91
SCHOOL INTERNSHIP คู่มอการปฏบัตการสอนในสถานศกษา ศูนย์ประสบการณ์วชาชพครู คณะศกษาศาสตร์ มหาวทยาลัยขอนแก่น ปการศกษา ๒๕๕๔

คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

SCHOOL INTERNSHIP

คู่มือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

ศูนย์ประสบการณ์วิชาชีพครู

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ปีการศึกษา ๒๕๕๔

Page 2: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คํานํา

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 รหัสวิชา 230 531 และ 230 532

เลมนี้จัดทําข้ึนเพื่อเปนคูมือสําหรับนักศึกษาและผูท่ีเกี่ยวของในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ซ่ึงในคูมือจะแบงเปน 3 บท ดังนี้

บทท่ี 1 บทบาทหนาท่ีของหนวยงานและบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอนประกอบดวยบทบาทหนาท่ีของ ศูนยประสบการณวิชาชีพครูและกรรมการดําเนินงานรายวิชา 230 531 และ 230 532 สถานศึกษาเครือขายการรวมผลิตบัณฑิตดานประสบการณวิชาชีพครู และบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับประสบการณวิชาชีพครูดานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

บทท่ี 2 ปฏิทินและกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาประกอบดวย ปฏิทินการปฏิบัติการสอนท้ังภาคเรียนท่ี 1 และ 2 ปฏิทินการทําวิจัยในช้ันเรียน กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

บทท่ี 3 การประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาประกอบดวย แบบประเมิน แบบบันทึก แบบสังเกต การเขียนรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน และการทํารายงานวิจัยในช้ันเรียน

ท้ังนี้เพื่อใหนักศึกษาและ ผูท่ีเกี่ยวของในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาไดยึดถือเปนแนวปฏิบัติเพื่อจะไดเกิดความเขาใจตรงกันในการดําเนินงาน

คณะผูจัดทําหวังวา คูมือการเรียนรูวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเลมนี้ จะเปนประโยชน สําหรับนักศึกษา และผูท่ีเกี่ยวของใชเปนแนวทางในการดําเนินกิจกรรม เพื่อใหการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเปนไปดวยความเรียบรอยบรรลุผลตามเจตนารมณของหลักสูตรวิชานี้ หากมีขอบกพรองหรือคําแนะนําประการใดกรุณาแจงมายังคณะผูจัดทํา เพื่อจะไดนํามาปรับปรุงแกไขใหคูมือเลมนี้มีความสมบูรณมากยิ่งข้ึนในโอกาสตอไป

คณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา พฤษภาคม 2554

Page 3: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

สารบัญ หนา

ความนํา : ความเปนมาและความสําคัญของการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 บทท่ี 1 บทบาทหนาท่ีของหนวยงานและบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติการสอน 2 ในสถานศึกษา

1.1 ศูนยประสบการณวิชาชีพครูและกรรมการดําเนนิงาน รายวิชา 230 531 และ 230 532 3

1.2 สถานศึกษาเครือขายการรวมผลิตบัณฑิตดานประสบการณวิชาชีพครู 3 1.3 บุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4 บทท่ี 2 ปฏิทินการปฏิบัติการสอนและระเบียบขอปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 10

2.1 ปฏิทินการปฏิบัติการสอน 10 2.2 กิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอน 15

2.2.1 ข้ันเตรียมการ 15 - การประชุมช้ีแจงนกัศึกษากอนปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 15 - การสมัครเปนนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 15 - การเลือกสถานศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 15 - การสงตัวนกัศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 16 - การประชุมและการสัมมนา 18 2.2.2. ข้ันปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 18 - การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 18 - การปฏิบัติงานอ่ืนๆ ในสถานศึกษา 19 - การสัมมนาและสะทอนผลระหวาง การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 19 2.2.3 ข้ันสรุปผลปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 19 - การสรุปและการรายงานผลการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาผูเรียน 19 - การทําวจิัยในช้ันเรียน 20

2.3 ระเบียบและขอปฏิบัติในระหวางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 19 บทท่ี 3 การประเมินผลการปฏิบัติการสอน 22

3.1 การประเมินการปฏิบัติการสอน 22 3.2 การเขียนบันทึกรองรอยการปฏิบัติงาน 23 3.3 การทํารายงานการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน 45

Page 4: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

3.4 การทํารายงานวิจัยในช้ันเรียน 46 3.5 การประเมินผลการเรียน 54

ภาคผนวก 56

Page 5: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 1

คูมือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

ความเปนมาและความสําคัญของการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เ ป น ไปต าม ท่ี กํ าหนดไว ในห ลัก สู ตร ศึ กษ าศ าสตร บัณฑิ ต ของคณะ ศึกษ าศ าสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และเปนไปตามท่ีคุรุสภา ไดกําหนดไวในการประเมินมาตรฐานบัณฑิตของคณะศึกษาศาสตร (หลักสูตร 5 ป) ในสวนท่ีเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาไววา นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตองปฏิบัติตามบทบาทหนาท่ีอยางนอย 4 ประการ คือ 1. จัดการเรียนรูในสาขาวิชาเฉพาะ 2. ประเมิน ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน 3. ทํารายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน

4. ทําวิจัยในช้ันเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน เพื่อใหบัณฑิตของคณะศึกษาศาสตร มีคุณสมบัติสอดคลองกับขอกําหนดของคุรุสภาท่ีกลาวมาขางตน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จึงกําหนดใหนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตอเนื่องกันเปนเวลา 1 ปการศึกษา โดยนักศึกษาท่ีจะปฏิบัติการสอนไดจะตองมีคุณสมบัติเบ้ืองตนตามขอกําหนดของคณะศึกษาศาสตร ตองมีการเตรียมตัวกอนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และปฏิบัติหนาท่ีในสถานศึกษาตามระเบียบและขอปฏิบัติตางๆที่กําหนดโดย คณะศึกษาศาสตร ศูนยประสบการณวิชาชีพครู และคณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 ดังนั้นศูนยประสบการณวิชาชีพครูและกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 จึงไดจัดทําคูมือฉบับนี้ข้ึนโดยพัฒนามาจากคูมือของปการศึกษาที่ผานมาเพื่อใหผูท่ีเกี่ยวของไดแก นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา อาจารยนิเทศก ครูพี่เล้ียง และบุคลากรอ่ืนๆ ในสถานศึกษา ไดใชเปนแนวทางในการปฏิบัติเพื่อใหมีความสอดคลองกัน

Page 6: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 2

บทท่ี 1 บทบาทหนาท่ีของหนวยงานและบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอน

1. ศูนยประสบการณวิชาชพีครูและกรรมการดําเนินงานรายวิชา 230 531 และ 230 532 1.1) คณะกรรมการบริหารและดําเนินงานในศูนยประสบการณวิชาชีพครู ประกอบดวยบุคคลดังตอไปนี้ รองคณบดีฝายวิชาการ ท่ีปรึกษา ผูอํานวยการศูนยประสบการณวิชาชีพครู ประธานกรรมการ รองผูอํานวยการศูนยประสบการณวิชาชีพครู รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการประสบการณวิชาชีพครู 1 กรรมการ ประธานกรรมการประสบการณวิชาชีพครู 2 กรรมการ

ประธานกรรมการประสบการณวิชาชีพครู 3 กรรมการ ประธานกรรมการการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1-2 กรรมการ ตัวแทนคณาจารยกลุมวิชาการศึกษา ดานภาษา ศิลปะ และสังคม กรรมการ ตัวแทนคณาจารยกลุมวิชาการศึกษา ดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี กรรมการ ตัวแทนคณาจารยกลุมวิชาการบริหารและ พัฒนาการศึกษา กรรมการ เลขานุการศูนยประสบการณวิชาชีพครู กรรมการและเลขานุการ

ผูชวยเลขานุการศูนยประสบการณวิชาชีพครู กรรมการและผูชวยเลขานุการ บทบาทหนาท่ี 1. กําหนดนโยบายการบริหารจัดการศูนยประสบการณวิชาชีพครู 2. กํากับติดตามการปฏิบัติงานในรายวิชาการฝกประสบการณวิชาชีพครู 3. เสนอโครงการเพ่ือของบประมาณประจําป 4. ประสานงานกับสถานศึกษาเครือขายรวมผลิตบัณฑิตของคณะศึกษาศาสตร 5. จัดกิจกรรมและโครงการท่ีเกี่ยวของกับการฝกประสบการณวิชาชีพครู 6. สรุปผลการดําเนินงานและการจัดทํารายงานประจําป 7. วิจัยและพฒันากระบวนการดําเนนิงานในศูนยประสบการณวิชาชีพครู

Page 7: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 3

1.2) คณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไดแก คณะทํางานท่ีดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 มีคณะกรรมการดังนี้ 1. ประธานกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 2. รองประธานกรรมการ 3. กรรมการดําเนินงานรายวิชา มาจากตัวแทนสาขาวิชา สาขาวิชาละ 1 คน 4. กรรมการและเลขานุการ 5. กรรมการและผูชวยเลขานุการ ประธานคณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 เปนอาจารยในคณะศึกษาศาสตร ท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑท่ีกําหนด และตัวแทนอาจารยจากสาขาวิชาตางๆ เปนผูรวมพิจารณาเสนอช่ือตอศูนยประสบการณวิชาชีพครู เพื่อพิจารณารวมกับท่ีปรึกษาของศูนยฯ และดําเนินการแตงต้ังโดยคณบดี มีวาระการปฏิบัติงาน 2 ปการศึกษา บทบาทหนาท่ี 1. ดําเนินงานในรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 ตามนโยบายการ ปฏิบัติงานของศูนยประสบการณวิชาชีพครู 2. ประสานงานกับฝายตางๆท่ีเกี่ยวของ 3. จัดนักศึกษาลงฝกการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 4. จัดการปฐมนิเทศ การสัมมนากอน ระหวาง และหลังการปฏิบัติงานสอนในสถานศึกษา 5. ติดตามและใหความชวยเหลือกับทุกฝายท่ีเกี่ยวของ 6. รวบรวมขอมูลและประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษา 7. วิจัยและพัฒนากระบวนการดําเนินงานในรายวิชา 8. สรุปและรายงานผลการดําเนินงาน 2. สถานศึกษาเครือขายการรวมผลิตบัณฑิตดานประสบการณวิชาชีพครู 2.1) สถานศึกษาเครือขาย เปนสถานศึกษาท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑท่ีคุรุสภากําหนด และคณะศึกษาศาสตรเชิญเขารวมโครงการรวมผลิตบัณฑิตดานประสบการณวิชาชีพครู ท้ังนี้ตองสงรายช่ือสถานศึกษาท่ีเปนสถานท่ีปฏิบัติการสอนของนักศึกษาตอคุรุสภาเปนรายป บทบาทหนาท่ี 1. รวมประชุมรับทราบนโยบายเร่ืองการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร 2. ใหความรวมมือในการรับนโยบายไปสูการปฏิบัติ

Page 8: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 4

3. ใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะท่ีเปนประโยชนตอกระบวนการปฏิบัติการสอนใน สถานศึกษาของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร

4. รวมสะทอนผลการปฏิบัติงานในโครงการการปฏิบัติการสอน 2.2) ผูประสานงานประจําสถานศึกษา หมายถึง ผูท่ีไดรับการแตงต้ังมอบหมายงานจากผูอํานวยการสถานศึกษา ทําหนาท่ีเปนผูประสานงานระหวางสถานศึกษากับศูนยประสบการณวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร ในเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับโครงการเครือขายรวมผลิตบัณฑิตดานประสบการณวิชาชีพครู ท่ีเกี่ยวของกับรายวิชาการปฏิบัติการสอน 1 และ 2 บทบาทหนาท่ี 1. จัดระบบการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามขอบเขตท่ีเกี่ยวของ เชน การจัดและการทําทะเบียนครูพี่เล้ียงประจํากลุมสาระตางๆ 2. ประสานงานกับศูนยประสบการณวิชาชีพครู 3. รับนักศึกษาและจัดกิจกรรมปฐมนิเทศรวมกับฝายตางๆ ของสถานศึกษา 4. รวมหรือรับผิดชอบการกําหนดนโยบายและแผนการพัฒนากระบวนการปฏิบัติการสอนภายในสถานศึกษา 5. รวบรวมแบบประเมินผลการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาจากครูพี่เล้ียงและสงตอ ศูนยประสบการณวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 6. เสนอแนะและใหขอมูลสารสนเทศท่ีเปนประโยชนตอกระบวนการการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษา แกศูนยประสบการณวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน 3. บุคลากรท่ีเก่ียวของกับประสบการณวิชาชีพครูดานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ประกอบดวยบุคคลตอไปนี้ 3.1 อาจารยนิเทศก เปนอาจารยท่ีมีคุณสมบัติตามเกณฑท่ีคุรุสภากําหนดและไดรับ การแตงต้ังจากคณะศึกษาศาสตร มีหนาท่ีนิเทศการปฏิบัติการสอนของนักศึกษา แบงเปน 2 ประเภท ไดแก อาจารยนิเทศกในสาขาวิชาเฉพาะ และอาจารยนิเทศกวิชาชีพครู

3.1.1) อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ ทําหนาท่ีนิเทศนักศึกษาท่ีปฏิบัติการสอนตามสาขาวิชาท่ีกําหนด บทบาทหนาท่ี

1. สงเสริมและจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ เพื่อเตรียมความพรอมของนักศึกษากอนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

Page 9: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 5

2. ใหคําแนะนําเกี่ยวกับสาระการเรียนรู และการจัดการเรียนรู ส่ืออุปกรณ และอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของกับการจัดการเรียนรู 3. ตรวจแผนการจัดการเรียนรู และติดตามการพัฒนาการทําแผนการจัดการเรียนรูของนักศึกษาอยางสมํ่าเสมอ 4. นิเทศการจัดการเรียนรู การทําโครงการวิชาการ การวิจัยในช้ันเรียน ฯลฯ ของนักศึกษาตามเกณฑท่ีกําหนด บันทึกผลการนิเทศเพื่อแจงใหนักศึกษาทราบ 5. รวมปรึกษากับครูพี่เล้ียง เพื่อชวยเหลือ/สงเสริมการปฏิบัติการสอนของนักศึกษา 6. ทําหนาท่ีประเมินนักศึกษาโดยใชแบบประเมิน ตามท่ีกําหนด 7. รวมพิจารณาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษาในความดูแล ใหคําแนะนําเร่ืองท่ัวไปใหแกนักศึกษา ไดแก การปฏิบัติงานอ่ืนๆ การปฏิบัติตน การปฏิบัติงาน ใหแกนักศึกษา 8. ประสานงานกับครูพี่ เ ล้ียงในกรณีท่ีนักศึกษาในความดูแล มีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน 9. เปนท่ีปรึกษาใหนักศึกษาเกี่ยวกับการทําวิจัยในช้ันเรียนและการจัดทํารายงานผลการจัดการเรียนรู 3.2.2) อาจารยนิเทศกวิชาชีพครู ทําหนาท่ีนิเทศนักศึกษาท่ีปฏิบัติการสอนตามท่ีไดรับมอบหมาย บทบาทหนาท่ี 1. ทําหนาท่ีนิเทศวิชาชีพครูเพื่อรับทราบขอมูลตางๆ 2. ใหคําแนะนํานักศึกษาในดานการปฏิบัติการสอน งานในหนาท่ีครู การปรับตัว การปฏิบัติงาน การแตงกายตามระเบียบและความมีวินัยในการปฏิบัติงานของนักศึกษา 3. รวมปรึกษากับครูพี่เล้ียง เพื่อชวยเหลือ/สงเสริมการปฏิบัติการสอนของนักศึกษา 4. ทําหนาท่ีประเมินนักศึกษา โดยใชแบบประเมินตามท่ีกําหนด 5. แจงขอมูลใหศูนยประการณวิชาชีพทราบโดยทันทีในกรณีท่ีพบวาเกิดปญหาเกี่ยวกับนักศึกษาท้ังในดานการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน 3.2) ครูพี่เล้ียง เปนผูดูแลการปฏิบัติการสอนและภาระงานครูของนักศึกษา แบงเปนสองประเภทไดแก ครูพี่เล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ กับครูพี่เล้ียงประจําช้ัน 3.2.1. ครูพี่เล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ ทําหนาท่ีดูแลใหคําแนะนําแกนักศึกษาดานการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาเฉพาะท่ีนักศึกษาปฏิบัติการสอน

Page 10: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 6

บทบาทหนาท่ี 1. ช้ีแนะใหนักศึกษาทราบ และเขาใจถึงขอบเขตอํานาจหนาท่ีครู 2. มอบหมายงานในหนาท่ีครูผูสอน จัดเอกสารแหลงเรียนรูท่ีจําเปนของนักศึกษา เชน

หลักสูตร หนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรูระยะยาว และอื่นๆ ที่จําเปนตามความเหมาะสม ใหคําแนะนําเรื่องการทําแผนการจัดการเรียนรู เพื่อใหนักศึกษาสามารถใชเตรียมการสอนกอนจะสอนในช้ันเรียน

3. ดูแลการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาทุกคร้ัง เม่ือจบการสอนตองสะทอนผลการปฏิบัติการสอนใหแลวเสร็จในวันนั้นๆ

4. ประเมินผลการปฏิบัติงาน พรอมใหคําแนะนําเพื่อใหนักศึกษาพัฒนาผลการปฏิบัติงาน

5. ประสานงานและสรางความเขาใจระหวางนักศึกษาปฏิบัติการสอนกับสถานศึกษาและผูปกครองเพ่ือสรางความเขาใจอันดีตอกัน

6. ประเมินผลการปฏิบัติการสอนตามแบบฟอรมท่ีคณะศึกษาศาสตรกําหนด 7. ประสานงานกับสถานศึกษาและอาจารยนิเทศกในกรณีท่ีนักศึกษาในความดูแลมี

ปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน 3.2.2. ครูพี่เล้ียงประจําชั้น ทําหนาท่ีดูแลใหความชวยเหลือนักศึกษาดานการทําหนาท่ี

ครูประจําช้ัน บทบาทหนาท่ี

1. กําหนดขอบขายภาระงานในหนาท่ีครูประจําช้ันแกนักศึกษา 2. สังเกตการปฏิบัติหนาท่ีครูประจําช้ันของนักศึกษา พรอมท้ังบันทึกขอเสนอแนะ

ในสมุดบันทึกการนิเทศ หรือแจงใหนักศึกษาทราบโดยวาจาและใหนักศึกษาบันทึกคําแนะนําดวยตนเอง

3. ประเมินผลการปฏิบัติหนาท่ีครูประจําช้ันในสถานศึกษาของนักศึกษาในความดูแลตามระยะเวลาท่ีกําหนด

4. ใหคําปรึกษาแกนักศึกษาในการจัดกิจกรรมพิเศษ การจัดปายนิเทศ จัดนิทรรศการหรือโครงการพิเศษตางๆ ของสถานศึกษา ฯลฯ

5. ใหคําแนะนําเกี่ยวกับเร่ืองท่ัวไปใหแกนักศึกษา ไดแก ระเบียบขอบังคับของสถานศึกษา การปฏิบัติงานอ่ืนๆ การปฏิบัติงาน การปฏิบัติตนของนักศึกษา

6. ประสานงานกับสถานศึกษาและอาจารยนิเทศกในกรณีท่ีนักศึกษาในความดูแลมีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน

Page 11: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 7

4. นักศึกษาปฏิบัติการสอน เปนนักศึกษาคณะศึกษาศาสตรท่ีมีคุณสมบัติครบถวนตามเกณฑประกาศคณะศึกษาศาสตร

ฉบับท่ี 006/2554 เร่ือง การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษา ขอ 4 คุณสมบัติของนักศึกษาท่ีจะปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 และไดยื่นใบสมัครแจงความจํานงการออกไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตามประกาศและเง่ือนไขในเวลาท่ีศูนยประสบการณวิชาชีพครูกําหนด

4.1 คุณสมบัติของนักศึกษาท่ีจะปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 มีดังนี้ 1) เปนนักศึกษาคณะศึกษาศาสตรท่ีมีรายช่ือในแตละสาขาวิชา 2) ผานการเรียนรายวิชาตางๆ ในกลุมวิชาตอไปนี้ครบตามหลักสูตร

2.1) กลุมวิชาการศึกษาท่ัวไป 2.2) กลุมวิชาชีพครู 2.3) กลุมวิชาเฉพาะสาขา 2.4) กลุมวิชาเลือกเสรี

3) มีผลการเรียนตามเกณฑตอไปนี้ 3.1) กลุมวิชาการศึกษาท่ัวไป ไมมีรายวิชาใดไดเกรด F 3.2) กลุมวิชาชีพครูมีคะแนนเฉล่ียท้ังกลุมวิชาไมตํ่ากวา 2.00 และไมมีรายวิชาใด

ไดเกรด F 3.3) กลุมวิชาเฉพาะสาขามีคะแนนเฉล่ียท้ังกลุมวิชาไมตํ่ากวา 2.00 และไมมี

รายวิชาใดไดเกรด F 3.4) กลุมวิชาเลือกเสรีไมมีรายวิชาใดไดเกรด F

4) ไมอยูในระหวางถูกลงโทษ หรือพักการเรียน 5) ผานเกณฑการเขารวมกิจกรรมพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของนักศึกษา คณะศึกษาศาสตร 6) ตองเปนผูท่ียื่นใบสมัครแจงความจํานงการออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 7) เปนผูท่ีไดปฏิบัติตามขอกําหนดและเขารวมกิจกรรมตางๆ ท่ีศูนยประสบการณวิชาชีพครูและคณะกรรมการบริหารรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 กําหนด

4.2 ขอปฏิบัติของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตองปฏิบัติตนตามระเบียบการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาอยางเครงครัด ดังนี้

1) รายงานตัว ณ สถานศึกษาท่ีจัดใหไปปฏิบัติการสอนในเวลาท่ีกําหนด

Page 12: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 8

2) รับทราบและเรียนรูระเบียบปฏิบัติ หนาท่ีและภารกิจท่ีตองรับผิดชอบใหเขาใจชัดเจน และปฏิบัติดวยความยินดี 3) การลงช่ือและลงเวลาปฏิบัติงาน ใหปฏิบัติตามระเบียบของสถานศึกษาตามท่ีบริหารของสถานศึกษากําหนดข้ึนโดยชอบตามกฎหมาย และปฏิบัติตามอยางเครงครัด ซ่ือสัตย และรับผิดชอบ 4) การลากิจ ลาปวย ในกรณีท่ีนักศึกษามีความจําเปนตองลา ไมวาจะเปนลากิจ หรือลาปวย ในระหวางการฝกการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ใหปฏิบัติดังนี้ 4.1) การลากิจ ตองสงใบลาลวงหนาอยางนอย 1 วันและตองไดรับการอนุมัติเสียกอนจึงหยุดได 4.2) การลาปวย ตองสงใบลาในวันท่ีลา หรือตองสงใบลายอนหลังโดยเร็ว ในกรณีท่ีลาปวยต้ังแต 3 วันข้ึนไป ตองมีใบรับรองแพทยแนบประกอบดวย

4.3) การสงใบลา ใหสงใบลาท่ีสถานศึกษาท่ีปฏิบัติการสอน ผานอาจารย พี่เล้ียงข้ึนไปตามลําดับข้ัน เม่ือไดรับอนุมัติแลวใหถายสําเนาแจงอาจารยนิเทศกประจําสาขาวิชาเฉพาะ 5) การออกนอกบริเวณสถานศึกษาท่ีปฏิบัติการสอนเปนคร้ังคราวในเวลาปฏิบัติงาน ตองปฏิบัติตามระเบียบของสถานศึกษานั้นๆ และขออนุญาตครูพี่เล้ียงรวมทั้งผูบริหารสถานศึกษา และจะออกนอกบริเวณสถานศึกษาเม่ือไดรับอนุญาตแลวเทานั้น 6) การกลับคณะศึกษาศาสตร จะทําไดเม่ือสถานศึกษาไดรับแจงเปนทางการจากคณะศึกษาศาสตร นักศึกษาตองไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากผูบริหารสถานศึกษาและตองปฏิบัติตามระเบียบสถานศึกษา 7) การไปทัศนศึกษาของนักเรียนจะตองจัดทําโครงการ โดยมีครูพี่ เ ล้ียงเปนผูรับผิดชอบ พานักเรียนไปทัศนศึกษา นักศึกษาเปนเพียงผูชวยเทานั้น 8) เขารวมกิจกรรมสงเสริมและพัฒนาศักยภาพความเปนครูตามท่ีสถานศึกษามอบหมาย 9) ตองเขารวมกิจกรรมการสรุปและสะทอนผลการปฏิบัติการสอนตามท่ีหนวยงานท่ีเกี่ยวของจัดใหทุกคร้ัง

10) ไมลงทะเบียนเรียนรายวิชาระหวางการลงทะเบียนเรียนรายวิชาปฏิบัติการสอน 1 และ 2

Page 13: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 9

4.3 การยุติการปฏิบัติการสอน มีการยุติการปฏิบัติการสอนในกรณีตางๆตามเหตุในขอใดขอหนึ่งหรือหลายขอ ดังนี้ 1) คณะกรรมการดําเนนิงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตรวจพบวา นักศึกษามีคุณสมบัติไมครบตามประกาศฉบับท่ี 006/2554 2) นักศึกษามีพฤติกรรมการปฏิบัติงานท่ีไมสอดคลองกับกระบวนงานและไดรับคํา เตือนจากครูพี่เล้ียงแลวแตขาดการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง ซ่ึงทางสถานศึกษาเห็นวาไมสามารถจะปฏิบัติการสอนตอไปได 3) นักศึกษาลาปวย ลากิจ หรือขาดการทําหนาท่ีปฏิบัติการสอนมากกวาเดือนละ 2 คร้ัง หรือมากกวารอยละ 10 ของเวลาปฏิบัติการสอน โดยไมสงใบลา 4) นักศึกษาปฏิบัติตนไมเหมาะสมกับวิชาชีพครู มีพฤติกรรมผิดวินัยรายแรง ท้ังนี้ ตามสถานศึกษาและคณะศึกษาศาสตร โดยคณะกรรมการและ/หรือ ผูท่ีเกี่ยวของรวมกันพิจารณาแลวมีมติเห็นวา ไมสมควรปฏิบัติการสอนตอไป

4.4 การวัดและประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ดําเนินการดังนี้ 1) ผูวัดและประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ประกอบดวย 1.1) อาจารยนิเทศก 1.2) ครูพี่ เล้ียง และผูท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษา 1.3) คณะกรรมการบริหารรายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 2) เคร่ืองมือท่ีใชในการวัดและประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ใชแบบฟอรมตามท่ีศูนยประสบการณวิชาชีพครูและคณะกรรมการบริหารรายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษากําหนด 3) การตัดสินผลการปฏิบั ติการสอนในสถานศึกษา ประเมินผลโดยศูนยประสบการณวิชาชีพครูและคณะกรรมการบริหารรายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

Page 14: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 10

บทท่ี 2 ปฏิทินและกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

2.1. ปฏิทินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

ปฎิทินการปฏิบัติการสอน ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554

วัน/เดือน/ป เวลา กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ 8-11 มี.ค.54 เปนตนไป

9.00-16.00 น. -สงตัวนักศึกษา -โรงเรียน

2-6 พ.ค.54 10.00 น. 13.00 น.

-รับคูมือสําหรับนักศึกษาและครูพ่ีเล้ียง - สัมมนาครูพ่ีเล้ียงและผูประสานงานโรงเรียน

-ศูนยประสบการณวิชาชีพครู

-เชารวมบาย -สาขาสัมมนา 1 วัน

9-11 พ.ค. 54

สัปดาหท่ี 1 9-13 พ.ค.54

-สรางความคุนเคยกับบุคลากรและสถานที่ในสถานศึกษา -วางแผนตกแตงช้ันเรียน -วางแผนการจัดการเรียนรู

-โรงเรียน

ลงลายมือช่ือปฏิบัติงานที่โรงเรียน

สัปดาหท่ี 2 16-20 พ.ค.54

7.30-16.30 น. -สังเกตการณจัดการเรียนรูของครูพ่ีเล้ียงในช้ันเรียนที่นักศึกษารับผิดชอบ

-โรงเรียน

สัปดาหท่ี 3 23-27 พ.ค.54

7.30-16.30 น. -สังเกตการณจัดการเรียนรูของครูพ่ีเล้ียง (ตอ)

-โรงเรียน

สัปดาหท่ี 4 30พ.ค.-3 มิ.ย.54

7.30-16.30 น. -เริ่มปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 5 6-10 มิ.ย.54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 6 13-17 มิ.ย.54

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 1 ( ครูพ่ีเล้ียง ) -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 7 20-24 มิ.ย.54

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 1 (อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ)

-โรงเรียน

Page 15: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 11

วัน/เดือน/ป เวลา กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ สัปดาหท่ี 8

27 มิ.ย.- 1 ก.ค.54 1 ก.ค.54

7.30-16.30 น.

9.00-16.30 น.

-ปฏิบัติการสอน -สัมมนาคร้ังท่ี 1

-โรงเรียน -หองประชุมสายสุร ี

นักศึกษาทุกคน

สัปดาหท่ี 9 4-8 ก.ค. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 10 11-14 ก.ค. 54

-นิเทศครั้งที่ 2 ( ครูพ่ีเล้ียง ) -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 11 18- 22 ก.ค. 54

7.30-16.30 น. -นิเทศวิชาชีพครู (อาจารยนิเทศกวิชาชีพครู)

-โรงเรียน นิเทศ 1 ครั้ง

สัปดาหท่ี 12 25-29 ก.ค. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 13 1-5 ส.ค. 54 5 ส.ค. 54

7.30-16.30 น.

13.00 น.

-นิเทศครั้งที่ 3 (ครูพ่ีเล้ียง) -สัมมนาคร้ังท่ี 2

-โรงเรียน -หองประชุมสายสุร ี

สัปดาหท่ี 14 8-11 ส.ค. 54

7.30-16.30 น.

-ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 15 15-19 ส.ค. 54

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 2 (อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ)

-โรงเรียน

สัปดาหท่ี 16 22-26 ส.ค. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 17 29 ส.ค.-2 ก.ย. 54

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 4 (ครูพ่ีเล้ียง) -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 18 5-9 ก.ย. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 19 12-16 ก.ย. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอนสัปดาหสุดทาย -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 20 19-23 ก.ย. 54

-เขียนรายงานผลการจัดการเรียนรู และพัฒนาผูเรียน ปรึกษาอาจารยนิเทศก

-คณะศึกษาศาสตร

สัปดาหท่ี 21 26 -30 ก.ย. 54

30 ก.ย. 54

9.00-16.30 น.

-นักศึกษาสงงานทุกช้ินที่ไดรับมอบหมาย -สัมมนา คร้ังท่ี 3

-ศูนยประสบการณวิชาชีพครู -หองประชุมสายสุร ี

Page 16: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 12

ปฎิทินการปฏิบัติการสอน ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2554

วัน/เดือน/ป เวลา กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ 4-7 ต.ค. 54 9.00-16.30 น. -สงตัวนักศึกษา -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 1 17-21 ต.ค. 54

7.30-16.30 น. -สรางความคุนเคยกับบุคลากรและสถานที่ในสถานศึกษา -วางแผนตกแตงช้ันเรียน/การจัดการเรียนรู

-โรงเรียน ลงลายมือช่ือปฏิบัติงานที่โรงเรียน

สัปดาหท่ี 2 24-28 ต.ค. 54

7.30-16.30 น. -สังเกตการจัดการเรียนรูของครูพ่ีเล้ียง

-โรงเรียน

สัปดาหท่ี 3 31ต.ค.-4 พ.ย. 54

7.30-16.30 น. -เริ่มปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 4 7-11 พ.ย. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 5 14-18 พ.ย. 54

18 พ.ย. 54

7.30-16.30 น. 9.00-16.30 น.

-นิเทศครั้งที่ 1 (ครูพ่ีเล้ียง) -สัมมนาคร้ังท่ี 1 นําเสนอ เคาโครงวิจัย

-โรงเรียน -คณะศึกษาศาสตร

สัปดาหท่ี 6 22-25 พ.ย. 54

7.30-16.30 น.

-นิเทศครั้งที่ 1 (อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ)

-โรงเรียน

สัปดาหท่ี 7 28 พ.ย. - 2 ธ.ค. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 8 6-9 ธ.ค. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 9 13-16 ธ.ค. 54

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 2 (ครูพ่ีเล้ียง) -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 10 19-23 ธ.ค. 54

23 ธ.ค. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -สัมมนาคร้ังท่ี 2 ติดตามผลการทําวิจัย

-โรงเรียน -คณะศึกษาศาสตร

สัปดาหท่ี 11 26-30 ธ.ค. 54

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 12 3 ม.ค.-6 ม.ค. 55

7.30-16.30 น. -นิเทศวิชาชีพครู (อาจารยนิเทศกวิชาชีพครู)

-โรงเรียน นิเทศ 1 ครั้ง

Page 17: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 13

วัน/เดือน/ป เวลา กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ สัปดาหท่ี 13

9 ม.ค.-13 ม.ค. 55 7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 14 16-20 ม.ค. 55

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 3 (ครูพ่ีเล้ียง) -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 15 23-27 ม.ค. 55

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 2 (อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ)

-โรงเรียน

สัปดาหท่ี 16 30 ม.ค.-3 ก.พ. 55

7.30-16.30 น. -นิเทศครั้งที่ 4 (ครูพ่ีเล้ียง) -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 17 6-9 ก.พ. 55

7.30-16.30 น.

-ปฏิบัติการสอน

-โรงเรียน

**10 ก.พ. 55 8.30-16.30 น. -กิจกรรมการวิจัย (นําเสนอผลงานวิจัย: Oral Presentation และแสดงนิทรรศการ)

-คณะศึกษาศาสตร

สัปดาหท่ี 18 13-17 ก.พ. 55

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอน

-โรงเรียน

สัปดาหท่ี 19 20-24 ก.พ. 55

7.30-16.30 น. -ปฏิบัติการสอนสัปดาหสุดทาย -โรงเรียน

สัปดาหท่ี 21 28 ก.พ. 55

9.00-16.30 น. -นักศึกษาสงงานทุกช้ินที่ไดรับมอบหมาย -สัมมนาคร้ังท่ี 3(ปจฉิมนิเทศ)

-คณะศึกษาศาสตร -ศูนยประสบการณวิชาชีพครู

หมายเหตุ: ปฏิทินท้ังหมดนี้อาจมีการเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม

Page 18: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 14

ปฏิทินการทําวิจัยในชั้นเรียน ปการศึกษา 2554

วัน/เดือน/ป เวลา กิจกรรม สถานท่ี หมายเหตุ 28 ต.ค. 54 15.00 น. ปรึกษาอาจารยนิเทศกสาขาวิชา

เฉพาะ เก่ียวกับหัวขอวิจัย ครั้งที่ 1

หองที่อาจารยกําหนด

นักศึกษาแตละคน

4พ.ย. 54 15.00 น. ปรึกษาอาจารย/เสนอหัวขอวิจัยตออาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ เก่ียวกับหัวขอวิจัย ครั้งที่ 2

หองที่อาจารยกําหนด

นักศึกษาแตละคน

*18 พ.ย. 54 9.00-16.30 น. นําเสนอหัวเคาโครงวิจัยตอที่ประชุมสาขาวิชา (แยกตามสาขาวิชา)

หองที่กําหนดของสาขาวิชา

นักศึกษาแตละสาขา

21 พ.ย. –15 ธ.ค.54 7.30-16.30 น. เริ่มเก็บขอมูล -โรงเรียน 16 ธ.ค. 54 7.30-16.30 น. สิ้นสุดการเก็บขอมูล -โรงเรียน 20 ธ.ค. 54 7.30-16.30 น. วิเคราะหขอมูล -โรงเรียน ม.ค.55 7.30-16.30 น. เขียนรายงานการวิจัย -โรงเรียน

20 ม.ค.55 15.30 น. สงบทคัดยองานวิจัย (เพ่ือเขาเลมการนําเสนอ)

-ศูนยประสบการณวิชาชีพครู

7-10 ก.พ. 55 16.30 น. สงรายงานวิจัยใหอาจารยที่ปรึกษา

หองที่อาจารยกําหนด

*10 ก.พ. 55 9.00-16.30 น. กิจกรรมการวิจัย (นําเสนอผลงานวิจัย: Oral Presentation และแสดงนิทรรศการ)

-คณะศึกษาศาสตร

17 ก.พ. 55 9.00-16.30 น. สงรายงานวิจัยในช้ันเรียนฉบับสมบูรณ

-ศูนยประสบการณวิชาชีพครู

28 ก.พ. 55 9.00-16.30 น. ปจฉิมนิเทศ -คณะศึกษาศาสตร

หมายเหตุ: ปฏิทินท้ังหมดนี้อาจมีการเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม

Page 19: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 15

2.2. กิจกรรมท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา กําหนดเปนข้ันตอนดังนี้ 2.2.1.ขั้นเตรียมการ

1) การประชุมชี้แจงนักศึกษากอนปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ศูนยประสบการณวิชาชีพครูโดยคณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เปนผูรับผิดชอบกําหนดเวลาและนัดหมายนักศึกษาเพื่อประชุมช้ีแจง เร่ืองการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การประชุมคร้ังนี้นับเปนกิจกรรมที่ 1 ของการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา นักศึกษาทุกคนตองเขารวมประชุมโดยพรอมเพรียงกันและตรงเวลาท่ีนัดหมาย

2) การสมัครเปนนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา นักศึกษา เม่ือเขารวมประชุมรับทราบกฎ กติกา การปฏิบัติการสอนแลว นักศึกษาตองตรวจสอบขอมูล “คุณสมบัติของนักศึกษาปฏิบัติการสอน” เม่ือผลการตรวจสอบพบวามีคุณสมบัติครบถวน ใหมาขอแบบฟอรมเพื่อกรอกขอมูลสงใหศูนยประสบการณวิชาชีพครู ภายในเวลาท่ีกําหนด หากไมสงภายในเวลาจะถือวาสละสิทธ์ิ

3) การเลือกสถานศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา กรรมการดําเนินงานรายวิชาเปนผูรวบรวมใบสมัครของนักศึกษาปฏิบัติการสอน แลวปฏิบัติดังนี้

3.1) สํารวจจํานวนนักศึกษา ของแตละสาขาท่ีจะออกปฏิบัติการสอนประจําปการศึกษา นั้น

3.2) ตรวจสอบความถูกตองของนักศึกษาตามเกณฑคุณสมบัติของนักศึกษา ปฏิบัติการสอน

3 .3) พิจารณาขอมูลดานสถานศึกษาโครงการเครือขายรวมผลิตบัณฑิตดานประสบการณวิชาชีพครูเพื่อใหนักศึกษาไปปฏิบัติการสอน

3.4) จัดประชุมช้ีแจงขอมูลพื้นฐานท่ีสําคัญของการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3.5) จัดกระบวนการใหนักศึกษาเลือกระดับช้ันและสถานศึกษา 3.6) จัดนักศึกษาลงสถานศึกษา

3.7) ศูนยประสบการณวิชาชีพครูมีหนาท่ีแจงแกสถานศึกษาพรอมนัดหมายกําหนด วัน เวลา สงตัวนักศึกษาปฏิบัติการสอน

Page 20: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 16

4) การสงตัวนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การสงตัวนักศึกษาไปปฏิบัติการสอนเปนกิจกรรมท่ีเกี่ยวของกับฝายตางๆ ดังนี้

4.1) ศูนยประสบการณวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มีหนาท่ีดังนี้ 4.1.1 จัดทําทะเบียนรายช่ือนักศึกษาปฏิบัติการสอนประจําปการศึกษา

2554 4.1.2 ประกาศรายช่ือนักศึกษาปฏิบัติการสอนตามรายช่ือสถานศึกษา

4 .1.3 แจงขอมูลทะเบียนรายช่ือนักศึกษาปฏิบัติการสอนประจํา ปการศึกษา 2554 ตอสถานศึกษาและกําหนดเวลานัดหมายการสงตัวนักศึกษาตอสถานศึกษา

4.1.4 ติดตอประสานงานกับสถานศึกษาเพื่อการสงตัวนักศึกษาตอสถานศึกษา

4.2) คณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา มีหนาท่ีท่ีตองดําเนินการดังนี้ 4.2.1 ประชุมช้ีแจงแนวทางการปฏิบัติตนและขอบขายภาระงานท่ีนักศึกษาตองรับผิดชอบและนัดหมาย เวลา สถานท่ีเพื่อการสงตัวนักศึกษาตอสถานศึกษา

4.2.2 จัดสงนักศึกษาไปยังสถานศึกษาตามกําหนดเวลาท่ีนัดหมายไว 4.3) นักศึกษาปฏิบัติการสอน มีหนาท่ีท่ีตองดําเนินการดังนี้

4.3.1 ติดตามขาวสารการออกปฏิบัติการสอนจากศูนยประสบการณวิชาชีพครูและจากกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

4.3.2 เขารวมประชุมฟงคําช้ีแจงจากศูนยฯและคณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

4.3.3 ตัดสินใจเลือกรูปแบบการปฏิบัติการสอนและทําความเขาใจใหถองแท

4.3.4 ตัดสินใจเลือกสถานศึกษา แจงผลตออาจารยผูประสานงานรายวิชาประจําสาขา

4.3.5 เขารวมประชุมรับทราบแนวทางการสงตัวตอสถานศึกษา 4.3.6 ไปยังสถานศึกษากอนเวลาที่นัดหมายเพื่อรวมกลุมรออาจารยท่ี

ไดรับมอบหมายเปนผูแทนสถาบัน เพื่อสงตัวตอสถานศึกษา 4.3.7 รวมประชุมรับทราบขอมูลดานนโยบาย วัฒนธรรมการทํางานและ

กระบวนงานขององคกรในสถานศึกษา

Page 21: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 17

4.3.8 พบครูพี่เล้ียง รับทราบและรวมปรึกษาหารือเร่ืองการปฏิบัติหนาท่ีท้ังครูผูสอนในสาขาวิชาเฉพาะและหนาท่ีครูประจําช้ัน

4.3.9 รับเอกสารที่ครูพี่เล้ียงมอบใหไปศึกษาและเตรียมการสอนลวงหนา เชน การทําปฏิทินการสอน ศึกษา และ / หรือ จัดทําหนวยการเรียนรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรูระดับหนวยการเรียน และเตรียมแผนการจัดการเรียนรูลวงหนา 1-2 หนวยการเรียน เพื่อลดปญหาความเครียดระหวางสอน

4.3.10 เตรียมส่ือ วัสดุและส่ิงของตางๆท่ีจําเปนในการปฏิบัติหนาท่ีครู ปฏิบัติการสอน

4.3.11 เตรียมตัวเปนครูท่ีดี ฝกการต่ืนแตเชา ออกกําลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของตนเอง

4.4) สถานศึกษาเครือขายรวมผลิตบัณฑิต มีหนาท่ีท่ีตองดําเนินการดังนี้ 4.4.1 รับทราบขอมูลการติดตอประสานงานจากคณะศึกษาศาสตรเร่ือง

การรับนักศึกษาปฏิบัติการสอน 4.4.2 จัดเตรียมรายช่ือครูพี่เล้ียงประจําสาขาวิชาเฉพาะและครูพี่เล้ียง

ประจําช้ัน พรอมแจงใหคณะศึกษาศาสตรทราบ 4.4.3 เขารวมประชุมเพื่อทําความเขาใจบทบาทหนาท่ีของการเปน

สถานศึกษาเครือขายรวมผลิตบัณฑิตดานประสบการณวิชาชีพครู 4.4.4 จัดเตรียมการรับนักศึกษาจากคณะศึกษาศาสตรตามกําหนดเวลา

และเตรียมการปฐมนิเทศ (ขอมูลสําคัญไดแก วัฒนธรรมการทํางานและการอยูรวมกันขององคกร ขอบขายภาระหนาท่ีในความรับผิดชอบท่ีจะมอบหมายแกนักศึกษา แนวทางการปฏิบัติงานใหมีคุณภาพ บริการและสวัสดิการที่จัดใหนักศึกษาและความคาดหวังของสถานศึกษา เปนตน)

4.4.5 ประชุมประสานงานและทําความเขาใจรวมกันระหวางครูพี่เล้ียง และครูทุกทานในสถานศึกษา ในประเด็นท่ีสําคัญ ตลอดจนการปรึกษาหารือแนวทางปฏิบัติรวมกันเพื่อพัฒนากระบวนงานการเปนสถานศึกษาเครือขายฯของคณะศึกษาศาสตร

4.4.6. นัดหมายเวลาเพื่อสงตัวนักศึกษาเขาพบครูพี่เล้ียงประจําสาขาวิชาเฉพาะและครูพี่เล้ียงประจําช้ัน และแจงขอมูลท่ีครูพี่เล้ียงตองเตรียมกอนการรับตัวนักศึกษา เชน เอกสารท่ีเกี่ยวของกับการเตรียมการสอน เชน หลักสูตร กําหนดการสอน หนวยการเรียนและหนังสือแบบเรียนท่ีตองใชในการสอน เปนตน

Page 22: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 18

4.4.7. แจงนักศึกษาเร่ืองแนวทางการปฏิบัติงานในสาขาวิชาเฉพาะ และงานประจําช้ัน พรอมมอบเอกสารท่ีเกี่ยวของและจําเปนตอการเตรียมการสอนกอนเปดภาคเรียนแกนักศึกษา

4.4.8. กําหนดแนวทางการติดตอส่ือสารระหวางกันระหวางครูพี่เล้ียงและนักศึกษา

5) การประชุมและการสัมมนา การประชุมและการสัมมนาเปนกิจกรรมสําคัญของกระบวนงานการปฏิบัติการสอนของนักศึกษา แตละกิจกรรมมีเปาหมายท่ีชัดเจน ดังนั้นนักศึกษาจึงตองเขารวมกิจกรรม ทุกคร้ัง เต็มเวลา และปฏิบัติกิจกรรมตางๆดวยความต้ังใจ เรียนรูผลการประชุมและนําไปปรับใชใหเกิดประโยชนตอการปฏิบัติการสอนของตน กิจกรรมการประชุม/สัมมนา ข้ันเตรียมความพรอม/การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาปฏิบัติการสอน ศูนยประสบการณวิชาชีพครูและคณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาฯ เปนผูสํารวจความตองการของนักศึกษาและรวมกันพิจารณาดําเนินการดานการจัดกิจกรรมเพ่ือเตรียมความพรอม/พัฒนาศักยภาพของนักศึกษากอนปฏิบัติการสอน

2.2.2 ขั้นปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ประกอบดวยกิจกรรมการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ดังนี้ 1) การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเฉพาะ

ขอกําหนดของคุรุสภาตามมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพกําหนดสาระการฝกทักษะและสมรรถภาพสําหรับการปฏิบัติงานสอนในสาขาวิชาเฉพาะไวดังนี้ (ก) สาระฝกทักษะ 1) การบูรณาการความรูท้ังหมดมาใชในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2) การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูท่ียึดผูเรียนเปนสําคัญ 3) การจัดกระบวนการเรียนรู 4) การเลือกใช การผลิตส่ือและนวัตกรรมท่ีสอดคลองกับการจัดการเรียนรู 5) การใชเทคนิคและยุทธวิธีในการจัดการเรียนรู 6) การวัดประเมินผลการเรียนรู 7) การทําวิจัยในช้ันเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน 8) การนําผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพผูเรียน 9) การบันทึกและรายงานผลการจัดการเรียนรู

Page 23: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 19

10) การสัมมนาทางการศึกษา (ข) สมรรถนะ 1) สามารถจัดการเรียนรูในสาขาวิชาเฉพาะ 2) สามารถประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับศักยภาพ 3) สามารถทําวิจัยในช้ันเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน 4) สามารถทํารายงานผลการจัดการเรียนรู สวนภาระงาน กําหนดใหนักศึกษามีภาระงานสอนแตละสัปดาหไมนอยกวา 8 คาบตอสัปดาห ไมเกิน 12 คาบตอสัปดาห 2) การปฏิบัตงิานอ่ืนๆ ในสถานศึกษา การปฏิบัติงานอื่นๆ ในสถานศึกษา ไดแก งานกิจการนักเรียน งานพัฒนาผูเรียน งานโครงการทางวิชาการ และงานอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา กําหนดใหนักศึกษาปฏิบัติงานโดยมีเวลาปฏิบัติงานไมเกิน 5 ช่ัวโมงตอสัปดาห

3) การสัมมนาและสะทอนผลระหวางการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การสัมมนาและสะทอนผลระหวางการปฏิบัติการสอน คณะกรรมการดําเนินงานรายวิชาฯ

กําหนดใหนักศึกษาทุกคนเขารวมทุกคร้ังตามปฏิทินการปฏิบัติการสอน โดยศูนยประสบการณวิชาชีพครู จะสงหนังสือแจงไปยังสถานศึกษา นักศึกษาตองขออนุญาตสถานศึกษาเพื่อเขารวมกิจกรรมการสัมมนาและสะทอนผลระหวางการปฏิบัติการสอน

วัตถุประสงคของการสัมมนาและสะทอนผล 1. เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสสะทอนผลการปฏิบัติงานรวมกัน 2. เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสแลกเปล่ียนเรียนรูประสบการณการปฏิบัติการสอนใน

สถานศึกษา 3. เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสวิเคราะหสภาพปญหาและหาแนวทางการแกปญหารวมกัน

2.2.3 ขั้นสรุปผลปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การสรุปและการรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน และการทําวิจัยในชั้นเรียน เปนขอกําหนดของคุรุสภาท่ีใหนักศึกษาท่ีปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตองจัดทํารายงาน โดยภาคเรียนท่ี 1 จัดทําการรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน และภาคเรียนท่ี 2 จัดทํารายงานวิจัยในช้ันเรียน ดังนี้

1. รายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน การรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน เปนช้ินงานสําคัญในรายวิชา 230 531 นักศึกษาทุกคนตองนําขอมูลท่ีใชในการปฏิบัติการสอน ขอมูลจากแบบบันทึกตางๆมาวิเคราะห

Page 24: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 20

และจัดหมวดหมูขอมูลตามรูปแบบและหัวขอท่ีกําหนด จากน้ันใหเรียบเรียงเขียนรายงานตามหัวขอจนครบถวน และเขารูปเลม สงท่ีศูนยประสบการณวิชาชีพครูในเวลาท่ีกําหนด

2. รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน การรายงานผลการวิจัยในช้ันเรียน เปนช้ินงานสําคัญในรายวิชา 230 532 นักศึกษาทุกคนตองดําเนินงานตามข้ันตอนท่ีกําหนดใหสําเร็จ (ดูท่ีปฏิทินการวิจัย) การดําเนินงานการวิจัยในช้ันเรียนเปนงานท่ีละเอียดออน ขอมูลทุกอยางมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกัน ดังนั้นนักศึกษาจะตองทบทวนความรูความเขาใจเร่ืองกระบวนงานการวิจัยภาคทฤษฎีใหเขาใจ รวมท้ังการศึกษาจากงานวิจัยตัวอยางท่ีดีๆ ปรึกษาอาจารยท่ีปรึกษางานวิจัยอยางใกลชิดและตอเนื่อง

หมายเหตุ นักศึกษาทุกคนตองสงช้ินงานสําคัญคือ 1.รายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน 2.รายงานผลการวิจัยในช้ันเรียน ถาไมสงถือวาไมผานการปฏิบัติการสอน

ตารางสรุปการสงงานของนักศึกษาปฏิบัตกิารสอน

การปฏิบัติงาน ชิ้นงาน แบบประเมิน/บันทึก หมายเหตุ กอนเร่ิมปฏิบัติการสอนจริง

สงตารางสอนให ศูนยประสบการณวิชาชัพครู และอาจารยนิเทศก

-

สงอาจารยนิเทศกสาขาวชิาเฉพาะ และศูนยประสบการณวิชาชีพครู อยางละ 1 ชุด

รายงานการสังเกตการสอนของครูพี่เล้ียงประจําวิชา

แบบบันทึกการสังเกต

เร่ิมปฏิบัติการสอน - งานสอน - งานประจําช้ัน - งานอ่ืนๆ

แผนการจัดการเรียนรู (สงครูพี่เล้ียงประจําวิชากอน 1 สัปดาห)

แบบประเมินท่ี 1

บันทึกประจําวัน แบบประเมินผลงาน บันทึกประจําสัปดาห - บันทึกหลังการนิเทศ - บันทึกผลการปฎิบัติงาน แบบประเมินท่ี 2 บันทึกผลการปฏิบัติงาน แบบประเมินท่ี 3

Page 25: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 21

การปฏิบัติงาน ชิ้นงาน แบบประเมิน/บันทึก หมายเหตุ หลังปฏิบัติการสอน ภาคเรียนท่ี 1

รายงานผลการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน

แบบประเมินผลงาน สงศูนยฯ

หลังปฏิบัติการสอน ภาคเรียนท่ี 2

รายงานวจิัยในช้ันเรียน แบบประเมินผลงาน สงศูนยฯ

หลังปฏิบัติการสอน ภาคเรียนท่ี 1 และ 2

รวมแผนการจดัการเรียนรูในแตละภาคเรียน (สงทายการปฏิบัติการสอนในแตละภาคเรียน)

แบบประเมินผลงาน ประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรู ท่ีมีบันทึกทายแผนพรอมลายเซ็นครูพี่เล้ียงประจําวิชา

Page 26: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 22

บทท่ี 3 การประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

การประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา หลักเกณฑการประเมินมาตรฐานบัณฑิตปริญญาตรีการศึกษา (หลักสูตร 5 ป ) ท่ีกําหนดโดยคุรุสภา กําหนดใหมีการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษา โดยใหศูนยประสบการณวิชาชีพฯ ประสานงานกับสถานศึกษา ใหมีคณะผูประเมินเพื่อทําหนาที่ประเมินการปฏิบัติการสอน และใหคณะกรรมการบริหารรายวิชา ฯ กําหนดแบบประเมิน เง่ือนไขการตัดสินผลการประเมิน ระยะเวลาในการประเมิน ระยะเวลาสงผลการประเมินใหศูนยประสบการณวิชาชีพครู รวมท้ัง หลักฐานการผานการประเมิน เปนตน โดยการประเมินจะตองพิจารณาตามเกณฑการรับรองท่ีคุรุสภากําหนด ซ่ึงไดแก 1) สามารถจัดการเรียนรูในสาขาวิชาเฉพาะ 2) สามารถประเมิน ปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน 3) สามารถจัดทํารายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน

4) สามารถจัดทําวิจัยในช้ันเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน เพื่อใหสอดคลองกับเกณฑดังกลาว คณะกรรมการบริหารรายวิชาฯ ไดสรางแบบประเมินสําหรับใชประเมิน การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของนักศึกษาที่ลงเบียนในรายวิชา 230 531 และ 230 532 จํานวน 5 รูปแบบ รวมทั้งแบบบันทึกการทํางานเพื่อชวยในการพัฒนาปรับปรุงการทํางานอีก 3 ชุด และแบบสังเกตการจัดการเรียนรูของนักเรียนอีก 1 ชุด พรอมท้ังนักศึกษาตองสงรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน ในภาคเรียนท่ี 1 และตองสงรายงานวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน ในภาคเรียนท่ี 2 ดังรายละเอียดตอไปนี้ 3.1 แบบประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1.1 แบบประเมินท่ี 1 แบบประเมินการปฏิบัติการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน แบบประเมินนี้สรางข้ึนเพื่อใชในการประเมินการจัดการเรียนรูในรายวิชานี้ของนักศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะตางๆ โดยผูประเมินคือ อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะซ่ึงเปนอาจารยประจําสาขาวิชาเฉพาะตางๆ และครูพี่เล้ียงประจําวิชา ทําการประเมินการจัดการเรียนรูของนักศึกษาทันทีหลังจากเสร็จส้ินการสังเกตการณสอนของนักศึกษาตลอด 1 คาบหรือ 2 คาบเรียนข้ึนอยูกับลักษณะการจัดตารางของแตละวิชา โดยครูพี่เล้ียงประจําวิชาทําการประเมินเดือนละ 1

Page 27: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 23

คร้ัง สวนอาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะทําการประเมินภาคเรียนละ 2 คร้ัง ตามท่ีกําหนดไวในปฏิทินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 3.1.2 แบบประเมินท่ี 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําชั้น (ตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน) ในขอบังคับของคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ไดใหความหมายของ “มาตรฐานการปฏิบัติงาน” วาเปนขอกําหนดเก่ียวกับคุณลักษณะหรือการแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซ่ึงผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองปฏิบัติตาม เพื่อใหเกิดผลตามวัตถุประสงคและเปาหมายการเรียนรู หรือการจัดการศึกษา รวมท้ังตองฝกฝนใหมีทักษะหรือความชํานาญสูงข้ึนอยางตอเนื่อง แบบประเมินนี้สรางข้ึนเพื่อใชในการประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ันในสถานศึกษานอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเฉพาะ ซ่ึงสถานศึกษาไดจัดใหกับนักเรียนของตนเอง โดยผูประเมินคือ ครูพี่เล้ียงประจําช้ัน เพียงคนเดียว ทําการประเมินเดือนละ 1 คร้ัง 3.1.3 แบบประเมินท่ี 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานงานกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา แบบประเมินท่ี 3 นี้เปนสวนหนึ่งของการประเมินการพัฒนาคุณลักษณะความเปนครู (ตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน) ท่ีกําหนด นักศึกษาตองปฏิบัติกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวของกับงานวิชาการในสถานศึกษาจํานวน 4 กิจกรรม จากกิจกรรมท้ังหมด 4 กิจกรรม ไดแก งานกิจการนักเรียน งานพัฒนาผูเรียน งานโครงงานทางวิชาการ และงานอ่ืนๆ ท่ีสถานศึกษากําหนด เชนเวรประจําวัน สหกรณรานคาในสถานศึกษา งานดูแลหองพยาบาลของสถานศึกษา เปนตน ในกรณีท่ีนักศึกษาไดรับมอบหมายใหปฏิบัติกิจกรรมมากกวา 4 กิจกรรม ใหนักเรียนเลือกใหมีการประเมินเพยีง 4 กิจกรรม โดยผูประเมินไดแก ครูท่ีทําหนาท่ีดูแลหรือควบคุมการทํากิจกรรมเหลานั้น 1.4 แบบประเมินท่ี 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (ตามมาตรฐานการปฏิบัติตน หรือจรรยาบรรณวิชาชีพ) ในขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ไดใหความหมายของ “มาตรฐานการปฏิบัติตน” วา เปนจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีกําหนดขึ้นเปนแบบแผนในการประพฤติตน ซ่ึงผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองปฏิบัติตนตามเพ่ือรักษาและสงเสริมเกียรติคุณ ช่ือเสียง และฐานะของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาใหเปนท่ีเช่ือถือศรัทธาแกผูรับบริการและสังคมอันจะนํามาซ่ึงเกียรติและศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพ แบบประเมินนี้สรางข้ึนเพื่อใชในการประเมินการปฏิบัติตนของนักศึกษาในระหวางปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เพื่อใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติ

Page 28: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 24

ตนในแนวทางดังกลาวกอนเขาสูวิชาชีพทางการศึกษาหลังจากสําเร็จการศึกษา โดยผูประเมินคือ ครูพี่เล้ียงประจําวิชา ครูพี่เล้ียงประจําช้ัน ผูประสานงานประจําสถานศึกษา ทําการประเมินเดือนละ 1 คร้ัง 3.1.5 แบบประเมินท่ี 5 แบบประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาโดยอาจารยนิเทศกวิชาชีพครู เพื่อใหการประเมินนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามีความเที่ยงตรงและนาเช่ือถือ การไดขอมูลอยางรอบดานท้ังการประเมินโดยตรงจากอาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ ครูพี่เล้ียงประจําช้ัน จึงเปนส่ิงจําเปน การไดขอมูลโดยการประเมินทางออมจากการประเมินของอาจารยนิเทศวิชาชีพครูไปจะเปนประโยชนอยางยิ่งในแงของการตรวจสอบขอมูล ดังนั้นแบบประเมินนี้จึงสรางข้ึนเพื่อวัตถุประสงคดังกลาว ในการประเมิน อาจารยนิเทศกวิชาชีพครู สามารถประเมินนักศึกษาแตละคนจากวิธีการใดวิธีการหนึ่ง หรืออาจใชท้ัง 3 วิธีก็ได ท้ังนี้ข้ึนอยูกับดุลพินิจของอาจารยนิเทศเอง การประเมินของอาจารยนิเทศกวิชาชีพครู มีวิธีการดังตอไปนี้ 1. ศึกษาจากเอกสารการประเมินของครูพี่เล้ียงประจําวิชาและครูพี่เล้ียงประจําช้ัน 2. สัมภาษณผูบริหารครูพี่เล้ียงประจําวิชา ครูพี่เล้ียงประจําช้ัน หรือนักเรียน 3. ประเมินการจัดการเรียนรูของนักเรียนในช้ัน โดยแบบประเ มินนัก ศึกษาปฏิบั ติการสอนโดยอาจารยนิ เทศกวิชา ชีพครูนี้ ประกอบดวยการประเมินนักศึกษาดานตางๆ 3 ดาน คือ ดานการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน ดานคุณลักษณะความเปนครูตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน และดานคุณลักษณะความเปนครูตามมาตรฐานการปฏิบัติตน เพื่อใหการประเมินนี้เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ศูนยประสบการณวิชาชีพครูจะทําตารางนัดหมายผูบริหารครูพี่เล้ียงประจําวิชาและครูพี่เล้ียงประจําช้ันของนักศึกษาปฏิบัติการสอนทุกคน โดยมีประธานนักศึกษาปฏิบัติการสอนเปนผูประสานงานระหวางศูนยประสบการณวิชาชีพครูและสถานศึกษาท้ังในเร่ืองเวลา และสถานท่ีท่ีทําการประเมิน 3.2 การเขียนบันทึกรองรอยการปฏิบัติงาน นักศึกษาตองมีรายงานผลการสอนอยางเปนระบบ โดยนักศึกษาตองบันทึกผลการปฏิบัติงาน ประจําวัน ประจําสัปดาห บันทึกหลังรับการนิเทศจากการอาจารยนิเทศก ตามขอแนะนําดังนี้

Page 29: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 25

3.2.1 แบบบันทึกท่ี 1 บันทึกประจําวัน ใหนักศึกษาบันทึกส่ิงท่ีเกิดข้ึนจริงในแตละวัน เขียนทุกวันต้ังแตวันแรกถึงวันสุดทายของการสอน ส่ิงท่ีเขียนคือ ขอมูลท่ีเกี่ยวของกับความคิด ปฏิสัมพันธระหวางนักศึกษากับส่ิงตางๆ สถานการณท่ีนาสนใจ ขอสังเกต ขอคนพบ โดยเฉพาะอยางยิ่งเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับการจัดการเรียนรู และตัวนักเรียน รวมท้ังส่ิงท่ีชวยสรางประสบการณความเปนครู คําถามสงสัยตางๆ เปนตน เม่ือเขียนขอมูลดังกลาวขางตนเสร็จเรียบรอย นักศึกษาตองวิเคราะหและสรุปผล รวมท้ังการเรียนรูท่ีเกิดข้ึนกับตัวนักศึกษา บันทึกประจําวันนี้ นักศึกษาตองเขียนดวยมือ (ไมใชเคร่ืองพิมพ) มีความยาวไมเกิน 1 หนากระดาษ ท่ีสําคัญตองไมเขียนเพียงเพื่อใหผาน เชน วันนี้เหตุการณปกติ วันนี้เหมือนเม่ือวาน ฯลฯ แบบบันทึกประจําวันเม่ือครบ 5 วันใหนักศึกษาวิเคราะหและสังเคราะห ประเด็นตางๆ ท่ีบันทึกไว ลงในบันทึกประจําสัปดาห พรอมท้ังจัดเก็บในแฟมสะสมงานรายบุคคล 3.2.2 แบบบันทึกท่ี 2 บันทึกประจําสัปดาห เม่ือนักศึกษาปฏิบัติงานครบสัปดาห ครูพี่เล้ียงตองทําหนาท่ีสะทอนผลการปฏิบัติงานพรอมท้ังใหขอเสนอแนะเพ่ือใหนักศึกษาพัฒนาตนเอง พัฒนางานและการพัฒนาน้ีจะสงผลตอคุณภาพของผูเรียน ส่ิงท่ีครูพี่เล้ียงและนักศึกษาตองปฏิบัติ คือ ท้ังสองฝายมาแลกเปล่ียนเรียนรูในลักษณะท่ีเปนกันเอง ครูพี่เล้ียงอาจเปนผูท่ีเร่ิมตนกอน เชน ในสัปดาหท่ีผานมา นักศึกษาทําอะไรไปบาง แตละงานท่ีทํามีจุดเดน/ดี อยางไร มีขอบกพรองอยางไร และจะแกไขอยางไร ครูพี่เล้ียงควรใหคําแนะนําท่ีชัดเจน และเปดโอกาสใหนักศึกษาซักถามเพ่ือสรางความเขาใจ เม่ือเขาใจดีแลว นักศึกษาบันทึกขอมูลนี้ลงในแบบบันทึกครูพี่เล้ียงอานและใหความเห็นชอบโดยลงลายมือช่ือและวันเดือนปกํากับไวทุกคร้ัง หากขอมูลท่ีนักศึกษาบันทึกไมตรงตามท่ีครูพี่เล้ียงตองการส่ือสาร ก็สามารถทวงติงปรับแกไขใหเขาใจตรงกันกอนลงนามท้ังสองฝาย บันทึกประจําสัปดาหนี้มีความยาวประมาณ 1 -2 หนา เขียนดวยลายมือ พรอมท้ังจัดเก็บในแฟมสะสมงานรายบุคคล 3.2.3 แบบบันทึกท่ี 3 บันทึกหลังรับการนิเทศ ความคิดเห็นและขอเสนอแนะจากครูพี่เล้ียงประจําวิชาและอาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ เปนส่ิงสําคัญมากท่ีจะชวยในการพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานของนักศึกษา และยังสงผลตอการประเมินในคร้ังตอไปดวย การรับฟงการประเมินอยางเดียวโดยไมบันทึกเปนหลักฐานไมสามารถนําความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะไปใชประโยชนไดเต็มท่ี ดังนั้นทันทีหลังจากไดรับการนิเทศจากครูพี่เล้ียงประจําวิชาและอาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ ใหนักศึกษาบันทึกประเด็นตางๆ ตามท่ีกําหนดในแบบบันทึก เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักศึกษาท่ีมีตอความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะตางๆที่ไดรับ และเพื่อเปนหลักฐานในการกําหนดแนวทางการพัฒนาและปรับปรุง

Page 30: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 26

ตนเองตอไป ใหนักศึกษาจัดเก็บแบบบันทึกหลังรับการนิเทศนี้ไวในแฟมสะสมงานบุคคล ซ่ึงเปนแฟมสะสมงานเดียวกับแบบบันทึกประจําวันและแบบบันทึกประจําสัปดาห โดยจัดแยกแบบบันทึกท้ังสามใหเห็นความแตกตางและจัดใหเปนระบบ เพื่อนําสงครูพี่เล้ียงประจําวิชาและอาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ

3.2.4 แบบสังเกตการจัดการเรียนรู ใหนักศึกษาสังเกตการจัดการเรียนรูของนักเรียนในช้ันเรียนท่ีครูพี่เล้ียงประจําวิชาเปนผูสอนแลวบันทึกลงในแบบสังเกตในประเด็นตางๆ พรอมท้ังใหรายละเอียด ยกตัวอยาง หรือใหเหตุผลตอประเด็นตางๆ ไดแก บรรยากาศในช้ันเรียนโดยรวม (เชน สนุกสนาน ธรรมดา ตึงเครียด) การเขารวมกิจกรรมในช้ันเรียนของนักเรียน (เชน กระตือรือรน เฉ่ือยชา นักเรียนสวนใหญไดเขารวม) กิจกรรมสามารถดึงแนวคิดของนักเรียนไดเพียงใด (เชน มาก ปานกลาง นอย) ปฏิสัมพันธส่ือสารสองทางหรือเปนการส่ือสารทางเดียว ลักษณะการต้ังคําถามของครูสวนใหญ (เชน ใช/ไมใช อะไร อยางไร ทําไม) ลักษณะการสรุปบทเรียน (เชน จากประเด็นท่ีครูตระเตรียมมากอน จากแนวคิดของนักเรียนท่ีเกิดข้ึนในหองเรียน) นักศึกษาสังเกตการเรียนรูของนักเรียนในช้ันเรียนท่ีครูพี่เล้ียงประจําวิชาเปนผูสอนเปนระยะเวลา 2 สัปดาห บันทึกประเด็นท่ีตนเองเรียนรูลงในแบบสังเกต หลังเสร็จส้ินการสังเกต ใหรวบรวมแบบสังเกตสงอาจารยนิเทศกวิชาเฉพาะ หลังจากจบส้ินการสังเกต 1 สัปดาห

Page 31: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 27

ตารางสรุปการใชแบบประเมิน/แบบบันทึก/แบบสังเกต

แบบท่ี ชื่อแบบประเมิน ผูประเมิน จํานวนคร้ัง

กําหนดการสงผลการประเมินใหศูนยฯ

1 แบบประเมินการปฏิบัติการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน

-อาจารยนเิทศกสาขาวิชาเฉพาะ

- 2 คร้ัง

หลังนิเทศ 1 สัปดาห

-ครูพี่เล้ียงประจําวิชา - 4 คร้ัง 2 แบบประเมินการปฏิบัติงาน

ประจําช้ัน (ตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน)

-ครูพี่เล้ียงประจําช้ัน - 4 คร้ัง หลังนิเทศ 1 สัปดาห

3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา

- ครูผูดูแลหรือผูควบคุมการทํากิจกรรมจํานวน 4 งาน

ป ร ะ เ มิ นงานละ 1 คร้ัง

ทุกส้ินเดือน(ปฏิบัติงานเดอืนละ 1 งาน)

4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (ตามมาตรฐานการปฏิบัติตน จรรยาบรรณวิชาชีพ)

-ครูพี่เล้ียงประจําวิชา - 4 คร้ัง หลังนิเทศ 1 สัปดาห

-ครูพี่เล้ียงประจําช้ัน

- 4 คร้ัง

5 แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นั ก ศึ ก ษ าปฏิบัติการสอนของอาจารยนิเทศกวิชาชีพครู

-อาจารยนเิทศกวิชาชีพครู

- 1 คร้ัง หลังนิเทศ 1 สัปดาห

1 แบบบันทึกประจําวัน -อาจารยนเิทศกสาขาวิชาเฉพาะ

ทุกวัน ทุกส้ินเดือน

2 แบบบันทึกประจําสัปดาห - ครูพี่เล้ียงประจําวิชา - ครูพี่เล้ียงประจําช้ัน

- สัปดาหละ 1 คร้ัง

ทุกส้ินเดือน - อาจารยนเิทศก

สาขาวิชาเฉพาะ -รวบรวมเปน เลม1คร้ัง

Page 32: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 28

แบบท่ี ชื่อแบบประเมิน ผูประเมิน จํานวนคร้ัง

กําหนดการสงผลการประเมินใหศูนยฯ

3 แบบบันทึกหลังรับการนิเทศ - ครูพี่เล้ียงประจําวิชา - 4 คร้ัง ทุกส้ินเดือน

- อาจารยนเิทศกสาขาวิชาเฉพาะ

- 2 คร้ัง

1 แบบสังเกตการจัดการเรียนรู อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ

- 1 คร้ัง ห ลั งก า ร สั ง เ กต 1 สัปดาห

Page 33: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 29

ตัวอยางแบบประเมินและแบบบันทึก

แบบประเมินท่ี 1 การปฏิบัติการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน

ช่ือนักศึกษา........................................................................................................สาขา............................................................ ช่ือสถานศึกษา................................................................ ระดับช้ัน..........................วันเดือนป ............................................ ช่ือผูประเมิน ................................................................. อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ ครูพ่ีเล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ

คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน ดีมาก ด ี พอใช ปรับปรุง

ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู 1. นําเสนอหนวยการเรียนรูที่มีองคประกอบและคุณภาพถูกตอง 2. นําเสนอแผนการจัดเรียนรูกอนสอนมากกวา 3 วัน แผนครบถวนทั้งดานองคประกอบ กระบวนการจัดการเรียนรู และมีคุณภาพเชิงสรางสรรค

3. มีความรูและความแมนยําในสาระวิชาที่สอน เลือกวิธีการสอน และเทคนิคที่สรางสรรค 4. มีสื่อการเรียนรูที่สราง ผลิต พัฒนาดวยตนเอง เหมาะสมกับกิจกรรม และมีลักษณะสรางสรรค

ดานการจัดการเรียนรู 5. มีกิจกรรม/กระบวนการเตรียมความพรอมของนักเรียนที่สอดคลองและเช่ือมโยงกับบทเรียน 6. ดําเนินการสอนตามแผนไดครบถวน เปนลําดับขั้นตามแผนที่วางไวไดอยางตอเน่ือง 7. มีการใชสื่อประกอบการสอนตามที่ระบุในแผนการจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ 8. มีการจัดกิจกรรมท่ีชวยใหนักเรียนสรปุและสรางองคความรูไดดวยตนเอง 9. สามารถควบคุมดูแลช้ันเรียนได และมีเทคนิควิธีในการควบคุมช้ันเรียนที่เหมาะสม 10. มีกิจกรรม/ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู สอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม

11. มีปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูสอนกับนักเรียนและทําใหเกิดการเรียนรู 12. มีความมั่นคงทางอารมณ และแกปญหาไดอยางเหมาะสม 13. วิเคราะหการจัดการเรียนรูของตนเอง ระบุประเด็นเพ่ือการพัฒนา และสามารถเสนอแนวทางการพัฒนาได (ประเมินหลังการนิเทศ)

ดานบุคลิกภาพ 14. มีการใชภาษาสื่อสาร การจัดลําดับขอมูลตอเน่ือง มีการสื่อสารสองทาง ใชระดับเสียงที่เหมาะสมและภาษาสุภาพ และสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ

15. แตงกายตามระเบียบ สะอาดเรียบรอย เหมาะสมกับวิชาชีพครู

ลงช่ือ.................................................................... ผูประเมิน

แบบประเมินท่ี 1

Page 34: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 30

ตัวอยางเกณฑการประเมิน เกณฑการประเมิน 4 = ดีมาก 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

ผลการประเมิน รายการท่ีประเมิน

1.ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู : หนวยการเรียนรู ปรับปรุง ไมนําเสนอหนวยการเรียน/หรือไมศึกษาพัฒนาหนวยการเรียนรูของสถานศึกษา พอใช นําเสนอหนวยการเรียนรูที่มีองคประกอบไมครบถวน ดี นําเสนอหนวยการเรียนรูที่มีองคประกอบครบถวน ดีมาก นําเสนอหนวยการเรียนรูที่มีองคประกอบและคุณภาพถูกตอง

2.ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู : แผนการจัดการเรียนรู ปรับปรุง นําเสนอแผนการจัดเรียนรูกอนสอนนอยกวา 3 วัน พอใช นําเสนอแผนการจัดเรียนรูกอนสอนมากกวา 3 วัน แตแผนไมสมบูรณ ไมสอดคลองกับหนวยการเรียนรู ดี นําเสนอแผนการจัดเรียนรูกอนสอนมากกวา 3 วัน แผนครบถวนทั้งดานองคประกอบ กระบวนการจัดการเรียนรู ดีมาก นําเสนอแผนการจัดเรียนรูไดตามเกณฑในขอ 2 และมีคุณภาพเชิงสรางสรรค

3.ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู : ความรูความเขาใจของผูสอน ปรับปรุง ขาดความรูและความแมนยําในสาระวิชาที่สอน พอใช มีความรูและความแมนยําในสาระวิชาที่สอนแตเลือกวิธีการสอนที่ไมเหมาะสม ดี มีความรูและความแมนยําในสาระวิชาที่สอน เลือกวิธีการสอนที่เหมาะสม ดีมาก มีความรูและความแมนยําในสาระวิชาที่สอน เลือกวิธีการสอน และเทคนิคที่สรางสรรค

4.ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู : การสราง/ผลิต/พัฒนาสื่อการเรียนรู ปรับปรุง ไมปรากฏสื่อการสอนที่เปนรูปธรรม พอใช มีสื่อการเรียนรู แตไมไดสราง ผลิต พัฒนาดวยตนเอง ดี มีสื่อการเรียนรูที่สราง ผลิต พัฒนาดวยตนเอง และเหมาะสมกับกิจกรรม ดีมาก มีสื่อการเรียนรูตามเกณฑในขอ 2 และมีลักษณะสรางสรรค

5.ดานการจัดการเรียนรู : การเตรียมความพรอมและการนําเขาสูบทเรียน ปรับปรุง ไมมีกิจกรรม/กระบวนการเตรียมความพรอมของนักเรียน พอใช มีกิจกรรม/กระบวนการเตรียมความพรอมของนักเรียน ดี มีกิจกรรม/กระบวนการเตรียมความพรอมของนักเรียนที่สอดคลองหรือเช่ือมโยงกับบทเรียน ดีมาก มีกิจกรรม/กระบวนการเตรียมความพรอมของนักเรียนที่สอดคลองและเช่ือมโยงกับบทเรียน

6.ดานการจัดการเรียนรู : การดําเนินการจัดกระบวนการเรียนรู ปรับปรุง ดําเนินการสอนไมครบถวนตามแผนที่วางไว พอใช ดําเนินการสอนตามแผนไดครบถวน แตไมเปนลําดับขั้นตามแผนที่วางไว ดี ดําเนินการสอนตามแผนไดครบถวน เปนลําดับขั้นตามแผนที่วางไว ดีมาก ดําเนินการสอนตามแผนไดครบถวน เปนลําดับขั้นตามแผนที่วางไวไดอยางตอเน่ือง

7.ดานการจัดการเรียนรู : การใชสื่อและแหลงการเรียนรู ปรับปรุง ไมมีการใชสื่อประกอบการสอนตามที่ระบุในแผนการจัดการเรียนรู พอใช มีการใชสื่อประกอบการสอนตามที่ระบุในแผนการจัดการเรียนรู ดี มีการใชสื่อประกอบการสอนตามที่ระบุในแผนการจัดการเรียนรูไดอยางถูกตอง

Page 35: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 31

ผลการประเมิน รายการท่ีประเมิน ดีมาก มีการใชสื่อประกอบการสอนตามที่ระบุในแผนการจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ

8.ดานการจัดการเรียนรู : การสรุปและสรางองคความรู ปรับปรุง ขาดกิจกรรมการสรุป พอใช มีกิจกรรมการสรุปบทเรียน ดี ผูสอนและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียนดวยกิจกรรมที่เหมาะสม ดีมาก ผูสอนจัดกิจกรรมท่ีชวยใหนักเรียนสรุปและสรางองคความรูไดดวยตนเอง

9.ดานการจัดการเรียนรู : การบริหารจัดการชั้นเรียน ปรับปรุง ไมสามารถควบคุมดูแลช้ันเรียนได พอใช สามารถควบคุมดูแลช้ันเรียนไดบางสวน ดี สามารถควบคุมดูแลช้ันเรียนไดสวนมาก ดีมาก สามารถควบคุมดูแลช้ันเรียนได และมีเทคนิควิธีในการควบคุมช้ันเรียนที่เหมาะสม

10.ดานการจัดการเรียนรู : การวัดและประเมินผลการเรียนรู ปรับปรุง ไมมีกิจกรรมและเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู พอใช มีกิจกรรม/ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู ดี มีกิจกรรม/ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูและสอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรู ดีมาก มีกิจกรรม/ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู สอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม

11.ดานการจัดการเรียนรู : ความสัมพันธระหวางผูสอนกับนักเรียน ปรับปรุง ขาดปฏิสัมพันธกันระหวางผูสอนกับนักเรียน พอใช มีปฏิสัมพันธกันระหวางผูสอนกับนักเรียน ดี มีปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูสอนกับนักเรียน ดีมาก มีปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูสอนกับนักเรียนและทําใหเกิดการเรียนรู

12.ดานการจัดการเรียนรู : ความม่ันคงทางอารมณและการแกปญหาเฉพาะหนา ปรับปรุง ไมสามารถควบคุมอารมณและไมสามารถแกปญหาในช้ันเรียน พอใช ควบคุมอารมณไดแตไมสามารถแกปญหาเฉพาะหนาได ดี ควบคุมอารมณได และแกปญหาเฉพาะหนาได ดีมาก มีความมั่นคงทางอารมณ และแกปญหาไดอยางเหมาะสม

13.ดานการจัดการเรียนรู : การประเมินการจัดการเรียนรูตนเองของนักศึกษา (ประเมินหลังการนิเทศ) ปรับปรุง ไมสามารถวิเคราะหการจัดการเรียนรูของตนเองได พอใช วิเคราะหการจัดการเรียนรูของตนเอง แตไมสามารถระบุประเด็นและเสนอแนวทางในการพัฒนาได ดี วิเคราะหการจัดการเรียนรูของตนเอง ระบุประเด็นเพ่ือการพัฒนา แตไมสามารถเสนอแนวทางการพัฒนาได ดีมาก วิเคราะหการจัดการเรียนรูของตนเอง ระบุประเด็นเพ่ือการพัฒนา และสามารถเสนอแนวทางการพัฒนาได

14.ดานบุคลิกภาพ : การใชภาษาเพ่ือการสื่อสาร ปรับปรุง มีการใชภาษาสื่อสารที่มีการจัดลําดับขอมูลสับสน วกวน เนนการสื่อสารทางเดียว พอใช มีการใชภาษาสื่อสาร การจัดลําดับขอมูลตอเน่ือง มีการสื่อสารสองทาง ดี มีการใชภาษาสื่อสาร การจัดลําดับขอมูลตอเน่ือง มีการสื่อสารสองทาง ใชระดับเสียงที่เหมาะสมและภาษาสุภาพ ดีมาก ใชภาษาตามเกณฑในขอ 2 และสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ

Page 36: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 32

ผลการประเมิน รายการท่ีประเมิน

15.ดานบุคลิกภาพ : การแตงกาย ปรับปรุง แตงกายผิดระเบียบ พอใช แตงกายตามระเบียบแตไมเรียบรอย และไมเหมาะสมกับวิชาชีพครู ดี แตงกายตามระเบียบ สะอาดเรียบรอย แตไมเหมาะสมกับวิชาชีพครู ดีมาก แตงกายตามระเบียบ สะอาดเรียบรอย เหมาะสมกับวิชาชีพครู

*หมายเหตุ ครูพ่ีเล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ ประเมินเดือนละ 1 ครั้ง สงคะแนนที่ผูประสานงานประจําสถานศึกษา รวมท้ังสิ้น 4 ครั้ง อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ ประเมินภาคเรียนละ 2 ครั้ง สงคะแนนที่ศูนยฯ

Page 37: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 33

แบบประเมินท่ี 2 การปฏิบัติงานประจําชัน้ ช่ือนักศึกษา................................................... .................................................. .สาขา............................................... ช่ือสถานศึกษา.......................................................... กลุมสาระการเรียนรู..................................................................... ระดับช้ัน...................... วันเดือนป......................................................................................................................... ช่ือผูประเมิน............................................................ คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน ดี (3) พอใช(2) ปรับปรุง(1)

การเตรียมความพรอมและปฏิบัติงาน 1.รับขอมูลและปรึกษาครูพี่เล้ียงลวงหนา

2 วางแผน เลือกเร่ืองและการออกแบบกิจกรรมเตรียมส่ือและอุปกรณ

ผลการปฏิบัติงาน 1.ปฏิบัติงานตรงเวลาท่ีนัดหมาย 2.ดูแลจัดระเบียบนักเรียนระหวางเขาแถว 3.มีสาระสําคัญสอดคลองกับช่ือเร่ืองและจุดประสงค 4.มีลําดับข้ันการดําเนินกิจกรรมไดกระชับ นาสนใจ 5.มีส่ือและใชส่ืออยางคุมคา 6.ใชเสียงและกิริยาทาทางเหมาะสมกับความเปนครู 7. ใหคําปรึกษากิจกรรมตางๆแกนักเรียน 8. สะทอนผลหลังการจัดกิจกรรมโฮมรูม/ปายนิเทศในช้ันเรียน

รวม รวมท้ังหมด

*หมายเหตุ ประเมิน เดือนละ 1 ครั้ง สงผลการประเมินที่ผูประสานงานประจําสถานศึกษา รวมท้ังสิ้น 4 ครั้ง

ลงช่ือ........................................................................ ผูประเมิน

แบบประเมินท่ี 2

Page 38: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 34

แบบประเมินท่ี 3 การปฏิบัติงานกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา

ชื่อนักศึกษา.......................................................................................................... สาขา................................................. ชื่อสถานศึกษา................................................................................................... ระดับชั้น.............................................. ผูประเมิน......................................................... ครูพ่ีเล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ ครูพ่ีเล้ียงประจําช้ัน อื่นๆ (ระบุ) ...................................................

งานกิจการนักเรียน ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

งานพัฒนาผูเรียน ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

งานโครงงานทางวิชาการ ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

งานอ่ืนๆ ระบุ........................ ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน (ประเมินแตละงานใชแบบประเมินงานละ 1 แผน)

เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน

ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1)

การเตรียมความพรอมและการปฏิบัติงาน 1.รับขอมูลและปรึกษาผูมอบหมายงานลวงหนา 2.วางแผน ออกแบบและการเตรียมสื่อและวัสดุอุปกรณ 3.ทุมเทในการปฏิบัติงาน 4.มีการประสานงานเพ่ือใหงานสําเร็จ

ผลงานท่ีปฏิบัติ 1.ปฏิบัติงานตรงเวลาที่นัดหมาย 2.ผลงานครบถวนตามท่ีกําหนด 3.คุณภาพของผลงานสอดคลองกับวัตถุประสงค 4.ใชวัสดุอุปกรณเหมาะสม ประหยัดและคุมคา 5.การติดตามดูแลและการจัดเก็บไดเรียบรอย 6.สะทอนผลการดําเนินงานอยางเปนระบบ

รวม รวมท้ังหมด

*หมายเหตุ ประเมินงานละ 1 ครั้ง/เดือน สงผลการประเมินที่ผูประสานงานประจําสถานศึกษา รวมท้ังสิ้น 4 งาน

ลงช่ือ...................................................................... ผูประเมิน

แบบประเมินท่ี 3

Page 39: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 35

แบบประเมินท่ี 4 คุณลักษณะความเปนครู ชื่อนักศึกษา........................................................................................สาขา......................................................................... ชื่อสถานศึกษา.................................................................................กลุมสาระการเรียนรู.................................................... ระดับชั้น................................วันเดือนป........................................................ ผูประเมิน........................................................ ครูพ่ีเล้ียงประจําวิชา ครูพ่ีเล้ียงประจําช้ัน อื่นๆ(ระบุ)...............................................................

คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน

ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง(1) 1. เตรียมการสอนอยางเปนระบบ จัดทําลวงหนา มีความตอเนื่องสม่ําเสมอ 2. จัดหองเรียนใหเอื้อตอการเรียนรู เปนระเบียบ เหมาะสมกับการเรียนรูของนักเรียน 3. เลือกใช สราง ปรับปรุงนวัตกรรม แสวงหา พัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่ดี 4. จัดทํา จัดหา พัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพ จัดเก็บและรักษาส่ือและแหลงการเรียนรูใหพรอมใชเสมอ 5. ตรวจงาน/สะทอนผลการเรียน วิเคราะหผูเรียน / ปญหา และหาทางแกไขไดเหมาะสมตามควรแกกรณี 6. มีบันทึกการสะทอนผลการเรียนและการพัฒนาผูเรียนและรายงานไดอยางมีระบบ 7. มีอัธยาศัยไมตรี มนุษยสัมพันธที่ดี กับบุคคลในสถานศึกษาและบุคคลท่ัวไป 8. รัก เมตตา ปรารถนาดี เอาใจใสดูแล แนะนํา อบรมนักเรียนตามควรแกกรณี 9.มาปฏิบัติงานแตเชาและกลับหลังเวลา รวมท้ังไมขาด ลา สาย โดยไมมีเหตุผลอันควร 10. มีวินัยในตนเอง พัฒนาตนดานบุคลิกภาพ วิสัยทัศนและวิชาชีพ 11. รับผิดชอบปฏิบัติงานในหนาท่ีและรวมมือกับบุคลากรในสถานศึกษาไดอยางเหมาะสม 12. ปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีขององคกร รวมกิจกรรม ในฐานะครูคนหนึ่งของสถานศึกษา 13. เขารวม/ จัดสถานการณ โครงการ ฯลฯ เพื่อสรางโอกาสการเรียนรูแกผูเรียนไดอยางเหมาะสม 14. ติดตาม /ใช / เผยแพรขอมูลขาวสารเพ่ือประโยชนในการพัฒนาตนและพัฒนางานในหนาท่ีเสมอ 15. เปนแบบอยางท่ีดีในการรักษาวัฒนธรรมไทยและนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชีวิต 16. ปฏิบัติตนเปนผูนําดานการอนุรักษธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดลอมและผลประโยชนของสวนรวม 17. ยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 18. แตงกายถูกตองตามระเบียบ เหมาะสม สะอาดและสุภาพเรียบรอย 19. มีบุคลิกภาพ กิริยามารยาทและการแสดงออกอยางเหมาะสมกับสถานภาพความเปนครู 20.ใชภาษาเหมาะสมกับกาล เทศะ บุคคล และเปาหมายของการส่ือสาร

รวม รวมท้ังหมด

*หมายเหตุ ประเมิน เดือนละ 1 คร้ัง สงผลการประเมินที่ผูประสานงานประจําสถานศึกษา รวมท้ังส้ิน 4 คร้ัง

ลงช่ือ...................................................................... ผูประเมิน

แบบประเมินท่ี 4

Page 40: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 36

แบบประเมินท่ี 5 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา (สําหรับอาจารยนเิทศกวิชาชีพครู)

ชื่อสกุลนักศึกษา..................................................................................สาขาวิชา........................................................ ชื่อสถานศึกษา................................................................................. ระดับชั้น........................................................... ชื่อผูประเมิน........................................................... ประเมินเม่ือวันท่ี ......... เดือน...................... พ.ศ. .................

คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน แหลงขอมูล 1. ผูบริหาร 2. ครูพ่ีเล้ียงประจําวิชา 3. ครูพ่ีเล้ียงประจําชั้น 4. การสังเกตชั้นเรียน เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

ที่ รายการประเมิน ระดับการประเมิน แหลงขอมูล

ดี พอใช ปรับปรุง 1 2 3 4 1 ปฏิบัติงานตามกําหนดเวลาของสถานศึกษาอยางสม่ําเสมอ 2 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถานศึกษาอยางเครงครัด 3 แสดงความสนใจและเอาใจใสตอนักเรียนอยางจริงใจ 4 สรางสภาพแวดลอมและบรรยากาศในหองเรียนใหนาเรียน 5 ใหคําปรึกษาและชวยแกไขปญหาใหแกนักเรียน 6 กระตุนนักเรียนใหรูจักสรางวินัยในตนเองและมีคุณธรรม 7 รับผิดชอบงานในหนาที่และรวมกิจกรรมกับสถานศึกษา 8 มีมนุษยสัมพันธกับนักเรียนและผูรวมงาน 9 มีบุคลิกภาพและการแตงกายที่เหมาะสม 10 อุทิศตนใหการปฏิบัติงานสําเร็จตามเปาหมาย

รวม รวมท้ังหมด

ขอคิดเห็น .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ...................................................................ผูประเมิน

แบบประเมินท่ี 5

Page 41: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 37

แบบบันทึกท่ี 1 บันทึกประจําวัน

สัปดาหท่ี.........................................................วันท่ี.............เดือน................................... พ.ศ. ...................................

1. สิ่งท่ีประทับใจหรือสิ่งท่ีนาสนใจวันน้ี

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................. 2. ปญหาหรืออุปสรรคตางๆ ท่ีพบในวันน้ี

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกปญหาท่ีเกิดขึ้นตามขอ 2 ท่ีคิดไดในวันน้ี

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................. 4. สิ่งท่ีเรียนรูในวันน้ี .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................................... ผูบันทึก

แบบบันทึกท่ี 1

Page 42: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 38

แบบบันทึกท่ี 2 บันทึกประจําสัปดาห

สัปดาหท่ี.....................ระหวางวันท่ี.............เดือน......................ถึงวันท่ี............เดือน........................ ...พ.ศ. .................

คําชี้แจง : ใหบันทึกขอมูลโดยอาศัยการสะทอนผลการปฏิบัติงานรวมกันระหวางนักศึกษาและครูพ่ีเล้ียง

1. สิ่งท่ีไดปฏิบัติงานในสัปดาหน้ี และจุดเดนของงานดังกลาว ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................. 2. ปญหาหรืออุปสรรคตางๆ ท่ีพบในการปฏิบัติงานในสัปดาหน้ี

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................. 3. แนวทางการแกปญหาท่ีเกิดขึ้นตามท่ีระบุในขอ 2 ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................. 4. สิ่งท่ีเรียนรูจากการปฏิบัติงานในสัปดาหน้ี ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ................................................................... ลงชื่อ............................................................................. (............................................................................. (.....................................................................................) ผูบันทึก ครูพ่ีเล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ ลงชื่อ......................................................................... (.................................................................................)

ครูพ่ีเล้ียงประจําชั้น

แบบบันทึกท่ี 2

Page 43: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 39

แบบบันทึกท่ี 3 บันทึกหลังรับการนิเทศ

ชื่อครูพ่ีเล้ียงหรืออาจารยนิเทศก...................................................................................................................................................... คร้ังท่ี.....................วันท่ี.............เดือน........................................................ พ.ศ. ...............................

1. ความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะ ของครูพ่ีเล้ียงหรืออาจารยนิเทศกท่ีไดรับ ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. คําถามหรือขอสงสัยท่ีครูพ่ีเล้ียงหรืออาจารยนิเทศกมีตอนักศึกษา ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. คําถามหรือขอสงสัยท่ีนักศึกษาไดเรียนถามครูพ่ีเล้ียงหรืออาจารยนิเทศก ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. ขอสงสัย ความไมชัดเจน หรือประเด็นอ่ืนๆ ท่ีนักศึกษามีตอผลการประเมินในรายขอตางๆ ในแบบประเมินตางๆ (ใหบันทึกใหชัดเจนวา เปนประเด็นไหน จากแบบประเมินใด) ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. ความรูสึกท่ีเกิดขึ้นภายหลังไดรับการประเมิน (ท้ังความรูสึกทางบวกและทางลบ) ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 6. แนวทางการพัฒนาหรือปรับปรุงการปฏิบัติงานที่สอดคลองกับความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะที่ไดรับ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................................... ลงช่ือ............................................................................. (.............................................................................) (.....................................................................................) ผูบนัทึก ครูพ่ีเล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ ลงช่ือ......................................................................... (.................................................................................) อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ

แบบบันทึกท่ี 3

Page 44: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 40

แบบสังเกตการจัดการเรียนรู

ชื่อผูสังเกต...............................................................สาขาวิชา............................... วิชาท่ีสังเกต........................... ชื่อผูสอน………………………………ระดับชั้น...............สังเกตคร้ังท่ี............วันท่ี......เดือน.................. พ.ศ................

คําชี้แจง: ใหนักศึกษาสังเกตการเรียนรูของนักเรียนในช้ันเรียนที่ครูพ่ีเล้ียงประจําวิชาเปนผูสอนแลวบันทึกลงในแบบสังเกต ในประเด็นตอไปน้ีพรอมทั้งใหรายละเอียด ยกตัวอยาง หรือใหเหตุผลประเด็นตางๆ

1. บรรยากาศในชั้นเรียนโดยรวม ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. การเขารวมกิจกรรมในชั้นเรียนของนักเรียน ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. กิจกรรมสามารถสรางการเรียนรูของนักเรียนไดเพียงใด .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 4. ปฏิสัมพันธระหวางครูกับนักเรียนสวนใหญ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 5. ลักษณะการสื่อสารระหวางครูกับนักเรียนสวนใหญ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 6. ลักษณะการต้ังคําถามของครูสวนใหญ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 7. ลักษณะการสรุปชั้นเรียน .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.........................................................ผูบันทึก ลงชื่อ.............................................อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ(.............................................................................) (.....................................................................................)

แบบสังเกตท่ี 1

Page 45: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 41

ตารางสรุป การประเมินการปฏิบัติงาน รายวิชา 230 351 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 วัน/เวลา ผูประเมิน วิธีการประเมิน แบบท่ี แบบประเมิน (คร้ังท่ีประเมิน)

13-17 มิ.ย.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา)

นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (1)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (1)

17 มิ.ย.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (1)

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (1)

20-24 มิ.ย. อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ

นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (1)

11-14 ก.ค.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (2)

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (2)

14 ก.ค.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (2)

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (2)

18- 22 ก.ค. อาจารยนิเทศ วิชาชีพครู

นิเทศการปฏิบัติงาน 5 แบบประเมินปฏิบัติการสอนของอาจารยนิเทศกวิชาชีพครู

1-5 ส.ค.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (3)

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (3)

5 ส.ค.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (3)

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (3)

15-19 ส.ค. อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ

นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (2)

29 ส.ค.-2 ก.ย.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (4)

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (4)

Page 46: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 42

วัน/เวลา ผูประเมิน วิธีการประเมิน แบบท่ี แบบประเมิน (คร้ังท่ีประเมิน)

2 ก.ย.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (4)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (4)

หลังการปฏิบัติงานกิจกรรม

ครูกิจการนักเรียน* สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (1)

ครูผูรับผิดชอบงานพัฒนาผูเรียน*

สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (2)

ครูผูรับผิดชอบงานโครงงานวิชาการ*

สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (3)

ครูผูรับผิดชอบวิชาชีพครูอื่นๆ*

สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (4)

นัดหมาย คณะกรรมการบริหารฯ การสังเกต, การมีสวนรวม แบบบันทึก แบบสังเกต 30 ก.ย. อาจารยนิเทศก

สาขาวิชาเฉพาะ ตรวจแบบสังเกตการจัดการเรียนรู แบบบันทึกประจําวัน แบบบันทึกประจําเดือน รายงานผลการเรียนรู

แบบประเมินการใหคะแนน

*ควรดําเนินงานเพ่ือประเมินผลการปฏิบัติงานเดือนละ 1 งาน และตลอดการปฏิบัติงานอยางนอย 4 งาน

Page 47: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 43

ตาราง การประเมินการปฏิบัติงาน รายวิชา 230 352 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2554 วัน/เวลา ผูประเมิน วิธีการประเมิน แบบท่ี แบบประเมิน (คร้ังท่ีประเมิน)

14-18 พ.ย.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (1)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (1)

18 พ.ย.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (1)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (1)

22-25 พ.ย. อาจารยนิเทศกสาขาวิชาฉพาะ

นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (1)

13-16 ธ.ค.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (2)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (2)

16 ธ.ค.

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (2)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (2)

3-20 ม.ค.55 อาจารยนิเทศ วิชาชีพครู

นิเทศการปฏิบัติงาน 5 แบบประเมินปฏิบัติการสอนของอาจารยนิเทศกวิชาชีพครู

16-20 ม.ค.55

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (3)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (3)

20 ม.ค.55

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (3)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (3)

23-27 ม.ค.55 อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ

นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (2)

30 ม.ค.-3 ก.พ.55

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการสอน 1 แบบประเมินการจัดการเรียนรูในช้ันเรียน (4)

ครูพ่ีเล้ียง(ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานประจําช้ัน 2 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจําช้ัน (4)

Page 48: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 44

วัน/เวลา ผูประเมิน วิธีการประเมิน แบบท่ี แบบประเมิน (คร้ังท่ีประเมิน)

3 ก.พ.55

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําวิชา) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (4)

ครูพ่ีเล้ียง (ประจําช้ัน) นิเทศการปฏิบัติงานตลอดเดือน 4 แบบประเมินคุณลักษณะความเปนครู (4)

หลังการปฏิบัติงานกิจกรรม

ครูกิจการนักเรียน* สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (1)

ครูผูรับผิดชอบงานพัฒนาผูเรียน*

สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (2)

ครูผูรับผิดชอบงานโครงงานวิชาการ*

สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (3)

ครูผูรับผิดชอบวิชาชีพครูอื่นๆ*

สังเกตการปฏิบัติงาน 3 แบบประเมินการปฏิบัติงานกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา (4)

นัดหมาย คณะกรรมการบริหารฯ การสังเกต, การมีสวนรวม แบบบันทึก แบบสังเกต 18 ก.พ.55 อาจารยนิเทศก

สาขาวิชาเฉพาะ ตรวจแบบสังเกตการจัดการเรียนรู แบบบันทึกประจําวัน แบบบันทึกประจําเดือน รายงานผลการเรียนรู

แบบประเมินการใหคะแนน

*ควรดําเนินงานเพ่ือประเมินผลการปฏิบัติงานเดือนละ 1 งาน และตลอดการปฏิบัติงานอยางนอย 4 งาน

Page 49: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 45

3.3 การทํารายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน การจัดทํารายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน ในภาคเรียนท่ี 1 นักศึกษาตอง

เขียนรายงานผลการปฏิบัติงาน โดยสังเคราะหขอมูลจากบันทึกการสังเกตช้ันเรียนบันทึกประจําวัน บันทึกประจําสัปดาหและบันทึกหลังรับการนิเทศ แลวต้ังประเด็นเพื่อเขียนรายงานไดแก ดานการพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู ดานผลการพัฒนาผูเรียน การนําผลการประเมิน 2 ดานมาพัฒนาการจัดการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพผูเรียน รวมทั้งแสดงความคิดเห็นท่ีสะทอนใหเห็นวา นักศึกษาไดเรียนรู ไดพัฒนาทักษะการทํางานทักษะความเปนครู การเห็นคุณคาของงาน ความตระหนักในบทบาทหนาท่ีความเปนครู ฯลฯ และจะใชผลการเรียนรูนี้สูการปฏิบัติหนาท่ีตอจรรยาบรรณของวิชาชีพครูไดอยางไร โดยในการจัดทํารายงานใหนักศึกษาจัดทํารายงานตามหัวขอตอไปนี้ บทท่ี 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน 1.2 บริบทของสถานศึกษา 1.3 วัตถุประสงคของรายงาน บทท่ี 2 วิธีดําเนินการ 2.1 กลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย ขอบเขตเน้ือหาวิชา

2.2 เคร่ืองมือท่ีใช 2.3 ข้ันตอนการดําเนินการ

2.4 วิธีการเก็บรวบรวมและการวิเคราะหขอมูล บทท่ี 3 ผลการพัฒนาการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน 3.1 ผลการพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู 3.2 ผลการพัฒนาผูเรียน

บทท่ี 4 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 4.1 สรุปผลการเรียนรูของนักศึกษาดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูและการพัฒนาผูเรียน 4.2 อภิปรายผล 4.3 ขอเสนอแนะ สวนรูปแบบการเขียนรายงาน การอางอิง การเขาเลม ใหจัดทําตามรูปแบบการจัดทํารายงานโดยท่ัวไป หรืออาจใชรูปแบบการเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียน การจัดทํารูปเลม กําหนดใหนักศึกษาเขาเลมแบบสันกาว เปนแบบปกออน ใชกระดาษสีขาวไมมีลวดลาย

Page 50: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 46

ตัวหนังสือสีดํา พิมพช่ือรายงาน ผูรายงาน ปการศึกษาท่ีจบ ท่ีสันของรายงาน (ตัวอยางแนวการเขียนรายงานภาคผนวก) 3.4 การทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผูเรียน

นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ของคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนรวมท้ังมหาวิทยาลัยอ่ืนๆ มีหนาท่ีหลักในสถานศึกษาเหมือนกับครูในโรงเรียน คือ จัดการเรียนรูใหแกนักเรียน และยังมีหนาท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งท่ีมีท่ีมาจากผลของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 24 (25) ท่ีกลาววา “สงเสริมสนับสนุนใหครูผูสอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม ส่ือการเรียนการสอนและอํานวยความสะดวกใหเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมท้ังสามารถใชการวิจัยเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรูไปพรอมกัน จากส่ือการเรียนการสอนและแหลงวิทยาการประเภทตางๆ” และมาตรา 30 ท่ีกลาววา “ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพรวมท้ังการสงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา” หนาท่ีดังกลาวก็คือ การที่นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตองทําวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรูของตนเองรวมท้ังพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนท่ีตนเองรับผิดชอบ ในเอกสารนี้จะกลาวถึงแนวทางการเขียน เคาโครงงานวิจัยในช้ันเรียน การเขียนรายงานการวิจัยในช้ันเรียน การจัดพิมพรายงานการวิจัยในช้ันเรียน สัดสวนคะแนน การประเมินผลงานวิจัยในช้ันเรียนและภาระงาน ดังนี้

1) การเขียนเคาโครงงานวิจัยในชั้นเรียน กอนการทําวิจัยในช้ันเรียน คณะกรรมการบริหารรายวิชา 230 531 และ 230 532 กําหนดใหนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตองจัดทําเคาโครงการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อนําเสนออาจารยท่ีปรึกษาเพื่อปรับปรุงแกไขกอนท่ีจะนําเสนอเคาโครงงานวิจัยดวย ในท่ีประชุมของสาขาวิชาซ่ึงประกอบดวยอาจารยนิเทศกของสาขาวิชาและนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของทุกคน เคาโครงงานวิจัยมีองคประกอบสําคัญ ดังนี้ 1. ช่ือเร่ืองวิจัย 2. ช่ือผูวิจัย 3. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 4. คําถามวิจัย 5. วัตถุประสงคของการวิจัย 6. วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

Page 51: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 47

7. วิธีดําเนินการวิจัย 7.1 กลุมเปาหมาย (เชน นักเรียนช้ัน ม.5 โรงเรียนจระเขวิทยายน) 7.2 เคร่ืองมือ (เชน แบบสอบถาม เคร่ืองบันทึกเสียง แบบสัมภาษณ) 7.3 การเก็บรวบรวมขอมูล (ข้ันตอน วิธีการในการทําวิจัย) 7.4 การวิเคราะหขอมูล ( สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล โปรแกรมการวิเคราะหขอมูล) 8. สถานท่ีทําการวิจัย 9. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 10. แผนการดําเนินการเกี่ยวกับกิจกรรมและระยะเวลาทําการวิจัย

2) การเขียนรายงานการทําวิจัยในชั้นเรียน การเขียนรายงานการทําวิจัยในชั้นเรียนเปนข้ันสุดทายของการทําวิจัย เปนการเขียนรายงานวิจัยต้ังแตเร่ิมตนวิเคราะหและสํารวจปญหา การพัฒนารูปแบบการทดลองใชรูปแบบเพื่อแกปญหาจนกระท่ังถึงการวิเคราะหผล สรุปผล อภิปรายและขอเสนอแนะ การเขียนรายงานการวิจัยเปนการเสนอส่ิงท่ีไดศึกษาคนควาอยางเปนระบบใหผูอ่ืนทราบ ในรายวิชานี้ กําหนดใหนักศึกษาเขียนรายงานการวิจัยแบบเต็มรูปแบบ เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูถึงวิธีการเขียนรายงานการวิจัยท่ีสมบูรณ อันจะเปนประโยชนตอตัวนักศึกษาเองเม่ือนักศึกษาจบออกไปทํางานเปนครูแลว การจัดทํารายงานการวิจัยท่ีเปนสวนหนึ่งของรายวิชา 230 531 และ 230 532 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 ของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน คณะกรรมการบริหารรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา กําหนดใหนักศึกษาเขียนรายงานการวิจัย โดยมีสวนประกอบสําคัญ 4 สวน ดังนี้ 1) สวนหนา ประกอบดวยปกนอก ปกใน บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ เนื่องจากงานวิจัยในช้ันเรียนของนักศึกษาปฏิบัติการสอนมีลักษณะแตกตางจากงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลายประการ ดังนั้นในการเขียน ปกนอก ปกใน หนาอนุมัติ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ ของานวิจัยในช้ันเรียนของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จึงมีลักษณะท่ีแตกตางจากการเขียนการศึกษาอิสระหรือวิทยานิพนธของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ในคูมือนี้ จึงออกแบบรูปแบบการเขียนปกนอก ปกใน หนาอนุมัติ บทคัดยอ และกิตติกรรมประกาศ เปนแนวในการเขียนใหแกนักศึกษา นักศึกษาสามารถดูไดในภาคผนวก สวน สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ และการอางอิง รวมท้ังองคประกอบอ่ืนๆ ใหทําตามรูปแบบ

Page 52: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 48

ของคูมือการทําวิทยานิพนธ 2550 บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกนโดยนักศึกษาสามารถดูและดาวนโหลดไดใน http://gs.kku.ac.th 2) สวนเนื้อเร่ือง เปนสวนนําเสนอเนื้อเร่ืองของวิจัยประกอบดวยบทตางๆ ดังนี้ บทท่ี 1 บทนํา กลาวถึงเร่ืองตอไปนี้ 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1.2 วัตถุประสงคของการทําวิจัย 1.3 คําถามของการวิจัย 1.4 ขอบเขตของการวิจัย / บริบทของการวิจัย (ถามี) 1.5 คํานิยามศัพทเฉพาะ 1.6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย บทท่ี 2 วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ เปนบทที่รวบรวมหลักการแนวคิด ทฤษฎี ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของท่ีมีผูศึกษาไวกอนแลวโดยผูวิจัยควรดําเนินการดังนี้ 2.1 รวบรวมขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเร่ืองท่ีทําการวิจัย ประกอบดวยแนวคิด ทฤษฎีและนวัตกรรมท่ีนํามาอางอิงการทําวิจัย รวมท้ังงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ วิธีเขียนรวบรวมเอกสารตางๆ จะตองเรียบเรียงใหมีความตอเนื่องมีการจัดลําดับหัวขอจัดหมวดหมูเนื้อเร่ืองตามลําดับความสอดคลอง 2.2 ระบุแนวคิดท่ีนํามาใช ข้ันตอนการผลิต หรือพัฒนา ลักษณะของนวัตกรรม (สวนประกอบของนวัตกรรมหรือรายละเอียดของโครงการ และรายการส่ือท้ังหมดท่ีนํามาใช) แนวการใช (เทคนิควิธีใช หรือคูมือการใช หรือแนวทางดําเนินการ ) บทท่ี 3 วิธีดําเนินการวิจัย เปนบทที่เขียนเพื่อบอกข้ันตอนในการใชนวัตกรรม หรือแผนการดําเนินงานวิจัย โดยระบุกลุมเปาหมาย รูปแบบการทดลอง/การวิจัย เคร่ืองมือ (ชนิดของเคร่ืองมือ การสรางการหาคุณภาพ) ข้ันตอนการดําเนินการ (กําหนดรายละเอียดการดําเนินงานและระยะเวลา) วิธีเก็บรวบรวมขอมูลการวิเคราะหขอมูล (การใชสถิติหรืออ่ืนๆ) รายงานผลการวิเคราะหขอมูล (การนําเสนอในรูปแบบตางๆ) บทท่ี 4 ผลการวิจัยและอภิปราย เปนบทที่แสดงผลการวิจัยและการอภิปรายผล โดยผลการวิจัย ควรนําเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสม สอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย เชน ตาราง รูปภาพพรอมคําอธิบายผลที่เกิดข้ึน สําหรับการอภิปรายผล ควรมีเนื้อหาครอบคลุมวาผลการวิจัยมีการคนพบอะไรและผลท่ีไดนั้นสอดคลองกับการศึกษาของผูท่ีเคยรายงานมาแลวอยางไร พรอมใหเหตุผลขอคิดเห็นประกอบความแตกตางหรือสอดคลองกัน

Page 53: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 49

บทท่ี 5 ขอสรุปและขอเสนอแนะ เปนบทสรุปประเด็นสําคัญของการวิจัยท้ังหมด พรอมท้ังมีขอเสนอแนะสําหรับงานวิจัยท่ีเกี่ยวของตอไป ตลอดจนประโยชนในการประยุกตใชผลงานวิจัยท่ีได มีวิธีการเขียนดังนี้ บทนี้ใหเขียนเปน 3 สวน คือ เขียนสรุปผลตามวัตถุประสงค วิธีการดําเนินงาน ผลการวิจัยท่ีคนพบ และการเสนอแนะ เชน เสนอแนะวิธีการนําไปใช การพัฒนาตอ เปนตน 3) สวนอางอิง ประกอบดวย การอางอิงในเนื้อหาซ่ึงจะปะปนอยูในสวนเนื้อเร่ือง และอางอิงทายเร่ืองซ่ึงจะอยูตอนทายตอจากสวนเนื้อเร่ือง 4) สวนเพิ่มเติม ประกอบดวย ภาคผนวก (แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ ผลงานนักเรียน ขอมูลจากการถอดเทป รูปภาพประกอบ ฯลฯ) และประวัติผูวิจัย หมายเหตุ เนื้อหาสวนงานวิจัยในช้ันเรียน อางอิงจากเอกสารตอไปนี้ นิลมณี พิทักษ. (2552). เอกสารประกอบการเขียนรายงานนวัตกรรม. คณะศึกษาศาสตร ขอนแกน:

มหาวิทยาลัยขอนแกน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. (2550). คูมือการทําวิทยานิพนธ 2550 พิมพคร้ังท่ี 5 (ฉบับ

แกไขปรับปรุง) ขอนแกน: หจก.โรงพิมพคลังนานาวิทยา. สุมนชาติ เจริญครบุรี. (2550). การทําผลงานเพื่อเล่ือนวิทยฐานะอยางครูมืออาชีพ . พิมพคร้ังท่ี 2

ขอนแกน: หจก.โรงพิมพนานาวิทยา. 3) การจัดพิมพและจัดทํารูปเลมงานวิจัย

ในการจัดพิมพงานวิจัย ใหนักศึกษาจัดพิมพงานวิจัยตามรูปแบบของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน ดังตัวอยางในภาคผนวก สวนในการจัดทํารูปเลม กําหนดใหนักศึกษาจัดทํารูปเลมตามระเบียบของบัณฑิตวิทยาลัย แตปรับเปล่ียนเร่ืองการเขาเลม โดยกําหนดใหนักศึกษาสงงานวิจัยตอศูนยประสบการณวิชาชีพจํานวน 1 เลม ในการเขาเลม กําหนดใหเขาเลมแบบสันกาว เปนแบบปกออน ใชกระดาษสีขาวไมมีลวดลาย ตัวหนังสือสีดํา พิมพช่ืองานวิจัย ผูวิจัย ปการศึกษาท่ีจบ ท่ีสันของรายงานดวย หลังจากผานการนําเสนอดวยวาจา และตรวจแกตามคําแนะนําของอาจารยท่ีปรึกษาแลวอาจารยท่ีปรึกษาท้ังสองคนจะตองลงนามอนุมัติใหกอน นักศึกษาสามารถสงท่ีศูนยประสบการณวิชาชีพครู เพื่อท่ีศูนยฯจะดําเนินการให ประธานกรรมการบริหารรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และคณบดีคณะศึกษาศาสตร ลงนามตามลําดับตอไป

4) สัดสวนของคะแนนงานวิจัยในชั้นเรียน

Page 54: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 50

สัดสวนคะแนนงานวิจัย

องคประกอบของงานวิจัย คะแนน การนําเสนอเคาโครงงานวิจัย 2.5% ความสม่ําเสมอและความมานะพยายามในการดําเนินงานวิจัย 2.5% การนําเสนองานวิจัย 5% รูปเลมงานและคุณภาพของงานวิจัย 10% รวม 20%

5) แนวทางการประเมินงานวิจัยในชั้นเรียน

แนวทางการประเมินคุณภาพของงานวิจัยในช้ันเรียน 5.1 การประเมินการทําวิจัยในชั้นเรียน

รายการประเมิน รายละเอียดการประเมิน เคาโครงงานวิจัย รูปเลมและการนําเสนอ ความสม่ําเสมอและความมานะพยายามในการดําเนินงานวิจัย

การเขารวมกิจกรรมวิจัย การพบอาจารยท่ีปรึกษา การสงงานท่ีมอบหมายตรงเวลา การแกไขปรับปรุงงาน ฯลฯ

การนําเสนอผลการวิจัย วิธีการและคุณภาพในการนําเสนอ รูปเลมรายงานการวิจัย ในแนวทางขอ 5.2

5.2 แนวทางการประเมินรูปเลมวิจัย

ในการประเมินคุณภาพของงานวิจัย ท้ังในสวนของเคาโครงงานวิจัย และรูปเลมงานวิจัย อาจารยท่ีปรึกษาพิจารณาประเมินคุณภาพของผลงานวิจัย จากแนวทางดังตอไปนี้

1) ความสําคัญของปญหาในการวิจัย 1.1) ความชัดเจนของปญหาการวิจัยและเหตุผลท่ีตองทําการวิจัย เพื่อ

ตอบปญหาของการวิจัยนั้นๆ 1.2) ความเกี่ยวของของปญหาการวิจัยกับสภาพปจจุบัน 1.3) ความเกี่ยวของของปญหาการวิจัยกับสาขาวิชาท่ีศึกษา 2) วัตถุประสงคของการวิจัย 2.1) ความชัดเจนของวัตถุประสงคของการวิจัย

Page 55: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 51

2.2) ความสอดคลองของวัตถุประสงคกับปญหาการวิจัย 2.3) ความเปนไปไดในการทําวิจัยตามวัตถุประสงคท่ีกําหนด 3) การทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ

3.1) การทบทวนวรรณกรรมท่ีครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 3.2) การวิเคราะหและนําเสนอขอมูลจากการทบทวนวรรณกรรม 3.3) การเช่ือมโยงวรรณกรรมท่ีทบทวนกับหัวขอการวิจัย 4) วิธีการดําเนินการวิจัย 4.1) ความเหมาะสมของวิธีการวิจัย 4.2) ความเหมาะสมของข้ันตอนการวิจัย

4.3) ความเหมาะสมของเคร่ืองมือวิจัย เทคนิควิจัย การเลือกประชากร และกลุมตัวอยาง 4.4) ความถูกตองของการอางอิงถึงวิธีการที่ใชในการวิจัย 4.5) ความสอดคลองของวิธีการดําเนินการวิจัยกับวัตถุประสงค 5) ผลการวิจัย 5.1) ความเหมาะสมของลําดับข้ันตอนในการนําเสนอผลการวิจัย 5.2) ความชัดเจนของผลการวิจัยหรือความรูท่ีไดรับ

5.3) ความสามารถในการเสนอผลการวิจัย เชน การใชถอยคําภาษาในการบรรยายผลการวิจัย การใชกราฟ ตาราง รูปภาพท่ีเหมาะสม 5.4) ความสอดคลองของผลการวิจัยกับวัตถุประสงค 6) การอภิปรายผลการวิจัย

6.1) ความเหมาะสมในการวิเคราะหขอมูล เชน การเลือกใชวิธีการวิเคราะหหรือสถิติท่ีเหมาะสม

6.2) ความสามารถในการบูรณาการความรูตางๆ จากงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ และผลการวิจัย มาใชในการตอบปญหาตามวัตถุประสงค

7) การสรุปและขอเสนอแนะ 7.1) ความสามารถในการสรุปผลการวิจัยใหสัมพันธกับวัตถุประสงค

7.2) ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนําผลงานวิจัยไปประยุกตใช

Page 56: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 52

7.3) ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะงานวิจัยท่ีเกี่ยวของท่ีควรทําตอไปในอนาคต 8) คุณภาพของการเขียนรายงานการวิจัย 8.1) คุณภาพของบทคัดยอ 8.2) ความเหมาะสมถูกตองของการจัดโครงสรางของเน้ือหา 8.3) ความถูกตองของการอางอิง 8.4) ความถูกตองตามหลักไวยากรณของภาษาท่ีใชในการเขียน 9) การนําเสนอผลงาน 9.1) ความเหมาะสมของวิธีการนําเสนอ 9.2) ความเหมาะสมของส่ือท่ีใชในการนําเสนอ 9.3) การนําเสนอเนื้อหาเปนลําดับข้ันตอนท่ีเหมาะสม 9.4) การเสนอแนวคิดมีความชัดเจนและตอเนื่อง 9.5) บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเช่ือม่ันของผูนําเสนอ 9.6) ความสอดคลองของเนื้อหาท่ีนําเสนอกับท่ีเขียนในรายงานวิจัย 9.7) ความสามารถในการสรุปผล

5.3 ปริมาณงานและหนาท่ีความรับผิดชอบของผูรวมวิจัย เนื่องจากงานวิจัยในช้ันเรียนของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษามีผูเกี่ยวของหลายฝาย คือ นักวิจัย ไดแก นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ท่ีปรึกษาวิจัยหลัก ไดแก อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ ท่ีปรึกษาวิจัยรวม ไดแก ครูพี่เล้ียงประจําวิชา คณะกรรมการบริหารรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 จึงกําหนดหนาท่ีความรับผิดชอบและสัดสวนของปริมาณงาน ดังแบบแสดงปริมาณงานและหนาท่ีความรับผิดชอบของผูรวมวิจัยของงานวิจัยในช้ันเรียน ในรายวิชา 230 532 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ดังตอไปนี้

Page 57: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 53

แบบแสดงปริมาณงานและหนาท่ีความรับผิดชอบผูรวมวิจัย ของงานวิจัยในชั้นเรียน ในรายวิชา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ปการศึกษา 2553

งานวิจัยเร่ือง ....................................................................................................................................... สถานศึกษา ........................................................................................................................................ กลุมสาระ ..........................................................................................................................................

ชื่อผูรวมวิจัย สถานภาพ รอยละปริมาณงาน

หนาท่ีความรับผิดชอบ

1......................................... นักวิจัย 60 ดําเนินการวิจัย

2......................................... อาจารยท่ีปรึกษาหลัก 20 ใหคําแนะนําและเปนที่ปรึกษาเก่ียวกับเน้ือหาทางทฤษฎี วิธีการศึกษาวิจัยรวมท้ังการแกปญหาที่ เ กิดขึ้นขณะดําเนินการศึกษาวิจัยและประเมินผล

3......................................... อาจารยท่ีปรึกษารวม 20 ใหคําแนะนําเรื่องเครื่องมือวิจัย บริบทของโรงเรียน บริบทของนักเรียน และชวยเหลือดูแลในการเก็บขอมูล

*หมายเหตุ รอยละปริมาณงานปรับเปล่ียนไดตามสภาพปฏิบัติงานจริง ลงช่ือ ..................................................... ลงช่ือ ..............................................................

(.............................................................) (.............................................................) นักศึกษา อาจารยท่ีปรึกษาหลัก ลงช่ือ ....................................................... (.............................................................)

อาจารยท่ีปรึกษารวม

Page 58: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 54

3.5 การประเมินผลการเรียน รายวิชา 230 531 และ 230 532 น้ําหนักคะแนนวิชา 230 531 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 ภาคเรียนตน

ท่ีมาของคะแนน คะแนน รวม

นิเทศ รายงานผลการเรียนรู

การปฏิบัติงาน

อ่ืนๆ

การรวมกิจกรรม

อาจารยนิเทศก สาขาวิชาเฉพาะ 25% 20 % 5 %

5 %

45 % 10 % 20 % 15 % 5 % 5 %

วิชาชีพครู 10 %

ครูพี่เล้ียง ประจําวิชา 20%

ประจําชั้น 10%

คณะกรรมการบริหารรายวิชา

กรรมการสาขาวิชา 5 %

รวม 65% 20 % 5 % 10 % 100%

น้ําหนักคะแนนวิชา 230 532 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 ภาคปลาย

ท่ีมาของคะแนน คะแนน รวม

นิเทศ รายงานผลการเรียนรู

การปฏิบัติงาน

อ่ืนๆ

การรวมกิจกรรม

อาจารยนิเทศก สาขาวิชาเฉพาะ 25% 20 % 5 %

5 %

45 % 10 % 20 % 15 % 5 % 5 %

วิชาชีพครู 10 %

ครูพี่เล้ียง ประจําวิชา 20%

ประจําชั้น 10%

คณะกรรมการบริหารรายวิชา

กรรมการสาขาวิชา 5 %

รวม 65% 20 % 5 % 10 % 100%

Page 59: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 55

หมายเหตุ งานอ่ืนๆ ไดแก แบบสังเกตการเรียนรูของนักเรียน แบบบันทึกประจําวัน แบบบันทึก

ประจําสัปดาห แบบบันทึกหลังรับการนิเทศ หนวยการเรียนรู แผนการจัดการเรียนรู และอ่ืนๆ ตามท่ีกําหนด ตารางแสดงเกณฑการประเมินผลการเรียน 230 531 และ 230 532

คาน้ําหนักคะแนน ระดับคะแนน 85 ข้ึนไป A 80 – 84 B+ 75 – 79 B 70 – 74 C+ 65 – 69 C 60 – 64 D+ 55 – 59 D นอยกวา 55 F

Page 60: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 56

ภาคผนวก

1. แนวทางการจัดทํารายงานการวิจัย การจัดทํารายงานการวิจัย เปนผลงานทางวิชาการท่ีนักศึกษาไดดําเนินการใชนวัตกรรม

เทคนิคการสอนในขณะท่ีปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยการจัดทํารายงานการวิจัยท่ีเปนสวนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 รหัสวิชา 230 532 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน องคประกอบของรายงานการวิจัยประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน ดังนี้

1. สวนหนา ประกอบดวยปกนอก ปกใน บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ ดังรายละเอียดดังนี้

- บทคัดยอ เปนการกลาวสรุป เนื้อหาของงานวิจัยใหส้ันกะทัดรัด ชัดเจน ทําใหผูอานทราบถึงเนื้อหาโดยไมตองอานท้ังเอกสาร ประกอบดวย ช่ือเร่ือง วัตถุประสงค วิธีดําเนินการหรือระเบียบวิธีวิจัย ขอคนพบหรือผลการวิจัย

- กิตติกรรมประกาศ เปนการกลาวขอบคุณผูท่ีใหความชวยเหลือในการทําวิจัย อาจจะเปนบุคคล สถาบันหรือองคกร

- สารบัญ เปนการแสดงสวนประกอบท่ีสําคัญท้ังหมด เรียงตามลําดับต้ังแต บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ สารบัญเร่ือง สารบัญตาราง สารบัญภาพ และสวนท่ีเปนเนื้อหาสาระ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผูรายงานอยางยอๆ เพื่อชวยในการคนหาและอานเรื่องนั้นไดสะดวก ดังตัวอยาง

Page 61: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

(ตัวอยางปกรายงาน)

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูทีเ่นนการคดิ โดยการสอน

แบบโครงงาน กลุมสาระการเรียนรูสงัคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศกึษาปที่ 5

The Development of Learning Management Model Focusing on Thinking Skills by Project Teaching in Social, Religion,

and Culture Learning Substance in Pratomsuksa 5.

ชื่อนักศกึษา............................

การวิจัยนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษาวิชาการปฏิบติัการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2554

Page 62: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 58

ตัวอยางปกใน

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูทีเ่นนการคดิ โดยการสอน แบบโครงงาน กลุมสาระการเรียนรูสงัคมศึกษา ศาสนา

และวัฒนธรรม ช้ันประถมศกึษาปที่ 5 The Development of Learning Management Model Focusing on Thinking Skills by Project Teaching in Social, Religion,

and Culture Learning Substance in Pratomsuksa 5.

ชื่อนกัศึกษา.......................

การวิจัยนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษาวิชาการปฏิบติัการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

พ.ศ. 2554

Page 63: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 59

บทคัดยอ

(ตัวอยาง)

ชื่องานวิจัย การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูท่ีเนนการคิด โดยการสอนแบบโครงงาน กลุม สาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปท่ี 5

The Development of Learning Management Model Focusing on Thinking Skills by Project Teaching in Social, Religion, and Culture Learning Substance in Pratomsuksa 5. คณะผูวิจัย ช่ือนักศึกษา......................................... ผูวิจัย

รองศาสตราจารยนิลมณ ี พิทักษ อาจารยท่ีปรึกษาหลัก ผูชวยศาสตราจารยจรรยา บุญมีประเสริฐ อาจารยท่ีปรึกษารวม การวิจยัคร้ังนีมี้วัตถุประสงคเพื่อ ศึกษา........................................................ โดยใช (นวัตกรรมทางการศึกษา) กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนโรงเรียน........................................จํานวน........... ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 1 จังหวัดขอนแกน การวิจัยคร้ังนี้เปนการวิจยัเพื่อพฒันาโดยใช .................................... เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยประกอบดวย 1)............................................................................................................................. 2)........................................................................................................................... ผลการวิจัยพบวา ......................................................................

1).............................................................................................................................. ..............................................................................................................................

2).............................................................................................................................. ..............................................................................................................................

Page 64: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 60

กิตติกรรมประกาศ (ตัวอยาง)

งานวิจัยเร่ือง ........................................................................................กลุมสาระ.............................................. เปนสวนหนึ่งของของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 รหัสวิชา 230 532 ท่ีมีจุดมงหมายเพื่อ................................................... ผูวิจัยขอขอบคุณผูบริหาร คณะครู และนักเรียนโรงเรียน................(ในกลุมเปาหมาย)ท่ีใหความรวมมือและอนุญาตใหคณะผูวิจัยไดเขาไปทําการศึกษาบริบทโรงเรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูในช้ันเรียน รวมท้ังใหขอมูลในการวิจัยคร้ังนี้

ผูวิจัยขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย............................อาจารยนิเทศกและอาจารยท่ีปรึกษาท่ีใหคําปรึกษาการทําวิจัย คณะกรรมการการรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และศูนยประสบการณวิชาชีพครู คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ท่ีใหการสนับสนุนการวิจัยในคร้ังนี้ ขอคนพบท่ีกอใหเกิดประโยชนของงานวิจัยฉบับนี้ จะเปนแนวทางสําหรับนักการศึกษา ครูผูสอน ผูท่ีเกี่ยวของ ตลอดจนผูท่ีสนใจ สามารถนําแนวคิดในการนํานวัตกรรม...........ไปใชในการพัฒนาการจัดการเรียนรูของผูเรียน

ช่ือนักศึกษา

Page 65: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 61

สารบัญ (ตัวอยาง)

หนา

กิตติกรรมประกาศ ก

บทคัดยอ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคการวิจัย 2

1.3 คําถามวิจัย 2

1.4 ขอบเขตการวิจัย/บริบทของโรงเรียน 2

1.5 คํานิยามศัพทเฉพาะที่ใชในการวิจัย 2

1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

2.1 หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรู 4

2.2 แนวคิดเก่ียวกับนวัตกรรมที่ใช........ 6

2.3 แนวคิดเก่ียวกับการจัดการเรียนรู 19

2.4 กระบวนการวิจัยและพัฒนา 45 2.5 งานวิจัยที่เก่ียวของ 46

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

3.1 กลุมเปาหมาย 48

3.2 กระบวนการวิจัย/รูปแบบการวิจัย 48

3.3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 50

3.5 การวิเคราะหขอมูล 50

บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล 4.1 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู (ตามวัตถุประสงค) 51 4.2 การอภิปรายผล 59

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

5.1 วัตถุประสงค 61

5.2 วิธีดําเนินงานวิจัย 64

5.3 สรุปผลการวิจัย 64

5.4 ขอเสนอแนะ 64

บรรณานุกรม 67

ภาคผนวก

Page 66: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 62

2. สวนเนื้อเร่ือง เปนสวนนําเสนอเนื้อเร่ืองของวิจัยประกอบดวยบทตางๆ ดังนี้ บทท่ี 1 เปนบทนํา กลาวถึงเร่ืองตอไปนี้

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1.2 วัตถุประสงคของการวิจยั 1.3 สมมติฐานของการวิจยั(ถามี) 1.4 ขอบเขตของการวิจัย/บริบทของการวิจยั 1.5 นิยามศัพทเฉพาะ 1.6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา กลาวถึงทําไมจึงทําการวิจัย มีปญหาอยางไร มีสภาพการณอยางไร ความสําคัญและเหตุผลท่ีทําใหเลือกปญหานั้น วิธีการเขียนควรจะเร่ิมจากสภาพท่ัวๆไปของปญหาและในสภาพท่ีกลาวถึงมีปญหาอะไรเกิดข้ึนบาง โดยเฉพาะประเด็นปญหาท่ีผูวิจัยเลือกมาศึกษาวิจัยนั้นมีความสําคัญอยางไร ส่ิงท่ีทําคืออะไร นวัตกรรมท่ีจะนํามาใชแกปญหาคืออะไร มีงานวิจัยท่ีเกี่ยวของอยางไรบาง จะชวยแกปญหาไดอยางไร มีวิธีการทําอยางไร และสรุป ถึงเหตุผลสําคัญในตอนทาย

1.2 วัตถุประสงค จะตองเขียนใหสอดคลองกับความเปนมาและความสําคัญของปญหา การเขียนวัตถุประสงคถือเปนหัวใจสําคัญเพราะเปนการเขียนเพื่อบอกใหทราบวาผูวิจัยตองการจะศึกษาอะไร กับใคร ท่ีไหน เม่ือไร ศึกษาแงมุมไหนและศึกษาอยางไร วิธีการเขียนจุดประสงคตองเขียนใหเฉพาะเจาะจงมีความชัดเจนทําใหมองเห็นแนวทางในการปฏิบัติจริงและขอคนพบที่จะพบโดยท่ัวไปนิยมเขียนวัตถุประสงคในรูปประโยคบอกเลา ดังตัวอยาง

1.เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรูดวยกระบวนการกลุมแบบรวมมือกันเรียนรูเทคนิค STAD ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปท่ี 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ศึกษาศาสตร

2. เพื่อพัฒนากระบวนการกลุมของนักเ รียนช้ันประถมศึกษาป ท่ี 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ศึกษาศาสตร โดยใชกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือกันเรียนรูเทคนิค STAD

1.3 คําถามการวิจัย เปนการกําหนดกรอบแนวทางในการวิจัยวาจะเปนอยางไร 1.4 ขอบเขตของการวิจัย กลาวถึง กลุมตัวอยาง /กลุมเปาหมาย ตัวแปรท่ีศึกษา เนื้อหาสาระ

ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา 1.5 นิยามศัพทเฉพาะ เปนการอธิบายคําเฉพาะของการวิจัยและคําบางคําท่ีใชในการวิจัยเพื่อ

ความเขาใจตรงกัน ความหมายท่ีใหตองเปนความหมายเฉพาะเร่ืองของการศึกษาวิจัยนั้นๆ หากเปนคําศัพทท่ีใชกันอยูท่ัวไปไมจําเปนตองใหคํานิยาม

Page 67: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 63

ตัวอยางนิยามศัพทเฉพาะ 1. กิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือกันเรียนรูเทคนิค STAD หมายถึง การจัดกิจกรรมที่คละ

ความสามารถใหรวมมือชวยเหลือซ่ึงกันและกันเรียนรูไปพรอมกันโดยเด็กเกงตองชวยเหลือเด็กออนซ่ึงแผนการจัดการเรียนรู ข้ันกิจกรรมการเรียนรูประกอบดวยข้ันตอนดังนี้

ข้ันท่ี 1 ข้ันนําเสนอบทเรียนตอท้ังช้ัน เปนการจัดกิจกรรมข้ันนําเพื่อทบทวนความรูเดิมของนักเรียน ข้ันสอนจัดกิจกรรมใหนักเรียนไดรับความรูใหม

ข้ันท่ี 2 ข้ันศึกษากลุมยอย เปนการจัดกิจกรรมใหนักเรียนท่ีแบงกลุมคละความสามารถไดทบทวนความรูท่ีเรียนมาจากขั้นท่ี 1 มาทําความเขาใจมากยิ่งข้ึนโดยคนเกงจะชวยคนออนเพ่ือใหเขาใจรวมกัน เพื่อคะแนนความกาวหนาของกลุม

ข้ันท่ี 3 ข้ันทดสอบรายบุคคล เปนข้ันประเมินผลของนักเรียนเปนรายบุคคล อาจใชแบบทดสอบ หรือการตอบคําถาม แลวนําคะแนนของสมาชิกกลุมมาเฉล่ียเปนคะแนนความกาวหนาของกลุม

2. กระบวนการกลุม หมายถึง คะแนนท่ีไดจากแบบบันทึกการทํางานกลุม ตามประเด็น ดังนี้ การชวยเหลือเกื้อกูล ความรับผิดชอบของสมาชิกกลุม การแบงหนาท่ีระหวางสมาชิกในกลุม

1.6 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ เปนการกลาวถึงประโยชนหรือผลที่คาดหวังวาจะเกิดข้ึนจากการทําการวิจัย เปนผลตามมาหลังจากการวิจัย (ไมใชวัตถุประสงค)

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ เปนบทท่ีรวบรวมหลักการแนวคิดทฤษฎี ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของท่ีมีผูศึกษาไวกอนแลวโดยผูวิจัยควรดําเนินการดังนี้

1) รวบรวมขอมูลพื้นฐานเกี่ยวกับเร่ืองท่ีทําการวิจัย รายละเอียดเหลานี้จะชวยใหผูวิจัยเกิดความเขาใจท่ีกวางขวางอยางชัดเจนในหัวขอปญหาท่ีทําการวิจัย วิธีเขียนรวบรวมเอกสารตางๆและผลงานการวิจัยท่ีเกี่ยวของจะตองเรียบเรียงใหมีความตอเนื่องมีการจัดลําดับหัวขอจัดหมวดหมูเนื้อเร่ืองตามลําดับความสอดคลอง ใหครอบคลุมตัวแปรท่ีศึกษา

2) ระบุแนวคิดท่ีนํามาใช ข้ันตอนการผลิตหรือพัฒนา ลักษณะของนวัตกรรม (สวนประกอบของนวัตกรรม หรือรายละเอียดของนวัตกรรม และรายการส่ือท้ังหมดท่ีนํามาใช) แนวการใช (เทคนิควิธีใช หรือคูมือการใช หรือแนวดาํเนินการ)

บทท่ี 3 วิธีดําเนินการวิจัย เปนบทท่ีเขียนเพื่อบอกข้ันตอนในการใชนวัตกรรม หรือแผนการ

ดําเนินงานวิจัย โดยระบุกลุมเปาหมาย รูปแบบการทดลอง/การวิจัย เคร่ืองมือ (ชนิดของเคร่ืองมือ

Page 68: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 64

การสราง การหาคุณภาพ) ข้ันตอนการดําเนินการ (กําหนดรายละเอียดการดําเนินงานและระยะเวลา) วิธีเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล (การใชสถิติ)

บทท่ี 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล เปนบทที่แสดงผลการวิจัยและการอภิปรายผล โดย

ผลการวิจัย ควรนําเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสม สอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย เชน ตาราง รูปภาพ พรอมคําอธิบายผลที่เกิดข้ึน สําหรับการอภิปรายผล ควรมีเนื้อหาครอบคลุมวาผลการวิจยัมีการคนพบอะไรและผลท่ีไดนั้นสอดคลองกับการวจิัยของผูท่ีเคยรายงานมาแลวอยางไร พรอมใหเหตุผล ขอคิดเห็นประกอบความแตกตางหรือสอดคลองกัน

บทท่ี 5 ขอสรุปและขอเสนอแนะ เปนบทสรุปประเด็นสําคัญของการวิจยัท้ังหมด พรอมท้ังมี

ขอเสนอแนะสําหรับงานวิจยัท่ีเกีย่วของตอไป ตลอดจนประโยชนในการประยกุตใชผลงานวิจัยท่ีได มีวิธีการเขียนดังนี ้

บทนี้ใหเขียนเปน 3 สวน คือ วัตถุประสงคและวิธีการดาํเนินงาน สรุปผลการวิจัยท่ีคนพบ และการเสนอแนะ

3. สวนอางอิง ประกอบดวย การอางอิงในเนือ้หาซ่ึงจะปะปนอยูในสวนเนื้อเร่ือง และอางอิง

ทายเร่ืองซ่ึงจะอยูตอนทายตอจากสวนเน้ือเร่ือง การเขียนบรรณานุกรม การอางอิงในรายงานการวิจัยในรายวิชานี้ ใชการอางอิงดังนี ้

1. การอางอิงในสวนเนื้อเร่ือง การอางอิงในสวนเนื้อเร่ือง คือ การบอกแหลงท่ีมาของขอมูลโดยการอางอิงคละไปในสวน

เนื้อเร่ือง ทําใหทราบวาขอความในสวนนัน้นํามาจากแหลงใด ผูวิจยัสามารถเลือกใชวิธีการอางอิงในสวนเน้ือเร่ือง แบบการอางอิงแบบช่ือ-ป ดังมีรูปแบบการอางดังนี ้

1. อางไวขางหนาขอความ ตัวอยาง นิลมณี พิทักษ (2550) กลาววา ประชากรในชุมชนตองรวมกันกนัดูแลส่ิงแวดลอม

2. อางไวขางหลังขอความ ตัวอยาง ... ประชากรในชุมชนตองรวมกนักันดแูลส่ิงแวดลอม (นิลมณี พิทักษ,2550)

2. การอางอิงสวนทายเลม เปนการรวบรวมรายการเอกสารท้ังหมดท่ีผูเขียนไดใชอางอิงในการเขียนผลงานนั้นๆ อาจรวบรวมเปนรายการบรรณานุกรม หรือรายการเอกสารอางอิงก็ได ซ่ึงมีขอแตกตางกันคือ

Page 69: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 65

- การรวบรวมรายการบรรณานุกรม ผูวิจัยจะสามารถนําเอารายการเอกสารอ่ืนท่ีมิไดอางไวในสวนเนื้อเร่ืองมารวบรวมไวก็ได หากเห็นวาเอกสารนั้นมีความเกี่ยวของกับเร่ืองท่ีเขียนและจะเปนประโยชนแกผูอาน ดังนั้นจํานวนรายการเอกสารท่ีระบุอางอิงในสวนทายเร่ืองจึงอาจมีมากกวาจํานวนท่ีถูกอางอิงไวในสวนเนื้อเร่ือง ดังตัวอยางบรรณานุกรม นิลมณี พิทักษ.(2552).เอกสารประกอบการเขียนรายงาน ขอนแกน: คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน . (2550). คู มือการทําวิทยานิพนธ . ขอนแกน :

มหาวิทยาลัยขอนแกน. ฝายวิชาการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ศึกษาศาสตรระดับมัธยมศึกษา.(2553).หลักสูตร

สถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ศึกษาศาสตรระดับมัธยมศึกษา เอกสารถายสําเนา

ลัดดา ศิลานอย และคณะ.(2554). การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ยกระดับวิชาชีพครูสังคมศึกษาดวยงานวิจัย “เอกสารประกอบการประชุมวันท่ี 14-15 มีนาคม 2554 คณะศึกษาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.

ศูนยประสบการวิชาชีพครู.2553. คูมือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.

สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา.(2550). คูมือการดําเนินงานรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทาง การศึกษาเพื่อประกอบวิชาชพี. กรุงเทพฯ: มปพ. สุมนชาติ เจริญครบุรี.2550. การทําผลงานเพ่ือเล่ือนวิทยฐานะอยางครูมืออาชีพ . พิมพคร้ังท่ี 2

ขอนแกน: นานาวิทยา. - การรวบรวมรายการเอกสารอางอิง จะรวบรวมเฉพาะรายการที่ถูกอางไวในสวนเน้ือเร่ือง

เทานั้น ดงันัน้จํานวนรายการเอกสารท่ีอางอิงในสวนทายเร่ืองจึงตองมีจํานวนเทากันกับท่ีถูกอางอิงไวในสวนเนื้อเร่ือง ดังตัวอยางเอกสารอางอิง นิลมณี พิทักษ.(2552).เอกสารประกอบการเขียนรายงาน ขอนแกน: คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน . (2550). คู มือการทําวิทยานิพนธ . ขอนแกน :

มหาวิทยาลัยขอนแกน. สุมนชาติ เจริญครบุรี.(2550). การทําผลงานเพื่อเล่ือนวิทยฐานะอยางครูมืออาชีพ . พมิพคร้ังท่ี 2

ขอนแกน: นานาวิทยา.

Page 70: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 66

4. สวนเพิ่มเติม ประกอบดวย ภาคผนวก และประวัติผูเขียน 2. แนวทางการประเมินคุณภาพของงานวิจัย แนวทางการประเมินคุณภาพของงานวิจยั อาจารยท่ีปรึกษาอาจพิจารณาประเมินคุณภาพของผลงานวิจยั จากหลักเกณฑ ดังตอไปนี้ 1. ความสําคญัของปญหาในการวิจัย 1.1 ความชัดเจนของปญหาการวิจัยและเหตุผลท่ีตองทําการวิจยั เพื่อตอบปญหาของการวิจัยนั้นๆ 1.2 ความเกีย่วของของปญหาการวิจยักับสภาพปจจุบัน 1.3 ความเกีย่วของของปญหาการวิจยักับสาขาวิชาท่ีศึกษา 2. วัตถุประสงคของการวิจัย 2.1 ความชัดเจนของวัตถุประสงคของการวิจัย 2.2 ความสอดคลองของวัตถุประสงคกับปญหาการวิจยั 2.3 ความเปนไปไดในการทาํวิจยัตามวัตถุประสงคท่ีกําหนด 3. การทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวของ 3.1 การทบทวนวรรณกรรมท่ีครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยัท่ีเกี่ยวของ 3.2 การวิเคราะหและนําเสนอขอมูลจากการทบทวนวรรณกรรม 3.3 การเช่ือมโยงวรรณกรรมท่ีทบทวนกับหัวขอการวจิยั 4. วิธีการดําเนินการวิจัย

4.1 ความเหมาะสมของของวิธีการวิจยัท่ีใช 4.2 ความเหมาะสมของข้ันตอนการวิจยั 4.3 ความเหมาะสมของเคร่ืองมือวิจัย เทคนิควิจยั การเลือกประชากร และกลุมตัวอยาง 4.4 ความถูกตองของการอางอิงถึงวิธีการที่ใชในการวิจยั

4.5 ความสอดคลองของวิธีการดําเนินการวจิัยกับวัตถุประสงค 5. ผลการวิจัย

5.1 ความเหมาะสมของลําดับข้ันตอนในการนําเสนอผลการวิจยั 5.2 ความชัดเจนของผลการวิจยัหรือความรูท่ีไดรับ

5.3 ความสามารถในการเสนอผลการวิจัย เชน การใชถอยคําภาษา กราฟ ตาราง รูปภาพท่ีเหมาะสม

5.4 ความสอดคลองของผลการวิจยักับวัตถุประสงค

Page 71: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 67

6. การอภิปรายผลการวิจัย 6.1 ความเหมาะสมในการวิเคราะหขอมูล เชน การเลือกใชวิธีการทางสถิติ ท่ีเหมาะสม 6.2 ความสามารถในการบูรณาการความรูตางๆ จากงานวิจัยท่ีเกีย่วของ และผลการวจิัย มาใชในการตอบปญหาตามวัตถุประสงค

7. การสรุปและขอเสนอแนะ 7.1 ความสามารถในการสรุปผลการวิจัยใหสัมพันธกับวตัถุประสงค 7.2 ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะถึงการนําผลงานวิจยัไปประยกุตใช

7.3 ความสมเหตุสมผลในการเสนอแนะงานวิจยัท่ีเกีย่วของท่ีควรทําตอไปในอนาคต 8. คุณภาพของการเขียนรายงานการวิจัย 8.1 คุณภาพของบทคัดยอ 8.2 ความเหมาะสมถูกตองของการจัดโครงสรางของเน้ือหา

8.3 ความถูกตองของการอางอิง 8.4 ความถูกตองตามหลักไวยากรณของภาษาท่ีใชในการเขียน

9. การนําเสนอผลงาน 9.1 ความเหมาะสมของวิธีการนําเสนอ 9.2 ความเหมาะสมของส่ือท่ีใชในการนําเสนอ 9.3 การนําเสนอเนื้อหาเปนลําดับข้ันตอนท่ีเหมาะสม 9.4 การเสนอแนวความคิดมีความชัดเจนและตอเนื่อง 9.5 บุคลิกภาพ การแสดงออก ความเช่ือม่ันของผูนําเสนอ 9.6 ความสอดคลองของเนื้อหาท่ีนําเสนอกบัท่ีเขียนในรายงานวิจัย 9.7 ความสามารถในการสรุปผล

Page 72: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 68

แบบประเมินรูปเลมงานวิจัย รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

ชื่อ-สกุลนักศึกษา................................................... ..สาขาวิชา............................... คําช้ีแจง: โปรดประเมินโดยทําเครื่องหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 40 คะแนน)

รายการท่ีประเมิน

ผลการประเมิน

ดีมาก

5

ดี 4

พอใช

3

นอย 2

นอย ท่ีสุด

1 1.ความสําคัญและท่ีมาของปญหาการวิจัย

2.วัตถุประสงคของการวิจัย

3.การทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวของ

4.วิธีดําเนินการวิจัย

5.ผลการวิจัย

6.การอภิปรายผลการวิจัย

7.การสรุปและขอเสนอแนะ

8.คุณภาพของการเขียนรายงานการวิจัย

รวมคะแนน

คะแนนท่ีได

ลงช่ือ......................................... (..................................................) ผูประเมิน

3. แนวทางการเขียนรายงานการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน การจดัทํารายงานการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน เพื่อเปนแนวทางในการเขียนรายงานฯ กรรมการดําเนินงานรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ขอยกตัวอยางการเขียนรายงานฯ แบงเปน 4 บทดังนี ้ บทท่ี 1 บทนํา

1.1 ท่ีมาและความสําคัญของปญหา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เปนไปตามประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปริญญา

และประกาศบัตรทางการศึกษา ตามมาตรฐานวิชาชีพ กําหนดใหการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เปนเวลาไมนอยกวา 1 ป (สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา,2550) การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เปนกระบวนการของการปฏิบัติหนาท่ีของนักศึกษาวิชาชีพครูท่ีตองนําความรูเชิงแนวคิดทฤษฎีจาก

Page 73: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 69

สถาบันท่ีผลิตไปสูการปฏิบัติจริงในสถานศึกษาท่ีจัดการเรียนรูข้ันพื้นฐาน ท้ังดานการจัดการเรียนรูในสาขาวิชาเฉพาะและดานการพัฒนาผูเรียน

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จึงดําเนินการใหนักศึกษาที่มีคุณสมบัติใน การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไดรับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 ผูรายงานได ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา กลุมสาระการเรียนรู .................................. .. ช้ัน............และหนาท่ีครูประจําช้ัน................สถานศึกษา............... ต้ังแตวันท่ี..................................ถึงวันท่ี.................... แนวคิดและหลักการที่นํามาใชในการพัฒนาคร้ังนี้คือ แนวคิดการจัดการเรียนการสอนตามแนวปฏิรูปการเรียนรู ซ่ึงกําหนดไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (ฉบับท่ี 2 ปรับปรุง พ.ศ. 2545) หมวด 4 กําหนดแนวการจัดการศึกษา โดยยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ (มาตรา 22)โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชในการปองกัน แกปญหาและเรียนรูจากประสบการณจริง (มาตรา 24) ปจจุบันสังคมเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว กอใหเกิดท้ังผลดีและผลเสียตอการดําเนินชีวิตในปจจุบันของบุคคล ทําใหเกิดความยุงยากซับซอนมากยิ่งข้ึน จําเปนตองปรับเปล่ียนวิถีการดําเนินชีวิตใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีคุณคาและมีความสุข (http://www.thaiwebkit.com/tha)

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดใหมีสาระการเรียนรู 8 กลุม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ซ่ึงกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนกิจกรรมที่จัดใหผูเรียนไดพัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ มุงเนนเพิ่มเติมจากกิจกรรมที่ไดจัดใหเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง 8 กลุม การเขา รวมและปฏิบัติกิจกรรมท่ีเหมาะสมรวมกับผูอ่ืนอยางมีความสุขกับกิจกรรมที่เลือกดวยตนเองตามความถนัด และความสนใจอยางแทจริง การพัฒนาท่ีสําคัญ ไดแก การพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยใหครบทุกดาน ท้ังรางกาย สติปญญา อารมณ และสังคม โดยอาจจัดเปนแนวทางหนึ่งท่ีจะสนองนโยบายในการสรางเยาวชนของชาติใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีคุณภาพเพื่อพัฒนาองครวมของความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ปลูกฝงและสรางจิตสํานึกของการทําประโยชนเพื่อสังคม ซ่ึงสถานศึกษาจะตองดําเนินการอยางมีเปาหมาย มีรูปแบบและวิธีการท่ีเหมาะสมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนแบงเปน 2 ลักษณะ คือ

1. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล สามารถคนพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสราง

Page 74: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 70

ทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพท่ีดี ซ่ึงผูสอนทุกคนตองทําหนาท่ีแนะแนวในบทบาทหนาท่ีครูประจําช้ัน 2. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมท่ีเกิดจากความสมัครใจของผูเรียนมุงพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงคเพิ่มเติมจากกิจกรรมในกลุมสาระ เปนกิจกรรมท่ีผูเรียนชวยกันคิด ชวยกันทําชวยกันแกปญหา สงเสริมศักยภาพของผูเรียนอยางเต็มท่ี รวมถึงกิจกรรมท่ีมุงปลูกฝงความมีระเบียบวินัย รับผิดชอบ รูสิทธิและหนาท่ีของตนเองในการอยูรวมกันตามระบอบประชาธิปไตยท่ีมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ท้ังนี้ ในทางปฏิบัติสถานศึกษาจัดกิจกรรมในลักษณะของการบูรณาการองคความรูตาง ๆท่ีเกื้อกูลสงเสริมการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูใหมีความกวางขวางลึกซ้ึงยิ่งข้ึน อีกท้ังให ผูเรียนไดคนพบและใชศักยภาพท่ีมีในตนอยางเต็มท่ี เลือก ตัดสินใจ ไดอยางมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง สามารถวางแผนชีวิตและอาชีพไดอยางมีคุณภาพ เนนการเสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม และจริยธรรม รูจักสรางสัมพันธภาพท่ีดีเพื่อปรับตัวเขากับบุคคลและสถานการณตาง ๆ ไดอยางดีและมีความสุข เชน กิจกรรมการสรางเสริมความรูสึกรักและเห็นคุณคาในตนเอง กิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม และจริยธรรม กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมสรางเสริมประสิทธิภาพการเรียน เปนตน กิจกรรมเหลานี้สามารถหลอมเขาไปในการจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชนในลักษณะของการเขาคายตาง ๆ หรืออาจแยกจัดเปนกิจกรรมเฉพาะทางได เชน จัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน โดยมุงเปนการฝกระเบียบวินัย การอยูรวมกันอยางมีความสุข กิจกรรมชมรมวิชาการ มุงเนนประสบการณความชํานาญเฉพาะเร่ืองท่ีถนัดและสนใจจากการเรียนรูกลุมสาระตาง ๆ ชุมนุมตาง ๆ เพื่อการรวมกับคิดคนกิจกรรมท่ีสรางสรรคกอใหเกิดความสนุก ความสุข และพัฒนาทักษะทางสังคม ท้ังนี้แมจะแยกจัดกิจกรรมเฉพาะทางก็สามารถบูรณาการกิจกรรมแนะแนวเขาไวดวย เพื่อใหคนพบศักยภาพของตนเองดวย (http:// www.ednan1.go.th/ednan1/person1551/ks3/501.ppt -)

1.2 บริบทของสถานศึกษา (ประวัติความเปนมาของสถานศึกษา ท่ีต้ัง แผนท่ี การจัดช้ันเรียน ฯลฯ)

1.3 วัตถุประสงค เขียนให สอดคลองกับท่ีมาและความสําคัญของปญหา( ประเด็นการจัดการเรียนรู(K P A

หรือ อ่ืนๆตามวัตถุประสงคของนวัตกรรมท่ีใช และพัฒนาผูเรียน งานประจําช้ัน งานกิจกรรมนักเรียนงานลูกเสือ เนตรนารี งานกิจกรรมชุมนุม และอ่ืนๆ)

Page 75: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 71

ตัวอยาง 1. ศึกษาผลการจัดการเรียนรูในรายวิชา........... 2. ศึกษาผลการพัฒนาผูเรียนช้ัน...............

หรือ 1. ศึกษาผลการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรู.............................. 2. ศึกษาผลการจัดกิจกรรมพฒันาใหนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตรสถานศึกษาท่ีกําหนด

1.4 ประโยชนท่ีไดรับจากการปฏิบัติการสอน 1) ประโยชนท่ีเกิดกับผูเรียนเปนรายบุคคล 2) ประโยชนท่ีเกิดกับนักเรียนท้ังช้ันเรียนหรือโรงเรียน 3) ประโยชนท่ีเกิดกับตัวนักศึกษา บทท่ี 2 วิธีดําเนินการ

2.1 กลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย (กลุมผูเรียนท่ีจะพัฒนา ) 2.2 เคร่ืองมือท่ีใช เชน แผนการจัดการเรียนรู แบบสังเกต แบบบันทึกประจําวัน /สัปดาห

แบบสัมภาษณ แบบประเมินตองสอดคลองกับวัตถุประสงค 2.3 ข้ันตอนการดําเนินงาน เขียนข้ันตอนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เร่ิมปฏิบัติงาน

สอนรายวิชา.... จํานวน....คาบ/ช่ัวโมง วิธีการจัดการเรียนรูเทคนิคตางๆ ท่ีนํามาใช จํานวนแผนการจัดการเรียนรูท่ีนําไปใช การสะทอนผลการจัดการเรียนรู งานพัฒนาผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมใดบาง ในระยะเวลา ท่ีดําเนินการวิธีการเตรียมและการปฏิบัติงาน เปนตน

2.4 วิธีการรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล ข้ันตอนในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลจากแบบบันทึกประจําวัน /ประจําสัปดาห /แบบบันทึกการนิเทศ/ บันทึกหลังสอนมาบรรยายเชิงพรรณนา สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล คาเฉล่ีย รอยละ

ตัวอยาง วิธีดําเนินการ 2.1 กลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย จํานวนช้ันเรียนท่ีปฏิบัติการสอนในภาคเรียนนั้น จํานวนนักเรียนแตละช้ัน มีนักเรียนเรียนรวมช้ันใด จํานวน เทาไร เพศชาย เพศหญิง ความแตกตางของผูเรียน 2.2 เคร่ืองมือท่ีใชปฎิบัติการสอน 1) เคร่ืองมือท่ีใชปฏิบัติการสอน ผูรายงานใชเคร่ืองมือดังนี ้

Page 76: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 72

1 แผนการจัดการเรียนรู จํานวน........แผน 2 แบบบันทึกประจําวนั 3 แบบบันทึกประจําสัปดาห 4 แบบบันทึกหลังการนิเทศ 2) เคร่ืองมือท่ีใชพัฒนาผูเรียน ผูรายงานใชเคร่ืองมือดังนี ้ 1. แบบบันทึกงานประจําช้ัน 2. แบบบันทึกงานลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพญ็ประโยชน 3. แบบบันทึกงานอ่ืนๆท่ีสถานศึกษามอบหมาย 2.3 ขั้นตอนการดําเนินงาน

การดําเนนิการปฏิบัติการสอนและพัฒนาผูเรียนกลุมสาระการเรียนรู.....................ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนสาธิตมหาวทิยาลัยขอนแกน ศึกษาศาสตร ผูรายงานมีวิธีดําเนนิการปฏิบัติการสอน ดังนี ้

1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับจิตวิทยาการศึกษา วิธีสอนการสอนกลุมสาระการเรียนรู........... 2. ศึกษาหลักสูตร วิเคราะหหลักสูตร และจัดหนวยการเรียนรู กําหนดการสอน

ออกแบบการจัดการเรียนรู 3. ออกแบบส่ือและจัดทําส่ือ 4. ออกแบบเคร่ืองมือประเมินผลและจัดทําเครื่องมือประเมินผล 5. เขียนแผนการจัดการเรียนรู 6. นําแผนการจดัการเรียนรูใหครูพี่เล้ียงวิชาเฉพาะตรวจความเหมาะสมของกิจกรรม 7. นําแผนการจดัการเรียนรูท่ีปรับปรุงแกไขแลวไปใชสอนจริง การปฏิบัติการสอน ผูรายงานไดดําเนินการปฏิบัติการสอนตามแผนการสอนท่ีออกแบบ

ไวทุกข้ันตอน เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีท้ังความรูความเขาใจในเนื้อหาวิชา มีทักษะ กระบวนการและเกดิคุณลักษณะอันพึงประสงคตามกลุมสาระการเรียนรู......... และตามท่ีหลักสูตรสถานศึกษากําหนด เพือ่ใหนกัเรียนไดรับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพของตน ผูรายงานไดออกแบบกจิกรรมการเรียนรูหลายรูปแบบ เชน การสอนแบบรวมมือกันเรียนรู การสอนรูปแบบซิปปา การสอนแบบสรางองคความรู โดยเลือกกจิกรรมท่ีเหมาะสมกับวยัของผูเรียน สอดคลองกับเนือ้หาและการมีสวนรวมของผูเรียน การจดัการเรียนรูมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และคานยิมอันพึงประสงคแลว ไดมีการสอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกจิกรรมการเรียนรูทุกคร้ัง ผูรายงานไดจดักิจกรรมเพ่ือใหผูเรียนเกิดการพัฒนาตามจดุประสงคท่ีกําหนด 4 ลักษณะ คือ

Page 77: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 73

1) การแลกเปล่ียนประสบการณ 2) การสรางความรูรวมกนั 3) การนําเสนอความรู 4) การประยุกตใชหรือลงมือปฏิบัติ

2) กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ผูรายงานดําเนินการพัฒนาผูเรียน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ขอนแกน ศึกษาศาสตร ผูรายงานมีวิธีดําเนินการพัฒนาผูเรียน ดังนี ้

งานประจําช้ัน เปนงานสงเสริมและพัฒนาความสามารถของผูเรียนใหเหมาะสมตามความแตกตางระหวางบุคคล สามารถคนพบและพัฒนาศักยภาพของตน เสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ การเรียนรูในเชิงพหุปญญา และการสรางสัมพันธภาพท่ีดี ซ่ึงงานนี้ผูรายงานทําหนาท่ีเปนครูประจําช้ัน...............โดยดําเนินการโฮมรูม ทุกเชา

งานกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน เปนกิจกรรมท่ีมุงปลูกฝง ระเบียบวินัย กฎเกณฑ มีจิตอาสา เพื่อการอยูรวมกันในสภาพชีวิตตาง ๆ นําไปสูพื้นฐานการทําประโยชนใหแกสังคม และวิถีชีวิตในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ซ่ึงกระบวนการจัดใหเปนไปตามขอกําหนดของคณะกรรมการลูกเสือแหงชาติ ยุวกาชาด สมาคมผูบําเพ็ญประโยชนและกรมรักษาดินแดน ซ่ึงงานน้ีผูรายงานทําหนาท่ี ครูผูฝกงานกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน สัปดาหละ.....ช่ัวโมงเปนเวลา........สัปดาห

2.4 วิธีการรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล ข้ันตอนในการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลจากแบบบันทึกประจําวัน ประจําสัปดาห แบบบันทึกการนิเทศ บันทึกหลังสอนมาบรรยายเชิงพรรณนา สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล คาเฉล่ีย รอยละ วิธีการประเมินผลการปฏิบัติการสอนและพัฒนาผู เ รียน ผูรายงานไดดําเนินการประเมินผลตามจุดประสงคสําคัญของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา คือ ดําเนินการประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียนในช้ันเรียน ซ่ึงมีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อหาคําตอบวา ผูเรียนมีความกาวหนาท้ังดานความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม และคานิยมอันพึงประสงค ท่ีเปนผลเกิดจากการจัดการเรียนรูหรือไมเพียงใด ดังนั้นการประเมินผลการปฏิบัติการสอนและพัฒนาผูเรียน จึงใชวิธีการหลายวิธีการ เนนการปฏิบัติใหสอดคลอง เหมาะสมกับวัยและกระบวนการเรียนรูของผูเรียน และกําหนดใหเหมาะสมกับสาระการเรียนรูในแตละสาระ การประเมินผลการเรียนรูไดดําเนินการควบคูไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนรูของผูเรียน โดยประเมินความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรม ประเมินผลงานผูเรียนจากโครงงานและแฟมพัฒนางาน

Page 78: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 74

การประเมินไดดําเนินการแบบมีสวนรวมท้ังนักเรียน ครู ผูปกครองของนักเรียนดวย การประเมินผลที่ใช คร้ังนี้มีดังนี้

1) วิธีการวัดและประเมินผล (1) การสังเกต (2) การตรวจผลงาน ช้ินงาน (3) การทดสอบกอนเรียน-หลังเรียน

2) เกณฑการประเมินผล เพื่อใหทราบระดับคุณภาพของพฤติกรรมท่ีตองการใหเกิดกบัผูเรียนอยางเหมาะสม ผูรายงานไดกําหนดเกณฑการผานจุดประสงคการเรียนรูทุกแผนการจัดการเรียนรู เกณฑท่ีใชในการวัดและประเมินผลไดกําหนดตามความเหมาะสมของสาระการเรียนรู ครอบคลุมพฤติกรรมตามจุดประสงคการเรียนรูท่ีกําหนดตามแผนการจดัการเรียนรูทุกแผน บทท่ี 3 ผลการดําเนินงาน

ผลการดําเนินการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน รายงานใหสอดคลองกับวัตถุประสงคโดยจัดทําเปนตารางวิเคราะหขอมูล รูปภาพ หรือกระบวนการการพัฒนาการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน ตองคํานึงถึง

1. นําเสนอผลการดําเนินการ เรียงลําดับตามวัตถุประสงคของการศึกษา 2. นําเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ถารวมเปนตารางเดียวกันได ควรจะรวมกันเปนตาราง

เดียว เพื่อใหเกิดความกระชับในการเสนอขอมูล แลวใสช่ือตารางไวหัวของตาราง หรืออาจจะนําเสนอขอมูลท่ีได เปนรูปกราฟ แทนตารางก็ได

3. ใตตารางทุกตาราง หรือใตกราฟทุกชุด ควรแปลผลจากตัวเลขเปนคําบรรยายดวย โดยแปลผลเฉพาะประเด็นท่ีสําคัญ โดยมากมักจะแปลผลภาพรวม คาขอมูลสูงสุด และรองลงมา รวมเปน 3 ลําดับ หรือขอคนพบท่ีเดน ๆ และใหแปลผลตามขอเท็จจริงที่คนพบได หามใสความคิดเห็นของผูเขียนลงไป ตัวอยางรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน

ตัวอยาง 1) ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูกลุมสาระการเรียน....................................................

1.1 การจัดกจิกรรมการเรียนรูกลุมสาระ ........ ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 ผูรายงานจัดทําแผนการจัดการเรียนรู จํานวน......แผน เปนแผนการจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ แผนท่ี 1-3 ใชกิจกรรมแบบรวมมือกันเรียนรู แผนท่ี 4-8 ใชกิจกรรมการเรียนรูแบบซิบปา

Page 79: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 75

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 9-14 ใชรูปแบบการเรียนรูแบบสรางองคความรู แผนการจัดการเรียนรูท่ี 15-20 ใชกจิกรรมการเรียนรูแบบ 4MAT

ผลพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสรางและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพ ผูรายงานไดนําแผนการจัดการเรียนรูจํานวน ..... สัปดาห ใหครูพี่เล้ียงสาชาวิชาเฉพาะใหคําแนะนํา พบวาแผนการจัดการเรียนรูสัปดาหท่ี 1 ครูพี่เล้ียงสาขาวิชาเฉพาะไดใหคําแนะนําเกี่ยวกับการกําหนดภาระงานใหผูเรียนไดปฏิบัติ ยังไมครอบคลุมจุดประสงคการเรียนรู ใหเพิ่มกิจกรรมท่ีเปนการแขงขันกันตอบปญหา และการประเมินผลงานของเพื่อน ผูรายงานจึงไดนําขอเสนอแนะจาก ท่ีครูพี่เล้ียงประจําสาชาวิชาเฉพาะมาปรับปรุง และทําแผนการจัดการเรียนรูท่ีปรับปรุงแลวไปใหครูพี่เล้ียงประจําสาชาวิชาเฉพาะไดตรวจสอบและใหคําแนะนําพบวามีการแกไขเล็กนอย และนํามาปรับปรุงจนสามารถนําไปใชในการจัดการเรียนรูได แผนการจัดการเรียนรูสัปดาหท่ี 2 และ3 ครูพี่เล้ียงสาขาวิชาเฉพาะไดใหคําแนะนําเกี่ยวกับการแบงกลุม กลุมละ 7 คน ใหผูเรียนปฏิบัติงานกลุมมีขนาดใหญเกินไปแนะนําใหกลุม กลุมละ 5 คน การสรุปองคความรูในข้ันสรุปควรใหผู เ รียนสรุปเปนรายบุคคล ผูรายงานจึงไดนําขอเสนอแนะจาก ท่ีครูพี่เล้ียงสาชาวิชาเฉพาะมาปรับปรุง และทําแผนการจัดการเรียนรูท่ีปรับปรุงแลวไปใหครูพี่เล้ียงสาชาวิชาเฉพาะไดตรวจสอบและนําไปใชในการจัดการเรียนรู (เขียนสังเคราะหขอมูลจากบันทึกประจําวัน บันทึกประจําสัปดาห และบันทึกหลังรับการนิเทศ จนครบสัปดาหท่ีปฏิบัติการสอน) 1.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใหผูเรียนมีความรู ดานทักษะกระบวนการ แยกตามหนวยการเรียนรูดังนี้ หนวยท่ี 5 ชุมชนคนขอนแกน จํานวน 4 แผน ตารางท่ี ... แสดงคารอยละของจํานวน นักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหนวยการเรียนรูท่ี 5 จําแนกตามระดับคุณภาพ และรอยละของจํานวนนักเรียนท่ีไดระดับดี เทียบกับเกณฑ ระดับคุณภาพ รอยละ รอยละของ จํานวนนักเรียนท่ีไดระดับด ี

เกณฑกําหนด ผลการประเมิน ดีมาก 4.16

80

81.96 ดี 50.00 พอใช 27.09

ปรับปรุง 18.75

Page 80: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 76

จากตาราง ... จํานวนนักเรียนรอยละ 81.96 มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หนวยการเรียนท่ี 5 อยูระดับดี เทียบกับเกณฑท่ีกําหนดไวรอยละ 80 พบวา สูงกวาเกณฑ (เขียนจนครบสัปดาหท่ีสอน)

2) ผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ผูรายงาน จัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามคําแนะนําของครูพี่เล้ียงงานประจําช้ัน และครูพี่

เล้ียงงานกิจกรรมนักเรียน ลักษณะของกิจกรรมเปนการบูรณาการองคความรูตางๆ ท่ีเกื้อกูลสงเสริมการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูใหมีความกวางขวางลึกซ้ึงยิ่งข้ึน ผูเรียนไดคนพบและใชศักยภาพที่มีในตนอยางเต็มท่ี เลือก ตัดสินใจ ไดอยางมีเหตุผลเหมาะสมกับตนเอง เนนการเสริมสรางทักษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม และจริยธรรม รูจักสรางสัมพันธภาพท่ีดีเพื่อปรับตัวเขากับบุคคลและสถานการณตางๆ และมีความสุข เชน กิจกรรมการสรางเสริมความรูสึกรักและเห็นคุณคาในตนเอง กิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ ศีลธรรม และจริยธรรม กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต เปนตน กิจกรรมเหลานี้สามารถหลอมเขาไปในการจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชนในลักษณะของการเขาคายตางๆ หรืออาจแยกจัดเปนกิจกรรมเฉพาะทางได เชน จัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน โดยมุงเปนการฝกระเบียบวินัย การอยูรวมกันอยางมีความสุข กิจกรรมชมรมวิชาการ มุงเนน ประสบการณความชํานาญเฉพาะเร่ืองท่ีถนัดและสนใจจากการเรียนรูกลุมสาระตาง ๆ ชุมนุมตาง ๆ เพื่อการรวมกับคิดคนกิจกรรมที่สรางสรรคกอใหเกิดความสนุก ความสุข และพัฒนาทักษะทางสังคม ซ่ึงงานนี้ผูรายงานทําหนาท่ี ครูพี่เล้ียงผูฝกงานกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบําเพ็ญประโยชน สัปดาหละ.....ช่ัวโมงเปนเวลา........สัปดาห (แทรกภาพถายประกอบการจัดกิจกรรม และเขียนบรรยายตามภาพกิจกรรม)

บทท่ี 4 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 4.1 สรุปผลการเรียนรูของนักศึกษาในประเด็นตอไปนี้(การจัดการเรียนรูสาขาวิชาเฉพาะและพัฒนาผูเรียนและงานอ่ืนๆ)

4.1.1 วัตถุประสงค 4.1.2 กลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย (กลุมผูเรียนท่ีจะพัฒนา ) 4.1.3 วิธีการพัฒนานวัตกรรม ข้ันตอนการนํานวัตกรรมไปพัฒนาผูเรียน(ถามี) 4.1.4 เคร่ืองมือท่ีใชในการพัฒนา

4.1.5 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล(บอกแตช่ือ ไมตองบอกสูตร) 4.1.6 ผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน

Page 81: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 77

4.2 อภิปรายผลจากผลที่ไดจากการศึกษาโดยใชแนวคิดทฤษฎีมาอางอิง 4.3 ขอเสนอแนะ ตัวอยาง อภิปรายผล จากสรุปผลการปฏิบัติการสอน ตามกิจกรรมการเรียนรูท่ีกําหนดในแผนปฏิบัติตลอด 14 สัปดาห ตามวัตถุประสงคท้ัง 3 ดาน คือ ดานความรูความเขาใจในเนื้อหาวิชาเฉพาะ ดานทักษะกระบวนการ และดานคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยรวมทุกดานอยูในระดับดี (ปานกลาง ,ดี , ดีมาก) ผูเรียนในความรับผิดชอบสามารถพัฒนาตนเองไดตามระดับคุณภาพท่ีกําหนดทุกคน ท้ังนี้อาจเปนเพราะการจัดกิจกรรมการเรียนการรูมีการดําเนินการอยางเปนระบบตามหลักวิชาการ คือ 1. มีการเตรียมการกอนดําเนินการสอนอยางดี ผูรายงานไดวิเคราะหเด็กรายบุคคลเพ่ือทราบความสําเร็จ ความตองการ จุดเดน จุดดอย ท้ังดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคมและสติปญญา วิเคราะหวิธีการเรียนรูท่ีนักเรียนชอบ นําขอมูลท่ีไดมาใชในการออกแบบการเรียนรู 2. การออกแบบการเรียนรู การออกแบบการเรียนรูไดดําเนินการตามหลักวิชาการตามท่ีผูเช่ียวชาญใหการแนะนําทุกข้ันตอน คือ ไดวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู วิเคราะหคําอธิบายรายวิชา จัดทําหนวยการเรียนรู จัดทํากําหนดการสอน/หนวยการเรียนรู ออกแบบการจัดการเรียนรู เขียนแผนการจัดการเรียนรู โดยมีครูพี่เล้ียงประจําสาขาวิชาเฉพาะตรวจและประเมินความถูกตองสมบูรณ ใหขอเสนอแนะ ซ่ึงผูรายงานไดนํามาปรับปรุงแกไขกอนนําไปดําเนินการสอน 3. การพัฒนาผูเรียน ไดจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามคําแนะนําของครูพี่เล้ียงงานประจําช้ัน และครูพี่เล้ียงงานกิจกรรมนักเรียน ทุกข้ันตอน มีการนําส่ือ นวัตกรรม มาใชกิจกรรมท้ังในหองเรียน นอกหองเรียนตลอดจนแหลงเรียนรูตาง ๆ มาประกอบการพัฒนาผูเรียน เชน งานบําเพ็ญประโยชน จิตอาสา โดยจัดกิจกรรมพัฒนาผู เ รียนใหไดพัฒนาทั้งดานความรูความเขาใจ คุณลักษณะอันพึงประสงค ทักษะกระบวนการ ตามท่ีหลักสูตรกําหนด ในการจัดกิจกรรมทุกคร้ังไดมีการประเมินผลเพื่อทราบผลการพัฒนา และนําผลการพัฒนาไปปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่อง

Page 82: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 78

บรรณานุกรม เชน ฝายวิชาการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ศึกษาศาสตรระดับมัธยมศึกษา.(2553).หลักสูตร

สถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกน ศึกษาศาสตรระดับมัธยมศึกษา เอกสารถายสําเนา

ลัดดา ศิลานอย และคณะ.(2554). การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ยกระดับวิชาชีพครูสังคมศึกษาดวยงานวิจัย “เอกสารประกอบการประชุมวันท่ี 14-15 มีนาคม 2554 คณะศึกษาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

ศูนยประสบการวิชาชีพครู.(2553). คูมือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา.2550. คูมือการดําเนินงานรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อประกอบวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: มปพ.

การเขียนรายงาน http://www.ednan1.go.th/ednan1/person1551/ks3/501.ppt (เขาถึงเม่ือ 11 มีนาคม 2554)

การเขียนรายงาน http://www.onklang.net/report1.doc (เขาถึงเม่ือ 11 มีนาคม 2554) การเขียนรายงาน http://www.thaiwebkit.com/tha (เขาถึงเม่ือ 11 มีนาคม 2554) ภาคผนวก (ถามี เชนตัวอยางแผนการจัดการเรียนรู เคร่ืองมือตางๆ )

ตัวอยางภาคผนวก ผ.1 แผนการจัดการเรียนรู เปนตัวอยาง 1-2 แผน ซ่ึงเปนแผนท่ีผานการใชมี

รองรอยของครูพี่เล้ียงแนะนําแกไข พรอมใบความรู ใบงาน และผลงานของนักเรียนท่ีจัดทําสงในรายวิชาท่ีนักศึกษาทําการสอนหรือภาพถายผลงานของนักเรียนในกรณีท่ีเปนช้ินงานและอางอิงใหทราบ ช่ือสถานศึกษา ระดับช้ัน ช่ือรายวิชา ช่ือนักศึกษาผูปฎิบัติการสอน ไมนอยกวา 2 ช้ินงาน

ผ.2 ภาพถาย ใหจัดหมวดหมูตามลักษณะงาน และบรรยายเหตุการณ เชน ภาพบรรยากาศการสอน การใชส่ือการสอน การวัดผลประเมินผล ภาพกิจกรรมท่ีเขารวมในโอกาสตาง ๆ ประมาณ 8-10 ภาพ

ผ.3 ตารางสอน ท่ีไดรับมอบหมายรายวิชาหรือภาระงานสอนท้ังหมด ผ.4 คําส่ังของสถานศึกษาท่ีใหนักศึกษาปฏิบัติงานพิเศษหรือปฏิบัติงานอ่ืน ๆ

นอกเหนือจากการสอน หากคําส่ังมีปริมาณมากใหถายสําเนาเฉพาะหนาแรก หนาท่ีปรากฏช่ือนักศึกษาและหนาสุดทาย ตอคําส่ังได

Page 83: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 79

ตัวอยางปกนอก

รายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4

นายณเดช มิยาสมบูรณ

การวิจัยนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษาวิชาการปฏิบติัการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

พ.ศ. 2554

Page 84: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 80

ตัวอยางปกใน

รายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4

นายณเดช มิยาสมบูรณ

การวิจัยนี้เปนสวนหน่ึงของการศึกษาวิชาการปฏิบติัการสอนในสถานศึกษา 1 และ 2 คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

Page 85: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 81

คํานํา

รายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4 เปนสวนหนึ่งของวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 เปนการจัดทําเพื่อรายงานผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 ซ่ึงผูรายงานไดเร่ิมปฏิบัติการสอน ต้ังแตวันท่ี 9 พฤษภาคม 2554 ถึงวันท่ี 4 ตุลาคม 2554 ในการปฏิบัติการสอน ผูรายงานสอนกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 4/1 ถึง 4/4 สัปดาหละ 8 ช่ัวโมง และปฏิบัติงานประจําช้ัน มัธยมศึกษาปท่ี 4/1 งานกิจกรรมนักเรียน สัปดาหละ 1 ช่ัวโมง รวมจํานวน 4 สัปดาห งานพัฒนาผูเรียน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ทหารรักษาดินแดน สัปดาหละ 1 ช่ัวโมง รวม จํานวน 4 ช่ัวโมง (งานอ่ืนๆท่ีทางโรงเรียนมอบหมายใหดําเนินการ)

ขอขอบคุณสถานศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ผูประสานงานประจําสถานศึกษา และครูพี่เล้ียง ท่ีไดทุมเทเอาใจใส ชวยเหลือดูแลการปฏิบัติการสอนเปนอยางดียิ่ง

ผูรายงานคาดวารายงานเลมนี้จะเปนประโยชน สําหรับนักศึกษา บุคลากรที่เกี่ยวของ ใชเปนแนวทางในการดําเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียนของนักศึกษา เพื่อใหการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเปนไปดวยความเรียบรอย บรรลุผลตามเจตนารมณของหลักสูตรวิชานี้ หากมีขอบกพรองผูรายงานขอนอมรับคําแนะนําดวยความยินดียิ่ง

นายณเดช มิยาสมบูรณ ตุลาคม 2554

Page 86: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 82

สารบัญ

หนา คํานํา สารบัญ บทท่ี 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาของการจัดทํารายงาน 1.2 บริบทของสถานศึกษา 1.3 วัตถุประสงคของรายงาน 1.4 ประโยชนท่ีคาดวาไดรับ บทท่ี 2 วิธีดําเนินการ 2.1 กลุมตัวอยาง/กลุมเปาหมาย

2.2 เคร่ืองมือท่ีใช 2.3 ข้ันตอนการดําเนินการ

2.4 วิธีการเก็บรวบรวมและการวิเคราะหขอมูล บทท่ี 3 ผลการพัฒนาการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน 3.1 ผลการพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู 3.2 ผลการพัฒนาผูเรียน บทท่ี 4 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 4.1 สรุปผลการเรียนรูของนักศึกษาดานการจัดกิจกรรมการเรียนรูและการพัฒนาผูเรียน 4.2 อภิปรายผล 4.3 ขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

Page 87: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 83

แบบตรวจใหคะแนนรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน ชื่อ-สกุล นักศึกษา........................................... รหัสนักศึกษา......................สถานศึกษา................ ผูประเมิน....................................................................................................................................... คําสั่ง โปรด รอบหมายเลขระดับคุณภาพท่ีกําหนดให

องคประกอบ ระดับคุณภาพ คําอธิบายคณุภาพ 1. ที่มาและบริบทของสถานศึกษา 1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา 1.2 บริบทของสถานศึกษา

3 มีองคประกอบครบถวน รายละเอยีดสอดคลองไมตองปรับแกไข

2 มีองคประกอบครบถวน แตที่มาและความสําคัญของปญหาไมสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา

1 องคประกอบไมครบถวน

2. วัตถุประสงค 2.1 สอดคลองกับทีม่าและความสําคัญของปญหา 2.2 ครอบคลุมการจัดทํารายงาน

3 สอดคลองกับที่มาและความสําคัญของปญหา และครอบคลุมการจัดทํารายงาน

2 สอดคลองกับที่มาและความสําคัญของปญหาแตยังไมครอบคลุมการจัดทํารายงาน

1 ไมสอดคลองกับทีม่าและความสําคัญของปญหา

3. ประโยชนจากการศึกษา 3 ประโยชนที่เกิดกับผูเรียน รายบุคคลและท้ังช้ันเรียน

2 ประโยชนที่เกิดกับผูเรียน รายบุคคล

1 ประโยชนไมสอดคลองกับการจัดทํารายงาน

4. วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล 3 ใชวิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล สอดคลองกับวตัถุประสงคของการจัดทํารายงาน

2 ใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล สอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดทํารายงาน แควิเคราะหขอมูลไมสอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดทํารายงาน

1 ใชวิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล ไมสอดคลองกับวัตถุประสงคของการจัดทํารายงาน

5. เคร่ืองมือที่ใช (เชน แบบสังเกต แบบบันทึก แบบสัมภาษณ แบบประเมิน)

3 ใชเคร่ืองมือสอดคลองกับวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

2 ใชเคร่ืองมือยังไมสอดคลองกับวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

1 ขาดเคร่ืองมือสอดคลองกับวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล

6. ผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียน (สืบเนื่องจากขอ 2)

3 นําเสนอรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียนไดครบถวนถูกตองท้ัง 2 ประเด็น

2 นําเสนอรายงานผลการจัดการเรียนรูและพัฒนาผูเรียนไดไมครอบคลุมท้ัง 2 ประเด็น

1 ขาดการนําเสนอรายงานท่ีเปนรูปแบบ

7. รูปเลมรายงานครบองคประกอบ (คํานํา สารบัญ เนื้อหา บรรณานุกรมฯลฯ)

3 รูปเลมรายงานครบองคประกอบ (คํานํา สารบัญ เนื้อหาท้ัง 4 บท บรรณานุกรมฯลฯ)และสงทันเวลาที่กําหนด

2 รูปเลมรายงานไมครบครบองคประกอบ (คํานํา สารบัญ เนื้อหา บรรณานุกรมฯลฯ)

1 ขาดองคประกอบของรายงานไมครบทุกดาน

รวมคะแนน (21 คะแนน)

ลงช่ือ…………………………………………………

Page 88: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 84

แบบประเมินท่ี 1 การปฏิบัติการจัดการเรียนรูในชั้นเรียน

ช่ือนักศึกษา..................................................................................................สาขา................................................................ ช่ือสถานศึกษา................................................................ ระดับช้ัน..........................วันเดือนป ........................................... ช่ือผูประเมิน ................................................................. อาจารยนิเทศกสาขาวิชาเฉพาะ ครูพ่ีเล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ

คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน ดีมาก ด ี พอใช ปรับปรุง

ดานการเตรียมการจัดการเรียนรู 1. นําเสนอหนวยการเรียนรูที่มีองคประกอบและคุณภาพถูกตอง 2. นําเสนอแผนการจัดเรียนรูกอนสอนมากกวา 3 วัน แผนครบถวนทั้งดานองคประกอบ กระบวนการจัดการเรียนรู และมีคุณภาพเชิงสรางสรรค

3. มีความรูและความแมนยําในสาระวิชาที่สอน เลือกวิธีการสอน และเทคนิคที่สรางสรรค 4. มีสื่อการเรียนรูที่สราง ผลิต พัฒนาดวยตนเอง เหมาะสมกับกิจกรรม และมีลักษณะสรางสรรค

ดานการจัดการเรียนรู 5. มีกิจกรรม/กระบวนการเตรียมความพรอมของนักเรียนที่สอดคลองและเช่ือมโยงกับบทเรียน 6. ดําเนินการสอนตามแผนไดครบถวน เปนลําดับขั้นตามแผนที่วางไวไดอยางตอเน่ือง 7. มีการใชสื่อประกอบการสอนตามที่ระบุในแผนการจัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ 8. มีการจัดกิจกรรมท่ีชวยใหนักเรียนสรปุและสรางองคความรูไดดวยตนเอง 9. สามารถควบคุมดูแลช้ันเรียนได และมีเทคนิควิธีในการควบคุมช้ันเรียนที่เหมาะสม 10. มีกิจกรรม/ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู สอดคลองกับแผนการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม

11. มีปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูสอนกับนักเรียนและทําใหเกิดการเรียนรู 12. มีความมั่นคงทางอารมณ และแกปญหาไดอยางเหมาะสม 13. วิเคราะหการจัดการเรียนรูของตนเอง ระบุประเด็นเพ่ือการพัฒนา และสามารถเสนอแนวทางการพัฒนาได (ประเมินหลังการนิเทศ)

ดานบุคลิกภาพ 14. มีการใชภาษาสื่อสาร การจัดลําดับขอมูลตอเน่ือง มีการสื่อสารสองทาง ใชระดับเสียงที่เหมาะสมและภาษาสุภาพ และสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ

15. แตงกายตามระเบียบ สะอาดเรียบรอย เหมาะสมกับวิชาชีพครู ลงช่ือ.................................................................... ผูประเมิน

สําหรับศูนยประสบการณวิชาชพีครู

Page 89: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 85

แบบประเมินท่ี 2 การปฏิบัติงานประจําชัน้ ช่ือนักศึกษา................................................... .................................................. .สาขา............................................... ช่ือสถานศึกษา.......................................................... กลุมสาระการเรียนรู..................................................................... ระดับช้ัน...................... วันเดือนป......................................................................................................................... ช่ือผูประเมิน............................................................ คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน

ดี (3) พอใช(2) ปรับปรุง(1)

การเตรียมความพรอมและปฏิบัติงาน

1.รับขอมูลและปรึกษาครูพ่ีเล้ียงลวงหนา

2 วางแผน เลือกเรื่องและการออกแบบกิจกรรมเตรียมสื่อและอุปกรณ

ผลการปฏิบัติงาน 1.ปฏิบัติงานตรงเวลาที่นัดหมาย 2.ดูแลจัดระเบียบนักเรียนระหวางเขาแถว 3.มีสาระสําคัญสอดคลองกับช่ือเรื่องและจุดประสงค 4.มีลําดับขั้นการดําเนินกิจกรรมไดกระชับ นาสนใจ 5.มีสื่อและใชสื่ออยางคุมคา 6.ใชเสียงและกิริยาทาทางเหมาะสมกับความเปนครู 7. ใหคําปรึกษากิจกรรมตางๆแกนักเรียน 8. สะทอนผลหลังการจัดกิจกรรมโฮมรูม/ปายนิเทศในช้ันเรียน

รวม

รวมท้ังหมด

*หมายเหตุ ประเมิน เดือนละ 1 ครั้ง สงผลการประเมินที่ผูประสานงานประจําสถานศึกษา รวมท้ังสิ้น 4 ครั้ง

ลงช่ือ........................................................................ ผูประเมิน

สําหรับศูนยประสบการณวิชาชพีครู

Page 90: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 86

แบบประเมินท่ี 3 การปฏิบัติงานกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับงานวิชาการในสถานศึกษา

ชื่อนักศึกษา.......................................................................................................... สาขา................................................. ชื่อสถานศึกษา................................................................................................... ระดับชั้น.............................................. ผูประเมิน......................................................... ครูพ่ีเล้ียงสาขาวิชาเฉพาะ ครูพ่ีเล้ียงประจําช้ัน อื่นๆ (ระบุ) ...................................................

งานกิจการนักเรียน ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

งานพัฒนาผูเรียน ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

งานโครงงานทางวิชาการ ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

งานอ่ืนๆ ระบุ........................ ชื่อผูประเมิน...................................................วันเดือนป.................................

คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน (ประเมินแตละงานใชแบบประเมินงานละ 1 แผน)

เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน

ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1)

การเตรียมความพรอมและการปฏิบัติงาน 1.รับขอมูลและปรึกษาผูมอบหมายงานลวงหนา 2.วางแผน ออกแบบและการเตรียมสื่อและวัสดุอุปกรณ 3.ทุมเทในการปฏิบัติงาน 4.มีการประสานงานเพ่ือใหงานสําเร็จ

ผลงานท่ีปฏิบัติ 1.ปฏิบัติงานตรงเวลาที่นัดหมาย 2.ผลงานครบถวนตามท่ีกําหนด 3.คุณภาพของผลงานสอดคลองกับวัตถุประสงค 4.ใชวัสดุอุปกรณเหมาะสม ประหยัดและคุมคา 5.การติดตามดูแลและการจัดเก็บไดเรียบรอย 6.สะทอนผลการดําเนินงานอยางเปนระบบ

รวม รวมท้ังหมด

*หมายเหตุ ประเมินงานละ 1 ครั้ง/เดือน สงผลการประเมินที่ผูประสานงานประจําสถานศึกษา รวมท้ังสิ้น 4 งาน

ลงช่ือ...................................................................... ผูประเมิน

สําหรับศูนยประสบการณวิชาชพีครู

Page 91: คู่มือการปฏิบ ัติการสอนในสถานศึกษา · สารบัญ หน า ความนํา: ความเป นมาและความส

คูมือวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รหัสวิชา ๒๓๐ ๕๓๑ และ ๒๓๐ ๕๓๒ 87

แบบประเมินท่ี 4 คุณลักษณะความเปนครู ชื่อนักศึกษา........................................................................................สาขา......................................................................... ชื่อสถานศึกษา.................................................................................กลุมสาระการเรียนรู.................................................... ระดับชั้น................................วันเดือนป........................................................ ผูประเมิน................................................. ครูพ่ีเล้ียงประจําวิชา ครูพ่ีเล้ียงประจําช้ัน อื่นๆ(ระบุ)..........................................

คําชี้แจง โปรดประเมินโดยการทําเคร่ืองหมาย √ ลงในชองผลการประเมิน เกณฑการประเมิน 3 = ดี 2= พอใช 1= ปรับปรุง

รายการท่ีประเมิน ผลการประเมิน

ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง(1) 1. เตรียมการสอนอยางเปนระบบ จัดทําลวงหนา มีความตอเนื่องสม่ําเสมอ 2. จัดหองเรียนใหเอื้อตอการเรียนรู เปนระเบียบ เหมาะสมกับการเรียนรูของนักเรียน 3. เลือกใช สราง ปรับปรุงนวัตกรรม แสวงหา พัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่ดี 4. จัดทํา จัดหา พัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพ จัดเก็บและรักษาส่ือและแหลงการเรียนรูใหพรอมใชเสมอ 5. ตรวจงาน/สะทอนผลการเรียน วิเคราะหผูเรียน / ปญหา และหาทางแกไขไดเหมาะสมตามควรแกกรณี 6. มีบันทึกการสะทอนผลการเรียนและการพัฒนาผูเรียนและรายงานไดอยางมีระบบ 7. มีอัธยาศัยไมตรี มนุษยสัมพันธที่ดี กับบุคคลในสถานศึกษาและบุคคลท่ัวไป 8. รัก เมตตา ปรารถนาดี เอาใจใสดูแล แนะนํา อบรมนักเรียนตามควรแกกรณี 9.มาปฏิบัติงานแตเชาและกลับหลังเวลา รวมท้ังไมขาด ลา สาย โดยไมมีเหตุผลอันควร 10. มีวินัยในตนเอง พัฒนาตนดานบุคลิกภาพ วิสัยทัศนและวิชาชีพ 11. รับผิดชอบปฏิบัติงานในหนาท่ีและรวมมือกับบุคลากรในสถานศึกษาไดอยางเหมาะสม 12. ปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีขององคกร รวมกิจกรรม ในฐานะครูคนหนึ่งของสถานศึกษา 13. เขารวม/ จัดสถานการณ โครงการ ฯลฯ เพื่อสรางโอกาสการเรียนรูแกผูเรียนไดอยางเหมาะสม 14. ติดตาม /ใช / เผยแพรขอมูลขาวสารเพ่ือประโยชนในการพัฒนาตนและพัฒนางานในหนาท่ีเสมอ 15. เปนแบบอยางท่ีดีในการรักษาวัฒนธรรมไทยและนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชีวิต 16. ปฏิบัติตนเปนผูนําดานการอนุรักษธรรมชาติและการรักษาส่ิงแวดลอมและผลประโยชนของสวนรวม 17. ยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 18. แตงกายถูกตองตามระเบียบ เหมาะสม สะอาดและสุภาพเรียบรอย 19. มีบุคลิกภาพ กิริยามารยาทและการแสดงออกอยางเหมาะสมกับสถานภาพความเปนครู 20.ใชภาษาเหมาะสมกับกาล เทศะ บุคคล และเปาหมายของการส่ือสาร

รวม รวมท้ังหมด

*หมายเหตุ ประเมิน เดือนละ 1 คร้ัง สงผลการประเมินที่ผูประสานงานประจําสถานศึกษา รวมท้ังส้ิน 4 คร้ัง

ลงช่ือ...................................................................... ผูประเมิน

สําหรับศูนยประสบการณวิชาชพีครู