45
ST1B-1-1: Historical Background of Pulp and Paper Production and Utilization in Thailand ประวัติ ความเปนมาของการผลิตและการใชกระดาษในประเทศไทย สงคราม ธรรมมิญช 1 , สันติ สุขสอาด 1 , มะลิวัลย ธนะสมบัติ 2 , สาวิตรี พิสุทธิพิเชษฐ 3 และกรพินธุ ฤทธิบุตร 2 ABSTRACT “Ancient books”, evidences of language and literature made by hand are categorized into three types: inscription type, talipot palm leaf type, and paper type. Inscription type of ancient book, letters were normally inscribed on stones, woods, and various kinds of metal in different shapes and sizes. Mostly, inscribed stories were related to Buddhism activities, national history, community leaders and municipal laws. The first stone inscription made in 1292 A.D. in the reign of King Ram Kamhang of Sukhothai is the oldest Thai inscription founded. For talipot palm leaf type of ancient book, letters were writen on the leaves of talipot palm (Corypha umbraculifera). These type of books are beautiful, durable, and mobile. Inscribed stories were mostly related to religion and scriptures. Therefore, these books were usually called “Talipot Palm Leaf Scriptures” (Kampee Bai Lan). The oldest Talipot Palm Leaf Scripture, “Thingsanibatkusarach Chadok”, was made in 1471 A.D. Thai people began writing on papers since Ayudhaya Era. The three most well known types of papers that still being used are Saa paper, Khoi paper and Printing-Writing paper. Khoi paper is made from barks of Khoi (Streblus asper) which are usually found in the forests or river side in central region. Khoi paper is easy to mark. It is usually made into long pieces, fold back and forth, called “Khoi book”. The oldest Khoi book, Krung Sri Ayudhaya chronicle, was made in 1680 A.D. 1 ภาควิชาการจัดการปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ 10900 2 สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ 10900 3 ภาควิชาวนผลิตภัณฑ คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ 10900

ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

ST1B-1-1: Historical Background of Pulp and Paper Production and Utilization inThailand

ประวัติ ความเปนมาของการผลิตและการใชกระดาษในประเทศไทย

สงคราม ธรรมมิญช1, สันติ สุขสอาด1, มะลิวัลย ธนะสมบัติ2, สาวิตรี พิสุทธิพิเชษฐ3 และกรพินธุ ฤทธิบุตร2

ABSTRACT“Ancient books”, evidences of language and literature made by hand are categorized into

three types: inscription type, talipot palm leaf type, and paper type.Inscription type of ancient book, letters were normally inscribed on stones, woods, and

various kinds of metal in different shapes and sizes. Mostly, inscribed stories were related toBuddhism activities, national history, community leaders and municipal laws. The first stoneinscription made in 1292 A.D. in the reign of King Ram Kamhang of Sukhothai is the oldest Thaiinscription founded.

For talipot palm leaf type of ancient book, letters were writen on the leaves of talipot palm(Corypha umbraculifera). These type of books are beautiful, durable, and mobile. Inscribed storieswere mostly related to religion and scriptures. Therefore, these books were usually called “TalipotPalm Leaf Scriptures” (Kampee Bai Lan). The oldest Talipot Palm Leaf Scripture,“Thingsanibatkusarach Chadok”, was made in 1471 A.D.

Thai people began writing on papers since Ayudhaya Era. The three most well known typesof papers that still being used are Saa paper, Khoi paper and Printing-Writing paper. Khoi paper ismade from barks of Khoi (Streblus asper) which are usually found in the forests or river side incentral region. Khoi paper is easy to mark. It is usually made into long pieces, fold back and forth,called “Khoi book”. The oldest Khoi book, Krung Sri Ayudhaya chronicle, was made in 1680 A.D. 1ภาควิชาการจัดการปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ 109002สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพฯ 109003ภาควิชาวนผลิตภัณฑ คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ 10900

Page 2: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

204

Saa paper is made from barks of Paper mulberry (Broussonetia papyrifera), usually found inthe northern region. Saa paper is still being made because its fibers are tough, strong, durable andbeautiful. The raw materials are also easy to find.

Printing-writing paper were firstly used to print Thai literature in the reign of King Rama theFifth. The first printing house which published literatures and books was Doctor Bradley’s printinghouse. There were 52 paper mills in 1995, however the demand for paper still could not be met. Largeamount of pulp and paper have to be imported every year.

Presently, demand for paper is very high. The paper consumption per capita is 47.5kg/person/yr. for Thai , 247 kg/person/yr. for Japanese and 332 kg/person/yr. for American.

Paper consumption in Thailand keeps increasing. Therefore, to be self-sufficient and reducingpulp and paper import require promotion of paper production. Specifically, raw material productionhas to be increased.

บทคัดยอ“หนังสือโบราณ” เปนหลักฐานที่เปนภาษาและตัวหนังสือซึ่งสําเร็จดวยหัตถกรรม แบงออก

เปน 3 ประเภท ไดแก ประเภทจารึก ประเภทใบลาน และประเภทกระดาษหนังสือโบราณประเภทจารึก จะใชเหล็กแหลมเจาะสกัดหรือขีดเขียนรูปลายเปนอักษรใหเปน

รอยลึกลงไปในเนื้อสมุดท่ีรองรับ นิยมจารึกบนศิลา แผนไม และแผนโลหะตางๆ มีรูปรางและขนาดตางๆ กัน เรื่องราวที่ปรากฏสวนใหญเกี่ยวกับกิจการในพระพุทธศาสนา ประวัติศาสตรของชาติหรือผูนําของชุมชนหรือกฎระเบียบ จารึกของไทยที่เกาแกท่ีสุดสรางขึ้นประมาณป พ.ศ. 1835 ไดแกศิลาจารึกหลักท่ี 1 สมัยพอขุนรามคําแหง

หนังสือโบราณประเภทใบลาน เปนการจารลายลักษณอักษรลงบนใบของตนลาน (Corepha umbraculifera) ซึ่งหนังสือใบลานมีความสวยงาม ทนทาน พกพาสะดวก เรื่องราวที่นํามาจารสวนใหญเปนเรื่องทางศาสนา พระคัมภีรตางๆ จึงนิยมเรียกหนังสือใบลานวา “คัมภีรใบลาน” คัมภีรใบลานที่เกาแกท่ีสุด ไดแก คัมภีรเรื่อง “ติงสนิบาตกุสราชชาดก” สรางขึ้นในป พ.ศ. 2014

หนังสือโบราณประเภทกระดาษ คนไทยใชกระดาษเขียนหนังสือมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยการทํากระดาษที่รูจักทั่วไป นิยมใชแตโบราณจนถึงปจจุบันมี 3 ชนิด คือ กระดาษขอย กระดาษสา และกระดาษฝรั่งหรือกระดาษพิมพ-เขียนในปจจุบัน กระดาษขอยทําจากเปลือกของตนขอย (Streblus

Page 3: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

205

asper) เปนไมยืนตนพบมากแถบภาคกลางตามปาและริมแมน้ํา การทํากระดาษมีวิธีงายๆ ไมซับซอน นิยมทําเปนแผนยาวๆ แลวนํามาพับกลับไปกลับมา เรียกวา “สมุดขอย” มีหลายขนาดขึ้นอยูกับการใชประโยชน สมุดขอยฉบับที่เกาแกท่ีสุดคือหนังสือพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์สรางขึ้นในป พ.ศ. 2223

กระดาษสา ทําจากเปลือกของตนปอสา (Broussonetia papyrifera) เปนไมยืนตนขนาดกลางพบมากในพื้นที่ภาคเหนือ กระดาษสายังคงมีการผลิตมาจนถึงทุกวันนี้ เนื่องจากลักษณะพิเศษที่เสนใยมีความเหนียว แข็งแรง ทนทาน สวยงาม และวัตถุดิบยังหาไดงายอยู

กระดาษฝรั่งหรือกระดาษพิมพเขียนโดยเริ่มนํากระดาษฝรั่งมาพิมพวรรณคดีไทยในสมัยรัชกาลท่ี 5 โรงพิมพแหงแรกที่พิมพวรรณคดีและหนังสือตางๆ ออกจําหนายคือโรงพิมพของหมอบรัดเล ชวงสงครามโลกครั้งท่ี 1 การนําเขากระดาษจากตางประเทศทําไดยาก กรมแผนที่ทหาร จึงไดสรางโรงงานผลิตกระดาษดวยเครื่องจักรท่ี ต.สามเสน เมื่อป พ.ศ. 2466 โดยใชเศษกระดาษเปนวัตถุดิบซึ่งผลิตไดวันละประมาณ 1 ตัน ปจจุบันอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษไดขยายตัวเพิ่มข้ึนมาก และไดมีการคิดคนนําวัตถุดิบซึ่งเปนตนไมใหเสนใยหลายชนิดมาทํากระดาษในป พ.ศ. 2538 มีโรงงานผลิตเยื่อและกระดาษท้ังหมด 52 โรงงาน ซึ่งยังไมเพียงพอตอความตองการ ตองนําเขากระดาษและเยื่อกระดาษปละจํานวนมาก

ปจจุบันกระดาษมีความตองการใชสูง คนไทยใชกระดาษเฉลี่ยประมาณ 47.5 ก.ก./คน/ป ขณะที่ชาวญ่ีปุนใช 247 ก.ก./คน/ป และสหรัฐอเมริกาใช 332 ก.ก./คน/ป

ปริมาณการบริโภคกระดาษในประเทศไทยนับวันยิ่งมีความตองการสูงข้ึน ดังนั้นการพึ่งพาตนเอง ลดการนําเขากระดาษและเยื่อกระดาษ จึงตองหันมาสงเสริมภาคการผลิต โดยเฉพาะการผลิตวัตถุดิบใหมีปริมาณการผลิตเพิ่มข้ึน

คํานําการถายทอดวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความรูตางๆของมนุษยในสมัยโบราณเปนสิ่ง

ท่ีสําคัญตอชนรุนหลังท่ีจะไดเรียนรู และนําวิทยาการตางๆเหลานั้นมาพัฒนา ปรับปรุงและใชใหเปนประโยชนตอการดํารงชีวิตในยุคสมัยตอๆมา การถายทอดดังกลาวนับวาเปนสิ่งท่ีสําคัญก็เนื่องมาจากเปนการสื่อสารใหเกิดความเขาใจซึ่งกันและกัน (เตือนใจ, 2520) การถายทอดวิทยาการซึ่งเปนมรดกอันล้ําคาของมนุษยในแตละยุคแตละสมัยนั้น สวนใหญจะเปนการบันทึกถึงเรื่องราว ปรากฏการณทางธรรมชาติ และเหตุการณตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในยุคสมัยนั้น รวมถึงจินตนาการ ความคิดเห็น ความรูตางๆ ท่ีได

Page 4: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

206

ประสบพบเห็น ซึ่งการถายทอดเรื่องราวตางๆ ใชวิธีการบันทึกหรือจารึก อักษรและรูปภาพ ลงบนวัสดุตางๆ

การบันทึกหรือจารึกนั้น (จารึกหรือจาร คือ การเขียนโดยการเจาะหรือสกัดใหเปนรอยลึกลงไปในเนื้อท่ีรองรับการเขียน ลักษณะการจารนี้มีช่ือเรียกตางๆกันตามวัตถุท่ีใชรองรับการเขียน เชน จารึกลงบนแผนหิน เรียกวาศิลาจารึก บนแผนไมเรียกลายเขียนไม บนแผนทอง เงิน นาค ตะกั่ว เรียกจารึกลานทอง ลานเงิน ลานนาค ลานตะกั่ว ตามลําดับ) มนุษยรูจักกันมานานนับเปนพันๆปแลว เริ่มดวยการนําวัสดุตางๆ ท่ีมีอยูรอบๆ ตัวใกลมือและหางาย เชน ดินและหิน มาเปนเครื่องมือในการขีดเขียน สมัยตอมาจึงเริ่มรูจักนําวัสดุธรรมชาติเหลานั้นมาดัดแปลงเพื่อใหเกิดความสะดวกและใชงายข้ึน เชน นําเปลือกไมมาทุบทําเปนกระดาษ นําดินมาปนเปนแทงใชเปนดินสอสําหรับเขียน เปนตน (กองแกว,2511) การบันทึกหรือจารึกในประเทศไทยของคนไทยโบราณนั้นมีรูปแบบตางๆ เชน จารึกบนศิลา ใบลาน สมุดไทย การศึกษาประวัติ ความเปนมา รวมถึงวิวัฒนาการตางๆ ของการบันทึกหรือจารึกนั้น นับวาเปนสิ่งท่ีจําเปนและสําคัญที่จะทําใหเราไดเรียนรูถึงวิธีการ และพัฒนาการตางๆ ของคนในสมัยโบราณวาพวกเขาไดมีการนําเอาวัสดุ หรือมีการประดิษฐ คิดคน ดัดแปลง สิ่งของวัสดุตางๆ ท่ีจะนํามาใชในการติดตอสื่อสารกันเอง หรือแมกระทั่งสามารถถายทอดใหคนรุนหลังไดศึกษาเรียนรูเกี่ยวกับการดํารงอยูของคนในสมัยโบราณ

ในการศึ กษานี้ จ ะทําใหทร าบว าคนไทยในสมั ยโบราณนั้ นนอกจากจะมี ก ารใชทรัพยากรธรรมชาติตางๆ เพื่อการยังชีพในชีวิตประจําวันแลวยังมีการจัดการ คิดคน นําเอาวัสดุธรรมชาติตางๆ ซึ่งเปนการใชประโยชนจากปามาใชในลักษณะของการถายทอดวัฒนธรรม การติดตอสื่อสาร ทําใหคนรุนหลังทราบถึงประวัติศาสตรตางๆ ได โดยลักษณะการถายทอดนี้มีท้ังการนําเอาศิลา หรือ โลหะหลากหลายชนิด มาจารึกเรื่องราวตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในอดีต นอกจากนั้นยังมีการดัดแปลงนําเสนใยจากพืช เชน เปลือกไมบางชนิด มาทําเปนเยื่อกระดาษเพื่อผลิตกระดาษไดอีกดวย ทําใหมนุษยเราในปจจุบันไดนําเอาวิธีการตางๆ ท่ีไดรับการถายทอดมาพัฒนาเพื่อใหไดกระดาษที่มีคุณภาพดี มีวิธีการผลิตท่ีสะดวก รวดเร็ว ลดการใชแรงงานคน และสามารถผลิตกระดาษไดหลายรูปแบบหลายลักษณะตามที่ตองการ จนมาถึงทุกวันนี้ กระดาษไดกลายมาเปนปจจัยท่ีจําเปนปจจัยหนึ่งในการใชชีวิตประจําวันของมนุษย หรืออาจจะกลาวไดวากระดาษเขามามีบทบาทที่สําคัญแทบจะทุกขั้นตอนของการดําเนินชีวิตของคนในโลกยุคปจจุบัน

Page 5: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

207

วัตถุประสงค1. เพื่อศึกษาประวัติ ความเปนมาของการผลิตและการใชประโยชนกระดาษในประเทศไทย2. เพื่อศึกษาลักษณะทางประวัติศาสตร และระดับของเทคโนโลยีของการผลิตกระดาษและ

ผลิตภัณฑท่ีเกี่ยวของ

วิธีวิจัยในการศึกษาครั้งนี้ใชขอมูลทุติยภูมิ (secondary data) โดยรวบรวมขอมูลจากเอกสารวิจัยและ

เผยแพรของหนวยงานตางๆ เชน หอสมุดแหงชาติ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ สํานักสงเสริมศิลปวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม สถาบันทักษิณคดีศึกษาและหนวยงานตางๆ ท่ีเกี่ยวกับการผลิตและการใชกระดาษ และประวัติการทํากระดาษและการสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของ

ผลและวิจารณจากการศึกษาทางดานโบราณคดี ประวัติศาสตรของชาติไทยนั้น เราสามารถทราบถึงเหตุการณ

ตางๆ ท่ีเกิดข้ึนในอดีตไดจากการจารึกและการบันทึกของคนไทยสมัยโบราณ ซึ่งวัสดุในการรองรับอักษรของคนไทยโบราณนี้ใชแตกตางกันออกไปตามความเหมาะสมของเรื่องท่ีตองการจะจดลง คือ ถาเรื่องนั้นมีความสําคัญตองการรักษาใหคงอยูก็มักจะจารึกลงบนแผนหิน แผนทอง แผนเงิน แผนนาค หรือแผนตะกั่ว ดังภาพที่ 1 ภาพที่ 2 และภาพที่ 3 ถาเรื่องท่ีจะจดลงนั้นเปนเรื่องท่ีไมจัดวาสําคัญก็มักจะจดลงบนสมุดขอยหรือใบลาน (เตือนใจ, 2520) บันทึกหรือจารึกที่พบนี้อาจเรียกไดอีกอยางวา “หนังสือ โบราณ” หนังสือโบราณเปนหลักฐานที่เปนภาษาและตัวหนังสือแตเกากอนซึ่งสําเร็จดวยหัตถกรรมไดแก จารึกหนังสือตนฉบับตัวจาร และตัวเขียน หนังสือเหลานี้บันทึกเรื่องราวตางๆในอดีต เปนหลักฐานที่สําคัญซึ่งสะทอนใหเห็นประวัติศาสตรของประเทศชาติดังท่ีไดกลาวแลวเบื้องตน (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529ข) สําหรับจารึกที่เกาแกท่ีสุดท่ีพบในประเทศไทย คือ ศิลาจารึกอักษรขอมโบราณ ภาษาขอม อายุประมาณ พ.ศ. 800-1000 ไดมาจากเพนียด อ.เมือง จ.จันทบุรี และยังมีจารึก เย ธมเม ท่ีพระปฐมเจดีย ราว พ.ศ. 1100-1200 อักษรท่ีจารึกเปนอักษรอินเดียฝายใต แตเนื่องจากจารึกดังกลาวไมใชจารึกภาษาไทย นักประวัติศาสตรสวนมากจึงลงความเห็นใหศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกภาษาไทย อักษรไทยสมัยสุโขทัยของพอขุนรามคําแหงมหาราช เปนจารึกของไทยที่เกาแกท่ีสุด ซึ่งมีอายุประมาณ พ.ศ. 1835 ไดมาจากจังหวัดสุโขทัย (เตือนใจ, 2520)

Page 6: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

208

สวนหนังสือโบราณที่เปนตนฉบับตัวจารและตัวเขียนนั้นเปนหนังสือท่ีมีรูปลักษณะพิเศษ บางอยางจารลงบนใบลาน บางอยางเขียนหรือชุบลงบนแผนกระดาษที่ทําจากเปลือกตนขอยซึ่งตนขอยมีอยูท่ัวไปในภาคใตและภาคกลางของประเทศไทยปจจุบัน นอกจากเปลือกตนขอยแลวยังมีเปลือกของตนปอสา ซึ่งมีอยูท่ัวไปในภาคเหนือ และยานกฤษณาหรือปฤษณามีอยูท่ัวไปในภาคใต รวมท้ังบนแผนผาตางๆ เปนตน (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529ข) จะเห็นไดวาวัสดุท่ีใชรองรับการบันทึกหรือการจารนั้นไดมาจากการนําทรัพยากรธรรมชาติไมวาจะเปนหิน หรือเปลือกไม ซึ่งสวนใหญไปหามาจากในปาแลวนํามาดัดแปลงเพื่อท่ีจะใชประโยชน ดังนั้นอาจกลาวไดวา คนไทยโบราณไดรูจักที่จะใชประโยชนจากทรัพยากรตางๆ โดยเฉพาะการนําเปลือกไมมาทําเยื่อกระดาษตั้งแตสมัยโบราณแลว

หนังสือโบราณดังกลาวมีลักษณะสําคัญและมีกรรมวิธีคลายคลึงกันเกือบทุกภาคของประเทศไทย แยกออกไดเปน 3 ประเภทดวยกัน (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529ข) คือ

1. หนังสือโบราณประเภทจารึก2. หนังสือโบราณประเภทโบราณหรือหนังสือใบลาน3. หนังสือโบราณประเภทกระดาษ

ภาพที่ 1. ศิลาจารึก หรือจารึกบนแผนหินในสมัยโบราณ

Page 7: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

209

ภาพที่ 2. จารึกไมไผและจารึกแผนโลหะ

ภาพที่ 3. การจารลายลักษณอักษรลงบนใบลาน

Page 8: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

210

ภาพที่ 4. สมุดไทยดํา และสมุดไทยขาว จากตนขอย

1. หนังสือโบราณประเภทจารึกดังไดกลาวแลววาคนไทยตั้งแตสมัยโบราณไดรูจักทํากระดาษหรือรูจักนําวัตถุธรรมชาติมาดัด

แปลงเพื่อใชประโยชนในการบันทึกลายลักษณอักษร นิยมบันทึกเรื่องราวที่มีความสําคัญมากๆ หรือตองการจะประกาศใหทราบ เชน เรื่องเกี่ยวกับศาสนาหรือประวัติศาสตรของประเทศชาติ ดวยวิธีการจารึกลงบนวัตถุท่ีใกลตัว เชน ผนังถ้ํา แผนศิลา เปนตน การบันทึกดวยวิธีจารึกนี้เปนลักษณะพิเศษเฉพาะตัวตางจากการเขียนทั่วๆ ไป การจารึกคือการใชเหล็กแหลมเจาะสกัดหรือขีดเขียนรูปลายเปนอักษรใหเปนรอยลึกลงไปในเนื้อวัตถุท่ีรองรับจารึกนั้น

วิธีจารึกลงบนแผนศิลาหรือบนวัตถุอื่นๆ มีความแตกตางกัน กอนที่ศิลาจะถูกนํามาจารึกนั้นมีรูปรางและขนาดตางๆกัน เทาท่ีปรากฎจะอยูตามบริเวณผิวเรียบของผนังถ้ําและศิลาสกัดทรงรูปบาศกทรงสี่เหลี่ยมผืนผา เสาศิลาเหลี่ยม หรือกลม รูปใบเสมา ฐานปฏิมากรรม เปนตน ในการจารึกมีวิธีการดังนี้

1. การเตรียมแผนศิลาเพื่อการจารึกอักษรนั้น กอนอื่นตองคัดเลือกและจัดทํารูปทรงของแผนศิลาใหมีขนาดและรูปรางตามที่ตองการใหเรียบรอยกอน

2. จากนั้นตองขัดผิวหนาศิลาใหเรียบ เกลี้ยง แลวรางขอความที่จะจารึกลงบนแผนศิลาซึ่งขัดไวแลว

Page 9: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

211

3. ใชเหล็กสกัดศิลาจารึกไปตามรูปตัวอักษร สวนการจารึกลงบนวัตถุอื่นที่มิใชศิลา เชน แผนทองคํา แผนดีบุก แผนเงิน แผนนาคและแผนไม ใชเหล็กจารที่แหลมคม จารึกหรือจารอักษรไดทันทีโดยไมตองรางขอความเอาไวกอน

การจารึกอักษรลงบนวัตถุตางกัน ทําใหมีการเรียกชื่อตางกันไปตามวัตถุท่ีใชรองรับตัวอักษรเชน จารึกลงบนแผนศิลา เรียกวาศิลาจารึก (ภาพที่ 1) จารึกลงบนแผนไมเรียกวาลายเขียนบนไมหรือจารึกบนแผนไม จารึกบนแผนทองคํา เงิน นาค ดีบุก เรียกวาจารึกแผนทอง จารึกแผนเงิน จารึกแผนนาคและจารึกแผนดีบุก (ภาพที่ 2) ตามลําดับ แตถาวัตถุเหลานั้นมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผา แคบและยาวลักษณะคลายใบลาน เปนทองคํา เงิน หรือวัตถุอื่นๆ นิยมเรียกตามลักษณะวา จารึกลานทอง จารึกลานเงินเปนตน นอกจากนี้ยังมีจารึกที่อยูตามเหรียญ ฐานพระพุทธรูป หรือวัตถุท่ีมีรูปรางอื่นๆ นิยมเรียกชื่อตามลักษณะของสิ่งนั้น เชน จารึกที่เหรียญ จารึกฐานพระพุทธรูป เปนตน นอกจากนี้ยังนิยมเรียกชื่อจารึกตามเนื้อเรื่อง หรือตามชื่อบุคคล ช่ือสถานที่ ซึ่งปรากฏอยูในจารึกนั้น หรือ ช่ือสถานที่ซึ่งไดพบจารึกเปนตน

เนื้อหาของเรื่องท่ีปรากฏในจารึกสวนใหญจะเปนการบันทึกเรื่องราวเพื่อประกาศใหทราบหรือเลาเรื่องราวตางๆ ท่ีผูสรางจารึกไดกระทําไว เชน เรื่องเกี่ยวกับกิจการในพระพุทธศาสนาประวัติของชาติหรือของผูนําในกลุมชนของทองถิ่น หรือกฎระเบียบ เปนตน

สําหรับภูมิภาคของอีสานกอนวัฒนธรรมไทย-ลาว พบวาไดมีศิลาจารึกอักษรโบราณตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 12 คือ สรางกอนศิลาจารึกสมัย ไทย-ลาว ถึง 1000 ป ศิลาจารึกที่พบในภาคอีสานพอจะสรุปไดเปน 3 ยุค (ธวัช, 2532) ดังนี้

1. ศิลาจารึกอีสานสมัยพุทธศตวรรษที่ 12-16 (สมัยอาณาจักรทวารวดี) เนื้อเกี่ยวกับพุทธศาสนา ศิลาจารึกมีขนาดคอนขางยาว และในสมัยนี้ยังพบโบราณวัตถุอีกอยางหนึ่งไดแกใบเสมาหินขนาดใหญลวดลายแกนสถูปและลวดลายชาดก

2. ศิลาจารึกสมัยพุทธศตวรรษที่ 16-18 (สมัยขอมนคร) เนื้อหาคอนขางยาว กลาวถึงกษัตริยขอมในสมัยโบราณ

3. ศิลาจารึกสมัยไทย-ลาว (เริ่มตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 21 เปนตนมา) ไดมีรองรอยของวัฒนธรรมใหมเขามาแทนที่วัฒนธรรมขอมสมัยของนคร เนื้อหามักจะเปนเรื่องราวท่ีเกี่ยวเนื่องดวยพุทธศาสนาเถรวาท กลาวถึงการทะนุบํารุงศาสนา

Page 10: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

212

ในภาคอีสานนั้นนอกจากจะมีการจารึกลงในศิลา โลหะตางๆแลว ไดมีการจารึกลงในกระดาษขอยซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากภาคกลางเชนเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีการจารึกลงในไมไผอีกดวย ซึ่งเรื่องราวท่ีจารลงในไมไผสวนใหญเปนเรื่องราวของชาวบาน ซึ่งเปนวิถีชีวิตในชนบทเปนเรื่องสนุกสนาน

สําหรับพื้นที่ในภาคใตของไทย เปนสวนหนึ่งท่ีไดพบหลักฐานศิลาจารึก ซึ่งบงบอกถึงวัฒนธรรมรวมสมัยกับอารยธรรม วัฒนธรรมเริ่มแรกบนผืนแผนดินไทย เนื้อหาจารึกในสมัยแรกๆ ซึ่งพบในชวงพุทธศตวรรษที่ 12 จะเกี่ยวของกับศาสนาพราหมณเปนสวนใหญ บรรดาศิลาจารึกที่พบในบริเวณภาคใต นอกจากจารึกรุนแรกที่กลาวแลว ยังมีจารึกอื่นอีกหลายหลักที่อยูในยุคหลัง โดยพบในจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสุราษฎรธานี (สถาบันทักษิณคดีศึกษา, 2529ข)

2. หนังสือโบราณประเภทใบลานหรือหนังสือใบลานหนังสือใบลาน เปนหนังสือโบราณประเภทหนึ่งซึ่งมีการจารลายลักษณอักษรลงบนในของตน

ลาน (Corypha umbraculifera) (ภาพที่ 3) ใบลานจึงเปนวัสดุธรรมชาติอยางหนึ่งท่ีนิยมนํามาใชจารหนังสือ ท้ังนี้เพราะใบลานสามารถนํามาจารหนังสือไดรวดเร็ว งดงาม เบาและบาง จึงสามารถนําเคลื่อนท่ีไปไดสะดวก คลองตัว อีกทั้งยังแข็งแรงทนทานกวาหนังสือท่ีทําดวยวัตถุอยางอื่น (เตือนใจ,2520) คนไทยสมัยโบราณนิยมเรียกหนังสือใบลานวา คัมภีรใบลาน หรือ หนังสือใบลาน ท้ังนี้เพราะเรื่องในหนังสือใบลานสวนใหญเปนเรื่องราวทางศาสนาดวยการจารลายลักษณอักษรลงในใบลาน ผูกติดกันเปนผูกเพื่อใชเทศนเปนสวนใหญ

ประวัติการทําหนังสือใบลานการใชใบลานสําหรับบันทึกตัวอักษรนี้ เริ่มมีข้ึนครั้งแรกในประเทศอินเดียซึ่งเปนแหลงกําเนิด

ของศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู รวมท้ังลัทธิตางๆ เมื่อคําสอนของพุทธศาสนาเริ่มแพรหลายออกไปยังประเทศเพื่อนบานใกลเคียง จึงไดนําเอาเทคนิคการทําหนังสือใบลานและพันธุตนลานที่ใชใบลานมาจารหนังสือ หรือเรียกวา “ลานวัด” (Talipot palm) เผยแพรออกไปพรอมๆ กันดวยประเทศท่ีพบวามีการทําหนังสือใบลาน ไดแก ประเทศสีลังกา พมา ไทย ลาว เวียดนาม และกัมพูชา เปนตน ในประเทศอินโดนีเซียมีการทําหนังสือใบลานซึ่งจารึกเรื่องราวเกี่ยวกับรามเกียรติเปนสวนใหญ สวนในประเทศไทยนั้น การทําหนังสือใบลานจะใชจารึกเรื่องราวของพุทธศาสนาและพระรรมคําสั่งสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา หรือท่ีเรียกวา “คัมภีรพระไตรปฎก” อักษรท่ีจารึกในหนังสือใบลานเปนอักษรขอม ภาษาบาลี ในภาคเหนือนั้นใชอักษรธรรมลานนา ใชเฉพาะภาษาบาลีเทานั้น เริ่มมีข้ึนใชครั้งแรกตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 20 นับเปนอักษรโบราณที่เปนเอกลักษณของภาคเหนือโดยเฉพาะ และสืบ

Page 11: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

213

เนื่องการทําจากบรรพบุรุษมาจนทุกวันนี้เปนเวลาหลายรอยปแลว ปรากฏวาใบลานเปนวัสดุท่ีคงทนถาวรมากหลักฐานที่มีการเก็บรักษาหนังสือใบลานไวจนถึงปจจุบัน อาทิเชน คัมภีรเรื่อง “ติงสนิบาตกุสราชชาดก” เปนคัมภีรใบลานที่จารดวยอักษรธรรมลานนา สรางขึ้นในป พ.ศ. 2014 จัดวาเปนคัมภีรเกาแกท่ีสุดท่ีพบอยูในปจจุบัน มีอายุ 514 ป ถัดลงมาคือ คัมภีรใบลานที่สรางขึ้นในป พ.ศ. 2040 ซึ่งเปนของวัดไหลหิน อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง นอกจากนี้ยังมีคัมภีรใบลานอื่นๆ อีกมากมายที่สรางขึ้นในระยะเวลาใกลเคียงและเก็บรักษาไวตามวัดตางๆ ในภาคเหนือของประเทศไทย (สุมน, 2535)

การจารหนังสือพระไตรปฎกลงบนใบลานนั้น มาเริ่มการเปลี่ยนแปลงการทําในปลายสมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่งตองการเผยแพรคัมภีรพระพุทธศาสนาใหกวางขวางออกไปและรวดเร็วข้ึนกวาเดิม จึงดัดแปลงใชอักษรไทยเขียนภาษาบาลีแทนอักษรขอมเพื่อใชพิมพบนกระดาษธรรมดา การจารหนังสือใบลานนั้นยังคงทําอยูท่ัวไป โดยเฉพาะตามวัดทางภาคเหนือเพื่อเก็บรักษาไวใชเอง ตอมาในปลายรัฐสมัยของรัชกาลที่ 5 มีผูทําอุตสาหกรรมใบลานสําหรับจารหนังสือเพื่อการคาเกิดข้ึนหลายรายในป พ.ศ. 2473ในรัฐสมัยของรัชกาลที่ 7 ประเทศไทยประสบกับการคาตกต่ําอยางมาก รัฐบาลจึงตองตัดงบประมาณรายจายโดยคัดขาราชการออกจากงานกันมาก อุตสาหกรรมการทําใบลานจารหนังสือจึงตองลมเลิกกันไปหมด ผูมีทุนนอยจึงหันไปประกอบอาชีพอื่น เหลืออยูแตรานลานทองที่ดําเนินงานตอมา ในระหวางที่การคาฝดเคืองนี้ ทานขุนโสภิตอักษรการ เจาของโรงพิมพไทย เล็งเห็นวาการใชใบลานจารดวยมือเปนการลาชาและทําใหตนทุนการผลิตสูง จึงคิดเปลี่ยนแปลงการจารหนังสือบนใบลานเปนการพิมพดวยเครื่องพิมพแทน วิธีการพิมพใบลานแตกตางจากการพิมพกระดาษทั่วไป คือ ตองใชหมึกพิมพแหงเร็วเทานั้น และตองนําใบลานที่พิมพแลวไปผึ่งใหแหงสนิทกอนจึงจะเก็บรวบรวมได ตอมาไดมีโรงพิมพแถวเสาชิงชา ประตูผี และแถวถนนตะนาว จัดพิมพใบลานขึ้นเอง แมกระทั่งกรมศาสนาก็จัดตั้งโรงพิมพข้ึนชื่อ โรงพิมพกรมศาสนา และจัดพิมพพระไตรปฎกขึ้น ในชวงนี้จึงทําใหอุตสาหกรรมการทําใบลานพิมพหนังสือฟนฟูข้ึนมาอีกครั้งหนึ่ง

ปจจุบันนี้มีผูผลิตท่ีทําอุตสาหกรรมใบลานสําหรับการจารหนังสือเหลืออยูเพียงรายเดียว คือรานลานทอง ดําเนินการโดย นายถนิต และนางสุรางค สิทธิสรเดช เปนผูจัดการและเจาของรานการทําใบลานของรานลานทองขณะนี้ นอกจากจะนําใบลานสําเร็จรูปสําหรับพิมพคัมภีรพระไตรปฎกแลว ยังใชเศษใบลานที่เหลือดัดแปลงเปนนามบัตร ท่ีค่ันสมุด การดเชิญ และบัตรอวยพรตางๆ การทําลานเสนสําหรับเด็กนักเรียนทําการฝมือ ใบลานสําหรับทํางอบ ปลาตะเพียน กานลานสําหรับจักสาน ตะกราหรือฝาชี แลทํากานธง การทําใบลานเพื่อใชจารหนังสือโดยใชเทคนิคโบราณยังคงมีทําอยูท่ัวไปตามวัด

Page 12: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

214

ตางๆ โดยเฉพาะวัดทางภาคเหนือซึ่งมิไดทําเปนอุตสาหกรรมเพื่อการคา คงทําไวใชเองตามแตศรัทธาของฆราวาสผูสรางคัมภีรนั้นๆ (กองแกว, 2530)

การทําหนังสือใบลาน มีข้ันตอนตางๆ (ภาพที่ 5) ซึ่งกองแกว (2530) ไดอธิบายรายละเอียดดังนี้1. การเตรียมใบลานคัมภีรใบลานประดิษฐข้ึนดวยการคัดเลือกใบลานคุณภาพดีไมออนหรือแกเกินไป เรียกกันวา

“เพสลาด” คือใบออนที่สองซึ่งเริ่มคลี่กลับใบออก การตัดใบลานในปหนึ่งๆ จะตัดได 2 ใบ คือ ตอนแรกตัดยอดที่เพิ่งจะคลีใบออนเมื่อทอนใบลานลงจากตนแลวตองตัดปลายใบออกจะไดลานยาวประมาณ 50– 75 เซนติเมตร แลวแยกลานออกจากกันดวยการสาดลานขึ้นไปบนฟาแลวปลอยใหลานตกลงมาเกลื่อนพื้น จากนั้นนํามาตากแดดตากน้ําคางไว 3 วัน 3 คืน แลวจึงเก็บรวบรวมไวเมื่อตัดใบยอดที่หนึ่งแลวผูตัดลานก็จะเดินทางตัดตนตอๆ ไปประมาณ 1 เดือน จึงเดินทางกลับ ขากลับจะแวะตัดใบลาน

ยอดที่สองซึ่งเพิ่งคลีใบออนไดขนาดพอดี เมื่อไดใบลานที่ตองการแลวก็มัดรวมกันเพื่อนําไปใชประโยชน ลานที่มัดรวมกันเปนหอใหญ หอหนึ่งเรียกวาซองหนึ่ง ซึ่งจะมีจํานวนใบลาน 2,000 ใบ คนไทยโบราณไดจัดมาตรฐานลานไวดังนี้

ใบลาน 2 ใบ เทากับ 1 กานใบลาน 50 กาน เทากับ 1 แหนบใบลาน 50 แหนบ เทากับ 1 ซอง

ใบลานที่ไดมาทั้งหมดที่ขนาดไมเทากัน กอนที่จะนําไปตกแตงเพื่อใชประโยชนตองคัดเลือกใหไดขนาดเทาๆ กันทุกใบ ตามมาตรฐานที่กําหนดไวกอน เมื่อคัดเลือกลานที่มีขนาดตามความตองการไดแลว นํามาเจียนกานออก ลานที่เจียนกานออกแลวจะมีลักษณะเปนแผนบางๆ รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีความยาวมากกวาความกวางหลายเทาตัว โดยเฉลี่ยกวางประมาณ 4 – 8 เซนติเมตร ยาวประมาณ 50 – 75เซนติเมตร เรียงใบลานที่เจียนกานออกแลวซอนกัน 20 – 30 ลาน ขดมวนใหกลม ใชกานลานหรือเชือกมัดไว นําลานไปแชน้ํานาน 1 คืน หรือ 24 ช่ัวโมง แตในบางทองถิ่นโดยเฉพาะภาคเหนือของไทยนิยมนําใบลานตมในน้ําซาวขาวแลวนําปตมใหเดือนแลวจึงนําออกผึ่งแดดหรือตากใหแหง ขณะตากใบลานตองตั้งสันลานขึ้น เมื่อลานแหงแลวหนาลานจะไมบิดเปนวง และควรตากใหถูกแดดและน้ําคาง ประมาณ 1– 2 วัน วิธีตมและตากลานทําใหเนื้อลานเหนียว นิ่ม และมีสีขาวข้ึน ดังนั้นจึงนิยมตมลานในฤดูหนาว ซึ่งเปนฤดูท่ีมีน้ําคางมาก

Page 13: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

215

ภาพที่ 5. กรรมวิธีการผลิตคัมภีรใบลาน

2. การแทงลานใบลานที่แหงสนิทดีแลวตองคลี่ออกจากมวน เช็ดทําความสะอาดทีละใบกอนที่จะนํามาแทง

ลานซึ่งใชขนอบเปนพิมพสําหรับแทงลานโดยเฉพาะ ขนอบที่กลาวถึงนี้มีรูปรางและขนาดเทากับลานชนิดตางๆ ทําดวยไมประกับเปนขอบของใบลานดานหนาและดานหลังรวม 2 อัน นําใบลานที่แทงแลวประมาณ 10 – 20 ใบเรียงซอนกันแลวประกับดวยขนอบตามขนาดที่ตองการ ใชมีดท่ีมีความคมมากๆตัดลานใหเสมอและไดระดับกับขนอบทั้ง 4 ดาน แลวใชกานลานรอยลานรวมกันใหไดกับหนึ่ง มีลาน

ใ บ ล า น

คั ด เ ลื อ ก ใ บ ล า นใ

ต ม แ ล ะ

นํ า ใ บ ล า นที่ ต า ก

ห ลั ง จ า ก แ ท ง ล า นใ

ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด ใ บไ

ทํ า ก า ร จ า ร เ รื่ อ งใ

นํ า ใ บ ล า นที่ จ า ร แ ล ว

Page 14: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

216

ประมาณ 500 ใบ แลวใชขนอบปดหนาหลังมัดใหแนน อัดกับลานดวยเครื่องอัดใหแนน แลวนําเขาเตาอบ

3. การอบลานการอบลานเปนวิธีปองกันไมใหใบลานขึ้นรา ฉะนั้นเมื่อมัดลานแนนดีแลวถาไมท้ิงไวใหแหง

เอง ก็ตองนําเขาเตาอบเพื่อเรงใหลานแหงเร็วข้ึน เตาอบลานนิยมกอนดวยอิฐมีชองไฟอยูตอนลางและมีทอสงความรอนผานไปทั่วเตาโดยใสไฟแกลบในเตาตอนเขาเพียงหนเดียว แลวปลอยท้ิงไวใหแกลบคุกรุนไปเรื่อยๆ จนกวาจะมอด ความรอนระอุอยูในเตาเรื่อยไปจนรุงข้ึนอีกวันหนึ่งจึงใสไฟเพิ่มอีกครั้งหนึ่งเมื่อไฟดับมอดจนเตาเย็นแลวจึงเปดเตาเพื่อนําลานออก ในระหวางอบไมควรเปดเตา ท้ังนี้เพื่อใบลานจะไดแหงสนิท

4. การทําความสะอาดใบลานกอนนําไปจารใบลานที่แหงแลวขอบลานจะไมเรียบเสมอกันทุกลาน ตองนํามาไสดวยกบใหขอบเรียบเสมอ

กันทั้ง 4 กาน ทําความสะอาดลานโดยใชทรายละเอียดค่ัวหรือตากแดดใหรอนจัดโรยลงบนใบลานแลวใชลูกประคบลูบไปมาใหผิวลานเรียบพรอมท้ังใชผาแหงเช็ดจนสะอาดดีแลว จัดใบลานเขาผูก ใบลานผูกหนึ่งมีลานประมาณ 24 ใบ ซึ่งเปนลานที่พรอมจะใชจารหนังสือได

5. การจารใบลานการจารใบลานมีกรรมวิธีพิเศษ ข้ันแรกกอนจะจารใบลานตองตีเสนบรรทัดหนาละ 5 บรรทัด

โดยใชเสนดายเหนียวจํานวนเทากับบรรทัดท่ีตองการขึงกับกรอบไมใหตึง มีขนาดกวางยาวกวาหนาลานเล็กนอย ลูบเสนดายท่ีจะใชตีบรรทัดใหท่ัวดวยลูกประคบชุดดินหมอหรือเขมาไฟบดละเอียดผสมน้ําวางกรอบเชือกบรรทัดบนใบลาน พรอมท้ังกําหนดระยะใหไดขนาดเหมาะกับหนาลาน ดึงเชือกที่ขึงตึงข้ึนปลอยมือใหเชือกดีดลงบนหนาลาน ทําเชนนี้ครบจํานวนบรรทัด เมื่อยกเครื่องตีเสนบรรทัดออกจะไดเสนบรรทัดสีดําปรากฎบนหนาลานตามตองการ

อุปกรณท่ีใชในการจารใบลานประกอบดวย- หมอนรอง หมอนรองนี้ทําจากใบลานยาวประมาณ 15 – 20 เซนติเมตร เรียงซอนกัน 6 – 7

ใบ เย็บลานนี้ใหติดกัน ใชผาหุมโดยรอบเย็บขอบใหเรียบรอยสวยงามใชไมไผเหลาเล็กๆยาวประมาณ 7 – 10 เซนติเมตร จํานวน 4 อัน เสี้ยมปลายใหแหลมสําหรับเสียบลงไปที่หมอนทางดานยาวตามรองลานมุมละ 2 อัน เพื่อใชเปนที่คีบลานซึ่งใชเปนตนฉบับในขณะคัดลอก

Page 15: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

217

- เหล็กจารหนังสือ เปนเหล็กปลายแหลมมีดานถือทําดวยไมหรือเขาสัตว หรืองา รูปกลมบาง เหลี่ยมบาง ขนาดตามความถนัดของผูใช ขณะจารหนังสือตองฝนเหล็กจารใหแหลมคมตลอดเวลาเพื่อชวยใหเสนอักษรเรียบและรูปลายเสนสวยงามไมเปนเสน เสี้ยน

เมื่อจารขอความดวยเหล็กจารลงลานจบแลว จะเห็นรูปลายเสนเปนอักษรสีขาวอานไมชัด ตองลบลานดวยเขมาไฟกับน้ํามันยางเพื่อใหสีดําของเขมาฝงลงไปในรองอักษร ใชลูกประคบชุบเขมาไฟผสมน้ํามันยางลูบไฟมาจนทั่วหนาลาน นําทรายละเอียดทําใหรอนดวยวิธีค่ัวหรือผึ่งแดด โรยบนหนาลาน กรรมวิธีนี้ทําใหคนโบราณไดมีการตั้งปริศนาคําทายวา “อะไรเอย ลบหาย ลายผุด” อนึ่งการจารใบลานนอกจากจารดวยตัวหนังสือลงบนใบลานสีธรรมชาติแลว ในสมัยโบราณใชเทคนิคการออกแบบจารใบลานลงบนพื้นใบลานลักษณะตางๆ กัน เพื่อความสวยงาม เชน การลงพื้นใบลานเปนสีแดงหรือสีน้ําเงิน ตัวหนังสือจารเปนสีขาว วิธีการลงรักปดทองบนพื้นใบลานตัวหนังสือจารเปนสีดํา หรืออาจเขียนระบายสีตกแตงเปนรูปตนไม ดอกไม สัตวตางๆ เรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติผสมกับตัวหนังสือก็ได ดังตัวอยางคัมภีรใบลานที่เก็บรักษาไวในหอสมุดแหงชาติ อาทิเชน

ลานทองแดง อักษรรามัญลานงา อักษรพมาลานทอ อักษรขอมลานถมรักปดทอง อักษรขอมลานชาดทึบ อักษรขอมตัวทองลานทอง อักษรขอมยอและภาพตนไมระบายสีลานจารอักษรขอม ฝมือครั้งกรุงศรีอยุธยาลานจารอักษรขอม ฉบับรดน้ําแดง รัชกาลที่ 2ลานจารอักษรขอม สมัยรัตนโกสินทรลานพื้นสี เขียนอักษรขอมเสนตรงลานกระดาษ พิมพอักษรไทยใบลาน พิมพอักษรไทย

นอกจากนี้ยังมีคัมภีรใบลานประเภทอื่นๆ ในสมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร ตั้งแตรัชกาลที่ 1 รัชกาลที่ 2 รัชกาลที่ 3 รัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 ซึ่งออกแบบลักษณะและขนาดรูปคัมภีรใบลานขนาดตางๆ กัน สวยงามมาก

Page 16: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

218

6. วิธีเขาผูกและหอคัมภีรหนังสือใบลานที่จารเสร็จแลวทุกลานจะตองมีเครื่องหมายบอกลําดับหนาลาน เครื่องหมาย

บอกลําดับนั้นเรียกวา “อังกา” ซึ่งเปนตัวอักษรจารไวท่ีกึ่งกลางใบลานริมซาย ดานหลังของใบลานเพียงแหงเดียวเทานั้น ใบลานที่เรียงลําดับอังกาครบอักษรแลว จะมี 24 ลาน รวมเรียกวา “1 ผูก” เมื่อจารลานครบ 1 ผูก และเรียงลําดับอังกาถูกตองเรียบรอยแลว และอาจจะมีใบลานเพิ่มเปนปกหนาและปกหลังของแตละผูก ประมาณ 3 – 4 ใบลาน เพื่อรักษาคัมภีรขางในไว ปองกันการฉีกขาดและการสูญหาของใบลานดานหนาและดานหลัง จากนั้นใชไหมหรือดายเปนหูรอยเรียกวา “สายสนอง” ผูกหูใบลานตามชองท่ีเจาะไวในตอนแรก ทางริมซายเพียงขางเดียวเวนอีกดานหนึ่งไวเพื่อสะดวกในการเปดพลิกไปมา

ไมประกับหนังสือใบลานหนังสือใบลานที่จารเสร็จเรียบรอยแลว มีหลายๆ ผูก รวมกันเขาเปนคัมภีรหนึ่ง หรือมัดหนึ่ง

เมื่อจะจัดเก็บตองมีไมขนาบ 2 ขาง เรียกวา “ไมประกับ” ซึ่งมีมากมายหลายประเภทศิลปะการออกแบบและตกแตงไมประกับ นับเปนเอกลักษณเฉพาะตัวของคัมภีรใบลานฉบับนั้นๆ เพื่อใหเห็นความแตกตางของผูสรางคัมภีร สวนขอความที่จารหนังสือขางในมักจะเหมือนกันหมด ไมประกับเทาท่ีพบและเก็บรักษาไวในหอสมุดแหงชาติ (กองแกว, 2530) มีดังนี้

ไมประกับไมสักธรรมดา ไมประกับรดน้ําดําไมประกับแกะสลัก ไมประกับรดน้ําแดงไมประกับประดับมุก ไมประกับขอบเงินกาไหลทองไมประกับประดับเกล็ดหอย ไมประกับลายกํามะลอไมประกับประดับมุก-เกล็ดหอย ไมประกับลายกํามะลอชายผาไมประกับประดับทองนากมุก ไมประกับชาดทึบไมประกับประดับงา ไมประกับทองทึบไมประกับประดับกระจก ไมประกับทาชาดเยียนลายฉลุทองไมประกับทารักแดง ไมประกับลายทองจีนไมประกับงานแดงลายดุน ไมประกับรดน้ําดําลายเทพชุมนุมไมประกับทาน้ํามัน ไมประกับงาธรรมดาไมประกับทาสีดํา ไมประกับงาขาวลายดุนไมประกับทาสีแดง ไมประกับงาเหลืองลายดุนไมประกับรักทึบหรือทารักดํา ไมประกับงาเขียวลายดุน

Page 17: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

219

ผาหอคัมภีรใบลานหนังสือใบลานที่จารครบชุดมีไมประกับทั้ง 2 ขาง และมัดเรียบรอยดีแลว เมื่อจะเก็บไวตองใช

ผาหอใหเรียบรอย ผาหอคัมภีรใบลานนี้มีอยูมากมายหลายชนิด มีท้ังผาธรรมดา ผาทอ ยกดอก ผาทอยกดิ้น ผาพิมพลายสีตางๆ ผาไหม และผาตวน เปนตน ดังภาพที่ 6

ฉลากหนังสือใบลานหนังสือใบลานเมื่อหอผาเรียบรอยแลว จะมีปายบอกชื่อคัมภีร จํานวนผูกและลาน เรียกวา

“ฉลาก” ทางภาคเหนือเรียกวา “ไมปนชัก” ฉลากบอกชื่อคัมภีรนี้ก็ทําดวยวัสดุตางๆ กัน มีท้ังทองเหลืองงา ไม ผา และหนัง เปนตน

เชือกมัดคัมภีรใบลานหนังสือใบลานเมื่อหอผาเรียบรอยแลว ตองใชเชือกมัดใหแนนเพื่อปองกันฝุนละอองและสัตว

เขาไปกัดกินใบลานขางใน เชือกที่มัดคัมภีรใบลานนี้เปนเชือกที่ยาวมาก ใชพันเปน 5 เปลาะๆ ละ 3 รอบทําดวยวัสดุตางๆ เชน ผา ปาน ปอ และ ไหม (ภาพที่ 6) เปนตน ผูท่ีมีศรัทธามากที่สุดจะเอาผมของตนมาถักเปนผมเปยยาวๆ ใชมัดคัมภีรก็มี

กากะเยียเนื่องจากรูปลักษณะของหนังสือใบลานมีความยาวมากกวาความกวาง และมีน้ําหนักเบาคน

ไทยโบราณจึงสรางกากะเยียไวสําหรับวางคัมภีรใบลานเพื่อความสะดวกในการอานหนังสือ ใบลานกากะเยียทําดวยไมกลึงเปนแทงกรมเล็กๆ ยาวประมาณ 18 นิ้ว มีจํานวน 8 อัน เจาะรูท่ีปลายไมดานหนึ่งและตอนกลางอีกที่หนึ่ง ใชเชือกหรือดายรอยไขวกันเปนที่วางหนังสือใบลาน (ภาพที่ 6)

คัมภีรใบลานที่มีอยูในหอสมุดแหงชาติปจจุบันมิใชจะมีแตเรื่องราวทางพระพุทธศาสนาเทานั้น เรื่องอื่นๆ ท่ีเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ก็มี เชน เรื่องกฎหมาย ตํานาน วรรณกรรม และศาสตรตางๆ เชนโหราศาสตร เวชศาสตร เปนตน (สมพงษ, 2515)

Page 18: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

220

ภาพที่ 6. ผาหอคัมภีรใบลาน ลักษณะการมัดคัมภีรใบลาน และกากะเยีย

3. หนังสือโบราณประเภทกระดาษคนไทยโบราณรูจักนํากระดาษมาใชประโยชนเพื่อการเขียนหรือบันทึกเรื่องราวเมื่อใดนั้นยัง

ไมปรากฎหลักฐานแนชัด ในปจจุบันมีหลักฐานที่เกี่ยวกับหนังสือโบราณประเภทกระดาษซึ่งท่ีเกาท่ีสุดไมเกินสมัยอยุธยาตอนกลาง โดยการพบหนังสืออกพระจอมเมืองศรีราชโกษา กรมการเมืองตะนาวศรีอนุญาตใหพอคาเดนมารกเขามาคาขายยังประเทศไทย เมื่อ ประกา ตรีศก พ.ศ. 983 ตรงกับวันจันทรท่ี 6ธันวาคม 2164 ทําใหทราบวาคนไทยใชกระดาษเขียนหนังสือมาแลวตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี (มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2539) ท้ังนี้เนื่องจากกระดาษมีการเสื่อมสภาพเร็ว ฉีกขาด เปอยและถูกทําลายไดงายกวาวัตถุท่ีใชรองรับการบันทึกลายลักษณอักษรประเภทอื่น หนังสือโบราณประเภทกระดาษมีท้ังชนิดท่ีเปนเลม และเปนแผน ซึ่งบันทึกลายลักษณอักษรไวดวยกรรมวิธีเขียน หรือชุบ คําวา“ชุบ” เปนคําโบราณ แปลวาการเขียนหนังสือดวยหมึก คือ ใชปากกาจุม (ชุบ) ลงไปในหมึกแลวเขียนเอกสารโบราณชนิดท่ีเปนเลมนี้คือ หนังสือ หรือสมุดไทย หรือท่ีภาคใตเรียกกันวา “หนังสือบุด”(สถาบันทักษินคดีศึกษา, 2529ข)

การทํากระดาษดวยวิธีโบราณของไทยยังคงไดรับการอนุรักษไวท้ังๆ ท่ีทําไดยาก และตองใชเวลาในการทํานานมาก แตคุณสมบัติเฉพาะตัวของกระดาษไทยยังเปนสิ่งท่ีเหมาะสมกับการใชงานหลายอยาง โดยเฉพาะงานชางศิลปไทยยังมีความจําเปนตองใชตลอดมา และยังนําไปใชประโยชนในกิจการอยางอื่นไดอีกมาก เชนใชทําหนังสือ ใชทําชนวนดอกไมไฟ และใชมวนยาสูบ ดายเชื่อกันวาแกโรคริดสีดวงจมูก เปนตน หนังสือของไทยโบราณที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะตัวไมไดเปนเลมเหมือนหนังสือใน

Page 19: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

221

ปจจุบัน แตเปนหนังสือท่ีใชกระดาษยาวติดตอกันเปนแผนเดียว พับกลับไปมาใหเปนเลมหนาหรือบางกวางหรือยาวเทาใดก็ตามแตความตองการของผูใช

กระดาษที่คนไทยสมัยโบราณทําข้ึนมาใชนั้น สวนใหญทําจากเปลือกไมซึ่งมีอยูตามพื้นบานเวลาที่ใชในการทํากระดาษในสมัยกอนนั้น กระดาษแตละแผนใชเวลาทํานานประมาณ 7 – 10 วันกระดาษที่ทํามี 2 สี คือ สีขาว และสีดํา สีขาวเปนสีเนื้อกระดาษโดยธรรมชาติถานํามาพับกลับไปกลับมาเปนเลมสมุด เรียกวา “สมุดไทยขาว” สวนสีดําเกิดจากการทาเขมาไฟใหดํา เปนสมุดเรียกวา “สมุดไทยดํา” นอกจากนั้นถาทําเปนแผนบางๆ เรียกวา “กระดาษเพลา” ซึ่งกระดาษหรือสมุดไทยนี้ถาทําจากเปลือกตนขอยเรียก “สมุดขอย” สวนในภาคเหนือนิยมใชเปลือกตนสาทําสมุดเรียกวา “สมุดกระดาษสา”ในเขตจังหวัดภาคเหนือเรียกวา “กระดาษน้ําโทง” สวนภาคใตมีไมเถาชนิดหนึ่งเรียกวา “ยานกฤษณา”หรือ “ปฤษณา” สามารถนํามาทําเปนกระดาได และบางที่ก็ไดใชหัวของเอาะนกหรือตนกระดาษ ซึ่งเปนพืชท่ีมีลักษณะคลายบอนนํามาทําเปนกระดาษได

การทํากระดาษที่รูจักกันทั่วไปและนิยมใชแตโบราณนั้นจนถึงปจจุบันมี 3 ชนิด คือ กระดาษที่ทําจากเปลือกตนขอย กระดาษที่ทําจากเปลือกตนสา และกระดาษฝรั่ง กระดาษขอยและกระดาษสาเปนกระดาษที่ทําข้ึนดวยกรรมวิธีพื้นๆ ซึ่งสืบทอดกันมาแตโบราณมิไดมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงแตอยางใดการทํากระดาษขอยในปจจุบันเหลืออยูนอยมาก การทํากระดาษสายังมีการทําอยูในบริเวณจังหวัดภาคเหนือ เชน ลําปาง เชียงใหม นาน

กระดาษขอยขอย (Streblus asper) เปนไมยืนตนอยูในวงศเดียวกับมะเดื่อ มักขึ้นตามปาและริมแมน้ําลํา

คลอง ใบเล็ก คาย ใชแทนกระดาษทราย คนโบราณนิยมใชกิ่งและรากขัดฟน เพื่อใหฟนขาวสะอาด และทน ขอยมีมากในเขตจังหวัดสระบุรี ลพบุรี สิงหบุรี (มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2539) กระดาษขอยมักพบในภาคกลาง การทําสมุดขอยมีวิธีการตางๆ (ภาพที่ 7) ดังนี้

1. การตัดขอย นิยมตัดขอยภายหลังฤดูเก็บเกี่ยวขาว และตัดไปเรื่อยๆ จนถึงฤดูทํานา กิ่งขอยท่ีนิยมนําเปลือกมาใชทํากระดาษนั้นตองไมแกจัด เมื่อตัดออกจากตนแลวตองลอกเอาเปลือกออกการลอกเปลือกขอยนั้น ถาลอกขณะที่กิ่งขอยยังสดอยูจะลอกไดงาย แตถาปลอยจนกิ่งแหงตองนําไปลนไฟพอเปลือกขอยสุกดีแลวจึงลอกได นําเปลือกขอยท่ีลอกออกจากกิ่งแลวตากแดดใหแหง มัดเปลือกรวมกันเปนมัดเล็กๆ มัดหนึ่งประมาณ 50 เปลือก มัดรวม 10 มัดเล็กๆ เปน 1 มัดใหญ จะมีพอคามารับซื้อเปลือกขอยลองลงมาขายที่กรุงเทพฯ ตามแหลงหมูบานทํากระดาษ ในสมัยรัตนโกสินทรท่ีกรุงเทพฯ มีหมูบานทํากระดาษอยูบริเวณคลองบางซอน คลองบานกระดาษ คลองบางโพขวาง

Page 20: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

222

2. การหมักเปลือกไม นําเปลือกขอยท้ังมัดลงแชน้ําในคลองหรือทองรอง ท่ีมีทางน้ําไหลขึ้นลงได นาน 3 – 4 วัน เพื่อใหเปลือกเปอยแลวลางเมือกที่ติดอยูกับเปลือกใหหมด นําข้ึนจากน้ําบีบใหแหงแลวฉีกใหเปนฝอย ในขณะฉีกจะแยกเปลือกที่ดีสีขาวไวทําสมุดขาว และเปลือกที่ไมสะอาดไวทําสมุดดํา (สุมน, 2535)

เนื่องจากการทํากระดาษขอยนี้ตองใชน้ํามาก มีท้ังน้ําไหลและน้ํานิ่ง ดังนั้นผูมีอาชีพทํากระดาษจึงนิยมตั้งบานเรือนอยูติดกับแมน้ําลําคลอง เมื่อฉีกขอยเสร็จแลวนําปูนขาวผสมน้ําเคลาขอยจนทั่ว แลวนําข้ึนกองรวมกันใชใบตองหรือหรือผาปดไวเพื่อไมใหแหงเพราะถูกแดดหรือลง ท้ิงไว 2 คืน แลวจึงนําไปนึ่งจนสุก เปลือกขอยท่ีนึ่งจนสุกยังเปอยไมมากพอที่จะใชการได จึงตองนําไปแชในน้ําดางซึ่งไดจากปูนขาวในโอง เพื่อใหเปลือกเปอยยุยจนสามารถบี้ใหละเอียดไดโดยงาย ใชเวลาแชประมาณ 24 ช่ัวโมงหรือนานกวานั้นก็ได

ต น ข อ ย

ตั ด แ ล ะ ล อ ก

หมั ก เ ป ลื อ ก

ก า ร ฉี ก ข อ ยใ

นึ่ ง เ ป ลื อ ก

ก า ร ส บ ข อ ยใ ห เ ยื่ อ แ ต ก

ล ะ เ อี ย ด

Page 21: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

223

ภาพที่ 7. กรรมวิธีการผลิตกระดาษขอย

3. วิธีนึ่งเปลือกขอย นําเปลือกขอยท่ีพรอมจะนึ่งใสลงในรอม ซึ่งทําดวยไมไผสานตาถี่ๆเปนรูปทรงกระบอกสูงประมาณเมตรครึ่ง ปากรอมเปดท้ังสองขางมีขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 75เซนติเมตร รอมนี้ตองยาดวยข้ีความผสมโคลนหรือปูนขาวกอน นํารอมวางในกระทะใบบัวขนาดใหญซึ่งปากกระทะกวางกวาปากรอมเล็กนอยวางกระทะไวบนเตาซึ่งกอข้ึใหมีชองไฟ 2 ขาง ใสเปลือกขอยท่ีคลุกปูนขาวไว นั้นลงไปรอมจนเต็มคอนขางแนน ใชผาหรือใบตองคลุมปดปากรอมขางบนใหสนิท ใสน้ําลงในกระทะใหเต็มพอดีปากกระทะกอน แลวใสไฟในเตาใหมีความรอนสม่ําเสมอตลอดเวลานานประมาณ 24 ช่ัวโมง แลวกลับเปลือกในรอมเพื่อชวยใหสุกทั่วกันใสไฟตอไปอีก 24 ช่ัวโมง

เปลือกขอยท่ีนึ่งจนสุกแลวนี้ยังเปอยไมมากพอที่จะใชการได จึงนําไปแชดวยน้ําดางซึ่งไดจากปูนขาวในโองหรือตุมสามโคกใชเวลาแชหรือหมักประมาณ 24 ช่ัวโมงหรือนานกวานั้นก็ได ปูนขาวจะกัดเปลือกขอยใหเปลือกขอยใหเปลือกยุยจนสามารถบี้ใหละเอียดไดโดยงาย (กองแกว, 2530)

4. การสบขอย เมื่อนําเปลือกขอยข้ึนจากดางแลวตองนําไปลางในน้ําคลองจนสะอาด แลวบีบใหแหงนําเปลือกขอยท่ีจะทุบวางบนกระดานทุบขอย ซึ่งเปนไมประดูหรือไมมะขามขนาดใหญ แลวใชฆอนทุบใหเสนใยแตกตัวการทุบถาใชฆอน 2 อันถือ 2 มือ ทุบสลับกันซายขวา เวลาทุบถาทุบ 2 คน ลงฆอนทีละคนเรียกวา สบขอย หรือรายคน ถามีเศษกระดาษเกาท่ีไดจากคราวกอนก็นําไปชุบน้ําจนออนยุยแลวนํามาใสรวมในขอยท่ีทุบใหมนั้นอีก นําน้ํามาพรมใสเยื่อขอยท่ีทุบไวแลวในรอบแรกนี้ใหเปยกพอสมควรแลวทุบอีกครั้ง เมื่อทุบจนเปลือกขอยละเอียดดีแลวก็จะไดเยื่อกระดาษที่พรอมจะทํากระดาษได

ก ร ะ จ า ย เ ยื่ อข อ ย ใ น พะ แ น ง

เ มื่ อ แ ห ง

Page 22: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

224

เมื่อจะทํากระดาษก็ใชเยื่อนี้ปนเปนกอนกลมๆ ขนาดเทาผลมะตูมเพื่อกะเปนขนาดที่พอดีในการละลายน้ําลงตะแกรง หรือพะแนงไดความหนาสม่ําเสมอกัน

5. การกระจายเยื่อขอยเปนแผน โดยใชเยื่อกระดาษที่ผานขั้นตอนการเตรียมตางๆ แลวละลายในตะแกรงที่จมอยูในน้ํานิ่งใชมือแปะเกลี่ยใหเยื่อกระจายออกใหเต็มอยางสม่ําเสมอ แลวยกรอมขึ้นจากน้ํา วางพิงตามแนวนอนใหเอียง 80 องศาแลวใชไมซางยาวๆ คลึงรีดเอาน้ําออกจากหนาขอยแลวยกพะแนงวางใหชันขึ้นอีกตากแดดไวจนแหงสนิทดีแลวลอกแผนกระดาษออกมาทาดวยน้ําขาวอยางดี แลวขัดดวยหิน ขัดหนากระดาษใหเรียบ ก็จะไดกระดาษขอยตามตองการ

6. เคร่ืองใชบางอยางในการทําสมุดขอย (กองแกว, 2530)- พะแนง คือ แบบพิมพท่ีจะทําแผนกระดาษ ลักษณะเปนตะแกรงมีกรอบไมรูปสี่เหลี่ยมผืน

ผากรุดวยผามุงหรือลวดมุงขึงใหตึงกับขอบไมนั้น ไมท่ีใชทํากรอบพะแนงนิยมใชไมสักหนาประมาณ 2.5 เซนติเมตร กวางประมาณ 5 เซนติเมตร และใชไมหวายขมผาซีกมาประกอบทบชายผามุง ตอกดวยตะปูตรึงใหติดกับพะแนง ผามุงท่ีทําพะแนงตองยอมดวยยางมะพลับจนแข็งจึงจะใชไดและไมเปอยงายขนาดของพะแนงนั้นโดยทั่วไปมีความกวางยาวเทากับความกวางยาวของหนากระดาษที่ตองการ ซึ่งโดยปกตินิยมใช 3 ขนาด คือ

ขนาดสมุดธรรมดา กวาง 55 เซนติเมตร ยาว 220 เซนติเมตรขนาดสมุดพระมาลัย กวาง 98 เซนติเมตร ยาว 220 เซนติเมตรขนาดกระดาษเพลา กวาง 55 เซนติเมตร ยาว 175 เซนติเมตร

- มีดหักสมุด เปนมีดไมมีคมปลายมน ใชกรีดกระดาษขอย เมื่อจะพับเปนเลมสมุด- ไมแบบ ใชเปนแบบวัดขนาด หนากระดาษขอยเมื่อพับจะเปนเลมสมุด- ฆอนไม ใชทุบเปลือกขอยใหละเอียด- ครุ ใชละลายเยื่อขอย7. การลบลายหรือลบสมุด เปนขั้นตอนที่จะทําสมุดขาวและดํา อุปกรณท่ีใชในการลบสมุดคือ

แปงเปยก ซึ่งไดจากแปงขาวเจา ถาจะทําแปงเปยกลบสมุดขาวตองผสมน้ําปูนขาวลงในแปงท่ีบดละเอียดแลวนี้ เพราะน้ําปูนขาวจะชวยไมใหกระดาษซึม ถาจะทําสมุดดํา แปงเปยกที่ใชไมตองผสมน้ําปูนขาวแตใสเขมาไฟหรือถานบดละเอียด ซึ่งไดจากไมโสนหรือกาบหมาก หรือกาบมะพราวเผาไฟ ผสมลงในแปงตั้งไฟกวนจนเขากันเปนแปงเปยกสีดํา แลวจึงนําไปลบสมุด เมื่อไดแปงเปยกแลว นํากระดาษที่จะลบวางบนกระดานลบสมุด ใชลูกประคบชุบแปงเปยกลบกระดาษจนทั่วแผนแลวนําไปตากแดดไวจนแหงสนิทในขณะที่ลบสมุดนั้น ถากระดาษบางไมเหมาะจะทําสมุดตองปะกระดาษเสริมซอนทับกันจนมีความ

Page 23: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

225

หนาพอท่ีจะทําสมุดได กอนจะทําเลมสมุดตองนํากระดาษที่ลบแลวนั้นไปขัดดวยหินใหเรียกและขึ้นมันหินที่ใชขัดกระดาษควรเปนหินแมน้ําผิวเรียบเกลี้ยง กระดาษที่ใชทําสมุดขาว เมื่อขัดแลวก็นําไปพับเปนเลมสมุดได แตกระดาษที่ใชทําสมุดดํา เมื่อขัดแลวตองนํามาลบอีกครั้งหนึ่งโดยใชแปงเปยกชนิดท่ีขนมากๆ ลบกระดาษใหแหงคามือ แลวนําไปตากแดดใหแหงสนิท กระดาษจะขึ้นเงาโดยไมตองขัดอีกครั้ง(มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2539)

8. การทําเลมสมุด สมุดไทยมีหลายชนิดหลายขนาด แตละชนิดและขนาดนั้นมีช่ือเรียกแตกตางกันออกไปในภาษาชางทําสมุดนิยมเรียกช่ือตามจํานวนหนา และประโยชนใชสอยของสมุด เชนสมุด 50 มาลัยตัดสมุด 40 สมุด 40 ไขหนาเสนตอก สมุด 30 สมุดโหร สมุดคืบ และสมุดพระมาลัยเปนตน การเรียกชื่อสมุด 50, 40 และ 30 เหลานี้หมายถึง สมุดท่ีมีจํานวน 50, 40 และ 30 กลีบ คําวากลีบในที่นี้หมายถึง หนากระดาษสมุดไทยที่เปนรอยพับคูหนึ่ง ถานับเปนฝาหรือหนา จะเทากับสมุด 100 ฝา(หนา) 80 ฝา (หนา) และ 60 ฝา (หนา) สวนสมุดโหรคือสมุดท่ีโหรนําไปจดปฏิทิน และสมุดคืบ คือสมุดพก หรือสมุดขนาดเล็ก มีเพียง 10 - 11 กลีบเทานั้น ตรงขามกับสมุดพระมาลัย ซึ่งจะมีขนาดกวางยาวกวาสมุดชนิดอื่นๆ เทาท่ีพบในปจจุบัน อยูในระหวางกวาง 15 - 25 เซนติเมตร ยาว 60 - 70เซนติเมตร สวนสมุดชนิดอื่นๆ มีขนาดระหวาง 10 - 13 เซนติเมตร ยาว 33 - 35 เซนติเมตร สวนสมุดท่ีไขหนา หรือไขหนาเสนตอกนั้นหมายถึงสมุดท่ีทําหนากวางกวาแบบธรรมดา ฉะนั้นจึงมีจํานวนหนานอยกวาสมุดไมไขหนา

การทําเลมสมุดนั้น ชางทําสมุดจะทําแบบพับสมุดไวทุกขนาดและชนิดของสมุด ฉะนั้นเมื่อไดกระดาษที่พรอมจะทําสมุดแลว ใชแบบซึ่งเปนไมแผนหนาๆ ขนาดกวางยาวเทากับหนาสมุดท่ีตองการจะทําวางไมแบบลงตอนกลางตามขวางของแผนกระดาษ นํามีดหักสมุดเปนมีดไมมีคมปลายมนมีดามถือ กรีดกระดาษใหเปนรอยตามแบบทั้งสองขาง เอาไมแบบออกแลวหักกระดาษไปตามรอยที่ขีดนั้นกลับไปมาจนหมดดานหนึ่ง และตองพยายามหักพับใหเปนแนวตรงระดับเสมอกันทุกตอนทําวิธีเดียวกันนี้อีกดานหนึ่งโดยไมตองวางแบบอีก ถากระดาษสั้นและตองการจะตอกระดาษใหหนาสมุดยาวตามตองการ ตองพับริมกระดาษนั้นใหเปนขอไวสําหรับเปนที่ตอหนาสมุด โดยใชแหงเปยกที่ใชลบสมุดนั้นทากระดาษสวนที่พับเปนขอไว ตอหนาสมุดใหไดตามขนาดที่ตองการ กระดาษที่พับกลับไปกลับมาแลวนี้ ตองตัดริมท้ังสองขางใหเรียบเปนแนวตรง และไดรูปดีเสียกอนจึงทําปกสมุด การทําปกสมุดก็คือ การติดค้ิวสมุดลงบนปกหนาท้ังสองดานของเลมสมุดนั่งเอง ค้ิวสมุดคือแถบกระดาษสมุดซึ่งกวางประมาณ 1– 2 เซนติเมตร ทางดวยแหงเปยกติดไวริมขอบของใบปกสมุดโดยรอบ 4 ดาน ติดค้ิวนี้เรียงซอนกัน 3- 5

Page 24: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

226

ช้ัน ใหไดระดับลดหลั่นจากกวางขึ้นไปหาแคบ เสร็จแลวจะไดสมุดไทยที่ตองการ สมุดไทยเลมหนึ่งๆจะมีจํานวนหนาและขนาดไมเทากัน ท้ังนี้แลวแตความตองการของผูใชสมุด

9. การเขียนหนังสือลงบนสมุดไทย คนไทยในสมัยโบราณนิยมเขียนหนังสือใตเสนบรรทัดและเนื่องจากสมุดไทยแตละเลมไมมีมาตรฐานในการกําหนดขนาดความกวางของหนากระดาษ จํานวนหนาและไมมีเสนบรรทัดอีกดวย ฉะนั้นการเขียนหนังสือแตละครั้งจึงไมจํากัดวาหนาหนึ่งๆ จะตองมีจํานวนบรรทัดเทาใด ท้ังข้ึนอยูกับความตองการของผูเขียนหนังสือท่ีนิยมและพบมากที่สุด อยูในระหวาง 3 – 4 บรรทัด เมื่อจะเขียนหนังสือตองขีดเสนบรรทัดไวกอนโดยใชตะกั่วนมเหลาแหลมขีดเสนบรรทัด ซึ่งตองกําหนดความถี่หางของชองไฟระหวางบรรทัดใหไดระดับเสมอกันทุกเสนบรรทัดตลอดท้ังเลมสมุด และตองใหมีท่ีพอสําหรับการเขียนตัวอักษรใตเสนบรรทัดดวย สวนการเขียนหนังสือบนเสนบรรทัดดังท่ีปรากฏอยูในปจจุบันนั้นเพิ่งจะนิยมกันในสมัยท่ีตัวอักษรโรมันเขามาสูประเทศไทย เมื่อประมาณปลายรัชกาลที่ 3 ตน รัชกาลที่ 4 แหงกรุงรัตนโกสินทร

วัสดุท่ีใชเขียนสมุดไทยดํา และสมุดไทยขาวมีหลายอยาง ท้ังท่ีแตกตางกันและที่ใชเหมือนกันเชน ดินสอขาว และน้ําหมึกขาวใชกับสมุดดํา น้ําหมึกดําใชกับสมุดขาว สวนน้ําหมึกสีแดง สีเหลือง และทอง ใชไดท้ังสมุดดําและสมุด ขาว เปนตน อุปกรณท่ีใชเขียนสมุดไทย สวนใหญไดจากวัสดุธรรมชาติท่ีมีอยูในพื้นบาน เชน

ดินสอขาว ไดมาจากหินดินสอ เปนดินชนิดหนึ่งมีเนื้อละเอียดแข็งลักษณะเหมือนหินกอนใหญๆ มีอยูตามภูเขา เมื่อจะนํามาใชประโยชนในการเขียนตองการเลื่อยใหเปนแทงเล็กๆ ดินสอขาวชนิดดีเปนดินเนื้อละเอียดสีขาวจัด พบมากในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช

ปากกาหรือปากไก ทําดวยไมหรือขนไก เหลาแหลมบาก ใหมีรองสําหรับใหน้ําหมึกเดินใชชุบหมึกสีตางๆ เขียนตัวหนังสือ ไดแก น้ําหมักสีขาว ดํา เหลือง แดง และทอง น้ําหมึกสีตางๆ ดังกลาวนี้ ไดมาจากวัสดุธรรมชาติเชนเดียวกัน คือ

น้ําหมึกสีขาว ไดมาจากเปลือกหอยมุกฝนหรือบดใหละเอียดจนเปนแปง ผสมกับกาวยางมะขวิด สวนสีขาวท่ีใชในงานเขียนสมุดไทยนอกจากนี้ใชสีฝุนเปนสวนใหญ

น้ําหมึกสีดํา ไดมาจากเขมาไฟบดละเอียด ผสมกาวยางมะขวิด หรือหมึกจีนฝนกับน้ําน้ําหมึกสีแดง ไดมาจากชาด ผสมกับกาวยางมะขวิดน้ําหมึกสีเหลือง ไดมาจากสวนผสมของรงกับหรดาล รงเปนยางไมชนิดหนึ่งมีสีเหลือง สวน

หรดาลที่จะใชทําหมึกนี้ใชหรดาลกลีบทอง ซึ่งเปนแรชนิดหนึ่ง น้ําหมึกสีเหลืองสวนประกอบ ดังนี้

Page 25: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

227

1. ใชหรดาลกลีบทองหนัก 8 บาท ตําในครกหินใหละเอียดกอนแลวนําไปบดกวนในโกรงใหละเอียดจนเปนแปงอีกชั้นหนึ่งใสน้ําฝนเล็กนอย กวนใหเขากันดีแลวรินน้ําหรดาลที่ละเอียดเก็บไวใชลูกโกรงบดกวนสวนที่ยังหยาบซึ่งคางอยูในกนโกรงตอไป แลวรินน้ําท่ีละเอียดเก็บไว บดกวนที่หยาบตอไปอีกจนหมดหยาบ ถาตองการใหน้ําหมึกสีเหลืองจัดตองผสมชาดเล็กนอยในตอนที่หรดาลละเอียดแลวนี้

2. นําสารสมบดละเอียดจํานวนหนึ่งใสลงในน้ําหรดาลละเอียดท่ีรินไว กวนใหเขากัน แลวรินน้ําละเอียดไวเหมือนครั้งกอนทําไปจนหมดหยาบ เมื่อทําดังนี้แลวตั้งท้ิงไว น้ําหรดาลละเอียดนั้นจะตกตะกอนนอนอยูกนชาม รินน้ําใสขางบนทิ้งและเอาสารสมบดกวนตอไปเชนครั้งแรกอีกทําเหมือนกัน 3 ครั้ง ขณะรินน้ําใสทิ้งตองระวังอยาใหหรดาลที่ตกตะกอนอยูไหลออกไปดวย

3. ใชน้ํามะนาวสด 4 ผล กรองลงไปหรดาลที่เตรียมไวแลว กวนใหเขากันตั้งท้ิงไวใหตกตะกอนนาน 24 ช่ัวโมง แลวจึงรินน้ําใสทิ้งเติมน้ําลงใหมกวนตอไป ตั้งท้ิงไวแลวรินน้ําท้ิงทําเชนนี้รวม 3 ครั้ง เพื่อลางน้ํามะนาวใหหมดเสร็จแลวผึ่งไวใหแหง จะไดเนื้อหรดาลขนเหลวเหมือนโคลน

4. นํายางมะขวิดมาละลายขนๆ กรองใหละเอียดผสมลงในหรดาลที่เตรียมไวพอสมควรกวนใหเขากันแลวตั้งท้ิงไวจนยางมะขวิคจับหรดาลตกตะกอนเหนียวอยูกนชาม

5. นํารงทองหนัก 2 บาทละลายขนๆ ดวยน้ําสะอาดแลวกรองลงในหรดาลเหนียวนั้น กวนใหเขากันตั้งท้ิงไวนาน 48 – 72 ช่ัวโมง รินน้ําใสทิ้งแลวทดลองเขียนถาเสนยังขาดไมเสมอกันตองเติมยางมะขวิคลงอีกจนกวาจะใชไดดี

น้ําหมึกสีทอง ไดมาจากทองคําเปลวซึ่งมีวิธีการนํามาใชแตกตางไปจาหมึกชนิดอื่น คือ ตองเขียนตัวอักษรดวยกาวท่ีไดจากยางไม เชน กาวยางมะขวิด เปนตน แลวใชทองคําเปลวปดทับบนกาว จะไดอักษรเสนทองที่เปนเงางาม แตถาผสมทองลงไปในกาวเสนอักษรจะขาดและไมข้ึนเงา

กระดาษขอยนับวันจะสูญหายไป เพราะขาดความนิยมและการพัฒนาคุณภาพ และผูทํากระดาษสวนใหญก็เลิกกิจการไปทําอาชีพอื่น จนเมื่อ พ.ศ. 2511 พบวาบานเลขที่ 13 หมูท่ี 8 ต.บางซื่อ เขตดุสิตเปนบานเดียวในหมูบานทํากระดาษ ตําบลบางซื่อท่ียังคงทํากระดาษขอยจําหนายอยูบาง แตไมไดยึดเปนอาชีพเหมือนกอนอีกทั้งทุกวันนี้เปลือกขอยก็หายากและมีราคาแพง การทํากระดาษดวยวิธีหัตถกรรมแบบโบราณจึงนิยมใชเปลือกของตนสา ซึ่งมีมากในภาคเหนือ (มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2539)

Page 26: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

228

สําหรับในภาคใต มีหนังสือบุด ใชบันทึกเรื่องราวตางๆ การทําหนังสือบุดของภาคใตมีท้ังทํามาจากเปลือกขอย แตบางทองถิ่น ในจังหวัดพัทลุง หรือ อําเภอสานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช นิยมใชเถากฤษณา ซึ่งชาวบานเรียกวา “ยานกริดหนาหรือยานปริดนา” จึงเรียกหนังสือประเภทนี้วา “หนังสือกริดหนาหรือหนังสือปริดหนา”

เปลือกขอยสําหรับใชทําหนังสือบุด จะตองเอาผิวสวนนอกสีเขียวออกเสียกอน สวนดานในที่เปนกระพี้เนื้อไมนั้นไมตองเอาออก ถาเปนเถาปริดหนาก็นํามาตัดเปนทอนๆ แลวนําไปบดหรือตําใหละเอียด แตไมถึงกับเปนผง ผสมดวยยางไมท่ีมีเมือกเหนียวคลุกเคลาใหเขากัน แลวเทลงในเบาพิมพท่ีขุดไวตามขนาดหนังสือท่ีตองการสวนความหนานั้นเทเปลือกขอย หรือ เถาปริดหนาลงไปตามความตองการ ตอจากนั้นใชลูกกลิ้งบดรีดใหสนิทเก็บไว 1 วัน 1 คืนจึงแคะออกจากเบาพิมพไปผึ่งแดดใหแหงสนิท แลวใชลูกสะบาขัดผิวหนากระดาษใหเรียบเสมอ ถาตองการบุดสีดําก็ใชกาบมะพราวหรือกาบหมากเผาไฟ แลวใชถานหรือเขมาไฟผสมกับน้ําขาวทาหนากระดาษ ข้ันสุดทายใชลูกสะบาขัดอีกทีหนึ่ง

สําหรับการทําสมุดไทยนั้นทําไดหลายรูปแบบหลายลักษณะ และใชวัสดุหลายชนิดเขียนตัวหนังสือ สิ่งเหลานี้เปนเหตุใหการเรียกชื่อสมุดไทยแตกตางกันไปดวย จะเห็นไดวาการเรียกชื่อสมุดนั้นๆแบงออกไดเปน 2 อยาง คือ

1. เรียกชื่อสมุดตามประโยชนท่ีใช เชน สมุดถือเฝา, สมุดรองทรงและสมุดไตรภูมิ เปนตน- สมุดถือเฝา ไดแก หนังสือสมุดไทยที่อาลักษณใชจดขอความเพื่อนําข้ึนอานถวายพระ

เจาแผนดินในที่เฝา- สมุดรองทรง ไดแก หนังสือสมุดไทยที่พระเจาแผนดินทรงใช- สมุดไตรภูมิ ไดแก หนังสือสมุดไทยที่สรางขึ้นเพื่อใชเขียนไตรภูมิโดยเฉพาะ

2. เรียกชื่อสมุดตามสีของเสนอักษรท่ีปรากฏใหเลมสมุด เชน สมุดดําเสนขาว สมุดดําเสนหรดาล สมุดเสนรง สมุดเสนทอง และสมุดขาวเสนดํา เปนตน- สมุดดําเสนขาว ไดแก สมุดไทยดําท่ีเขียนตัวอักษรดวยหมึกสีขาว แตถาเขียนดวยดิน

สอขาวจะเรียกวาสมุดดําเสนดินสอขาว- สมุดดําเสนหรดาล ไดแก สมุดไทยดําท่ีเขียนดวยหมึกสีเหลือง ซึ่งทําจากสวนผสม

ของรงกับหรดาล- สมุดเสนรง ไดแก สมุดไทยดําหรือสมุดไทยขาวที่เขียนดวยหมึกหลายสีปนกัน- สมุดเสนทอง ไดแก สมุดไทยดําหรือสมุดไทยขาวที่เขียนดวยกาว แลวใชทองคําเปลว

ปดทับเสนอักษรนั้น

Page 27: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

229

- สมุดขาวเสนดํา ไดแก สมุดไทยขาวที่เขียนดวยหมึกดําในปจจุบันหนังสือ สมุดไทยไมมีการทําข้ึนมาใหมเพื่อใชประโยชนในการเขียนหนังสืออีกตอ

ไป สมุดไทยเลมสุดทายทําข้ึนเมื่อ 15 ปท่ีผานมา แตก็มิไดใชเขียนเปนหนังสือดังเชนในสมัยกอน ความนิยมในการใชสมุดไทยเขียนหนังสือนั้นสิ้นสุดลงเมื่อปลายสมัยรัชกาลที่ 6 แหงกรุงรัตนโกสินทรฉะนั้นรูปอักษรและภาษาที่ใชเขียนลงในหนังสือสมุดไทยจึงเปนอักษรและภาษารุนเกาตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 6 แหงกรุงรัตนโกสินทร (เตือนใจ, 2520)

กระดาษสาการทํากระดาษสาเปนงานหัตถกรรมในครัวเรือนที่นิยมทําในภาคเหนือท่ีไมตองใชฝมือมากนัก

มีการลงทุนต่ําใหอุปกรณและวัตถุดิบหาไดงายและราคาไมแพง กระดาษสาเปนกระดาษที่ทําจากเปลือกในปอสา (Broussonetia papyrifera) (ภาพที่ 9) จากลําตนที่มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 5 – 10เซนติเมตร

วัสดุและอุปกรณท่ีใชในการผลิตกระดาษสา- เปลือกในตนปอสา- โซดาไฟ หรือ ดางขี้เถา- ถังสี่เหลี่ยมสําหรับแชเยื่อกระดาษ นิยมใชกอดวยซีเมนต เพราะมีความทนทานและทํา

ความสะอาดงาย- ตะแกรงชอนแผนกระดาษจะมีขนาดเทากับแผนกระดาษที่ตองการ กรอบทําดวยไมสําหรับการทํากระดาษสาในสมัยโบราณนั้นจะมีข้ันตอนเหมือนการทํากระดาษขอยตางกันที่

ข้ันตอนสุดทาย โดยการทํากระดาษสาจะใชเยื่อกระดาษมาละลายลงในบอน้ําเล็กๆ ใหเยื่อกระดาษละลายกระจายอยูในน้ําแลวใชตะแกรงหรือพะแนงชอนใหเยื่อกระดาษติดอยูบนผิวตะแกรงถาตองการใหกระดาษมีความหนาก็ชอนเอาเยื่อกระดาษใหติดบนตะแกรงซอนกันหลายๆ ครั้ง เสร็จแลวนําตะแกรงไปวางเอียงผึ่งแดดเชนเดียวกับการทํากระดาษขอย

อยางไรก็ตามการทํากระดาษขอยและกระดาษสาของไทยทั้งสองชนิดนี้มีข้ันตอนการทําท่ีเหมือนกันเกือบทั้งหมดตางกันที่ลักษณะการใช คือ กระดาษขอยมักนําไปทําสมุด แตกระดาษสามักนําไปใชทําเปนของใชมากกวา เชน รม โคม กระดาษหอของ กระดาษพิมพนามบัตรหรือบัตรเชิญ ทํากระดาษ ส.ค.ส. ทํากระดาษปดฝาผนัง เปนตน (วิบูลย, 2527)

ปจจุบันแหลงผลิตกระดาษสาตามกรรมวิธีโบราณไดรับการสงเสริมและพัฒนาขึ้นในเขตจังหวัดภาคเหนือ เชน เชียงใหม ลําปาง เชียงราย และนาน เปนตน (เพิ่มศักดิ์, 2539) กับท้ังไดนํา

Page 28: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

230

เทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยเพิ่มสีกระดาษและเติมกลีบดอกไมแหงผสมเสนใยขนาดตางๆ เปนการเพิ่มความงดงามและคุณภาพของกระดาษใหสูงข้ึน เปนที่นิยมของคนยุคใหม โดยนํามาใชกันอยางแพรหลาย เชน ทําเปนสมุดบันทึก บัตรอวยพร ดอกไม รมกันแดด (วิชิต, 2531) ท่ีสําคัญและมีประโยชนมาก คือ นํามาใชทําสําเนาจารึก ใชเปนวัสดุในการอนุรักษหนังสือและเอกสารโบราณ รวมท้ังซอมศิลปะโบราณวัตถุประเภทกระดาษดวย (มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย, 2539)

สําหรับการผลิตกระดาษสาดวยมือท่ียังคงมีการผลิตอยูในภาคเหนือของประเทศไทยในปจจุบันนั้น สามารถสรุปกรรมวิธีการผลิตได ดังภาพที่ 10 จะเห็นไดวาการผลิตกระดาษสาในปจจุบันไดมีการนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวยเพื่อพัฒนาคุณภาพ รวมท้ังทําใหประหยัดเวลาและแรงงานของผูผลิต ไดแก สารเคมีประเภทตางๆ ไดแก โซดาไฟหรือโซเดียมไฮดรอกไซด ซึ่งใชแทนขี้เถาหรือน้ําปูนขาวในอดีต คลอรีนหรือแคลเซียมไฮโปคลอไรด นํามาฟอกปอทําใหเปลือกที่ตมแลวมีสีขาวข้ึนรวมทั้งสียอมตางๆ เพิ่มสีสันทําใหกระดาษที่ออกมาสวยงาม นอกจากนั้นยังมีเครื่องตีเยื่อซึ่งเปนเครื่องทุนแรง ทําใหการผลิตกระดาษสาสะดวก รวดเร็ว ไมตองนั่งทุบเหมือนสมัยโบราณ ในปจจุบันไดมีการนํากระดาษสาที่ผลิตเสร็จเรียบรอยแลวมาประดิษฐทําเปนเครื่องใชตางๆ ท่ีสวยงามเปนการเพิ่มมูลคาและราคาของผลิตภัณฑจากปอสาอีกดวย

Page 29: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

231

ภาพที่ 8. สมุดขอยที่มีการตกแตงอยางสวยงาม

ภาพที่ 9. กระดาษสาที่ผลิตในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย

Page 30: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

232

ภาพที่ 10. การใชประโยชนตนปอสาและกรรมวิธีการผลิตกระดาษสา

Page 31: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

233

ตารางที่ 1. ปริมาณการใชเปลือกในปอสาภายในประเทศ ต้ังแต ป พ.ศ. 2532 – 2538

ป พ.ศ. ปริมาณ (เมตริกตัน)25321/ 38025331/ 50025341/ 50025351/ 50025361/ 1,00025372/ 3,00025382/ 4,700

ท่ีมา : 1/ เพิ่มศักดิ์และคณะ (2538)2/ จากการสํารวจ

Page 32: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

234

ตารางที่ 2. ปริมาณการนําเขาปอสาจากประเทศลาวในป พ.ศ. 2540 ณ ดานศุลกากรเชียงของ จ.เชียงรายดานศุลกากรทาลี่ และดานศุลกากรเชียงคาน จ.เลย

ดานศุลกากรเชียงของ จ.เชียงราย

ดานศุลกากรทาลี่จ.เลย

ดานศุลกากรเชียงคานจ.เลย

เดือนปริมาณ

(กิโลกรัม)มูลคาประเมิน

(บาท)ปริมาณ

(กิโลกรัม)มูลคาประเมิน

(บาท)ปริมาณ

(กิโลกรัม)มูลคาประเมิน

(บาท)ม.ค. 2,000 14,000 2,300 18,400 4,000 32,000ก.พ. - - - - - -มี.ค. 11,000 77,000 48,700 340,900 4,000 32,000เม.ย. 97,000 679,000 116,500 815,500 34,000 272,000พ.ค. 48,000 210,000 8,400 58,800 6,000 48,000มิ.ย. 13,000 91,000 5,300 37,100 - -ก.ค. - - 1,000 7,000 - -ส.ค. 5,000 35,000 6,500, 45,000 - -ก.ย. - - - - - -ต.ค. 2,000 14,000 2,800 19,600 3,000 39,000พ.ย. 5,000 35,000 2,500 17,500 - -ธ.ค. 23,000 217,000 2,800 19,600 - -รวม 206,000 1,372,000 196,800 1,379,400 51,000 423,000

หมายเหตุ เดือนกุมภาพันธไมมีการนําเขาปอสาเนื่องจากเปนชวงฤดูแลงทําใหการลอกเปลือกปอสาทําไดยาก สําหรับในเดือนกันยายนเปนชวงปลายฤดูฝนถึงแมจะมีการลอกเปลือกกันมาก แตการขนสงปอสาขามแมน้ําโขงไมสะดวกและอันตราย เนื่องจากเปนชวงน้ําหลาก

ท่ีมา : ปริมาณการนําเขาพืชเกษตรจากดานศุลกากรเชียงของ จังหวัดเชียงราย ดานศุลกากรทาลี่ และดานศุลกากรเชียงคาน จังหวัดเลย ป พ.ศ. 2540

Page 33: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

235

ตารางที่ 3. ลักษณะและราคาของเปลือกในปอสาแยกตามคุณภาพเกรดตางๆ

เกรด ลักษณะของเปลือกในราคา

(บาทตอกิโลกรัม)SA สีขาวสะอาด ไมแกและไมออนจนเกินไป มีอายุประมาณ 1 – 2 ป ไม

มีรอยแตกแขนง สีน้ําตาล ไมมีรอยไหม ไมถูกโรคและแมลงทําลาย ไมมีสิ่งแปลกปลอม

20 – 25

A ปอมีสีขาว อายุประมาณ 1 – 2 ป ไมมีรา ไมมีรอยไหม มีรอยแตกแขนงบางเล็กนอย

18 – 20

B ปอมีลักษณะสีขาว อายุ 2 – 3 ป มียางเหลืองติด ไมมีรา ไมมีรอยไหมมีรอยแตกแขนงสีน้ําตาล

15 – 18

C ปอมีลักษณะขาวขุน คล้ํา อายุ 2 ปขึ้นไป มียางสีเหลืองติดอยู มีตาแขนงมาก บางที่มีรอยไหม

10 –12

ปอรวม ปอมีลักษณะคละกันระหวางเกรด A, B และ C 13 – 15ที่มา : จากการสํารวจ

ตารางที่ 4. จํานวนผูผลิตกระดาษสาและความตองการใชเปลือกในปอสาของ 8 จังหวัดภาคเหนือ

จังหวัด จํานวนผูผลิตกระดาษสา (ราย)

ปริมาณการใชเปลือกในปอสา (ตันตอป)

ประเภทของผลผลิต

เชียงใหม 91/ 1,548 กระดาษสา เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑเชียงราย 81/ 517 กระดาษสาและผลิตภัณฑนาน 171/ 1,058 กระดาษสาและผลิตภัณฑพะเยา 22/ 5 กระดาษสาอยางเดียวแพร 51/ 1,310 กระดาษสาและผลิตภัณฑลําปาง 91/ 1,030 กระดาษสาและผลิตภัณฑสุโขทัย 21/ 1,503 กระดาษสา เยื่อกระดาษและผลิตภัณฑอุตรดิตถ 12/ 1 กระดาษสาอยางเดียว

รวม 53 6,972หมายเหตุ 1/ รวมผูผลิตกระดาษสาในระดับโรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลางและใหญ

Page 34: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

236

2/ จํานวนผูผลิตกระดาษสาเฉพาะผูผลิตกระดาษสาในครัวเรือนและในระดับโรงงานขนาดเล็กซึ่งเปนการผลิตกระดาษสาดวยมือเทานั้น

ท่ีมา : จากแบบสอบถามและการสัมภาษณผูผลิตกระดาษสาและผลิตภัณฑกระดาษสา (2540 – 2541)

ตารางที่ 5. ราคากระดาษสาตามขนาดและน้ําหนักของแผนกระดาษ

กระดาษหมายเลข จํานวนแผน/กิโลกรัม ราคา (บาท/แผน)00 15 601 20 502 23 403 30 3

กระดาษฝรั่งจากการเขียนเริ่มเขาสูยุคของการพิมพ วรรณคดีไทยไดรับการพิมพเผยแพรในสมัย รัชกาลที่ 5

เปนครั้งแรก โรงพิมพแหงแรกที่พิมพวรรณคดีไทย และหนังสือเรื่องตางๆ ออกจําหนายก็คือ โรงพิมพของหมอบรัดเล (Dan Beach Bradley) มิชชันนารีอเมริกันที่เขามาเผยแพรศาสนา โดยอาศัยการนําการแพทยสมัยใหมเขาเปนเครื่องมือจูงใจ และในการพิมพครั้งนี้ไดมีการนํากระดาษฝรั่งเขามาใชพิมพหนังสือเปนครั้งแรก (เตือนใจ, 2520) มีท้ังท่ีนําเอาวรรณคดีเกาๆ มาพิมพและพิมพเรื่องท่ีแตงข้ึนมาใหมโรงพิมพท่ีมีช่ือเสียงมากอยูในบริเวณยานวัดเกาะ โดยเฉพาะโรงพิมพราษฎรเจริญ หรือ เรียกทั่วไปวา“รานหนังสือหนาวัดเกาะ หรือ โรงพิมพวัดเกาะ”

จากนั้นเมื่อกิจการพิมพหนังสือเปนที่นิยมก็ไดมีโรงพิมพตางๆ พิมพหนังสือออกจําหนายมากข้ึน ตอมา หมอสมิธ (Sammual John Smith) ก็ไดตั้งโรงพิมพข้ึน พิมพหนังสือเรื่องตางๆ ออกจําหนายดวยในป พ.ศ. 2412 หมอบรัดเลและหมอสมิธไดตกตงแบงเรื่องกันพิมพเฉพาะที่เปนเรื่องอานเลน คือหมอบรัดเลพิมพหนังสือพวกท่ีเปนรอยแกว มีพงศาวดารจีนทั้งหมด หมอสมิธพิมพหนังสือท่ีเปนรอยกรอง ท่ีเรียกวา “หนังสือประโลมโลก” (เตือนใจ, 2520) การพิมพนั้นหมดบรัดเลพิมพเปนเลมสมุดใหญเย็บปกแข็ง คือ เอาสมุดไทยหลายเลมมารวมกันจบในสมุดฝรั่งเลมเดียวบาง หลายเลมจบบาง ทําเปนหนังสือหลักฐาน ถาวร งดงาม ราคาเลมละประมาณ 4 – 5 บาท เปนการลงทุนมาก สวนหมดสมิธ พิมพหนังสือประโลมโลกเปนเลมเล็กๆ เนื้อเรื่องเทาเลมสมุดไทย ใชปกออน ขายราคาเลมละ 1 สลึง นอกจากจะขายกันอยูท่ีรานแลวยังจัดใหมีเรือบรรทุกไปขายตามชนบททองไรทองนาอีกดวย ทําใหวรรณคดีไทย

Page 35: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

237

ซึ่งเคยเขียนและอานกันในราชสํานัก บานเจานาย และตามวัดไดขยายวงออกไปสูประชาชนทั่วไป นอกจากนั้นทําใหกระดาษฝรั่งเริ่มเปนที่นิยมตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งท่ี 1 การนํากระดาษเขามาจากตางประเทศทําไดยากมาก กรมแผนที่ทหารบก กระทรวงกลาโหมจึงไดพยายามผลิตกระดาษขึ้นใชเอง โดยในชั้นแรกผลิตกระดาษจากการนําเปลือกขอยมาตมใหเปอยแลวนําไปตากใหแหงทําเปนกระดาษ แตปริมาณที่ผลิตไดมีนอยและสิ้นเปลือง จึงไดหันมาสรางโรงงานผลิตกระดาษดวยเครื่องจักรท่ีตําบลสามเสน เมื่อป พ.ศ. 2466 โดยใชเศษกระดาษเปนวัตถุดิบซึ่งผลิตไดวันละประมาณ 1ตัน ซึ่งก็ยังไมเพียงพอกับความตองการในขณะนั้น

ในป พ.ศ. 2478 จึงไดตั้งโรงงานผลิตเยื่อและกระดาษขึ้นอีกแหงหนึ่งท่ีจังหวัดกาญจนบุรีโดยเลือกใชไมไผเปนวัตถุดิบในการผลิตเยื่อเพื่อใชทํากระดาษพิมพ-เขียน โรงงานนี้คือโรงงานกระดาษกาญจนบุรี กําลังผลิตประมาณวันละ 10 ตัน หรือ 3,000 ตันตอป (ในขณะนี้โรงงานนี้ไดหยุดผลิตช่ัวคราว)

ตอมาในป พ.ศ. 2498 ไดมีการจัดตั้งโรงงานกระดาษขึ้นอีก 1 แหง คือ โรงงานกระดาษบางปะอิน กําลังผลิตวันละ 400 ตัน หรือปละ 12,000 ตันตอป โรงงานที่จัดตั้งนี้เปนรัฐวิสาหกิจขึ้นอยูกับกระทรวงอุตสาหกรรมในปจจุบัน และผลิตกระดาษเพื่อใชในสวนราชการเปนหลัก (สุธารทิพย, 2525)

โดยท่ีการผลิตกระดาษในประเทศมีจํานวนจํากัดมาก ในขณะที่ความตองการใชไดขยายตัวข้ึนตามอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สังคม การคาและอุตสาหกรรม ดังนั้นในป 2505 รัฐบาลจึงมีนโยบายเรงรัดพัฒนาอุตสาหกรรมประเภทนี้ โดยเนนใหเอกชนมีบทบาทในการผลิตเพิ่มข้ึนเพื่อเปนการสนับสนุนการผลิตของเอกชน จึงไดจัดใหอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษและเยื่อกระดาษอยูในขายท่ีจะไดรับการสงเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน

อยางไรก็ตามจนบัดนี้ไทยก็ยังไมสามารถพึ่งพาตนเองไดอยางเต็มท่ีในอุตสาหกรรมประเภทนี้ เนื่องจากไมสามารถผลิตวัตถุดิบหลักที่ใชในการผลิตกระดาษไดอยางพอเพียง โดยเฉพาะวัตถุดิบประเภทเยื่อกระดาษ เพราะการผลิตเยื่อกระดาษภายในประเทศในขณะนี้ผลิตเพียงเฉพาะเยื่อใยสั้นเทานั้น ซึ่งในสวนนี้ก็ไมสามารถสนองความตองการไดอยางสมบูรณ สวนเยื่อใยยาวซึ่งตองใชเปนองคประกอบในการผลิตกระดาษทุกประเภท (สัดสวนมากบาง นอยบาง แตกตางไปตามประเภทของกระดาษที่จะผลิต) ยังไมมีการผลิตภายในประเทศ นอกจากนี้วัตถุดิบจําพวกเคมีภัณฑก็ยังตองพึ่งพาการนําเขาเกือบทั้งหมด

กระดาษที่ผลิตโดยทั่วไปมีหลายประเภทและหลายชนิด ซึ่งอาจจําแนกประเภทโดยถือประโยชนของการใชเปนเกณฑ ดังนี้

Page 36: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

238

1. กระดาษพิมพ-เขียน ไดแก กระดาษที่ใชสําหรับพิมพและเขียน เชน กระดาษอัดสําเนาและกระดาษสมุดตางๆ

2. กระดาษหนังสือพิมพ ไดแก กระดาษปรูฟ และกระดาษที่ใชทําหนังสือพิมพ3. กระดาษเพื่อการอุตสาหกรรม ไดแก กระดาษเหนียว กระดาษทํากลอง กระดาษหอของ

กระดาษลูกฟูก และกระดาษที่ใชในกิจการอุตสาหกรรมตางๆ4. กระดาษอนามัย ไดแก กระดาษเช็ดหนา กระดาษเช็ดมือ กระดาษชําระ5. กระดาษอื่นๆ ไดแก กระดาษฟาง กระดาษไหวเจา กระดาษสา กระดาษมวนบุหรี่ ฯลฯ

เปนตนวัตถุดิบวัตถุดิบที่ใชในการผลิตเยื่อกระดาษสาสามารถแยกไดเปน 2 ประเภทใหญๆ (กองเศรษฐกิจอุต

สาหกรรม, 2524) ดังนี้1. วัตถุดิบที่ไดจากพืช ตามที่กรมปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สถาบัน

วิจัยวิทยาศาสตรประยุกตแหงประเทศไทย กรมวิทยาศาสตรบริการ และ FAO ไดทําการวิจัยพืชเสนใยตางๆ ในประเทศ ถึงความเหมาะสมในการนํามาใชเปนวัตถุดิบผลิตเยื่อกระดาษ ปรากฏรายชื่อดังตอไปนี้

ไมสน 2 ใบ ไมสน 3 ใบ ไมยางแดงไมเคียมชาย ไมมังตาน ไมยางนาไมตะบะ ไมตะลุมพอ ไมกะบกไมกันเกรา ไมสนประดิพัทธ ไมยางพาราไมสนทะเล ไมสักพันคํา ไมตีเปดไมโกงกาง ไมลําพู ไมพอทะเลไมปอกะสา ไมกระถินไทย ไมกระถินณรงคมะขามเทศ ไมพังแหร ไมกรวยน้ําไมยูคาลิปตัส ไมนุน ไมงิ้วไมตะบูน ไมรังกระแท ไมประสักไมรัก ไมเสม็ดขาว ไมกระพอไมมะมวงหิมพานต ไมทองหลาง ไมมะกอกไมชมพูพันธุทิพย ไมไมยราบ ปอเฟอง

Page 37: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

239

ปอแกว ไมยราบยักษ ไมไผพันธุตาง ๆปอกระเจา หญาขจรจบ ไผเพ็กหญาขน ฟางขาว ตนขาวฟางตนขาวโพด เศษฝาย ชานออยเศษปอ ตนกระเจี๊ยบแดง ตนหมอนตนแขมปม ตนพงระกํา ตมเข็มหญาหางหมาหรือหางหมาจอก สับปะรด

วัตถุดิบประเภทเสนใยที่ใชสําหรับผลิตเยื่อกระดาษ1. ไมใยยาว ไดแก ไมจําพวกสน (conifers) ซึ่งเปนพืชเมืองหนาว ประเทศในแถบเมืองหนาว

นิยมปลูกเพื่อใชเปนวัตถุดิบในการผลิตเยื่อใยยาว เปนเยื่อท่ีมีคุณภาพสูง2. ไมใยสั้น ไดแก ไมใบกวาง (broadleaved trees) เยื่อกระดาษจากไมชนิดนี้ก็มีความสําคัญ

เชนกัน กลาวไดวาไมเยื่อสั้นทุกชนิดนํามาผสมกับเยื่อใยยาวทําเปนกระดาษได หรืออาจจะไมผสมเยื่อใยยาวก็สามารถทําเปนกระดาษไดเชนกัน

3. วัตถุดิบที่ไดจากเคมีภัณฑ การผลิตเยื่อและกระดาษจําเปนตองใชเคมีภัณฑตางๆ เพื่อใหเยื่อและกระดาษที่ผลิตไดนั้นมีความเหนียวและคงทนตอสภาพการใชงานของผลิตภัณฑแตละชนิด เคมีภัณฑตางๆ ไดแก คลอรีน โซดาไฟ โซเดียมโมโนซัลไฟด แบเรียมคลอไรด ชันสน แปงมัน ผงฟอกขาว สีน้ําเงิน ปูนขาว สารชวยในการตกตะกอน และสารสม เปนตน

กรรมวิธีในการผลิตเยื่อกระดาษนําวัตถุดิบ (พืชหรือไมตางๆ) เขาเครื่องตัดใหเปนช้ินเล็กชิ้นนอยเสียกอน แลวจึงผานเขาเครื่อง

เพื่อแยกฝุนและผงออก จากนั้นจึงนําเขาตม (digester) โดยใสสารเคมี sodium sulphate และ sodiumhydroxide ซึ่งมีไอน้ําผานเขาหมอตลอดเวลา ราว 3 – 4 ช่ัวโมง หมอตมท่ีใชในการตมเปอยนี้ตองหมุนอยางชาๆ เมื่อตมเยื่อสุกแลว จึงนําไปบดลางและนํามารอนใหไดขนาดตามความตองการ เมื่อแยกเอาสิ่งเจือปนและเยื่อท่ีหยาบออก จากนั้นจะนําเยื่อผานตอไปยัง Thickener Filter เพื่อความสะอาดอีกครั้งหนึ่งแลวนําไปเก็บยังถังพักเพื่อรอนําสงไปยังโรงฟอกเยื่อ ในการฟอกเยื่อตองใชสารเคมีดังนี้

น้ําคลอรีนSodium Hydroxide (NaOH)Calcium Hypochlorite (Ca(OCl)2)Sulphur Dioxide (SO2)

Page 38: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

240

ขบวนการฟอกเยื่อ แบงออกเปน 3 ข้ันดวยกัน คือข้ันที่ 1 Chlorine Gas Bleaching : การฟอกเยื่อดวยกาซคลอรีนข้ันที่ 2 Soda Extraction : การแยกลิกนินออกจากเยื่อข้ันที่ 3 Hypo Bleaching : การฟอกใหขาวสะอาด

เมื่อผานขบวนการฟอกครั้งท่ี 3 แลว ก็จะไดเยื่อกระดาษฟอกขาวที่สามารถนําไปใชทํากระดาษประเภทตางๆ ได

การผลิตกระดาษมีกรรมวิธีท่ีคลายๆกัน ในที่นี้จะยกตัวอยางการผลิตกระดาษพิมพเขียน ซึ่งมีกรรมวิธีการผลิตดังนี้ (ภาพที่ 12) นําเยื่อใยยาวท่ีเขาเครื่องบดแลว ผสมกับเยื่อใยสั้นในอัตราสวนเยื่อใยยาว 1 สวน ผสมกับเยื่อใยสั้น 6 สวน ใสลงในถังผสมพรอมเคมีภัณฑตางๆ เชน สารสม (alum) เพื่อเปนตัวควบคุมความเปนกรดเปนดาง ดินขาว (kaolin) ชันสน (rasin) ผงฟอกนวล แปงมัน ยาฆาเชื้อ และสียอม จากนั้นจึงนําเยื่อท่ีผสมแลวมาเขาเครื่องปรับความเขมขน และผานเขาเครื่องกรอง เครื่องเดินแผนเพื่อใหเยื่อออกมาเปนแผนกวาง แลวจึงผานขบวนการอบใหแหงและรีดหรืออัดใหเรียบ จากนั้นจึงเขาามวนกระดาษเพื่อเตรียมตัดเปนขนาดตางๆ ตามตองการ

การผสมเยื่อกับสารเคมี เปนสวนสําคัญของการผลิตเพื่อใหไดคุณภาพและมาตรฐานตามชนิดของกระดาษที่ตองการ สวนการผลิตกระดาษชนิดอื่นๆ จะมีกรรมวิธีในทํานองเดียวกันจะตางกันไปตามปริมาณและสัดสวนของเยื่อใยยาว เยื่อใยสั้นที่ใช และเคมีภัณฑท่ีจําเปนเพื่อใหไดกระดาษที่ตองการ ในป พ.ศ. 2538 มีโรงงานผลิตเยื่อกระดาษทั้งหมดจํานวน 52 โรงงาน (สํานักสารนิเทศ, 2539)

ปจจุบันมีการนําเขากระดาษและเยื่อกระดาษเปนปริมาณมาก และมีความตองการมากขึ้นทุกปถึงแมวาจะสามารถผลิตเยื่อกระดาษไดในประเทศบาง แตก็ยังไมเพียงพอตอความตองการดังแสดงไวในตารางที่ 6

Page 39: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

241

ตารางที่ 6. ปริมาณกระดาษและเยื่อกระดาษนําเขาจากตางประเทศ พ.ศ. 2534 – 2540

ปริมาณกระดาษนําเขา ปริมาณเยื่อกระดาษนําเขาป พ.ศ.

(ตัน) (พันบาท) (ตัน) (พันบาท)2534 410,274 9,767,297 249,326 3,872,8172535 465,762 11,549,115 270,438 4,067,7852536 550,568 13,197,817 371,793 4,710,1282537 558,967 14,637,641 389,541 5,406,2972538 520,185 19,407,323 416,897 9,122,7942539 468,567 17,348,191 415,810 6,835,6332540 404,023 17,522,272 414,151 6,595,202

ท่ีมา : สํานักสารนิเทศ (2540)

ในการผลิตกระดาษทุกวันนี้ วัสดุหลักสวนใหญท่ีใชเปนวัตถุดิบในการผลิตกระดาษหรือเยื่อกระดาษนั้น ไดแก ไมยูคาลิปตัส ไผ ฟางขาว ปอแกว ปอกระเจา และชานออย เปนตน ซึ่งวิธีการผลิตในปจจุบันก็จะใชเทคโนโลยีสมัยใหม ซึ่งเนนการใชเครื่องจักรเพื่อความสะดวก รวดเร็ว และไดปริมาณมาก สามารถกําหนดลักษณะตางๆ ไดตามตองการ

ภาพที่ 11. กระดาษฝรั่ง

Page 40: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

242

ภาพที่ 12. กรรมวิธีการผลิตกระดาษพิมพ - เขียนในปจจุบันท่ีมา : สุธารทิพย (2525)

ตารางที่ 7. วัตถุดิบที่ใชในการผลิตเยื่อในประเทศไทย

ประเภทของวัตถุดิบ ผูผลิต ราคา (บาท/ตัน) ปริมาณ (ตัน/ป)ไมยูคาลิปตัส Eucalyptuscamaldulensis

Phoenix Pulp & PaperAdvance Agro PanjapolSiam Cellulose

765-820 500,000(+252,000)

ชานออย Bagasse Siam Pulp & Paper(Thai Pulp & Paper)

200300-400

45,500(+100,000)

ไมไผ Bamboo Phoenix Pulp & Paper 810-925 40,000ปอ Kenaf Phoenix Pulp & Paper 1,550ฟางขาว Riec straw Bang-Pa-In 1,000 Not in productionปอสา Paper mulberry โรงทํากระดาษสาดวยมือ

โรงงานผลิตกระดาษสา22,000 4,700

Page 41: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

243

ตารางที่ 8. ความตองการกระดาษและเยื่อกระดาษของประเทศไทย ระหวางป พ.ศ. 2536 – 2541

2536 2537 2538 2539 2540 2541เยื่อกระดาษ (ตัน) - ความตองการ 415 466 523 586 659 740 - กําลังการผลิต 209 284 309 509 509 509กระดาษ (ตัน) - ความตองการ 1,699 1,876 2,104 2,361 2,649 2,970 - กําลังผลิต 1,842 2473 2,565 2,765 3,103 3,154 - ปริมาณการบริโภค* ก.ก./คน/ป 28.3 31.5 34.9 38.7 42.9 47.5

หมายเหตุ ปริมาณการบริโภคกระดาษตอหัวประชากร ป 2538โลก 48.7 ก.ก.มาเลเซีย 88 ก.ก.เกาหลีใต 154 ก.ก.สิงคโปร 174 ก.ก.ใตหวัน 210 ก.ก.ญ่ีปุน 247 ก.ก.สหรัฐอเมริกา 332 ก.ก.

สรุปหนังสือโบราณ คัมภีรใบลาน และสมุดไทยที่ไดผลิตข้ึนมาในอดีตนั้น เปนหลักฐานทางวิชา

การท่ีมีคุณลักษณะทางเสริมสรางทักษะแกนักศึกษาและประชาชนในดานประวัติการของประเทศชาติ และภูมิหลังของอารยธรรมแหงสังคมกลุมตางๆ ท่ีมีอยูท่ัวราชอาณาจักรไทยนับแตอดีตจนถึงปจจุบันเอกสารที่บันทึกสรรพวิชาการของบรรพชนไทยเหลานี้ เปนเหมือนกระจกเงาที่สองสะทอนใหเห็นถึงอารยธรรม วัฒนธรรม จริยธรรม มนุษยธรรมและคุณธรรม ท่ีมีมาแตอดีตซึ่งสามารถนํามาใชเปนแบบอยางในการปูพื้นฐานสูสังคมในปจจุบันและอนาคต นอกจากจะเปนการสะทอนในเห็นถึงสภาวะตางๆในอดีตดังกลาวแลว เทคโนโลยีการถายทอดผานวัสดุท่ีใชรองรับตางๆนั้น ก็ไดแสดงใหเห็นถึงวิวัฒนาการ การพัฒนาเทคโนโลยีในการผลิตและการใชประโยชนวัสดุท่ีใชรองรับใหมีความสามารถที่

Page 42: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

244

จะตอบสนองตอความตองการที่จะถายทอดสิ่งตางๆ ใหมีความสะดวกสบายมีความคงทนถาวร สามารถเก็บรักษาไวไดงาย

นับจากยุคเริ่มแรกที่คนโบราณไดนําวัสดุตางๆ ท่ีมีอยูรอบตัว ใกลมือ หางาย เชน ดินและหินมาเปนเครื่องมือในการขีดเขียน ไมไดมีการประดิษฐประดอยใหสวยงามแตก็สามารถถายทอดเรื่องราวตางๆ ใหคนรุนหลังทราบได ตอมาจึงคิดท่ีจะทําใหเปนรูปแบบที่สวยงามขึ้นมา เปนศิลาจารึกในลักษณะรูปรางตางๆ ซึ่งจารึกที่เกาแกท่ีสุดท่ีพบในประเทศไทย คือ ศิลาจารึกอักษรขอมโบราณอายุประมาณพ.ศ. 800 – 1000 แตเนื่องจากจารึกดังกลาวไมใชจารึกภาษาไทย นักประวัติศาสตรสวนใหญจึงลงความเห็นใหศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกภาษาไทย อักษรไทยสมัยสุโขทัยของพอขุนรามคําแหงมหาราช เปนจารึกท่ีเกาแกท่ีสุดของไทย ในยุคนี้นอกจากจะมีการจารึกลงบนแผนศิลาแลว ยังมีการจารึกลงบนแผนโลหะเชน แผนทอง เงิน นาก ทองแดง และจารึกบนแผนไมดวย

จากยุคของจารึกรูปแบบตางๆ ตอมาพบวาคนไทยสมัยโบราณนั้นนิยมท่ีจะจดบันทึกเรื่องราวตางๆ โดยเฉพาะเรื่องราวทางศาสนาลงบนใบลาน ซึ่งเปนใบไมชนิดหนึ่งตนลักษณะคลายตนตาล ใบลานที่จดบันทึกแลวจะผูกติดกันเปนผูกเพื่อใชเทศนเปนสวนใหญ คัมภีรใบลานที่เกาแกท่ีสุดซึ่งยังคงสภาพดีจนปจจุบันนี้ จารขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2014 ใชรูปอักษรธรรมลานนา ภาษาบาลี พบที่วัดไหลหิน อําเภอเกาะคา จ.ลําปาง คัมภีรใบลานมิใชจะมีแตเรื่องราวพระพุทธศาสนาเทานั้น ยังมีเรื่องเกี่ยวกับกฎหมายตํานาน วรรณกรรม โหราศาสตร เวชศาสตร อีกดวย

หลังจากการจารลงบนใบลานแลวตอมาไดมีการพัฒนาคิดคนหาวัตถุดิบที่ไดจากเปลือกไมชนิดตางๆ นํามาผลิตเปนกระดาษขึ้นมา เปลือกไมท่ีนิยมนํามาทํากระดาษและไดกระดาษที่มีคุณภาพดีไดแกเปลือกตนขอยนํามาทําเปนสมุดขอยหรือท่ีภาคใตเรียกวา หนังสือบุด เปลือกตนสาทําสมุดกระดาษสานอกจากนั้น พบวาทางภาคใตมีการนําเอาเถากฤษณา และหัวของตนเอาะนก หรือตนกระดาดมาทําเปนกระดาษเพื่อใชบันทึกเรื่องราวตางๆอีกดวย สําหรับกรรมวิธีในการผลิตกระดาษชนิดตางๆนั้น จะมีวิธีการท่ีคลายคลึงกันแตจะตางที่การนํามาใชประโยชน กระดาษขอยจะนิยมนํามาทําเปนสมุดเพื่อใชบันทึกลายลักษณอักษรมากที่สุด ขณะที่กระดาษสาและกระดาษอยางอื่นจะถูกนําไปใชเปนของใช เชน รมโคมไฟ กระดาษหอของ เปนตน ในปจจุบันหนังสือ สมุดไทย ไมมีการทําข้ึนมาใหมเพื่อใชประโยชนในการเขียนหนังสืออีก สมุดไทยเลมสุดทายถูกทําข้ึนเมื่อ 15 ปท่ีผานมา แตก็มิไดใชเขียนเปนหนังสือดังเชนสมัยกอน ความนิยมในการใชสมุดไทยเขียนหนังสือนั้นสิ้นสุดลงเมื่อปลายสมัยรัชกาลที่ 6 แหงกรุงรัตนโกสินทร เนื่องจากสมัยนั้นไดมีการนํากระดาษฝรั่งเขามาใชในการบันทึกลายลักษณอักษรตางๆ

Page 43: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

245

แทน สําหรับหนังสือสมุดไทยฉบับที่เกาท่ีสุดซึ่งมีอยูในหอสมุดแหงชาติปจจุบันคือ หนังสือพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ สรางขึ้นในป พ.ศ. 2223

กระดาษฝรั่งเขามาในประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 เขามาในยุคของการพิมพ โดยโรงพิมพแหงแรกที่พิมพวรรณคดีไทยและหนังสือตางๆออกจําหนาย คือ โรงพิมพของหมอบรัดเลมิชชันนารีอเมริกัน จากนั้นเมื่อกิจการพิมพหนังสือเปนที่นิยมก็ไดมีโรงพิมพตางๆพิมพหนังสือออกจําหนายมากข้ึน มีการทํารูปเลมเปนหนังสือหลักฐาน ถาวร งดงาม และนอกจากจะขายที่รานแลวยังจัดใหมีเรือบรรทุกไปขายตามชนบททองไรทองนาอีกดวย ทําใหวรรณคดีและหนังสือตางๆซึ่งเคยเขียนและอานกันในราชสํานัก และตามวัดไดขยายวงออกไปสูประชาชนทั่วไป และทําใหกระดาษฝรั่งเปนที่นิยมและเปนท่ีรูจักกันตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา

ทุกวันนี้กระดาษมีบทบาทสําคัญตอชีวิตประจําวันของมนุษยอยางมาก จึงมีการพัฒนาคุณภาพและเทคโนโลยีการผลิตกระดาษ เพื่อใหมีปริมาณและคุณภาพตามที่ตองการขึ้นมาตอบสนองความตองการดานประโยชนใชสอยมากมายหลายชนิด ทําใหกรรมวิธีการผลิตกระดาษดวยมือและวัสดุพื้นบานนั้นลดความนิยมไป โดยเฉพาะกระดาษขอยท่ีนับวันจะสูญหายไปเพราะขาดความนิยมและการพัฒนาคุณภาพ และผูทํากระดาษสวนใหญก็เลิกกิจการไปทําอาชีพอื่นคงเหลือแตการผลิตกระดาษสาที่ยังมีการผลิตอยูทางภาคเหนือของประเทศไทย ในการผลิตมีการนําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาเพิ่มคุณภาพกระดาษ มีการดัดแปลงทําเปนผลิตภัณฑตางๆที่มีความสวยงาม ทันสมัยจนเปนที่นิยมของคนยุคใหม สําหรับกระดาษที่ใชในการบันทึกหรือเขียนลายลักษณอักษรตางๆนั้น ไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตโดยเนนการใชเครื่องจักรเพื่อความสะดวก รวดเร็ว และสามารถกําหนดลักษณะตางๆไดตามความตองการของตลาด สวนวัตถุดิบที่ใชเปนเยื่อกระดาษในปจจุบัน ไดแก ยูคาลิปตัส ไผ ฟางขาว ชานออย ปอแกว ปอกระเจา แตท่ีใชเปนเยื่อกระดาษมากที่สุด คือ ยูคาลิปตัส ถึงแมวาประเทศไทยจะสามารถผลิตกระดาษและเยื่อกระดาษเองได แตก็ยังไมเพียงพอตอความตองการใชกระดาษของประชาชนในประเทศ ทําใหตองนําเขากระดาษและเยื่อกระดาษจากตางประเทศปหนึ่งๆเปนจํานวนมิใชนอย ดังนั้นเทคโนโลยีการผลิตกระดาษและเยื่อกระดาษในประเทศไทย จึงควรที่จะตองมีการศึกษาเพื่อพัฒนาใหมีท้ังคุณภาพและปริมาณที่มากขึ้นใหเพียงพอตอความตองการของประชาชน และสามารถลดมูลคาการนําเขากระดาษและเยื่อกระดาษจากตางประเทศไดดวย

Page 44: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

246

เอกสารอางอิงกองเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 2524. รายงานศึกษาภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเฉพาะประเภท: อุตสาห

กรรมเยื่อและกระดาษ, สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ.56 น.

กองแกว วีระประจักษ. 2511. เครื่องเขียนหนังสือของชาวไทยโบราณ. อางโดย เตือนใจ สินทะเกิด.วรรณคดีชาวบานจาก “วัดเกาะ”. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ,กรุงเทพฯ. 223 น.

. 2530. การทําสมุดไทยและการเตรียมใบลาน. หอสมุดแหงชาติ กรมศิลปากร,กรุงเทพฯ. 39 น.

เตือนใย สินทะเกิด. 2520. วรรณคดีชาวบานจาก “วัดเกาะ”. สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติกระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ 223 น.

ธวัช ปุณโณทก. 2532. ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาวกับความสัมพันธทางดานประวัติศาสตร ใน วัฒนธรรมพื้นบาน: กรณีอีสาน. สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ,กรุงเทพฯ. 391 น.

เพิ่มศักดิ์ สุภาพรเหมินทร, สวาง ขัดขาว, อินทรัตน เสราดี, ศุภชัย แกวมีชัย, วันชัย สรอยอินทรากุล,วิโรจน วจนานวัช และชาญชัย สมาศิลป. 2538 เทคโนโลยีการผลิตปอสาและกระดาษสา. ศูนยวิจัยพืชไรเชียงใหม สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร, เชียงใหม. 114 น.

มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย. 2539. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง ฉบับตนแบบ. ธนาคารไทยพาณิชย, กรุงเทพฯ 340 น.

วันทนี สาตราคม, นีโลบล เดชาติวงศ และรุงอรุณ ศิริรัตน. 2526. การศึกษาเกี่ยวกับการทํากระดาษจากปอสา, น. 1-1-1-17. ใน รายงานการสัมมนาเรื่อง “การพัฒนาปอสาเพื่ออุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ”วันศุกรท่ี 28 มกราคม 2526 ณ หองสัมมนา วท. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ.

วิชิต สุวรรณปรีชา. 2531. ศิลปาชีพ เลมท่ี 1. โรงพิมพอักษรพิทยา, กรุงเทพฯ. 64 น.สถาบันทักษิณคดีศึกษา. 2529 ก. จารึกและเอกสารโบราณ, น. 1028 –1029. ใน สารานุกรรมวัฒนธรรม

ไทย ภาคใต เลม 3. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, สงขลา. . 2529 ข. หนังสือบุด, น. 3941-3940.ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต เลม 9.

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, สงขลา.

Page 45: ประวัติความเป นมาของการผล ิตและการใช กระดาษในประเทศไทยposaa.kapi.ku.ac.th/Document/PDF/FinalRep2001_V1/Full_1B-1-1(1).pdf ·

Final ReportThe Research Project for Higher Utilization of Forestry and Agricultural Plant Materials in Thailand (HUFA)

247

สมพงษ เกรียงไกรเพชร. 2515. ประเพณีไทยโบราณ. สํานักพิมพแพรพิทยา, กรุงเทพฯ. 711 น.สุธารทิพย พิสิฐบัณฑูรย. 2525. อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ. หนวยการเกษตรและอุตสาหกรรม สวน

วิจัยเศรษฐกิจ ฝายวิจัยและวางแผน ธนาคารไทยพาณิชย, กรุงเทพฯ. 51 น.สุพจน พฤกษะวัน. 2529. วิทยาการจากสมุดขอยใบลานจังหวัดพิษณุโลก. งานสงเสริมศิลปวัฒนธรรม

ไทย ครั้งท่ี 10. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, สงขลา. 92 น.สุมน อมรวิวัฒน. 2535. ความคิดและภูมิปญหาไทยดานการศึกษา. สํานักพิมพจุฬาลงกรณ, กรุงเทพฯ.

469 น.สํานักสารนิเทศ. 2539. สถิติการปาไมของประเทศไทย ป 2539. กรมปาไม, กรุงเทพฯ. 149 น.สํานักสารนิเทศ 2540. สถิติการปาไมของประเทศไทย ป 2540 . กรมปาไม, กรุงเทพฯ. 140 น.