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบล เปนกลไกลในการทํางานระดับพื้นที่ มุงเนนการบรู

ณาการหนวยงานทุกภาคสวน การมีสวนรวมของชุมชนเกษตรกรใหมีบทบาทในการพัฒนา สรางกระบวนการ

เรียนรูรวมกัน รวมคน รวมคิด รวมตัดสินใจ รวมดําเนินการ และรวมรับผลการปฏิบัติ บริหารงานโครงการ

คณะกรรมการบริหารศูนยที่มีตวัแทนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันเกษตรกร อาสาสมัครเกษตรและ

ผูแทนเกษตรกรจากทุกหมูบาน เพื่อเปนศูนยของชุมชนอยางแทจริง

- นโยบายเรงดวนเพื่อชวยเหลือเกษตรกรที่ประสบปญหาภัยธรรมชาติ ปญหาราคาผลผลิตตกต่ํา ฯลฯ ระบุ

ตองผานกระบวนการประชาคม เพื่อตรวจสอบ รับรอง ความถูกตองของขอมูล กอนรับการชวยเหลือ

- แผนพัฒนาการเกษตร แผนพัฒนาทองถิ่น ตองผานการประชาคมหมูบาน/ตําบล กอนบรรจุเปนแผนพัฒนา

ตําบลและบรรจุขอบัญญัติเขางบประมาณของทองถิ่นและอําเภอ

- หลักการทํางานในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ใชหลักการพัฒนาแบบองครวมภูมิสังคม การมีสวนรวมเพื่อ

ประโยชนสวนรวม การใหบริการ ณ จุดเดียวการพึ่งพาตนเอง และพึ่งพากันเอง ฯลฯ

ดวยเหตุผลดังกลาว กระบวนการการมีสวนรวม จึงถือเปนกลยุทธ สําคัญ ในการผลักดันงานตามพันธ

กิจ ของกรมสงเสริมการเกษตรใหไดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมาย เจาหนาที่สงเสริมการเกษตรตองปรับเปลี่ยน

บทบาท จากผูปฏบิัติเปนบทบาทที่ปรึกษา แนะนําวิชาการ

Page 2: แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

เปนบุคลากรที่มีความสามารถเปนนักประสานงานในฐานะผูจัดการการเกษตรที่เนนการมีสวนรวมของทกุภาค

สวนในการพัฒนางานสงเสริมที่สามารถสรางการเรียนรูใหแกชุมชน เพิ่มขีดความสามารถใหชุมชนบริหาร

จัดการและพัฒนาการเรียนรูโดยชุมชนเอง พึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืนเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรตองเปน

Knowledge worker เปน Smart officer สงเสริมและพัฒนาการเกษตรใหเปน Smart Farmer เสริมสราง

ความเขมแข็งของกลุม/องคกรเกษตรกรใหกาวสูเปน Smart Grop ที่สามารถผลิตสินคาที่เปน Smart

product ตอไป

สรุปความสําคัญของกระบวน การมีสวนรวมในการสงเสริมการเกษตร

1. รวมใหไดรับขอมูลถูกตอง รูปญหา สาเหตุและความตองการที่แทจริงของเกษตรกรหรือของทองถิ่น

ไดอยางถูกตองตรงประเด็น นําไปสูแผนพัฒนาการเกษตร ที่ถูกตอง

2. รวมพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร เนื่องจากในกระบวนการมีสวนรวม จะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู

และความคิดเห็นระหวางกัน เปนเวทีใหเกษตรกรไดเรียนรูสิ่งที่เปนประโยชน

3. ชวยใหเกิดทัศนคติ รวมกัน ทําใหเกิดความชอบธรรมในการตัดสินใจ ที่จะทําหรือไมทําอะไร ลด

ปญหาความขัดแยง ปญหาการรองเรียนที่กระทบหนวยงานดําเนินการ

4. ชวยสรางความรูสึกเปนเจาของผลงาน เนื่องจากไดรวมกันคิดเอง ตัดสินใจเอง ทําเอง และรับ

ผลประโยชนรวมกันเอง

5. ชวยสรางความรูสึกรักทองถิ่นและมีความรับผิดชอบตอสังคม จากความภาคภูมิใจที่มีโอกาสไดดูแล

และพัฒนาทองถิ่นดวยตนเอง มิใชทําตามคนอื่นใหทํา

6. ชวยใหเกษตรกรเกิดการเรียนรูวิธีแกไขปญหาของตนเอง รวมทั้งการแกไขปญหาใหชุมชน ทําใหเกิด

ความมั่นใจวาเราทําได พึ่งตนเองได

เอกสารอางอิง

1. รัฐธรรมนูน ฉบับป 2540 มาตรา 76

2. รัฐธรรมนูน ฉบับป 2540 มาตรา 78

3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8,9

4. พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนกระจายอํานาจ ป 2542

5. ประกาศคณะกรรมการกระจายอํานาจ ป 2543

6. คูมือการปฏิบัติงานศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรกรมสงเสริมการเกษตร

7. คูมือการถายโอนภารกิจกรมสงเสริมการเกษตรใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น ป 2546

Page 3: แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

อําเภอบานตาขุน องคความรู เรือ่ง การผลติลองกองคณุภาพ เจาของความรูชื่อ นายไพศาล พิทักษแทน เกิดวันที่ 22 กรกฎคม 2513 จบการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพข้ันสูง สาขาพืชสวน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี สรุาษฎรธานีอยูบานเลขที่ 95 หมูที่ 1 ตําบลเขาวง อําเภอบานตาขุน จังหวดัสุราษฎรธาน ีมีพื้นปลูกลองกอง 15 ไร ยางพารา 20 ไร

ปจจุบันมปีระสบการณในภาคการเกษตร ดังนี ้

1. Smart farmer ตนแบบ สาขาลองกอง 2. ประธานกลุมพฒันาคุณภาพไมผลบานวังขุม 3. ประธานวิสาหกิจชุมชนพฒันาคุณภาพไมผลบานวังขุม 4. หมอดินอาสา 5. ผูแทนสภาเกษตรตําบลเขาวง

แนวคิดของเกษตรกร

การขาดความรูเกี่ยวกับการทําการเกษตรของตน

เกษตรกรไทยในปจจุบัน คอนขางมีอายุมาก ไมเปดรับความรูใหม เทคโนโลยีการผลิตที่สามารถเพิ่มคุณภาพผลผลิตได เกษตรกรมีความเชื่อวาประสบการณที่ทํามาสามารถเกิดผลผลิตได และทําใหตนมีรายไดเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรขาดความกระตือรือรนในการเปดรับเทคโนโลยีสมัยใหม การเขารับการอบรม หรือคนควาหาความรูเพิ่มจากแหลงอื่น

ในปจจุบันมีสื่อมากมายที่เกษตรกรสามารถเขาถึง เชน 1)การดูรายการเกี่ยวกับเกษตรกร จะใหใหเปดโลกทางการเกษตรกรมากขึ้น เกิดการเปรียบเทียบถึงแมวาจําทําการเกษตรคนละประเภท เชน ทําสวนลองกอง ก็สามารถศึกษาเรียนรูจากสวนผลไมอื่นๆได เชน ลําไย ทุเรียน หรือพืชเศรษฐกิจอื่นๆ 2) การจัดอบรม เสวนา ของหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดขึ้นมากมาย แตเกษตรกรใหความสนใจนอย

ปจจัยการผลิต

ปจจุบันราคาปจจัยการผลิตสูงขึ้น ตามลําดับ ไมวาจะเปนปุย ยาฆาแมลง ยากําจัดวัชพืช ฮอรโมน หรอืวัสดุ อุปกรณ ในการผลิต น้ํามันเชื้อเพลิงและอื่นๆ เกษตรกรจะตองรูจักพึ่งพาตนเอง ลดการใชสารเคมี การปองกันกําจัดศัตรูพืชที่ระดับอันตราย การใชปุยตามคาวิเคราะหดิน การผลิตปุยหมักใชเองจากวัสดุที่เหลือจากการเกษตรในทางกลับกันราคาผลผลิตที่เกษตรกรจําหนายไดมีราคาลดลง ซึ่งในปจจัยนี้ก็ขึ้นอยูกับคุณภาพผลผลิตที่ไมมีการพัฒนาของเกษตรกรดวย

กระแสทุนนิยม

Page 4: แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

กระแสทุนนิยมกําลังขยายตัวมายังชุมชนเกษตรในชนบท เกษตรกรรายยอยถูกกลืนดวยกระแสทุนนิยม บางรายขายพื้นที่ทําการเกษตรของตน เกษตรกรควรหันมาพึ่งตนเองมากขึ้น การบริหารจัดการการทําการเกษตรกรที่เกิดจากการเรียนรูปญหาตางๆ จะทําใหสามารถอยูดวยตนเองได เชน การไมปลูกพืชเชิงเดี่ยว จากการเรียนรู แลกเปลี่ยนประสบการณกับเกษตรกรดวยกันเอง อาจกอใหเกิดองคความรูที่สามารถนํามาปรับใชได เชน การปลุกพืชสมุนไพรชนิดหัว ในสวนผลไมบริเวณพื้นที่การใหน้ําของสปริงเกอร“ทําอยางไรก็ไดใหมีรายไดพอ”

การทําการเกษตรในปจจุบันตองมาจากการพึ่งพาตนเองเปนหลัก ไมพึ่งแรงงาน เครื่องจักรกลที่ตองมาจากการวาจาง “ทํางานทุกงานจะไดไมวาง” ทุกๆวันจะตองมีการกําหนดแผนการทํางานที่ชัดเจน เพื่อความสะดวก รวดเร็วในการทํางาน เชน การตัดหญา ตองตรวจเช็คความพรอมของเครื่อง น้ํามันเชื้อเพลิง การกําหนดขอบเขตงานที่จะตองทําใหเสร็จ

อยางไรก็ตาม ปญหาการเกษตรกรก็ยังมีตลอด ตอใหมีการเรียกรอง พัฒนา ปรับปรุง เกษตรกรยังเฝารอการชวยเหลือ คอยประทวง เรียกรอง โดยไมเริ่มจากการพึ่งพาตนเอง ปลอยการดํารงชีวิตไปตามกระแสทุนนิยม ก็จะทําใหอาชีพการเกษตรไมมั่นคงอีกตอไป

Page 5: แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

ขั้นตอนการผลติลองกองคณุภาพ

ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมแปลง ขั้นตอนที่ 2 การดูแลรักษา ขั้นตอนที่ 3 การเก็บเกี่ยว

กันยายน - พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ – มีนาคม กรกฎาคม-สิงหาคม การตัดแตงกิ่ ง ประมาณ 40% ของทรงพุม

การกําจัดวัชพืช และใสปุ ยสูต ร 15-15-15 บํ ารุ งตน

ใสปุ ยสูตร 8-24-24 หรือ 12-14-12 เรงการสรางตาดอก

ควบคุมปริมาณน้ํา

งดน้ํา 40-45 วัน

เมื่อใบรวงประมาณ 20 % จึงใหน้ําแกตนลองกอง

การบํารุงตาดอกโดยใหฮอรโมนน้ํา, น้ําหมักชีวภาพสูตรฮอรโมน 200 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร 3-5 ครั้ง หางกัน 3-5 วัน/ครั้ง

การตัดแตงชอดอก ใหเหลือชอดอกจากโคนกิ่งประมาณ 1.50 – 2 เมตร

ตัดแตง 3 ครั้ง โดย ครั้งที่ 1 เหลือ 3 ชอ/ตาดอก ครั้งที่ 2 เหลือ 2 ชอ/ตาดอก ครั้งที่ 3 เหลือ 1 ชอ/ตาดอกแตละชอหางกันประมาณ 1 คืบ ระยะนี้หามลองกองขาดน้ําอยางเด็ดขาด

การตัดแตงผลลองกอง ทําเมื่อลองกองติดผลประมาณ 3-4 สัปดาห โดย

ปลิดผลที่โคนชอใหเหลือที่วาง 1 นิ้ว ปลิดผลที่ปลายชอออก 1-2 ผล

บริเวณกลางชอปลิดผลที่เนาและไมสมบูรณออก

เมื่อตัดแตงผลเสร็จใสปุยสูตร 13-13-21 อัตราสวน 1-2 กก./ตน เพื่อเพิ่มความหวาน

การเก็บเกี่ยวจะทําเมื่อ

ลองกองเปลี่ยนเปนสีเหลืองทั้งชอ 15-20 วัน

ผลลองกองมีอายุ 13 สัปดาหหลังดอกบาน

กลีบเลี้ยงและกานชอผลเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล

เมื่อบีบผลเบาๆจะรูสึกนิ่มมือ

เนื้อในใสไมมีสีขุน

ชิมดูมีรสหวาน

Page 6: แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

ภาพกิจกรรม

Page 7: แบบจัดเก็บองค ความรู ในการปฏิบัติงาน · ตาม พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให

เอกสารอางอิง/คูมือตางๆ

กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ 2547 “คูมือพืชเศรษฐกจิ”

สํานักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎรธานี กรมสงเสรมิการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ “เพิม่

ประสิทธิภาพการผลิตผลไม” โครงการเพิ่มประสทิธิภาพการจัดการเพือ่เพิม่ผลผลิตและลดตนทุนการผลิตไมผล

กิจกรรมเพิม่ประสทิธิภาพการผลิต โครงการตามแผนปฏบิัตริาชการประจําปงบประมาณ พ.ศ.2557+ผู

บันทึกความรู

ชื่อนางสาวนงคลกัษณ บัวจันทร ตําแหนง นักวิชาการสงเสริมการเกษตรปฎิบัตกิาร

สังกัด สํานกังานเกษตรอําเภอบานตาขุน

ติดตอไดที่ สํานักงานเกษตรอําเภอบานตาขุน หมูที่ 4 ตําบลเขาวง อําเภอบานตาขุน จังหวัดสุราษฎรธานี

84230

ผูรวมถอดองคความรู

ชื่อสกุล นางสาวนภาวรรณ โตสติ ตําแหนง นักวิชาการสงเสรมิการเกษตรปฎิบัติการ

ชื่อสกุล นางสาวเกศรินทร จันทรแกว ตําแหนง นักวิชาการสงเสรมิการเกษตรปฎิบัติการ