35
หลักนิเทศศาสตร บทที่ 3 แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

หลักนิเทศศาสตรบทที่ 3

แบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 2: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

บทที่ 3 แบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

ความหมายของแบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

ประโยชนและขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

ขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร สรุป

Page 3: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการสื่อสาร หมายถึง การใช

สัญลักษณเพื่ออธิบายถึงกระบวนการ โครงสราง หนาที่

และความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ ในกระบวนการ

สื่อสารซ่ึงมีความเคล่ือนไหวและเปล่ียนแปลงอยางตอเนื่อง

ใหเห็นเปนรูปธรรมที่ชัดเจนขึ้น

1. ความหมายของ “แบบจําลองกระบวนการส่ือสาร”

Page 4: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

1. แบบจําลองชวยใหผูศึกษาสามารถรวบรวมความคิด

กําหนดคําถามในการวิจัย และคาดเดาหรือทํานายเหตุการณ

ตาง ๆ ในการศึกษากระบวนการสื่อสารไดชัดเจนยิ่งขึ้น

2. ประโยชนของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 5: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

2. แบบจําลองทําหนาที่อธิบายธรรมชาติของการสื่อสาร

เน่ืองจากการสื่อสารมีลักษณะเปนพลวัต (dynamic) มีการ

เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยางตอเน่ืองตลอดเวลา ไมหยุดน่ิง และ

เปนนามธรรมจับตองไมได จึงไมสามารถหยุดกระบวนการสื่อสาร

เพื่ออธิบายปรากฏการณที่เกิดข้ึนในกระบวนการสื่อสารได

ดังน้ันแบบจําลองที่สรางข้ึนเลียนแบบปรากฏการณ

การสื่อสารที่เกิดข้ึนจริงจึงชวยทําใหเรียนรูและเขาใจลักษณะ

ธรรมชาติของกระบวนการสื่อสารไดชัดเจนยิ่งข้ึน

2. ประโยชนของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 6: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

3. แบบจําลองชวยใหผูศึกษาเขาใจองคประกอบและ

ความสัมพันธขององคประกอบแตละองคประกอบใน

กระบวนการสื่อสารไดชัดเจนขึ้น

4. แบบจําลองชวยใหผูศึกษากําหนดขอบเขตหรือ

เลือกศึกษาเฉพาะองคประกอบใดองคประกอบหนึ่ ง

ในกระบวนการสื่อสารไดตามความสนใจ

2. ประโยชนของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 7: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

1. แมวาแบบจําลองกระบวนการสื่อสารเปนการอธิบาย

กระบวนการที่สลับซับซอนใหเขาใจไดงายขึ้น

แตแบบจําลองไมสามารถนําเสนอสาระสําคัญ เชน

บริบทของการสื่อสาร หรือปฏิกิริยาตอบกลับระหวาง

คูสื่อสารในสถานการณจริงลงในแบบจําลองได

3. ขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 8: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

2 . เ น่ือ งจากแบบ จําลองและกระบวนการสื่ อสาร ใน

สถานการณจริงมีลักษณะแตกตางกัน กลาวคือ แบบจําลอง

คือความพยายามในการหยุดกระบวนการสื่อสารใหน่ิง (static)

เพื่อความสะดวกในการศึกษา แตกระบวนการสื่อสารจริงน้ัน

มีลักษณะเปนพลวัต

ดังน้ันแบบจําลองจึงไมสามารถถายทอดลักษณะที่ชัดเจน

ของปฏิสัมพันธที่ตอเน่ืองและสงผลซึ่งกันและกันของแตละ

องคประกอบในกระบวนการสื่ อสารได และแบบจําลอง

กระบวนการสื่อสารก็อาจกอใหเกิดการบิดเบือนการรับรูเรื่อง

กระบวนการสื่อสารได

3. ขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 9: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

3. แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเกิดขึ้นจากสมมุติฐาน

ในการศึกษากระบวนการสื่อสารของมนุษยตามความสนใจ

หรือจุดเนนของผูสรางแบบจําลองแตละคน ดังนั้นผูศึกษา

พึงระลึกไวเสมอวาการศึกษาแบบจําลองเพื่อใหเขาใจ

อยางถองแทและเกิดประโยชนนั้น ผูศึกษาจึงตองพยายาม

คนหาสมมุติฐานที่ซอนอยูในแบบจําลองแตละแบบควบคู

กันไปดวย

3. ขอจํากัดของแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 10: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แมวาแบบจําลองที่ดีอาจจะไมใชแบบจําลองที่สมบูรณ

แตคงตองยอมรับวา ไมมีแบบจําลองแบบใดที่สมบูรณที่สุด

ดั งนั้ นการ ศึกษาแบบ จําลองการสื่ อสาร เพี ย ง

แบบเดียวจะไมชวยใหผูศึกษาเขาใจกระบวนการสื่อสาร

ไดอยางชัดเจน เนื่องจากผูสรางแบบจําลองแตละคนตางก็

มีจุดเนนหรือจุดสนใจและมุมมองที่ มีตอกระบวนการ

สื่อสารที่แตกตางกันไป ดังนั้นการศึกษาแบบจําลองหลาย

แบบจําลองจะชวยใหผูศึกษาเห็นภาพของกระบวนการ

สื่อสารไดแจมชัดขึ้น

ขอสรุปในการศึกษาแบบจําลองกระบวนการส่ือสาร

Page 11: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

4. แบบจําลองกระบวนการ

4.1. แบบจําลองการสื่อสารของอริสโตเติล

4.2 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของลาสเวลล

4.3 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วี

เวอร

4.4 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของวิลเบอร แชรมม

Page 12: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

อริสโตเติล อธิบายวาการสื่อสารเกิดข้ึนเมื่อ ผูพูด สรางสาร หรือเรียบเรียง

ความคิดท่ีตองการส่ือสารในรูปของ คําพูด แลวสงไปยัง ผูฟง ท้ังน้ีโดยผูพูด

มีเจตนาในการโนมนาวใจแนวคิดดังกลาวปรากฏในภาพท่ี 3.1

4.1 แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของอริสโตเติล

ผูพูด

speaker

คําพูด

speech

ผูฟง

audience

แมวาแบบจําลองกระบวนการส่ือสารของอริสโตเติลจะมุ ง เนนการพูดเ พ่ือ

โนมนาวใจ และเปนแบบจําลองการส่ือสารทางเดียวก็ตาม

แตแบบจําลองนี้เปนแบบจําลองคลาสสิกซ่ึงเปนตนแบบของแบบจําลองในปจจุบัน

เนื่องจากองคประกอบซ่ึงอริสโตเติลเสนอไวถูกนํามาประยุกตใชเปนองคประกอบหลักใน

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารทุกแบบจําลองในรูปของ ผูสงสาร สาร และ ผูรับสาร

Page 13: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

ผูพูด

speaker

คําพูด

speech

ผูฟง

audience

Ethos = Characteristics Approach

-ความรู

- ประสบการณ

- คานิยม

- ความรูสึก

- ทักษะการส่ือสาร (การพูด)

- อื่นๆ Etc.

Logos = Content

-การเรียบเรียง

- การสง

- กรอบความคิด

- ภาษา

- การยกตัวอยาง

Pathos = Emotion Approach

- วิธีการเขาถึง

- ความรู

- ประสบการณ

- คานิยม

- ความรูสึก

- ทักษะการส่ือสาร (การฟง)

- อื่นๆ Etc.

Page 14: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

ในป ค .ศ . 1948 แฮโรลด ดี ลาสเวลล นักรั ฐศาสตร ผู มี

ความสนใจเรื่องการสื่อสาร ไดศึกษาประเด็นเก่ียวกับประสิทธิผลของ

การใชสื่ อ เพื่ อการโฆษณาชวนเชื่ อทางการเ มืองของรั ฐบาล

สหรัฐอเมริกาในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 และนําเสนอมุมมองของ

การสื่อสารเชิงรัฐศาสตร โดยใหขอเสนอแนะวาวิธีการวิเคราะหและ

อธิบายกระบวนการสื่อสารที่ดีที่สุดคือการตอบคําถามงาย ๆ ดังน้ี

4.2 แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของลาสเวลล

“ใคร พูด อะไร ผาน สื่อใด ถึง ใคร เพื่อ ใหเกิดผลอะไร”

“Who says what in which channel to whom with what effect.”

Page 15: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

จากคําถามขางตนสรุปไดวา ในทรรศนะของลาสเวลลน้ัน

การสื่อสารประกอบดวยองคประกอบ 5 องคประกอบ ไดแก

ผูสงสาร สาร ส่ือ ผูรับสาร และผลของการสื่อสาร ซึ่งแสดงใน

ลักษณะของแบบจําลองไดตามภาพที่ 3.2 ดังน้ี

ผูสงสาร

(ใคร)

สื่อ

(ผานสื่อใด)

ผลของการสื่อสาร

(เพื่อใหเกิดผลอะไร)สาร

(พูดอะไร)

ผูรับสาร

(ถึงใคร)

ภาพท่ี 3.2 แบบจาํลองกระบวนการส่ือสารของลาสเวลล (The Lasswell model)

Page 16: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองน้ีเกิดจากการที่ แชนนอน วิศวกรของบริษัท เบลล

เทเลโฟน ซึ่งดําเนินกิจการดานโทรศัพทในประเทศสหรัฐอเมริกา

ไดรับมอบหมายใหศึกษาวิธีการในการเพิ่มประสิทธิภาพการสง

สัญญาณโทรศัพทของบริษัท เพื่อใหผูรับสามารถรับสัญญาณไดชัดเจน

ตอมาวีเวอร เพื่อนรวมงานของแชนนอนนําแนวความคิด

ของแชนนอนมาประยุกตใชในการสื่อสารของมนุษยและรวมกัน

สรางแบบจําลองข้ึน ดังรายละเอียดในภาพที่ 3.3

4.3 แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของแชนนอน และ วีเวอร

Page 17: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

ภาพท่ี 3.3 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วีเวอร

(The Shannon and Weaver's model)

แหลง

ขาวสาร

(Source)

เครื่องรับ

สัญญาณ

(Receiver)

สารเครื่องสง

สัญญาณ

(Transmitter)

สัญญาณ

สงสัญญาณ

รับสาร

จุดหมาย

ปลายทาง

(Destination)

สิ่งรบกวน

(Noise)

Page 18: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

ภาพท่ี 3.3 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วีเวอร

(The Shannon and Weaver's model)

แหลง

ขาวสาร

(Source)

เครื่องรับ

สัญญาณ

(Receiver)

สารเครื่องสง

สัญญาณ

(Transmitter)

สัญญาณ

สงสัญญาณ

รับสาร

จุดหมาย

ปลายทาง

(Destination)

สิ่งรบกวน

(Noise)

การสื่อสารกันระหวางผูสงสารและผูรับสารทางโทรศัพท

นาย ก.

ผูสงสาร

พูด

กระบอกพดู

สัญญาณไฟฟา

เสียงแทรกเขามาหรือเสียงขาดหายเปนชวงๆ

รับ

สัญญาณ

ไฟฟากระบอกพดู

ฟง

นาย ข.

ผูรับสาร

Page 19: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

ภาพท่ี 3.3 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชนนอน และ วีเวอร

(The Shannon and Weaver's model)

นาย ก

(Source)

(อานใหนาง ข.

ฟง)

เครื่องรับ

สัญญาณ

(Receiver)

บอก

เน้ือหา

สาร

นาย ค (เขียน

ตามที่บอก)

เครื่องสง

สัญญาณ

(Transmitter)

ตัวหนังสือ

สัญญาณ

สง

นาย ง

สัญญาณ

รับสาร

นาง ข.

จุดหมาย

ปลายทาง

(Destination)

สิ่งรบกวน

(Noise)

การสื่อสารกันระหวางผูสงสารและผูรับสารทางจดหมาย

1. ส่ิงรบกวนทางกายภาพ

2. ส่ิงรบกวนทางจิตใจ

ปญหาการส่ือสาร

1. ดานความหมาย

2. ดานเทคนิค

3. ดานประสิทธิภาพ

Page 20: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

4.4 แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของวิลเบอร แชรมม

ในบทความชื่อ “How communication works” ซึ่งตีพิมพในป

ค.ศ. 1954 วิลเบอร แชรมม (Wilbur Schramm) ไดนําเสนอแนวคิด

และแบบจําลองกระบวนการสื่อสารไวหลายรูปแบบ (Schramm,

1954, pp. 3-26) เม่ือพิจารณาแลวจะเห็นพัฒนาการทางความคิด

ของแชรมมที่มีตอกระบวนการสื่อสาร จากการมองกระบวนการ

สื่อสารแบบเสนตรง (linear view) เปนการมองเชิงปฏิสัมพันธ

(interactive view) พัฒนาการทางความคิดดังกลาวปรากฏใน

แบบจําลองทั้ง 3 แบบ ดังตอไปน้ี

Page 21: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของแชรมม: แบบที่ 1

ตามแนวความคิดของแชรมม กระบวนการสื่อสารประกอบดวย

ผูสงสาร (source) ผูเขารหัส (encoder) สัญญาณ (signal) ผูถอดรหัส

(decoder) และผูรับสาร (destination) ซึ่งมีความสัมพันธกันดังน้ี

source destinationsignal

ผูสงสาร ผูเขารหัส สัญญาณ ผูถอดรหัส ผูรับสาร

encoder decoder

ภาพที่ 3.4 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชรมม (The Schramm model)

Page 22: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของแชรมม: แบบที่ 2

ในแบบจําลองกระบวนการส่ือสารแบบที่ 2 แชรมมไดนําเสนอ

แนวคิดเพิ่มเติมจากแบบจําลองกระบวนการสื่อสารแบบที่ 1 ดังน้ี

2.1 แนวคิดเรื่องขอบเขตประสบการณ (field of

experience) ผูสงสารและผูรับสารจะประสบความสําเร็จในการสื่อสาร

หรือการสรางความเขาใจระหวางกันไดมากหรือนอยเพียงไร ข้ึนอยูกับ

วาบุคคลทั้งสองมีประสบการณรวมกันในเรื่องที่กําลังสื่อสารมากหรือ

นอยเพียงไร

2.2 ผูสงสารกับผูเขารหัสสาร และผูรับสารกับผูถอดรหัสสาร

จะเปนบุคคลคนเดียวกัน

แนวคิดดังกลาวปรากฏในภาพที่ 3.5

Page 23: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของแชรมม: แบบที่ 2

ขอบเขตประสบการณ

field of experience

ขอบเขตประสบการณ

field of experience

ผูสงสาร

source ผูเขารหัส

encoder

ผูรับสาร

destination

ผูถอดรหัส

decoder

ภาพที่ 3.5 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชรมม (The Schramm model)

Page 24: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของแชรมม และ ออสกูดแบบจําลองน้ี แชรมมสรางข้ึนโดยอาศัยแบบจําลองซึ่งชารลส

อี ออสกูดคิดคนไว แลวมาขยายความและนําเสนอในป ค.ศ.1954

แบบจําลองน้ีแตกตางจากแบบจําลองกอนหนาน้ี เน่ืองจาก

เปลี่ยนมุมมองกระบวนการสื่อสารจากแบบจําลองเชิงเสนตรงมาเปน

แบบจําลองแบบวงกลมหรือแบบจําลองเชิงปฏิสัมพันธ

ตามแบบจําลองน้ี การสื่อสารคือกิจกรรมที่เกิดจากปฏิสัมพันธ

ระหวางผูสงสารและผูรับสาร

นอกจากน้ันแบบจําลองน้ียังแสดงถึงแนวคิดเรื่องปฏิกิริยา

ตอบกลับ (feedback) ระหวางคูสื่อสารซึ่งถือเปนแนวคิดสําคัญใน

พฤติกรรมการสื่อสารของมนุษยดวย

Page 25: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

4. แบบจําลองกระบวนการ

4.5 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชรมม และ

ออสกูด

4.6 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของเบอรโล

4.7 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแดนซ

Page 26: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

4.5 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชรมม และ ออสกูด

ภาพที่ 3.6 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของแชรมม และ ออสกูด

(The Schramm and Osgood model)

สาร

สาร

ผูเขารหัสสาร

ผูถอดรหัสสาร

ผูแปลความหมายสาร

ผูแปลความหมายสาร

ผูถอดรหัสสาร

ผูเขารหัสสาร

Page 27: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

4.6 แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของเบอรโล ในป ค.ศ. 1960 เดวิด เค เบอรโล (Berlo, 1960) พิมพเผยแพร

หนังสือชื่อ “The process of communication” เพ่ือใชอธิบายถึง

ทฤษฎีวาดวยกระบวนการสื่อสารของมนุษย และนําเสนอ

แบบจําลององคประกอบของการสื่ อสาร ซึ่ งประกอบดวย

องคประกอบสําคัญ 4 องคประกอบคือ ผูสงสาร (communication

source) สาร (message) ชองสาร (channel) และผูรับสาร

(receiver)

ดังน้ันแบบจําลองกระบวนการสื่อสารน้ีจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อวา

SMCR Model องคประกอบทั้ง 4 ประการมีความสัมพันธกัน

ดังปรากฏในภาพที่ 3.11

Page 28: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของเบอรโล

เน้ือหา รหัส

ภาพท่ี 3.11 แบบจําลองกระบวนการสื่อสารของเบอรโล

(The Berlo model/The SMCR model)

Page 29: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของเบอรโล

เบอรโลอธิบายวา การสื่อสารน้ันเปนพฤติกรรมที่กระทํา

โดยมีจุดมุงหมาย พฤติกรรมการสื่อสารเกิดจากปฏิสัมพันธ

ขององคประกอบทั้ง 4 องคประกอบ คือ ผูสงสาร สาร ชองสาร

และผูรับสาร

ดังน้ันเม่ือมองกระบวนการสื่อสารจึงตองมองใน

ภาพรวมความสัมพันธของทุกองคประกอบ ไมสามารถแยก

สวนจากกันได

Page 30: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

4.7 แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของแดนซ

ในป ค.ศ. 1967 แฟรงค แดนซ (Frank Dance) พัฒนา

แบบจําลองกระบวนการสื่อสารในมุมมองใหม มีลักษณะคลาย

ขดลวดปลายกวางหรือคลายกนหอย ซึ่งเปนมุมมองที่แตกตาง

จากแบบจําลองที่ผานมาโดยสิ้นเชิง

สา เ หตุ ที่ แ ดน ซ อ ธิบ า ย กร ะ บ ว น ก า รสื่ อ ส า ร ด ว ย

เสนที่หมุนข้ึนอยางตอเน่ืองไมสิ้นสุดน้ันก็ดวยเจตนาที่จะนําเสนอ

แนวคิดที่ ว า การ ส่ือสารเปนกระบวนการที่ สลับซับซอน

มีความเคลื่อนไหวอยางตอเน่ืองและมีพัฒนาการไปเรื่อย ๆ

ไม สามารถระบุ จุ ด เ ริ่ มตนและสิ้ นสุดของการสื่ อสารได

แนวคิดดังกลาวปรากฏในแบบจําลองที่ 3.12

Page 31: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารของแดนซ

ภาพท่ี 3.12 แบบจําลองการสื่อสารของแดนซ

(The Dance model/Dance's communication helix)

แดนซ อธิบายวา แบบจําลองกระบวนการส่ือสารท่ีนําเสนอนั้นเปนการเช่ือมโยงหรือ

ประสานแนวคิดระหวางแบบจําลองกระบวนการส่ือสารเชิง เสนกับแบบจําลอง

กระบวนการส่ือสารแบบวงกลมของออสกูด และ แชรมม ซ่ึงแดนซเห็นวาไมสามารถ

อธิบายกระบวนการส่ือสารท่ีแทจริงได

ดังนั้นแบบจําลองการกระบวนการส่ือสารท่ีแดนซนําเสนอจึงอธิบายกระบวนการ

ส่ือสารไดชัดเจนขึ้นและชวยกําจัดขอดอยของแบบจําลองท้ังสองลักษณะได

Page 32: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

5. สรุปลักษณะของแบบจําลองกระบวนการสื่อสาร

จากการศึกษาแบบจําลองกระบวนการสื่อสารท่ีนําเสนอขางตน

น้ัน ทําใหเห็นพัฒนาการของแบบจําลองซึ่งใชอธิบายกระบวนการ

สื่อสารจากอดีตจนถึงปจจุบัน และสามารถแบงลักษณะของ

แบบจําลองโดยพิจารณาจากการอธิบายกระบวนการส่ือสารหรือ

มุมมองท่ีมีตอกระบวนการสื่อสารได 3 ลักษณะตามแบบจําลอง

ท่ีนําเสนอ ดังน้ี

1. แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงเสน

2. แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธ

3. แบบจําลองกระบวนการสื่อสารเชิงปฏิสัมพันธตอเน่ือง

Page 33: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารเชิงเสน

ผูสงสาร

การสื่อสารลักษณะดังกลาวจัดเปน การสื่อสารแบบเอกวิถี

(one-way communication) หรือการสื่อสารแบบทิศทางเดียว (one-

directional communication) ซึ่งเนนบทบาทของผูสงสารในการใช

สารเพื่อสรางอิทธิพลเหนือผูรับสารเปนสําคัญ และไมเนนปฏิกิริยา

ตอบกลับและการตอบสนองของผูรับสาร

Page 34: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารเชิงปฏิสัมพันธ

ถอดรหัส

สิ่งรบกวนสิ่งรบกวน

สาร เ เขารหัส

สาร เขารหัส

สิ่งรบกวน

สื่อ

สื่อ สื่อ

สื่อ

ถอดรหัส

ผูสงสาร

ผูรับสาร ผูสงสาร

ผูรับสาร

กระบวนการส่ือสารเชิงปฏิสัมพันธระหวางคู ส่ือสารเนนการแลกเปลี่ยนขาวสาร

ระหวางกัน แทนท่ีการสงสารจากผูสงสารไปยังผูรับสารเพียงฝายเดียว เพ่ือใหเกิดการสราง

ความหมายและความเขาใจระหวางกัน

องคประกอบท่ีเพ่ิมจากแบบจําลองกระบวนการส่ือสารเชิงเสน ไดแก ปฏิกิริยาตอบกลับ

ระหวางกัน ทําใหกระบวนการส่ือสารแบบยุคลวิถี ซ่ึงชวยใหผูสงสารทราบถึงความสอดคลอง

ตองกันระหวางขาวสารท่ีต้ังใจสงกับขาวสารท่ีผู รับไดรับ ซ่ึงหมายถึงประสิทธิผลของ

การส่ือสาร

Page 35: หลักนิเทศศาสตร...1. แบบจ าลองช วยให ผ ศ กษาสามารถรวบรวมความค ด ก าหนดค

แบบจําลองกระบวนการส่ือสารเชิงปฏิสัมพันธตอเน่ือง

สารเขารหัส

ถอดรหัส ผูสื่อสาร 1 ผูสื่อสาร 2

สิ่งรบกวน

สิ่งรบกวน สิ่งรบกวน

เขารหัส

ถอดรหัส

ขอบเขตประสบการณ ขอบเขตประสบการณ

สภาพแวดลอมทางการสื่อสาร

สื่อ สื่อ

แบบจําลองลักษณะนี้อธิบายใหเห็นถึงความสัมพันธขององคประกอบท่ีสลับซับซอน

ของกระบวนการส่ือสาร ซ่ึงตางมีปฏิสัมพันธและสงผลซ่ึงกันและกัน ในเวลาเดียวกันและ

ตอเนื่องกันไป ความสัมพันธขององคประกอบลักษณะนี้สงผลใหการส่ือสารเปน

กระบวนการ ซ่ึงคูส่ือสารตางทําหนาท่ีเปนผูเขารหัสสาร และถอดรหัสสารท้ังวัจนสาร

และอวัจนสารในเวลาเดียวกันและตอเนื่องกันไป และตางมีอิทธิพลตอกันในดานตาง ๆ

ซ่ึงแสดงถึงลักษณะของการส่ือสารแบบหลายทิศทาง (multi-directional communication)”