25
บทที3 การดําเนินการวิจัย ในการวิจัยนี้ไดจัดวิธีการและรูปแบบขั้นตอนการดําเนินการวิจัยอยางมีระบบเพื่อใหได ขอมูลที่ถูกตองและครบถวนมากที่สุด การวิจัยนี้เปนการเขียนโปรแกรมระบบผูเชี่ยวชาญเพื่อชวยให ชางหรือพนักงานใหมในชุดงานซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศ ของกองบํารุงรักษากลาง ฝาย บํารุงรักษาโรงไฟฟาแมเมาะ ที่ยังไมมีความชํานาญในการซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศแบบ สวนกลางสามารถเรียกความรูที่เก็บไวในโปรแกรมออกมาชวยในการวิเคราะหสาเหตุความขัดของทีเกิดขึ้นไดดวยความรอบคอบและรวดเร็ว ในแนวทางเดียวกับบุคลากรผูเชี่ยวชาญ โดยผูวิจัยใชระบบ ปรับอากาศแบบสวนกลางของโรงไฟฟาแมเมาะ หนวยที8-9 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เปนกรณีศึกษา ซึ่งมีรายละเอียดในการดําเนินการวิจัย ดังนี3.1 การรวบรวมขอมูลและบันทึกในตารางเก็บขอมูล เปนการรวบรวมขอมูลจากรายงานการบํารุงรักษาระบบปรับอากาศที่เกิดการขัดของ ทั้งหมดในอดีตของชุดซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศ ที่รายงานผลการบํารุงรักษาตอหัวหนากอง บํารุงรักษากลาง โรงไฟฟาแมเมาะ ตั้งแตวันที1 มกราคม 2546 จนถึง วันที31 ธันวาคม 2549 ดัง ตารางที3.1 ขอมูลที่ไดนี้จะนํามาวิเคราะหถึงวิธีการและแนวทางการแกปญหาในการบํารุงรักษา ระบบปรับอากาศแบบสวนกลางในอดีตและนําขอมูลที่ไดนี้มาเปนฐานความรูสวนหนึ่งที่ใชในการ เขียนโปรแกรมระบบผูเชี่ยวชาญเพื่อการวิเคราะหสาเหตุความขัดของของระบบปรับอากาศแบบ สวนกลาง รวมถึงนําขอมูลสวนที่ไดนี้เปรียบเทียบกับผลที่ไดหลังจากการนําโปรแกรมระบบ ผูเชี่ยวชาญเพื่อการวิเคราะหสาเหตุความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางทดลองใชงาน แลว

การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

บทท่ี 3 การดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยนี้ไดจัดวิธีการและรูปแบบข้ันตอนการดําเนินการวิจัยอยางมีระบบเพ่ือใหได

ขอมูลท่ีถูกตองและครบถวนมากที่สุด การวิจัยนี้เปนการเขียนโปรแกรมระบบผูเช่ียวชาญเพื่อชวยใหชางหรือพนักงานใหมในชุดงานซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศ ของกองบํารุงรักษากลาง ฝายบํารุงรักษาโรงไฟฟาแมเมาะ ท่ียังไมมีความชํานาญในการซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศแบบสวนกลางสามารถเรียกความรูท่ีเก็บไวในโปรแกรมออกมาชวยในการวิเคราะหสาเหตุความขัดของท่ีเกิดข้ึนไดดวยความรอบคอบและรวดเร็ว ในแนวทางเดียวกับบุคลากรผูเช่ียวชาญ โดยผูวิจัยใชระบบปรับอากาศแบบสวนกลางของโรงไฟฟาแมเมาะ หนวยท่ี 8-9 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เปนกรณีศึกษา ซ่ึงมีรายละเอียดในการดําเนินการวิจัย ดังนี้

3.1 การรวบรวมขอมูลและบันทึกในตารางเก็บขอมูล

เปนการรวบรวมขอมูลจากรายงานการบํารุงรักษาระบบปรับอากาศท่ีเกิดการขัดของท้ังหมดในอดีตของชุดซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศ ท่ีรายงานผลการบํารุงรักษาตอหัวหนากองบํารุงรักษากลาง โรงไฟฟาแมเมาะ ต้ังแตวันท่ี 1 มกราคม 2546 จนถึง วันท่ี 31 ธันวาคม 2549 ดังตารางท่ี 3.1 ขอมูลท่ีไดนี้จะนํามาวิเคราะหถึงวิธีการและแนวทางการแกปญหาในการบํารุงรักษาระบบปรับอากาศแบบสวนกลางในอดีตและนําขอมูลท่ีไดนี้มาเปนฐานความรูสวนหนึ่งท่ีใชในการเขียนโปรแกรมระบบผูเช่ียวชาญเพื่อการวิเคราะหสาเหตุความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลาง รวมถึงนําขอมูลสวนท่ีไดนี้ เปรียบเทียบกับผลท่ีไดหลังจากการนําโปรแกรมระบบผูเช่ียวชาญเพื่อการวิเคราะหสาเหตุความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางทดลองใชงานแลว

Page 2: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

41

ตารางท่ี 3.1 ประวัติรายงานการบํารุงรักษาระบบปรับอากาศท้ังหมด

Page 3: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

42

3.2 การออกแบบระบบและเขียนโปรแกรมระบบผูเชี่ยวชาญ 3.2.1 การออกแบบระบบ

วิศวกรรมความรูในการออกแบบระบบและพัฒนาระบบตนแบบของระบบผูเช่ียวชาญการวิเคราะหสาเหตุความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางสําหรับโรงไฟฟาแมเมาะ จะดําเนินการโดยการรวบรวมความรูและประสบการณจากผูเช่ียวชาญโดยตรงและจากเอกสารคูมือของระบบปรับอากาศแบบสวนกลาง ยี่หอ MITSUBISHI Model CR 160 K

จากนั้นวิศวกรความรู (Knowledge Engineer) จะนําความรูนั้นมาสรางเปนกฎในการวินิจฉัย จนคอมพิวเตอรสามารถท่ีจะวินิจฉัยปญหาตางๆได เชนเดียวกับผูเช่ียวชาญที่เปนมนุษยจริงๆ

ตรวจสอบความถูกตอง คําถาม คําตอบ ปญหา แกปญหา

ออกแบบ พัฒนา ทดสอบ ปรับปรุง

รูปท่ี 3.1 วิศวกรรมความรูของระบบผูเช่ียวชาญการวิเคราะหสาเหตุความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางโรงไฟฟาแมเมาะ

ระบบผูเชี่ยวชาญ

( Expert System ) Exsys CORVID

USER Knowledge Engineer

ผูเชี่ยวชาญ, คูมือ ขอมูล

Page 4: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

43

3.2.2 การรวบรวมความรู การรวบรวมความรูในการวิเคราะหความขัดของของระบบปรับอากาศแบบ

สวนกลางสําหรับโรงไฟฟาแมเมาะ จะถูกรวบรวมเพื่อเปนฐานความรูจากแหลงความรูตางๆดังนี้ 3.2.2.1 ตารางการเก็บขอมูล ซ่ึงจะมีการบันทึกรายละเอียดตางๆ เชน วันท่ีเกิด

อาการขัดของ อาการขัดของ เวลาท่ีใชในการแกไข และวิธีการแกไข ดังตารางท่ี 3.1 3.2.2.2 คูมือบํารุงรักษาระบบปรับอากาศแบบสวนกลาง 3.2.2.3 การดึงองคความรู จากผูเช่ียวชาญ โดยจะดําเนินการโดยการประชุม

สัมภาษณผูเช่ียวชาญ ซ่ึงก็คือพนักงานชุดซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศ กองบํารุงรักษากลาง โรงไฟฟาแมเมาะ และตัวผูทําการวิจัย เพื่อใหทราบข้ันตอนและวิธีการวิเคราะหความขัดของเพื่อเขาถึงปญหาใหเร็วท่ีสุด ซ่ึงเปนข้ันตอนท่ีสําคัญและใชเวลามากที่สุด วิธีการที่ใชคือการประชุมรวมกันระหวางวิศวกรความรูและผูเช่ียวชาญ ความสําเร็จท่ีมีประสิทธิผลนั้นวิศวกรความรูจะตองเตรียมความพรอมและวางแผนในการต้ังคําถามผูเช่ียวชาญอยางเปนระบบและผูเช่ียวชาญจะตองเต็มใจและใหความรวมมือในการใหความรูอยางเต็มท่ี

รูปท่ี 3.2 การประชุมสัมภาษณผูเช่ียวชาญ

Page 5: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

44

การดึงองคความรูจากผูเช่ียวชาญจะกระทําโดย 3.2.2.3.1 แยกหัวขอและอาการขัดของของแตละอุปกรณของระบบปรับ

อากาศแบบสวนกลางออกเปนสวนๆ

ระบบที่ขัดของ อุปกรณที่ขัดของ อาการท่ีขัดของ

1.1 Air Handling Unit 1. Trip 2. Motor ไมทํางาน

1.2 Chemical Feed Pump 1. Pump ไมทํางาน

1.3 Chilled Water Pump 1. Motor ไมทํางาน 2. Phase Control Relay Trip

1.4 Condenser Water Pump 1. Motor ไมทํางาน

1.5 Cooling Tower 1. Motor ไมทํางาน

1.ระบบไฟฟา

1.6 Water Chiller 1. Trip ท้ังระบบ

2. Over Current Relay Trip 2.1 Air Handling Unit 1. Motor ทํางานมีเสียงดัง

2.2 Chemical Feed Pump

1. Motor ทํางานแตไมสามารถ Feed น้ํายา เคมีได 2. Pump ร่ัว

2.3 Chilled Water Pump 1. Pump ทํางานมีเสียงดังผิดปกติ

2. Seal ร่ัว

2.4 Condenser Water Pump 1. Motor ทํางานมีเสียงดัง 2.5 Cooling Tower 1. Motor ไมทํางาน

2.ระบบเชิงกล

2.6 Water Chiller 1. ระบบทํางานปกติแตไมเยน็

2. Trip ดวย High Pressure Switch

ตารางท่ี 3.2 แสดงตัวอยางหวัขอและอาการขัดของของแตละอุปกรณของระบบปรับอากาศ

3.2.2.3.2 ทําการประชุมโดยใหผูเช่ียวชาญแตละทานนําเสนอวิธีการแกไขความขัดของ และความนาจะเปนของอุปกรณท่ีนาจะเปนสาเหตุการขัดของของแตละทาน โดยผูวิจัยทําการรวบรวมขอมูล แลวนํามาเขียนแผนผังตนไม และคาความเช่ือม่ัน ดังรูปท่ี 3.3

Page 6: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

45

ปญหาระบบไฟฟาของเคร่ืองสงลมเย็นเกิดความขัดของ ตัวอยางการดึงความรูโดยการต้ังคําถามกับผูเช่ียวชาญกรณี ระบบไฟฟาเคร่ืองสงลมเย็นเกดิความขัดของ

KE กรณี Air Handling Unit ส่ัง Trip สาเหตุนาจะเกิดจากอะไรและตองทําอะไรตอไป

EXP ใหดูวาถูกส่ัง Trip ดวยอะไรกอนเปนอันดับแรก ซ่ึงอุปกรณปองกันเคร่ืองสงลมเย็น มีท้ังหมด 3 ตัวคือ

1. TRIP ดวย Phase Control Relay (หลอดไฟโชวสีแดง) - ใหทําการตรวจสอบ Main Switch ของ Air Handling Unit วาทํางานปกติ

หรือไม - ถา Main Switch เสีย ใหทําการเปล่ียน Main Switch ใหมตาม Spec เดิม - ถา Main Switch ไมเสีย ใหทําการ ตรวจสอบ Magnetic Contactor ของ Air

Handling Unit วาทํางานปกติหรือไม - ถา Magnetic Contactor เสีย ใหทําการเปล่ียน Magnetic Contactor ใหม

ตาม Spec เดมิ - ถา Magnetic Contactor ไมเสีย ใหทําการ ตรวจสอบ Control Fuse วา ขาด

หรือไม - ถา Control Fuse ขาด ใหทําการตรวจสอบการเกิดการ Short Circuit ในวงจร

หรือไม กอนทําการเปล่ียน Control Fuse ใหมตาม Spec เดิม - ถา Control Fuse ไมขาด ใหทําการตรวจสอบดังนี ้

(1) ตรวจสอบลําดับเฟสวาถูกตองตาม Spec หรือไม (Confidence = 80) (2) ตรวจสอบแรงดันไฟฟาวาถูกตองตามพิกัดหรือไม (Confidence = 70) (3) ตรวจสอบ Phase Control Relay ถาเสียใหทําการเปล่ียน Phase Control

Relay ใหม ตาม Spec เดิม (Confidence = 70) 2. TRIP ดวย Fuse

(1) ตรวจสอบการเกิดการ Short Circuit ในวงจรหรือไม กอนทําการเปล่ียน Fuse ใหมตาม Spec เดิม

Page 7: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

46

3. TRIP ดวย Over Current Relay (1) ใหทําการตรวจสอบการเกิดการ Short Circuit ในวงจรหรือไม กอนทําการ

Reset ตัว Over Current Relay

(2) ใหทําการตรวจสอบ Load วาเกนิพิกดัหรือไม กอนทําการ Reset ตัว Over Current Relay

นําคําถามของวิศวกรความรูและคําตอบของผูเช่ียวชาญมาเขียนแผนผังตนไมไดดังนี้

Air Handling Unit Trip Trip ดวย Phase Control Relay Fuse Over Current Relay - ตรวจสอบการ Short Circuit (70) - ตรวจสอบการ Short Circuit (80)

- ตรวจสอบจุดตอสายไฟ (60) - ตรวจสอบ Load (70)

ตรวจสอบการทํางานของ Main Switch Main Switch ทํางานปกติ Main Switch เสีย

- เปล่ียน Main Switch (100) ตรวจสอบ Magnetic Contactor ไมเสีย เสีย - ตรวจสอบ Control Fuse - เปล่ียน Magnetic Contactor (100) ไมขาด ขาด

- ตรวจสอบลําดับเฟสถูกตองหรือไม (80) - ตรวจสอบการ Short circuit และเปล่ียน Fuse (100) - ตรวจสอบแรงดันไฟฟาวาเกินหรือไม (70) - ตรวจสอบ หรือเปล่ียน Phase Control Relay (70)

รูปท่ี 3.3 แสดงแผนผังตนไมปญหาระบบไฟฟาของเคร่ืองสงลมเย็นเกดิความขัดของ

Page 8: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

47

จากรูปท่ี 3.3 จะเหน็วาคําตอบท่ีไดจากผูเช่ียวชาญจะมีคาตัวเลขท่ีอยูในวงเล็บ เชน (80) ซ่ึงคาตัวเลขในท่ีนี้คือ คาความเช่ือม่ัน ซ่ึงเปนคาท่ีแสดงคาความเช่ือม่ันของแตละคําตอบท่ีผูใชงานระบบไดรับหลังจากท่ีไดทําการต้ังคําถามสอบถามระบบผูเช่ียวชาญ โดย ความเชือ่ม่ันนี้จะเปนตัวชวยในการจัดเรียงลําดับความนาจะเปน หรือความเปนไปไดของโอกาสนั้นๆ โดยจะจัดลําดับความนาจะเปน เรียงจากมากไปหานอย ตามประสบการณจริงของผูเช่ียวชาญ ทําใหผูใชงานระบบตัดสินใจงายข้ึน และแกไขความขัดของของอุปกรณนัน้ๆอยางเปนระบบ

3.2.2.3.3 ข้ันตอนสุดทายตรวจสอบความถูกตองโดยผูเช่ียวชาญอีกคร้ัง โดยขอมูลท่ีไดเหลานี้โปรแกรมจะแสดงผลในข้ันตอนสุดทายของการใชโปรแกรม

(Output) o อุปกรณท่ีเปนสาเหตุการเกิดความขัดของ o สาเหตุและวิธีการแกไข o ยี่หอ รุน แหลงผลิต ราคาตอหนวย o แบบติดต้ัง

ในงานวิจัยนี้ไดทําการรวบรวมความรูจากคูมือบํารุงรักษาระบบปรับอากาศแบบสวนกลาง

ประมาณ 10 เปอรเซ็นต ความรูจากตารางการเก็บขอมูลประมาณ 30 เปอรเซ็นต และความรูจากการประชุมสัมภาษณผูเช่ียวชาญอีกประมาณ 60 เปอรเซ็นต และนําความรูเหลานี้มาประกอบในการเตรียมสรางฐานความรูตอไปโดยยึดหลักการที่สําคัญ คือ

ต้ังคําถามท่ีงายตอการทําความเขาใจคําถามของผูใชและทําใหผูใชสามารถตอบคําถามไดอยางตรงประเด็น

คําปรึกษาท่ีใหอยูในลักษณะท่ีเขาใจและสามารถปฏิบัติตามไดงาย เลือกและกําหนดคําถามท่ีใชในการวิเคราะห เพื่อใหไดคําตอบตอปญหาเฉพาะนั้นๆ

เม่ือไดรวบรวมและจัดรูปแบบความรูตางๆแลวจึงนําความรูนั้นไปใชในระบบในข้ันตอนตอไป สําหรับอุปกรณตัวอ่ืนๆในระบบปรับอากาศแบบสวนกลางก็ใชวิธีการดึงองคความรูจากผูเช่ียวชาญวิธีการเดียวกัน

3.2.3 การสรางฐานความรู การวิเคราะหความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางสําหรับโรงไฟฟา

แมเมาะ โดยโปรแกรมระบบผูเช่ียวชาญ นี้สรางฐานความรูดวยกฎ ประมาณ 87 กฎ จํานวน 250

Nodes โดยใช Exsys CORVID Program เปนโปรแกรมระบบผูเช่ียวชาญ ซ่ึงเม่ือรวบรวม

Page 9: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

48

ความรูจากผูเช่ียวชาญแลว วิศวกรความรูจะเรียบเรียงความรูท่ีไดจากผูเช่ียวชาญใหเปนระบบโดยทําเปนแผนผังตนไมเพื่อใหงายตอการตรวจทานและทดสอบความถูกตอง และนําความรู (จากตัวอยางใน หัวขอ 3.2.2.3.3) เขาระบบฐานความรูตามข้ันตอนตามลําดับ ดังนี้

3.2.3.1 เร่ิมตนเขาใชงานโดยการคลิกท่ี Icon ตามรูปดานลางเพื่อเขาสูระบบ

รูปท่ี 3.4 แสดงการเร่ิมตนเขาใชงานระบบผูเช่ียวชาญ

3.2.3.2 การเพิ่มฐานความรูหรือเพิ่มตัวแปรเขาไปในระบบโดยคลิกตามรูปท่ี 3.5

รูปท่ี 3.5 แสดงหนาตางการเพิ่มฐานความรูหรือเพิ่มตัวแปรเขาไปในระบบ

คลิก เพื่อเขาระบบ

คลิก ปุมน้ีเพื่อเขาจัดการระบบ

Page 10: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

49

3.2.3.3 การเพิ่มตัวแปรแบบคงท่ีของระบบท่ีเกิดความขัดของเขาในระบบโดยกด New

รูปท่ี 3.6 แสดงการเพิ่มตัวแปรระบบไฟฟาเกิดความขัดของเขาไปในระบบ

3.2.3.4 จะปรากฏหนาตางดังรูป 3.7 ใหใสช่ือของตัวแปรใหมเขาไปและกด OK

รูปท่ี 3.7 แสดงหนาตางการเพิ่มตัวแปรใหมเขาไปในระบบหลังจากกดปุม New

Page 11: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

50

3.2.3.5 พิมพคําถามท่ีตองการถามผูใชงานลงในชอง Main Prompt และคําถามตัวเลือก (Value # 1) ลงในชอง Short Text และ Full Text

รูปท่ี 3.8 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Trip (Value # 1) เขาระบบ

3.2.3.6 พิมพคําถามตัวเลือก Trip (Value # 2) ลงในชอง Short Text และ

Full Text

รูปท่ี 3.9 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Trip (Value # 2) เขาระบบ

Page 12: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

51

3.2.3.7 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.4 และพิมพคําถามพรอมคําถามตัวเลือก

รูปท่ี 3.10 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Phase Control Relay (Value # 1) เขาระบบ

3.2.3.8 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.5 และพิมพคําถามพรอมคําถามตัวเลือก

รูปท่ี 3.11 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Fuse (Value # 2) เขาระบบ

Page 13: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

52

3.2.3.9 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.5 และพิมพคําถามพรอมคําถามตัวเลือกOvercurrent Relay (Value # 3)

รูปท่ี 3.12 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Over Current Relay (Value # 3) เขาระบบ

3.2.3.10 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.5 และพิมพคําถามพรอมคําถามตัวเลือกการ

ทํางานของ Main Switch (Value # 1)

รูปท่ี 3.13 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Main Switch (Value # 1)

Page 14: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

53

3.2.3.11 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.10 และพิมพคําถามตัวเลือก Main Switch (Value # 2)

รูปท่ี 3.14 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Main Switch (Value # 2) เขาระบบ

3.2.3.12 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.5 และพิมพคําถามตัวเลือก Magnetic

Contactor (Value # 1)

รูปท่ี 3.15 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Magnetic Contactor (Value # 1) เขาระบบ

Page 15: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

54

3.2.3.13 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.12 และพิมพคําถามตัวเลือก Magnetic Contactor (Value # 2)

รูปท่ี 3.16 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Magnetic Contactor (Value # 2) เขาระบบ

3.2.3.14 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.5 และพิมพคําถามตัวเลือก Control Fuse

(Value # 1)

รูปท่ี 3.17 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Control Fuse (Value # 1) เขาระบบ

Page 16: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

55

3.2.3.15 ทําเหมือนข้ันตอน 3.2.3.14 และพิมพคําถามตัวเลือก Control Fuse (Value # 2)

รูปท่ี 3.18 แสดงการพิมพคําถามตัวเลือก Control Fuse (Value # 2) เขาระบบ

3.2.3.16 การเพิ่มตัวแปรแบบความเช่ือม่ันเขาระบบ โดยกด New ใสช่ือตัวแปรท่ี

ตองการ แลวคลิกเลือก Confidence Variable แลวกด OK จะไดหนาตางดังรูป 3.20

รูปท่ี 3.19 แสดงหนาตางการเพิ่มตัวแปรความเช่ือม่ันเขาระบบ

Page 17: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

56

3.2.3.17 พิมพคําแนะนําหรือความรูท่ีดึงมาจากผูเช่ียวชาญในการแกไขความขัดของของระบบสงลมเย็นเกิดความขัดของ ลงในชอง Main Prompt

รูปท่ี 3.20 แสดงการเพิ่มตัวแปรความเช่ือม่ันเขาระบบ

3.2.3.18 การสรางกลองตรรกะในระบบหรือการดึงฐานความรูมาสรางเปนกฎโดย

กดท่ีปุม Add a New Logic Block (L)

รูปท่ี 3.21 แสดงการการดึงฐานความรูมาสรางเปนกฎ

กดที่ปุมน้ี

ปุมสําหรับการสรางกฎ IF, AND, THEN

Page 18: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

57

3.2.3.19 การดึงฐานความรูมาสรางเปนกฎและกฎท่ีได

รูปท่ี 3.22 แสดงการสรางกฎในกลองตรรกะโดยดึงฐานความรูมาสรางเปนกฎ

3.2.3.20 การสรางกลองคําส่ังในระบบเพื่อใชในการควบคุมโดยกดท่ีปุม Add a

New Commnd Block (C)

รูปท่ี 3.23 แสดงการสรางกลองคําส่ังในระบบเพ่ือใชในการควบคุม

กฎที่ไดจากฐานความรู

กดที่ปุมน้ี

Page 19: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

58

3.2.3.21 หลังจากการสรางฐานความรูเรียบรอยแลวจะไดจํานวนกฎและจํานวน Node ดังตารางท่ี 3.3

ระบบที่ขัดของ อุปกรณที่ขัดของ จํานวนกฎ จํานวน Node 1.1 Air Handling Unit 8 29

1.2 Chemical Feed Pump 5 15

1.3 Chilled Water Pump 5 5

1.4 Condenser Water Pump 5 5

1.5 Cooling Tower 4 13

1.ระบบไฟฟา

1.6 Water Chiller 9 27

2.1 Air Handling Unit 6 19

2.2 Chemical Feed Pump 6 15

2.3 Chilled Water Pump 5 27

2.4 Condenser Water Pump 8 9

2.5 Cooling Tower 14 46

2.ระบบเชิงกล

2.6 Water Chiller 11 38

Link 1 2

รวม 87 250

ตารางท่ี 3.3 ตารางแสดงจํานวนกฎและจาํนวน Node ในระบบผูเช่ียวชาญ

Page 20: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

59

3.2.4 การติดตอกับผูใชงาน 3.2.4.1 การเร่ิมตนเขาใชงานระบบโดยคลิกท่ี Icon ดังรูปท่ี 3.24

รูปท่ี 3.24 แสดงการเร่ิมตนเขาใชงานระบบผูเช่ียวชาญ

3.2.4.2 หนาตางการเขาใชงานระบบ

รูปท่ี 3.25 แสดงหนาตางการเขาใชงานระบบ

คลิกเพื่อเขาระบบ

คลิกปุม OK เพื่อเขาใชงานระบบ

คลิกปุม Exit เพื่อออกจากระบบ

Page 21: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

60

3.2.4.3 คลิก “ ตกลง ” เพื่อเขาใชงานระบบ

รูปท่ี 3.26 แสดงหนาตางการเขาใชงานระบบ

3.2.5 การตรวจสอบความถูกตองรวมกับผูเช่ียวชาญ

3.2.5.1 ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลความรูท่ีนําเขาระบบ โดยเชิญผูเช่ียวชาญรวมประชุมทุกอาทิตยสุดทายของเดือน หรือหลังจากนําขอมูลความรูของแตละอุปกรณเขาระบบ โดยมีการประชุมท้ังหมดรวมประมาณ 10 คร้ัง คร้ังละประมาณ 1 ช่ัวโมง โดยการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลความรูท่ีนําเขาระบบ วิศวกรความรูและผูเช่ียวชาญจะทําการตรวจสอบความขัดของของอุปกรณในแตละหัวขอของตารางท่ี 3.2 กับแผนผังตนไมของแตละอุปกรณท่ีทําการเขียนออกมา ดังรูปท่ี 3.3 หลังจากนั้นจะนําผังตนไมท่ีถูกตองแลวไปทําการเปรียบเทียบกับขอมูลความรู ท่ีนําเขาระบบท่ีไดทําการดึงฐานความรูมาสรางเปนกฎแลว ดังรูปท่ี 3.27

Page 22: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

61

รูปท่ี 3.27 แสดงการตรวจสอบขอมูลความรูท่ีนําเขาและทําการดึงฐานความรูมาสรางเปนกฎของระบบ ผูเช่ียวชาญ

Page 23: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

62

3.2.5.2 ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลท่ีแสดงผลทายสุด โดยเชิญผูเช่ียวชาญรวมประชุมเพื่อดูผลความถูกตองของขอมูลหลังจากเขียนโปรแกรมระบบผูเช่ียวชาญแลวเสร็จ

รูปท่ี 3.28 แสดงการประชุมตรวจสอบความถูกตองของขอมูลท่ีแสดงผลทายสุดรวมกบัผูเช่ียวชาญ

รูปท่ี 3.29 แสดงขอมูลท่ีแสดงผลทายสุดรูปแบบอักขระ

Page 24: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

63

รูปท่ี 3.30 แสดงขอมูลท่ีแสดงผลทายสุดรูปแบบแผนภาพ

3.2.6 การทดสอบเพ่ือประเมินผลโปรแกรมระบบผูเช่ียวชาญ

โดยการนําระบบผูเช่ียวชาญเขาทดลองใชงานและจําลองสถานการณการเกิดความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางรวมกับ ชุดซอมบํารุงรักษาระบบปรับอากาศ แผนกโรงงานเคร่ืองกล กองบํารุงรักษากลาง โดยทําการจําลองสถานการณท่ีเกิดความขัดของในอดีตท่ีทําการบันทึกไว ในตารางท่ี 3.1 ในแตละกรณีๆ ตัวอยาง เชน กรณีเกิดความขัดของของเคร่ืองสงลมเย็น เนื่องจาก Phase Control Relay เสีย ไดทําการจําลองสถานการณโดยนํา Phase Control

Relay ตัวท่ีชํารุดไมสามารถใชงานไดเขาใชงานแทน Phase Control Relay ตัวท่ีใชงานไดปกติโดยชางซอมท่ีจะทําการซอมไมทราบลวงหนา หลังจากนั้นใหชางซอมระบบปรับอากาศท่ีไมมีความชํานาญในการซอมระบบปรับอากาศแบบสวนกลาง ของโรงไฟฟาแมเมาะ เขาทําการทดลองใชโปรแกรมผูเช่ียวชาญทําการวิเคราะหความขัดของท่ีเกิดข้ึนแลวทําการบันทึกเวลาที่ใชในการวิเคราะหและผลการวิเคราะหลงในตารางท่ี 4.4 เพื่อทําการเปรียบเทียบกับขอมูลในอดีต ตารางท่ี 4.1 (ชางท่ีจะทําการซอมโดยใชระบบผูเช่ียวชาญตองมีความรูพื้นฐานดานระบบปรับอากาศ)

หมายเหตุ การจําลองสถานการณโดยจะกระทําเปนชวงๆเนื่องจากไมสามารถหยุดระบบปรับอากาศเปนระยะเวลานานไดเพราะจะสงผลกระทบตอระบบผลิตกระแสไฟฟาของโรงไฟฟาและอาจสงผลกระทบตออุปกรณควบคุมอ่ืนๆได สงผลใหใชระยะเวลาในชวงเวลาการทดสอบเพื่อประเมินผลใชระยะเวลานาน และการบันทึกเวลาจะบันทึกเวลาเฉพาะขั้นตอนการวิเคราะหหา

Page 25: การดําเนินการว ิจัยarchive.lib.cmu.ac.th/full/t/2550/enin1150ps_ch3.pdfบทที่3 การดําเนินการว ิจัย

64

สาเหตุความขัดของของอุปกรณเทานั้นไมรวมเวลาท่ีใชทําการเปล่ียนหรือแกไขอุปกรณเนื่องจากข้ันตอนการเปล่ียนหรือแกไขอุปกรณเปนข้ันตอนท่ีมีลักษณะเดียวกันกับขอมูลในอดีต

3.3 การประเมินผลโปรแกรมระบบผูเชี่ยวชาญ

หลังจากนํา ระบบผูเช่ียวชาญการวิเคราะห ความขัดของของระบบปรับอากาศ แบบสวนกลางสําหรับโรงไฟฟาแมเมาะเขาทดลองใชงานตามหัวขอ 3.2.6 แลว เก็บขอมูลเพื่อทําการเปรียบเทียบกบัขอมูลในอดตีท่ีบันทึกไวในตารางการเก็บขอมูล ตารางท่ี 4.2 การประเมินผล การนําระบบผูเช่ียวชาญการวิเคราะหความขัดของของระบบปรับอากาศแบบสวนกลางโรงไฟฟาแมเมาะ ประเมินโดยการคํานวณหาคา ดัชนีช้ีวัดการบํารุงรักษา (โกศล ดีศีลธรรม. วิศวกรรมสาร เลมท่ี 10 ปท่ี 55) กอนและหลังทําการนําระบบเขาใชงาน ดังนี้

3.3.1 คาใชจายในการบํารุงรักษา (Maintenance Costs) ของกองบํารุงรักษากลาง โรงไฟฟาแมเมาะ คํานวณจาก

Maintenance Costs = 160 x Man-Hour x Man

3.3.2 คาระยะหางของเวลาในการเสียของเคร่ืองทําน้ําเย็น (Mean Time Between

Failure: MTBF)

MTBF = เวลารวมในการเดินเคร่ืองทําน้ําเย็นท้ังหมด(Total Running Time) จํานวนคร้ังของการเกิดขอขัดของ(Number of Failure)

3.3.3 คาระยะเวลาท่ีใชในการซอมเฉล่ียแตละคร้ัง (Mean Time to Repair: MTTR)

MTTR = เวลารวมในการหยุดเคร่ืองเพ่ือซอมแซม จํานวนคร้ังของการหยุดเคร่ือง 3.3.4 คาความพรอมใชงานของระบบปรับอากาศแบบสวนกลาง โรงไฟฟาแมเมาะ

(Availability : A)

MTBF A = MTTR+MTBF x 100