29
บทที5 การวางแผนการวิจัยและเคาโครงงานวิจัย การวางแผนการวิจัยเปนกระบวนการดําเนินงานวิจัยที่ชวยใหผูวิจัยไดมองเห็นแนวทาง และความเปนไปไดของการทําวิจัยนั้นๆ ทุกดาน เพราะการวางแผนการวิจัยมิใชเพียงแตเปนการ กําหนดเวลาในการทํางานเทานั้น หากแตเปนการดําเนินการเพื่อใหไดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนมี ความเปนเหตุเปนผลของการทําวิจัย รวมไปถึงการทําใหงานวิจัยมีความนาเชื่อถือและไดคําตอบ ที่เปนจริงมากที่สุด โดยแผนการวิจัยที่ผูวิจัยไดคิดไวจะถูกนําเสนอออกมาในรูปโครงการหรือเคา โครงงานวิจัยที่เปนเอกสารรวบรวมแนวคิด แผนการดําเนินงาน และความเปนไปไดของงานวิจัย ทั้งหมดอันจะนําไปสูการไดรับการสนับสนุนจากผูสนับสนุนใหดําเนินการวิจัยตอไป การ วางแผนการวิจัยและเคาโครงงานวิจัยจึงมีความจําเปนและสําคัญยิ่งสําหรับผูวิจัยทุกคน การวางแผนการวิจัย ภายหลังจากที่ผูวิจัยไดปญหาวิจัยที่นํามากําหนดเปนวัตถุประสงคของการวิจัย มี สมมติฐานและตัวแปรที่ใชสําหรับการวิจัยแลว ผูวิจัยควรจะมีการวางแผนการวิจัยโดยนําขอมูลทีมีและเปาหมายที่กําหนดไวมาดําเนินการวางแผนการวิจัยเพื่อใหเห็นถึงรายละเอียดของ การดําเนินงานวิจัยทั้งหมดกอนที่จะนําขอมูลที่ไดจากการวางแผนการวิจัยไปเขียนเปน เคาโครงงานวิจัยตอไป 1. ความหมายและจุดประสงคของการวางแผนการวิจัย ในการศึกษาเรื่องการวางแผนการวิจัยพบวามีคําอีกคําหนึ่งที่พบมากในเอกสาร วิชาการทางดานการวิจัยโดยทั่วไปคือคําวา การออกแบบการวิจัยที่มีความหมายและการ - ปฏิบัติที่ใกลเคียงและทับซอนกับคําวา การวางแผนการวิจัยโดยมีผูใหแนวคิดวาการออกแบบ การวิจัยเปนขั้นตอนกอนการวางแผน หากจะเปรียบเทียบแลวการออกแบบเหมือนการวาง รูปแบบโดยรวม สวนการวางแผนเปนการแสดงรายละเอียดของแนวทางปฏิบัติใหไดเปนเคา โครงงานวิจัย (de Vaus, D., 2001, p. 9 อางถึงใน ผองพรรณ ตรังมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ , 2549, หนา 24–25)

บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเคาโครงงานวิจัย

การวางแผนการวิจัยเปนกระบวนการดําเนินงานวิจัยที่ชวยใหผูวิจัยไดมองเห็นแนวทางและความเปนไปไดของการทําวิจัยนั้นๆ ทุกดาน เพราะการวางแผนการวิจัยมิใชเพียงแตเปนการกําหนดเวลาในการทํางานเทานั้น หากแตเปนการดําเนินการเพื่อใหไดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนมีความเปนเหตุเปนผลของการทําวิจัย รวมไปถึงการทําใหงานวิจัยมีความนาเชื่อถือและไดคําตอบที่เปนจริงมากที่สุด โดยแผนการวิจัยที่ผูวิจัยไดคิดไวจะถูกนําเสนอออกมาในรูปโครงการหรือเคาโครงงานวิจัยที่เปนเอกสารรวบรวมแนวคิด แผนการดําเนินงาน และความเปนไปไดของงานวิจัยทั้งหมดอันจะนําไปสูการไดรับการสนับสนุนจากผูสนับสนุนใหดําเนินการวิจัยตอไป การวางแผนการวิจัยและเคาโครงงานวิจัยจึงมีความจําเปนและสําคัญยิ่งสําหรับผูวิจัยทุกคน การวางแผนการวิจัย ภายหลังจากที่ผูวิจัยไดปญหาวิจัยที่นํามากําหนดเปนวัตถุประสงคของการวิจัย มีสมมติฐานและตัวแปรที่ใชสําหรับการวิจัยแลว ผูวิจัยควรจะมีการวางแผนการวิจัยโดยนําขอมูลที่มีและเปาหมายที่กําหนดไวมาดําเนินการวางแผนการวิจัยเพื่อใหเห็นถึงรายละเอียดของ การดําเนินงานวิจัยทั้งหมดกอนที่จะนําขอมูลที่ไดจากการวางแผนการวิจัยไปเขียนเปน เคาโครงงานวิจัยตอไป 1. ความหมายและจุดประสงคของการวางแผนการวิจัย ในการศึกษาเรื่องการวางแผนการวิจัยพบวามีคําอีกคําหนึ่งที่พบมากในเอกสารวิชาการทางดานการวิจัยโดยทั่วไปคือคําวา “การออกแบบการวิจัย” ที่มีความหมายและการ -ปฏิบัติที่ใกลเคียงและทับซอนกับคําวา “การวางแผนการวิจัย” โดยมีผูใหแนวคิดวาการออกแบบการวิจัยเปนขั้นตอนกอนการวางแผน หากจะเปรียบเทียบแลวการออกแบบเหมือนการวางรูปแบบโดยรวม สวนการวางแผนเปนการแสดงรายละเอียดของแนวทางปฏิบัติใหไดเปนเคาโครงงานวิจัย (de Vaus, D., 2001, p. 9 อางถึงใน ผองพรรณ ตรังมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ, 2549, หนา 24–25)

Page 2: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

122

ในการกลาวถึงความหมายของการออกแบบการวิจัยพบวาในหนังสือวิจัยจํานวนมากมีการอางถึงแนวคิดของนักวิชาการชาวตางประเทศจํานวน 2 ทานคือเคอรลิงเจอร (Kerlinger, F. N.) และลิบเบรโร (Librero, F.) โดยทั้งสองทานไดใหความหมายของการออกแบบการวิจัยไวดังนี้ เคอรลิงเจอร (Kerlinger, F. N., 1986, p. 279 อางถึงใน ผองพรรณ ตรังมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ, 2549, หนา 24) ใหความหมายของการออกแบบการวิจัยไววาเปนการวางโครงสราง (structure) ของการวิจัยและแนวทางในการดําเนินการวิจัย (plan) เพื่อใหสามารถตอบปญหาวิจัยไดอยางมีประสิทธิภาพที่สุด ซ่ึงสอดคลองกับความหมายของการออกแบบการวิจัยที่ลิบเบรโร ใหความหมายไววา การออกแบบการวิจัยเปนแผน เคาโครง และยุทธศาสตรของการสืบหาคนควาที่ใชในการวิจัยเพื่อตอบคําถามหรือสนองตอวัตถุประสงคที่ตั้งไว (Librero, F., n.d., n.p. อางถึงใน บุญธรรม จิตตอนันต, 2546, หนา 51) ทั้งสองทานมีแนวทางในการใหความหมายที่แตกตางกันในรายละเอียด แตทั้งนี้จากความหมายที่ท านทั้ งสองได ให ไว มีนักวิชาการรุ นตอมาไดนิ ยามความหมายของ การออกแบบการวิจัยไว ซ่ึงสวนมากจะเนนการขยายความจากความหมายของทั้งสองทาน หากจะสรุปความหมายของการออกแบบการวิจัยสามารถที่จะนิยามไดวาการออกแบบการวิจัยหมายถึงการวางแผนที่เปนแนวทางการดําเนินงานโดยมีการกําหนดรูปแบบ ขอบเขต รวมทั้งวิธีการคนควาหาคําตอบตามวัตถุประสงคหรือปญหาวิจัยที่ไดกําหนดไว โดยการออกแบบการ-วิจัยตองระบุถึงกรอบแนวคิดของการวิจัย ปญหาวิจัย สมมติฐานการวิจัย การเลือกกลุมตัวอยาง การเก็บรวบรวมขอมูล และการวิเคราะหขอมูล (บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2547, หนา 127) หรือการออกแบบการวิจัยเปนการออกแบบใน 3 ดานคือ การออกแบบวิธีการสุมตัวอยาง การออกแบบวิธีการวิจัย และการออกแบบการวิเคราะหขอมูล ซ่ึงจะกลาวรายละเอียดในขั้นตอนการวางแผนการวิจัยในหัวขอตอไป ดวยการใหความหมายของการออกแบบการวิจัยตามที่ไดกลาวถึงไวกอนหนานี้จึงเปนเหตุผลใหนักวิชาการบางทานรวมทั้งผูเขียนเองเลือกที่จะใชคําวา การวางแผนการวิจัยในความหมายที่ครอบคลุมตั้งแตการออกแบบการวิจัยไปถึงการนําผลจากแนวคิดที่ไดออกแบบไวไปกําหนดใหเปนรูปธรรม เปนขั้นตอนของการปฏิบัติงาน ซ่ึงการทํางานวิจัยทุกฉบับตองมี การวางแผนโครงสรางหรือเคาโครงของการวิจัยกอนที่จะดําเนินการเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล โดยเริ่มจากการตั้งคําถามหรือปญหาวิจัย เพื่อกําหนดเปนวัตถุประสงคของการวิจัย มีการศึกษาเอกสารเรื่องราวหรืองานวิจัยที่เกี่ยวของ กําหนดสมมติฐานและตัวแปรตางๆ กําหนดวาจะใชวิธีการหรือเทคนิคการวิจัยแบบใด จะเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูลจากใคร อยางไรเพื่อใหไดขอสรุปที่ตอบคําถามตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ซ่ึงทั้งหมดนี้คือการวางแผนการวิจัย

Page 3: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

123

เมื่อการวางแผนการวิจัยหมายถึงการวางแผนเกี่ยวกับโครงสรางทั้งหมดของการวิจัย เพื่อหาคําตอบตามเปาหมายที่ตองการ เร่ิมจากการบอกแนวคิดที่จะศึกษา วิธีการที่ใชศึกษา ใครหรืออะไรที่ตองการศึกษา จะมีวิธีเก็บและวิเคราะหขอมูลอยางไร และจะแสดงผลลัพธในรูปแบบใด ดังนั้นแผนการวิจัยที่ไดจึงคลายพิมพเขียว (blueprint) เพื่อใหผูวิจัยใชเปนหลักในการดําเนินการวิจัย บางครั้งแผนการวิจัยนี้อาจมีการปรับเปลี่ยนบาง แตทั้งนี้ผูวิจัยควรที่จะวางแผนการวิจัยโดยรอบคอบเพื่อใหมีการเปลี่ยนแปลงนอยที่สุดเมื่อนําไปปฏิบัติ โดยมีจุดประสงคที่ควรคํานึงถึงในการวางแผนการวิจัยดังตอไปนี้ 1.1 การวางแผนการวิจยัมีจดุประสงคเพื่อใหไดแนวทางไปสูคําตอบตามปญหาการวิจัยที่มีความตรง (validity) โดยการไดผลการวิจัยที่มีความตรงนั้นจําแนกไดเปนความตรงภายใน และความตรงภายนอก ที่มคีวามแตกตางกันดังตอไปนี้ (สุวิมล ติรกานันท, 2548, หนา 85–87) 1.1.1 ความตรงภายใน (internal validity) หมายถึงการที่ผลของการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม เปนผลมาจากตัวแปรตนที่ใชในการศึกษาเทานั้น ไมไดมีผลมาจากตัวแปรอื่นๆ นอกจากที่กําหนดในการวิจัย เมื่อเปนเชนนั้นงานวิจัยที่จะมีความตรงภายในสูงจะตองมีความคลาดเคลื่อนของการวัดคาตัวแปรทั้งสองชนิดนี้ต่ํา ในขณะเดียวกันจะตองสามารถควบคุมตัวแปรแทรกซอนที่มีอิทธิพลตอตัวแปรตามไดเปนอยางดี ตลอดจนมีกระบวนการวิเคราะหขอมูลและแปลความหมายที่ถูกตองและเหมาะสม โดยปจจัยที่มีอิทธิพลตอความตรงภายในมีดังตอไปนี้ 1.1.1.1 ภูมิหลังของประชากรหรือกลุมตวัอยางที่ทําการศึกษา (history) ความแตกตางของประชากรที่มีตั้งแตเร่ิมแรกของการวิจัย ทําใหผูวิจัยไมสามารถระบุไดอยางชัดเจนวาผลที่เกิดขึ้นในตัวแปรตามเปนผลมาจากตัวแปรตนที่ศึกษา การแกไขทําไดโดยการ-เลือกประชากรที่มีภูมิหลังใกลเคียงกัน 1.1.1.2 วุฒิภาวะ (maturation) การเจริญเตบิโตของประชากรหรือตัวอยางทั้งทางรางกายและจิตใจในระหวางการวจิยัเปนสาเหตุอีกประการหนึ่งที่ทําใหผลการวิจัยแตกตางไปจากที่ควรจะเปน ผูวจิัยจงึควรระมัดระวังหากตองใชระยะเวลาการวิจัยทีย่าวนาน 1.1.1.3 การทดสอบ (testing) เมื่อกลุมตัวอยางรูวากําลังถูกศึกษา การแสดงออกยอมผิดไปจากปกต ิ ทําใหผลการวิจัยผิดไปจากที่ควรจะเปนได 1.1.1.4 เครื่องมือที่ใชในการวัดตวัแปร (instrument) องคประกอบที่สําคัญของการใชเครื่องมือเพือ่การวิจยัประกอบดวย ผูใชเครื่องมือ เครื่องมือ และผูถูกเก็บขอมูล

Page 4: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

124

หรือตัวอยางในการศึกษา ความคลาดเคลื่อนจะเกิดขึ้นไดจากการที่ผูใชเครื่องมือขาดความรูความเขาใจและขาดทักษะในการใช หรือเครื่องมือไมดี หรือผูตอบไมตั้งใจตอบ ผูวิจัยควรพิจารณาทั้ง 3 สวน 1.1.1.5 การถดถอยทางสถิติ (regression) เปนลักษณะทีข่อมูลมีการถดถอยเขาสูคาเฉลี่ยของกลุมทําใหผลการวัดแปรเปลีย่นไป 1.1.1.6 การคัดเลือกตัวอยาง (selection) ความลําเอียงของผูวิจัยในการ- คัดเลือกกลุมตัวอยางทําใหไดกลุมตัวอยางที่ไมเปนตัวแทนของประชากรที่ศึกษา จึงสงผลใหไมสามารถสรุปผลการวิจัยไดอยางชัดเจน 1.1.1.7 การขาดหายของตวัอยาง (mortality) ในระหวางการวิจยั ผูวิจยัมักพบการขาดหายไปของตัวอยาง เชน เจ็บปวย ตาย ลาออก และไปตางประเทศ เปนตน ทําใหไดขอมูลไมครบตามจํานวนที่กําหนด 1.1.1.8 การเกิดปฏิสัมพันธระหวางการคัดเลือกตัวอยางและวุฒิภาวะของตัวอยาง (selection maturation interaction) ไดแกการใชตัวอยางในเวลาที่แตกตางกันทําใหตัวอยางมีวุฒิภาวะแตกตางกันไปดวย 1.1.2 ความตรงภายนอก (external validity) หมายถึง การที่ผลการวิจัยสามารถสรุปผลอางอิงกลับไปยังประชากร เนื้อหาและสถานการณที่ใกลเคียงกันไดอยางถูกตอง ในกรณีของการสรุปอางอิงกลับไปยังประชากรหมายความวา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาจะตองเปนตัวแทนที่ดีของประชากร มีการเลือกใชสถิติสรุปอางอิงที่เหมาะสม และแปลความหมายของการวิเคราะหทางสถิติไดอยางถูกตอง โดยปจจัยที่มีอิทธิพลตอความตรงภายนอกมีดังตอไปนี้ 1.1.2.1 ปฏิสัมพันธระหวางการคัดเลือกตัวอยางกับการใชวิธีการทดลอง (interaction effect of selection and treatment) เกิดจากการที่กลุมตัวอยางมีความแตกตางในการรับวิธีการทดลองที่แตกตางกนัทําใหผูวจิัยไมสามารถสรุปผลกลับไปยังประชากรไดอยางสมบูรณ 1.1.2.2 ปฏิกิริยารวมระหวางการทดสอบครั้งแรกกับวิธีทดลอง (interaction effect of testing and treatment) เกิดจากผลการทดสอบครั้งแรกที่มีตอวิธีการทดลองและการทดสอบในครั้งหลัง 1.1.2.3 ปฏิกิริยาจากการจัดสภาพการทดลอง (reaction from experiment situation) เปนความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการจัดสภาพการทดลอง และทําใหมีลักษณะบางอยางที่ไมเกิดขึ้นในสถานการณทั่วไป

Page 5: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

125

การที่งานวิจัยจะมีความตรงภายนอกได จะตองเปนผลมาจากความตรงภายในของงานวิจัยนั้นเสียกอน จึงจะสามารถนําผลสรุปอางอิงตอไปได และการสรุปอางอิงผลการวิจัยที่ดีไมไดหมายความถึงการสรุปอางอิงไปยังกลุมประชากรเพียงอยางเดียว แตยังอาจรวมถึงการสรุปอางอิงไปยังเนื้อหาและสถานการณที่ใกลเคียงกันในบางกรณีไดอีกดวย 1.2 การวางแผนการวิจัยมีจุดประสงคเพื่อควบคุมความแปรปรวน โดยความ แปรปรวนนี้ไดแกความคลาดเคลื่อนหรือความผันแปรที่เกิดจากการดําเนินงาน โดยเฉพาะความแปรปรวนของตัวแปรที่ใชในการวิจัย ผูวิจัยจึงควรวางแผนการวิจัยเพื่อควบคุมความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นจากเครื่องมือที่ใช ผูเก็บขอมูลหรือกลุมตัวอยาง รวมทั้งการควบคุมความแปรปรวนที่เกิดจากตัวแปรที่ศึกษาและตัวแปรแทรกซอน 1.3 การวางแผนการวิจยัมีจดุประสงคเพื่อใหเกดิการใชทรัพยากรที่มอียูอยางเหมาะสมและใชอยางมีประสิทธิภาพ ไดประโยชนสูงสุด เหมาะสมกบัเหตุการณ 1.4 การวางแผนการวิจยัมีจดุประสงคเพื่อใหเห็นแนวทางวาผลการวิจยันาจะเปน เชนไร ซ่ึงการคาดคะเนผลของการวิจัยที่เรียกวาสมมติฐานของการวิจัย ไมใชส่ิงที่ผูวิจัยคิดขึ้นมาเอง แตจะตองเปนผลที่ไดหลังจากที่ผูวิจัยไดทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของอยางละเอียด ดังนั้นวัตถุประสงคของการวิจัยและสมมติฐานของการวิจัยจึงทําหนาที่เปนโจทยในการทําวิจัยและจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเปนโจทยที่ดี หากผูวิจัยกําหนดโจทยผิดพลาด ขั้นตอนที่เหลือในการวางแผนการวิจัยก็จะผิดพลาดไปดวย เชนเดียวกับตัวแปรที่เกี่ยวของในการวิจัยที่ผูวิจัยจะตองมีความละเอียด รอบคอบ หากกําหนดตัวแปรผิดพลาด ขั้นตอนที่เหลือในการวางแผนการวิจัยก็จะผิดพลาดไปดวย และสงผลกระทบตอไปยังการวัดตัวแปรและการเลือกใชเครื่องมือ ในกรณีที่งานวิจัยนั้นไมมีสมมติฐานของการวิจัย เชนการศึกษาเฉพาะกรณีหรือการวิจัยเชิงคุณภาพ ผูวิจัยจะใชวัตถุประสงคเปนโจทยในการวางแผนการวิจัย หากผูวิจัยตองการปญหาวิจัยที่ดีและสามารถวางแผนการวิจัยไดอยางถูกตองที่สุด การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของเปนขั้นตอนสําคัญโดยพิจารณาที่ปญหาวิจัยหรือวัตถุประสงคของการวิจัยเปนหลักในการวางแผนโครงสรางทั้งหมด รวมท้ังตองพิจารณาขอจํากัดอื่นๆ เชนงบประมาณ เวลา และเครื่องมือ อุปกรณที่ใชในการวิจัย ดังนั้นการวางแผนการวิจัยจึงตองพิจารณาประกอบกันระหวางแผนงานตามวัตถุประสงคและขอจํากัดภายใตเงื่อนไขที่มีอยู เพื่อผูวิจัยจะสามารถเลือกวางแผนใหเหมาะสมที่สุดนั่นเอง ซ่ึงการวางแผนการวิจัยมักจะมีขอจํากัดจากสิ่งตอไปนี้ (สุวิมล ติรกานันท, 2548, หนา 88)

Page 6: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

126

1) งบประมาณ หลายหนวยงานมีงบประมาณจํากดั แตมีความจําเปนตองใชผลของการวิจยั การวางแผนการวจิยัจึงตองพจิารณาวาจะลดหรือเพิ่มสวนใดใหกระทบตอผลของการวิจัยนอยที่สุด 2) เวลาการทําการวิจัย เวลาเปนปจจัยที่สําคัญเพราะปญหาและสถานการณมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา งานวิจัยที่จะมีประโยชนตองเปนงานวิจัยที่ใหผลในชวงเวลาที่เหตุการณกําลังดําเนินการอยู ดังนั้นการวางแผนการวิจัยจึงตองคํานึงถึงเวลาที่ใชวามีความเปนไปไดมากนอยเพียงใด 3) บุคลากร ความพรอมของบุคลากรที่เกี่ยวของในการทํางานวิจัยจะตองพิจารณา ทั้งความรูและจํานวนบุคลากรที่รวมทํางานวิจัย เพราะสวนนี้อาจเปนสวนที่ทําใหตองลดขอบเขตของการวิจัยลงไปไดและในบางกรณีอาจจะตองพิจารณาการทํางานเปนทีม ซ่ึงมีลักษณะเปนทีมงานในหนวยงานเดียวกันหรือทีมงานระหวางหนวยงาน ผูวิจัยที่เปนหัวหนาโครงการจะตองพิจารณาถึงการจัดสรรงาน การกระจายงาน การติดตามงาน ความยุติธรรม การมีสวนรวมในงานของสมาชิก ในสวนนี้ผูวิจัยอาจตองใชเทคนิคในการบริหารงานวิจัยเขามาเกี่ยวของ เพื่อใหงานสามารถดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ แมการวางแผนการวิจัยจะมีประโยชนแตก็จะมีขอจํากัดดังที่กลาวขางตน เมื่อผูวิจัยไดพิจารณาขอจํากัดรวมกับการพิจารณาเปาหมายหรือวัตถุประสงคของการวิจัยที่ตองการแลวจึงดําเนินการวางแผนการวิจัยโดยมีรายละเอียดของขั้นตอนการวางแผนการวิจัยในหัวขอตอไป 2. ขั้นตอนการวางแผนการวิจัย โดยทั่วไปสิ่งที่ปรากฏในแผนการวิจัยไดแก แนวคิดเกี่ยวกับวิธีวิจัย ขอมูลที่เกี่ยวของ ประเภทและแหลงขอมูล ความสัมพันธของตัวแปรที่ศึกษา วิธีการเก็บขอมูล กลุม-ตัวอยาง การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช รวมทั้งการบอกถึงลักษณะของผลลัพธที่คาดวาจะได ซ่ึงการวางแผนการวิจัยใดๆ ใหบรรลุเปาหมายไดส่ิงตางๆ ที่เปนแนวทางในการดําเนินงานวิจัยดังกลาวนั้น ควรปฏิบัติตามขั้นตอนดังตอไปนี้ 2.1 เลือกรูปแบบหรือประเภทของการวิจยั ในการเลือกรูปแบบหรือประเภทของ การวิจัย ผูวิจัยตองพิจารณากรอบของการวิจัย เนื่องจากการแบงรูปแบบหรือประเภทของ การวิจัยมีหลากหลายตามเกณฑที่นํามาใชในการจําแนกรูปแบบ ซ่ึงเกณฑในการแบงรูปแบบของการวิจัย เชน ลักษณะของขอมูล วัตถุประสงคการศึกษา ระยะเวลาการดําเนินงานวิจัย เปนตน

Page 7: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

127

ผูวิจัยควรเลือกประเภทของการวิจัยที่มีรูปแบบที่เหมาะสม และนําไปสูคําตอบของการวิจัยไดดีที่สุด (รายละเอียดเรื่องประเภทของงานวิจัยเสนอในบทที่ 1) 2.2 กําหนดขอบเขตของการวิจัย เมื่อผูวิจัยไดตัดสินใจเลือกประเด็นปญหาที่จะวิจัยแลว ผูวิจัยจําเปนอยางยิ่งที่จะตองกําหนดขอบเขตของการวิจัยใหชัดเจนกอนที่จะออกแบบการดําเนินงานวิจัย โดยขอบเขตของการวิจัยควรระบุรายละเอียด 4 ดานคือ 2.2.1 กําหนดขอบเขตของตัวแปรที่ตองการศึกษา โดยการตอบคําถาม “what” หมายถึงการศึกษาอะไร ไดแกการกลาวถึงตัวแปรสําหรับงานวิจัยเชิงปริมาณ หรือกลาวถึงเนื้อหาสําหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพ ที่ระบุวาการวิจัยคร้ังนี้มุงศึกษาเฉพาะตัวแปรใดหรือเฉพาะเนื้อหาใด นิยมแสดงความสัมพันธของตัวแปรในรูปของแผนภูมิหรือที่เรียกวากรอบแนวคิดของการวิจัย (รายละเอียดเรื่องตัวแปรเสนอในบทที่ 3 เร่ืองกรอบแนวคิดของการวิจัยเสนอในบทที่ 4) 2.2.2 กําหนดขอบเขตของประชากรที่ตองการศึกษา โดยการตอบคําถาม “who” หมายถึงการศึกษากับใคร ไดแกการกลาวถึงประชากรโดยระบุวาการวิจัยคร้ังนี้มุงศึกษากลุมเปาหมายใด (เร่ืองประชากรและกลุมตัวอยางเสนอรายละเอียดในบทที่ 6) 2.2.3 กําหนดพื้นที่ทางภูมิศาสตรที่ตองการศึกษา โดยการตอบคําถาม “where” หมายถึงศึกษาวิจัยที่ใด ไดแกการระบุสถานที่ที่ใชในการศึกษาหรือเก็บรวบรวมขอมูลวาเปนหนวยงาน หมูบาน ตําบล จังหวัด หรือเขตพื้นที่ใด 2.2.4 การกําหนดชวงเวลาที่ทําการศึกษาเพื่อใหรูวาเปนการศึกษาเกี่ยวกับอดีต ปจจุบันหรืออนาคต โดยการตอบคําถาม “when” หมายถึงจะทําการศึกษาเมื่อไร โดยระบุวาการ-วิจัยคร้ังนี้ใชเวลาในชวงใด นานเทาใด 2.3 ออกแบบการดําเนินงาน ไดแกการออกแบบสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ (สุวิมล ติร- กานันท, 2548, หนา 91–95; ธเนศ ตวนชะเอม, 2549, หนา 33–34) 2.3.1 ออกแบบการสุมตัวอยาง (sampling design) ผูวิจัยมักพบเสมอวา ประชากรที่ตองการศึกษามีขนาดใหญ จนไมสามารถศึกษาจากประชากรทั้งหมดได จําเปนตองนําเพียงบางสวนของประชากรที่มีความเปนตัวแทนมาศึกษา การที่จะไดกลุมตัวอยางที่มี ความเปนตัวแทน ผูวิจัยจําเปนอยางยิ่งที่ตองอาศัยเทคนิคการสุมตัวอยาง โดยหลักการสุมตัวอยางเสนอรายละเอียดในบทที่ 6 2.3.2 ออกแบบการวัดตัวแปร (measurement design) ในการเก็บขอมูลมา

Page 8: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

128

วิเคราะหเพื่อทดสอบสมมติฐาน ตองมีเครื่องมือที่มีความเฉพาะเจาะจง มีความแมนยําในการ-วัด โดยรายละเอียดของเรื่องเครื่องมือวิจัยเสนอในบทที่ 7 2.3.3 ออกแบบการวิเคราะหขอมูล (analysis design) การวิเคราะหขอมูลในการวิจัยมี 2 ประเภทคือ การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ และการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ ซ่ึง เสนอรายละเอียดเรื่องการวิเคราะหขอมูลในบทที่ 9 2.4 กําหนดเวลาในการดําเนินงาน ผูวิจัยจะตองประมาณการเวลาที่ใชในแตละ ขั้นตอนของการวิจัย เวลาที่กําหนดควรเปนเวลาที่พอเหมาะไมมากหรือนอยเกินไป สวนมากมักกําหนดเปนตารางกําหนดการดําเนินงาน (Gantt chart) ดังแสดงตัวอยางตามตารางที่ 5.1 ตารางนี้มีประโยชนในการบริหารงานวิจัย โดยเฉพาะการติดตามกํากับงาน การบริหารงบประมาณ และการบริหารกําลังคน นอกจากสามารถเขียนกําหนดเวลาในการดําเนินงานในรูปแบบตามรางแลว ผูวิจัยอาจเขียนเปนแผนภาพแสดงขั้นตอนการทํางานไดตามตัวอยางที่แสดงตามภาพที่ 5.1 ตารางที่ 5.1 ตัวอยางตารางกําหนดการดําเนินงาน

2. วางแผน การวิจัยและเสนอเคา-โครงงานวจิัย

เคาโครงงานวิจยัไดรับการ-สนับสนุน

1) คาพิมพเอกสาร 30 หนา x 20 บาท = 600 บาท

/ /

3. สรางเครื่องมือ

ไดเครื่องมือท่ีเหมาะสมมีความเที่ยงตรงพรอมใชงาน

1) คาพิมพเอกสาร 10 หนา x 20 บาท = 200 บาท 2) คาสําเนาเอกสาร 2,000 ชุด x 3 บาท = 6,000 บาท 3) คาจางเก็บขอมูล 1 คน x 5 วัน x 200 บาท = 1,000 บาท

/ / /

กําหนดเวลาดาํเนินงาน (ป งปม.) พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 กิจกรรม เปาหมาย งบประมาณ

เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค

1. ศึกษาขอมูลพื้นฐานและทฤษฎี ท่ีเกี่ยวของ

ไดขอมูลเพื่อเปนแนวทาง ในการวางแผน การวิจัย

1) คาติดตอสื่อสารและคาเดินทาง 5,000 บาท 2) คาสําเนาเอกสาร 3,000 บาท

/ /

Page 9: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

129

ตารางที่ 5.1 ตัวอยางตารางกําหนดการดําเนินงาน (ตอ)

4. เก็บขอมูล ไดขอมูลจากกลุมตัวอยางของการวิจัยพรอมสําหรับการวิเคราะห

1) คาจางเก็บขอมูล 2 คน x 20 วัน x 200 บาท = 8,000 บาท

/

5. วิเคราะหและสรุปผลการวจิัย

ไดผลการ-วิเคราะหขอมูลท่ีจะนํามาใชสําหรับการ-จัดทํารายงานผลการวจิัย

1) คาจางวิเคราะหผลขอมูล 10,000 บาท

/ / /

6. เขียนรายงานผลการวจิัย

ไดรายงานผลการวจิัยท่ีสมบูรณ

1) คาพิมพเอกสาร 200 หนา x 20 บาท = 4,000 บาท 2) คาสําเนาเอกสาร 10 เลม x 200 หนา x 0.05 บาท = 1,000 บาท 3) คาเขาเลมเอกสาร 250 บาท x 10 เลม = 2,500 บาท

/ / /

ระยะ สัญลักษณ กิจกรรม จํานวนวนั 1–2 2–3 2–4 2–5 2–6 3–4 4–7 5–8

A B C D E F G H

ศึกษาขอมูลพื้นฐานและทฤษฎีที่เกี่ยวของ รับสมัครพนักงานสนาม รางแบบสอบถาม เลือกหนวยตัวอยาง เตรียมโปรแกรม อบรมพนักงาน ทดลองใชแบบสอบถาม คํานวณจํานวนตัวอยาง

60 7 30 30 15 15 45 15

กําหนดเวลาดาํเนินงาน (ป งปม.) ป พ.ศ. 2550 ป พ.ศ. 2550 กิจกรรม เปาหมาย งบประมาณ

เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค

Page 10: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

130

ตารางที่ 5.1 ตัวอยางตารางกําหนดการดําเนินงาน (ตอ)

ระยะ สัญลักษณ กิจกรรม จํานวนวนั 6–10 7–8 8–9 9–10 10–11 11–12 12–13 13–14 14–15

I J K L M N O P Q

ทําคูมือเพื่อกําหนดชื่อตัวแปรและลงรหัสขอมูล แกไขแบบสอบถาม เก็บขอมูล ตรวจสอบและแกไขขอมูล จัดกระทําและวิเคราะหขอมูล รายงานฉบับราง ทบทวน รายงานสุดทาย เสนอรายงาน

30 15 60 30 21 45 15 30 10

3 4 7 8 9 10 11 12 13 14 15 1 2 5

6

ภาพที่ 5.1 ตัวอยางแผนภาพแสดงขั้นตอนการดําเนินงานวิจยั จากภาพที่ 5.1 เปนการนําความรูเร่ืองเทคนิคการบริหารโครงการมาใชเพื่อกําหนดระยะเวลาในการดําเนินงานของแตละกิจกรรม นอกจากผูวิจัยจะสามารถมองเห็นภาพขั้นตอนการดําเนินงานวิจัยที่เปนลําดับ เห็นระยะเวลาที่ใชในแตละกิจกรรมแลว ผูวิจัยจะสามารถเห็นสายงานที่ใชระยะเวลามากที่สุดในการดําเนินงานซึ่งในที่นี้คือกิจกรรม A – C – G – J – K – L – M – N – O – P – Q โดยระยะเวลาที่ใชตลอดโครงการคือ 352 วัน

F 15 B 7 G J K L M N O P Q C 30 A H 15 I 30 E 15

45 15 60 30 21 45 15 30 10 60

D 30

Page 11: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

131

2.5 กําหนดงบประมาณที่ใช คาใชจายในการวิจัยเปนสิ่งที่ผูวิจัยตองประมาณการ ลวงหนา ในกรณีที่ตองการขอทุนสนับสนุนการวิจัยนั้น การกําหนดงบประมาณจะตองมี ความเปนเหตุเปนผลและควรแสดงรายละเอียดอยางชัดเจน เพื่อประกอบการพิจารณาหรือในกรณีที่ไมไดขอทุนสนับสนุนการวิจัยจากหนวยงานใด การกําหนดรายละเอียดคาใชจายไวจะชวยลดปญหาทางการเงินในการวิจัยไดมาก เมื่อผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนการวางแผนการวิจัยดังกลาวขางตนแลว ขั้น-ตอไปจะนําผลที่ไดมาเขียนเปนขอเสนอโครงการวิจัยหรือเคาโครงงานวิจัย เพื่อใชเปนแผนในการดําเนินการวิจัยตอไป ในระหวางการออกแบบและจัดทําแผนการวิจัย อาจมีขอผิดพลาดเกิดขึ้นจากแหลง ตางๆ ผูวิจัยซ่ึงเปนผูวางแผนการวิจัยจึงตองทราบถึงแหลงที่อาจกอใหเกิดขอผิดพลาดและวิธีการปองกันขอผิดพลาดเหลานั้น เพราะจะไดสามารถวางแผนหรือเลือกชนิดของแผนงานวิจัยไดอยางรอบคอบและไดแผนการวิจัยที่ เหมาะสม ทําใหเกิดผลของงานวิจัยที่ถูกตอง สามารถนําผลการวิจัยไปประยุกตใชไดอยางจริงจัง โดยแหลงที่อาจเกิดขอผิดพลาด และวิธีการปองกันขอผิดพลาดของการวางแผนและการดําเนินการตามแผนการวิจัยมีดังตอไปนี้ (วัชราภรณ สุริยาภิวัฒน, 2548, หนา 110–112) 1) ความผิดพลาดจากการวางแผน (planning error) เกิดขึ้นเมื่อผูวิจัยระบุปญหาวิจัย ที่ผิดพลาดตั้งแตเ ร่ิมตน เปนผลใหวางโครงสรางของงานวิจัยไมเหมาะสม การปองกันขอผิดพลาดทําไดโดยการเขียนที่มาของปญหาใหชัดเจน บอกคุณคาหรือประโยชนของผลการวิจัย จะชวยใหผูวิจัยวางแผนการวิจัยเพื่อตอบปญหาดังกลาวไดตรงประเด็น 2) ความผิดพลาดจากการรวบรวมขอมูล (collection error) เปนขอผิดพลาดจากการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ที่อาจเกิดจากพนักงานหรือผูชวยผูวิจัยที่ทําหนาที่สัมภาษณยังไมเขาใจความสําคัญหรือความหมายของคําถามเพียงพอ หรืออาจเนื่องมาจากการใชวิธีการวัดที่ไมถูกตองและไมนาเชื่อถือ (invalid) ขอมูลที่เก็บไมเปนตัวแทนที่ดีของประชากร หรือวิธีการเก็บขอมูลที่ทําใหไดผลลัพธที่ผิดพลาด (mislead) การปองกันความผิดพลาดจากการเก็บรวบรวมขอมูลทําไดโดยผูวิจัยตองศึกษาหลักการเก็บขอมูลและไมมองขามความสําคัญของการเปนตัวแทนที่ดีของตัวอยาง (good representative) มีการเลือกตัวอยางที่ถูกตอง มีการวางแผนการเก็บขอมูลและควบคุมการผิดพลาดไวลวงหนา

Page 12: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

132

3) ความผิดพลาดจากการวิเคราะห (analytic errors) เปนขอผิดพลาดที่เกิดจากการเลือกวิธีการวิเคราะหขอมูลที่ไมเหมาะสม หรือไมสอดคลองกับสมมติฐานทางสถิติ ไดแกการใชวิธีการวิเคราะหไมเหมาะสมกับขอมูลที่มีอยู ดังนั้นผูวิจัยจึงควรปรึกษานักสถิติ หรือศึกษาวิธีการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหสามารถใชการวิเคราะหดังกลาวไดอยางถูกตอง 4) ความผิดพลาดจากการสรุปเปนรายงาน (reporting errors) เปนการสรุปผลที่ ผิดพลาด (misinterpret) โดยแปลความหมายตัวเลขที่ไดจากการวิเคราะหไมถูกตอง ทั้งนี้อาจ- เนื่องมาจากความไมชํานาญในเรื่องการแปลผลขอมูล หรือไมชํานาญในเรื่องที่ทําวิจัย อาจมีความสัมพันธระหวางตัวแปรบางตัวที่ผูวิจัยไมไดสังเกต รวมทั้งอาจเกิดจากการบิดเบือนขอเท็จจริง (distortion of facts) การปองกันขอผิดพลาดนี้ทําไดโดยผูวิจัยตองไมลําเอียงในผลที่วิเคราะหได มีความรูในเรื่องที่วิจัยและเรื่องวิธีการแปลผลขอมูล อันจะชวยใหไดขอสรุปที่ถูกตอง ไดขอคิดเห็นที่กวางขวาง ครอบคลุม และเปนประโยชน สําหรับการวิจัยเพื่อการบริหารงานอุตสาหกรรมโดยทั่วไปนิยมใชรูปแบบการวิจัยแบบการสํารวจ โดยเฉพาะเมื่อเกี่ยวของกับประชากรขนาดใหญ เชนงานวิจัยดานการตลาด การศึกษาความนิยมในสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งมักใชวิธีการสํารวจเพราะเกี่ยวของกับกลุมคนหรือประชากรสวนใหญซ่ึงบางครั้งไมมีกรอบของจํานวนประชากร แตใชการกําหนดขนาดตัวอยางที่สํารวจ วิ ธีการสํารวจ การสรางแบบสอบถาม การวัดคา และการวิ เคราะห ดังนั้น การวางแผนอยางรอบคอบจึงเปนสิ่งสําคัญที่จะชวยใหเกิดประสิทธิภาพของผลงานวิจัย ในที่นี้จึงจะกลาวถึงการวางแผนการวิจัยโดยการสํารวจที่นิยมใชสําหรับงานวิจัยเพื่อการบริหารงานอุตสาหกรรม 3. การวางแผนการวิจัยโดยการสํารวจ ผูวิจัยจะวางแผนการวิจัยแบบสํารวจเมื่องานวิจัยนั้นตองการเก็บขอมูลปฐมภูมิไมมีการจัดกระทําสถานการณใดๆ เปนการศึกษาสภาพการณตามที่ปรากฏ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาลักษณะหรือขอคิดเห็นอยางใดอยางหนึ่งจากประชากรที่มีขนาดคอนขางใหญ เชน แรงงานในจังหวัดนครศรีธรรมราช ประชากรในภาคใต ผูโดยสารเครื่องบินหรือรถโดยสารประจําทางขามจังหวัดจากจังหวัดนครศรีธรรมราชไปกรุงเทพมหานคร เปนตน การสํารวจจะตองมีการสอบขอมูลจากกลุมตัวอยาง ซ่ึงเรียกวาผูใหขอมูล (respondents) โดยใชวิธีสัมภาษณหรือการเขียนคําตอบลงบนแบบสอบถาม หรือใชทั้งสองวิธีรวมกัน คําวาการสํารวจมาจากคําเต็มวาการสํารวจ

Page 13: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

133

ตัวอยาง (sample survey) ดังนั้นจึงตองมีการสุมตัวอยางหรือเลือกสวนหนึ่งของประชากรมาศึกษาหรือสอบถามขอมูล ผลจากการสํารวจตัวอยางหรือสวนหนึ่งของประชากรมักจะนําไปใชในกรณีทั่วไป (generalize) กับประชากรเปาหมายหรือที่เรียกวา การอางอิงผลจากกลุมตัวอยางไปสูกลุมประชากร ดังนั้นตัวอยางที่เลือกสํารวจจึงตองเปนตัวแทนที่ดีของประชากรจึงจะทําใหงานวิจัยไดผลลัพธถูกตอง การสัมภาษณหรือกรอกแบบสอบถามอาจเปนแบบเผชิญหนากัน (face to face) หรือสัมภาษณทางโทรศัพทหรือสงแบบสอบถามทางไปรษณีย หรือแสดงไวบนอินเทอรเน็ตตามลักษณะของประชากร เครื่องมือ และวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลที่ผูวิจัยใชพิจารณาแลววาเหมาะสม การวางแผนการวิจัยจึงเริ่มจากการพิจารณาเปาหมายการสํารวจ ทบทวนสภาพปจจุบันของเหตุการณที่ตองการศึกษา และประเมินวามีทรัพยากรตางๆ ที่เกี่ยวของมากนอยเพียงใด การดําเนินการเชนนี้ทําใหสามารถแยกไดวางานวิจัยสํารวจจะเปนการสํารวจเชิงบรรยาย หรือการสํารวจเชิงวิเคราะห ซ่ึงแตละแบบมีรายละเอียดดังตอไปนี้ (วัชราภรณ สุริยาภิวัฒน, 2548, หนา 212–213) 3.1 การสํารวจเชิงบรรยาย (descriptive survey) มุงเนนไปที่การศึกษาลักษณะของ ประชากรหรือส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ณ เวลาที่กําหนดหรือตามเวลาที่เปลี่ยนไป การบรรยายโดยใช ถอยคําอธิบายหรือมีตัวเลขประกอบบางเล็กนอย ทําใหการสํารวจชนิดนี้ไมตองมีการวิเคราะหในดานสถิติมากนัก แตขอดีก็คือตัวอยางที่สํารวจมักเปนตัวแทนที่ดีของประชากรที่เกี่ยวของ ทําใหการนําผลไปใชกับประชากรทั้งหมดมีความถูกตอง (population validity) การสํารวจเชิงบรรยายจึงตองมีการวางแผนอยางดีไมวาจะเปนเรื่องคําถาม การฝกผูเก็บขอมูลภาคสนามและการควบคุมงานภาคสนาม อันจะทําใหผลงานจากการสํารวจเชิงบรรยายมีคุณคาและตอบคําถามบางอยางไดถูกตองและเปนประโยชนในการนําผลไปประยุกตใช ในการวิจัยเพื่อการบริหารงานอุตสาหกรรม การสํารวจเชิงบรรยายอาจใชใน-การยืนยันทัศนคติหรือความเห็นของลูกคาตอสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งที่เรียกวาการสํารวจทัศนคติ (attitude survey) ซ่ึงสามารถใชในการประเมินความพอใจไมวาจะเปนในการทํางาน ความพอใจในระบบผลตอบแทน ขอคิดเห็นตอสวัสดิการที่พนักงานไดรับ เปนตน รวมทั้งการศึกษาภูมิปญญาพื้นบานที่เกี่ยวของกับการผลิตสินคา การใหบริการ และการจัดจําหนาย เปนตน 3.2 การสํารวจเชิงวิเคราะห (analytic survey) การสํารวจประเภทนี้ยังคงตองใช

Page 14: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

134

การสุมตัวอยางจากประชากรซึ่งมีจํานวนมาก แตคําถามหรือขอมูลที่เปนคําตอบของผูใหขอมูลหรือกลุมตัวอยางนี้ มักเปนขอมูลเชิงปริมาณ เชน ใหตัวเลขเกี่ยวกับยอดซื้อสินคาตอสัปดาห จํานวนครั้งการชมภาพยนตรตอเดือน เปนตน ซ่ึงตัวเลขที่ไดรับมาจะถูกนําไปวิเคราะหตามวิธีการทางสถิติที่เหมาะสมตอไป การสํารวจเชิงบรรยายและการสํารวจเชิงวิเคราะหตางมีสวนดีในการใหขอสรุปกับปญหาวิจัยและประชากร โดยวิธีการสํารวจทั้งสองแบบจะมีสวนเสริมผลลัพธซ่ึงกันและกันไดอยางดี การสุมตัวอยางที่เหมาะสมและไดตัวอยางที่เปนตัวแทนที่ดีของประชากรจะทําใหผลการสํารวจเชิงบรรยายมีประโยชนไมนอยไปกวาการสํารวจเชิงวิเคราะห โดยท่ัวไปการสํารวจในเร่ืองเดียวกันอาจใชทั้งการบรรยายและการวิเคราะหรวมกัน กลาวคือ ในแบบสอบถามจะมีทั้งคําถามเกี่ยวกับทัศนคติ ขอคิดเห็นและขอมูลตัวเลข เชน อาชีพ รายไดตอเดือน ยอดซื้อ ความคิดเห็นตอสินคา เปนตน และมีการคนควาวรรณกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของโดยละเอียดเพื่อนํามาประกอบกับการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ ซ่ึงจะเปนการเสริมหรือยืนยันคําตอบที่ไดใหโดดเดนยิ่งขึ้น ขอมูลที่ผูวิจัยทําการสํารวจตองการไดแก (Fife–Schaw, 1995a, n.p. อางถึงในผองพรรณ ตรัยมงคลกูล และสุภาพ ฉัตราภรณ, 2549, หนา 162) 1) ขอมูลพื้นฐานและขอมูลสวนบุคคล (background and demographic data) 2) ความคิดเห็น (opinion) เจตคติ (attitude) 3) ความรู (knowledge) 4) ความเชื่อ (belief) คานิยม (value) 5) พฤติกรรม (ตามคําบอกเลาของผูตอบ) (behavioral reports) 6) ความตั้งใจ (intention) ความคาดหวัง (expectation) ความปรารถนา (aspiration) 7) ความพึงพอใจ (satisfaction) เมื่อผูวิจัยไดวิเคราะหปญหาวิจัยของตนและไดกําหนดรูปแบบงานวิจัยของตนวาเปนงานวิจัยสํารวจในรูปแบบใดก็ตาม ส่ิงที่ทําใหเกิดความแตกตางกันระหวางการวิจัยสํารวจเชิงวิเคราะหและการวิจัยสํารวจเชิงบรรยายคือเร่ืองของขอมูลและวิธีการไดมาซึ่งขอมูลที่จะเปนคําตอบของปญหาวิจัย ซ่ึงจะสงผลตอการกําหนดเครื่องมือวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และวิธีการวิเคราะหขอมูลที่ไดมา ดังนั้นผูวิจัยจึงควรพิจารณาเปาหมายหรือปญหาวิจัยใหชัดเจนและตอบใหไดวาจะไดคําตอบมาไดอยางไร โดยในงานวิจัยบางฉบับจะเปนการใช ทั้งสองรูปแบบประกอบกัน ตัวอยางเชน ผูวิจัยใชการศึกษาการรับบริการขององคกรจากการสํารวจเชิงวิเคราะห

Page 15: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

135

จากลูกคา แตศึกษาโครงสรางการบริหารองคกรจากการสืบคนเอกสาร ซ่ึงเปนการสํารวจเชิงบรรยาย เปนตน หลังจากที่ผูวิจัยสามารถกําหนดรูปแบบการวิจัยของตนไดแลว จึงดําเนินการตามขั้นตอนการวางแผนการวิจัยดังที่กลาวมาแลวขางตน ซ่ึงสามารถแสดงขั้นตอนการวางแผนการ-วิจัยแบบสํารวจตามภาพที่ 5.2

กําหนดตัวแปรที่ตองการศึกษา กําหนดเหตกุารณที่ตองการศึกษา

การสํารวจเชิงวิเคราะห การสํารวจเชิงบรรยาย เลือกรูปแบบวจิัยสํารวจ

การวิจยัแบบสาํรวจ

วางแนวคิดและโครงสรางปญหาที่จะวิจยัโดย 1. พิจารณาเปาหมายของงานวิจยั 2. ทบทวนสภาพปจจุบนัของเหตุการณ 3. ประเมนิทรัพยากรทีใ่ช (เงิน คน เวลา)

กําหนดขอบเขตของการวิจยั 1. กําหนดประชากรเปาหมาย 2. กําหนดชวงเวลาที่จะศกึษา 3. กําหนดพื้นที่ที่ตองการศึกษา

ออกแบบการดําเนินงาน 1. การไดมาซึ่งกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใช 3. การวิเคราะหขอมูล

วางแผนการเกบ็ขอมูล

กําหนดระยะเวลาและงบประมาณ ที่ใชดําเนนิการ

ภาพที่ 5.2 การวางแผนการวิจัยแบบสํารวจ

Page 16: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

136

การวางแผนการวิจัยโดยการสํารวจที่ตองใชวิธีการสุมตัวอยางและเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสัมภาษณหรือสอบถามก็ตาม อาจพบขอผิดพลาดในระหวางดําเนินการ แตความผิดพลาดดังกลาวสามารถออกแบบและควบคุมได ซ่ึงขอผิดพลาดที่มักจะพบมีดังตอไปนี้ (วัชราภรณ สุริยาภิวัฒน, 2548, หนา 215–216) 1) ความผิดพลาดจากการสุมตัวอยาง สามารถควบคุมไดโดยการวางแผนอยางรอบคอบในทุกดาน ตั้งแตการกําหนดลักษณะผูใหขอมูลอยางถูกตอง (right respondents) ใชวิธีการสุมตัวอยางที่ดี (right sampling) การเขาถึงผูใหขอมูลที่ถูกตอง (right access) และขนาดตัวอยางที่เหมาะสม (right sample size) 2) ความผิดพลาดจากผูสัมภาษณ ที่อาจเกดิจากความไมตั้งใจของผูสัมภาษณ การกรอกขอมูลผิดพลาดหรือการเขียนคําตอบไมทัน การตั้งคําถามชี้นํา เปนตน ถือเปน ความผิดพลาดที่เกิดจากความไมตั้งใจ หากมีการควบคุมที่ดีโดยการอบรมผูเก็บขอมูลภาคสนามใหตระหนักถึงความสําคัญของขอมูล และอธิบายวิธีการเก็บขอมูลเปนขั้นตอน ยอมทําให ความผิดพลาดสวนนี้ลดลงได ในทางตรงขาม หากผูสัมภาษณจงใจสรางขอผิดพลาด เชน เขียนคําตอบขึ้นเองตามความคิดเห็นของตน เรงรีบสัมภาษณ หรือขามคําถามที่ไมอยากถาม เพราะจะทําใหผูตอบไมพอใจ เปนตน ก็อาจใชวิธีควบคุมโดยบอกแกผูสัมภาษณวาจะมีการสอบถามไปยังผูใหขอมูลวา ณ วันเวลาที่กําหนดไดมีพนักงานไปสัมภาษณหรือไม หรือใหลงลายมือช่ือยืนยันการปฏิบัติงานจริง รวมทั้งการสรางคําถามตรวจ (cross checks) หรือคําถามแฝง (disguised questions) เปนวิธีการที่ควบคุมความผิดพลาดในสวนนี้ไดเชนกัน 3) ความผิดพลาดจากผูใหขอมูลที่เกิดจากการไมตอบ (non–response) อาจกลาว- ไดวามีการสํารวจจํานวนนอยมากที่ไดขอมูลคําตอบครบถวน การไมไดคําตอบถือเปน ความผิดพลาดอยางหนึ่งของการสํารวจ ซ่ึงอาจเกิดจากไมพบตัวผูตอบหรือผูตอบปฏิเสธที่จะตอบ โดยปกติอัตราความผิดพลาดในสวนนี้ไมควรเกินรอยละ 20 การแกไขอาจใชวิธีการติดตามกลับไปเปนระยะ ดวยจดหมายหรือโทรศัพท โดยคํานึงถึงความรูสึกของผูตอบ กลาวคือ ใชถอยคําหรือขอความในเชิงขอความรวมมือจะดีที่สุด การคํานึงถึงวัฒนธรรม มารยาทในสังคม และวิธีการใชภาษาจะชวยใหอัตราการไมตอบลดต่ําลง (เสนอรายละเอียดเรื่องการเก็บรวบรวมขอมูลในบทที่ 8) นอกจากนี้ยังมีขอผิดพลาดที่เกิดจากการตอบผิด (response bias) การตอบผิดหรือตอบไมตรงความจริงมีสาเหตุหลายประการ อาจเกิดจากการเอาใจหรือพยายามตอบใหถูกใจ ผูถาม

Page 17: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

137

หรือรูวาตนเองเปนเพียงสวนหนึ่งของการสํารวจจึงใหความสําคัญนอย ความเบื่อหนายหรือรําคาญจึงตอบไปใหพนตัว ความเกรงใจ ความเชื่อทางสังคม หรือความยึดมั่นในความเชื่อสวนบุคคลบางอยาง ส่ิงตางๆ เหลานี้สามารถปองกันไดโดยใชคําถามแฝง หรือไมบอกวัตถุประสงคของการวิจัยอยางตรงๆ แตทั้งนี้ก็ตองคํานึงถึงจรรยาบรรณการวิจัยไวดวยเชนกัน การวางแผนการวิจัยจึงเปนกระบวนการคิดอยางเปนเหตุเปนผล เพื่อใหไดคําตอบของปญหาวิจัยที่ถูกตอง รวมทั้งประหยัดและเกิดปญหานอยที่สุด ดังนั้นแผนการวิจัยทีด่นีอกจากจะชวยใหไดผลการวิจัยที่ดีมีคุณภาพเปนที่ยอมรับแลว ยังชวยใหผูวิจัยทํางานไดอยางรอบคอบ สามารถบรรลุเปาหมายไดตามความตองการและเกิดประสิทธิภาพ แตทั้งนี้แผนการวิจัยที่ผูวิจัยไดวางแผนและออกแบบไวจะตองนําเสนอในรูปเอกสารเพื่อใชเปนหลักฐานสําหรับการทํางานที่อาจเรียกแผนการวิจัยในรูปแบบเอกสารนี้วาเคาโครงงานวิจัยนั่นเอง เคาโครงงานวิจัย ในองคกรใดๆ ที่มีความเกี่ยวของกับการทําวิจัยหรือสนับสนุนการทําวิจัยมักจะพบโครงรางของขอกําหนดการทําวิจัยที่องคกรนั้นกําหนดขึ้นสําหรับใหผูวิจัยพิจารณานําไปดําเนินการ ซ่ึงจะแสดงแนวทางหรือขอกําหนดตั้งแตระดับกวางที่สุดที่มักจะเรียกวาแผนวิจัย มาเปนหัวขอแผนงานวิจัย และลงมาสูส่ิงที่นักวิจัยตองปฏิบัตินั่นคือโครงการวิจัย โดยความหมายของแผนวิจัย หัวขอแผนงานวิจัยและโครงการวิจัยมีดังตอไปนี้ (บุญธรรม จิตตอนันต, 2546, หนา 66–67)

แผนวิจัย (research plan) คือโครงรางขอกําหนดที่ระบุเร่ืองหรือลักษณะการดําเนินการ-วิจัยใหเปนไปในทางสอดคลองกับทิศทางที่กําหนดไวตามนโยบายหรือตามยุทธศาสตร อาจเรียกวาเปนการวิจัยเสริมยุทธศาสตร (policy–based research) แผนวิจัยชนิดนี้จัดเปนแผนแมบทหลัก (master plan) ที่จะแตกยอยออกมาเปนหัวขอแผนงานวิจัย ที่ควรทําการวิจัย

หัวขอแผนงานวิจัย (topic of research program) หมายถึงขอกําหนดที่ระบุเร่ืองหรือลักษณะการดําเนินการวิจัยภายใตกรอบที่กําหนดของแผนวิจัย โดยหัวขอแผนงานวิจัยจะมีความละเอียด เจาะลึกและเฉพาะเจาะจงไปสูเร่ืองหรือลักษณะการดําเนินการวิจัยมากกวาแผนวิจัย โดยหัวขอแผนงานวิจัยนี้เปนการวิจัยภายใตหัวเร่ืองใหญ (thematic–based research) ที่ในแตละหัวขอแผนงานวิจัยอาจประกอบดวยโครงการวิจัย (project–based research) ที่เปนโครงการเดี่ยวหรือรวมกันหลายโครงการที่อาจเรียกวาชุดโครงการวิจัย (program–based research) โดยมีความสัมพันธหรือสนับสนุนซึ่งกันและกัน มีลักษณะบูรณาการ (integration) ทําใหเกิดองครวม

Page 18: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

138

(holistic ideology) เปนการวิจัยที่เปนสหสาขาวิชาการ (multi disciplines) ครบวงจร (complete set) โดยมีเปาหมายที่จะนําผลการวิจัยไปใชประโยชนชัดเจน

โครงการวิจัย คือแผนการวิจัยซ่ึงถูกกําหนดขึ้นเพื่อใชดําเนินการกับกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งของหัวขอแผนงานวิจัย

ความสัมพันธระหวางแผนวิจัย หัวขอแผนงานวิจัย และโครงการวิจัยแสดงตัวอยางตามภาพที่ 5.3

ภาพที่ 5.3 ความสัมพันธระหวางแผนวิจัยและโครงการวิจัย จากภาพที่ 5.3 พิจารณาไดวาแผนวิจัยเปนแผนแมบทหลักหรือแผนใหญที่แยกออกมา

เปนหัวขอแผนงานวิจัยจํานวนมากหรือนอยแลวแตลักษณะแผนวิจัย จากนั้นแตละหัวขอแผนงาน

...เปนงานวิจัยที่มีคุณภาพสนองนโยบายมหาวิทยาลัยและยุทธศาสตรชาติ...

1. การวิจยัการเรียนการสอน

2. การวิจยัเพือ่พัฒนาระบบการประกันคณุภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย

3. การวิจยัเพือ่พัฒนาทองถ่ินแบบยั่งยืน

การพัฒนาดัชนีช้ีวัดความสําเร็จในการดําเนินการประกันคณุภาพการศึกษาของหนวยงานจัดการศึกษา

การศึกษาปจจยัที่เปนอุปสรรคในการดําเนินงานประกันคุณภาพการศกึษาของมหาวิทยาลัย

หัวขอแผนงานวิจยั

แผนวิจยั

โครงการวิจัย

Page 19: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

139

วิจัยก็จะแตกออกมาเปนโครงการวิจัยจํานวนไมแนนอนเชนเดียวกัน แตละโครงการนั้นถาเห็นวาคอนขางใหญก็สามารถแตกออกเปนโครงการยอย (sup–project หรือ program) สําหรับนักวิจัยที่ตองการดําเนินการวิจัยตามโครงการวิจัยเร่ืองใดๆ ส่ิงที่นักวิจัยพึงปฏิบัติคือ การจัดทําเคาโครงงานวิจัย หรือเรียกวาขอเสนอการวิจัยที่มีความหมาย ประโยชน องคประกอบและประเภทของเคาโครงงานวิจัยดังรายละเอียดตอไปนี้

1. ความหมายและประโยชนของเคาโครงงานวิจัย เคาโครงงานวิจัย (research proposal) คือแบบแผนการดําเนินการวิจัยที่ผูวิจัยไดกําหนดไวลวงหนาอยางมีระบบและแสดงอยูในรูปแบบเอกสารใหผูวิจัยใชเปนแนวทางในการ-ดําเนินกิจกรรมตางๆ ในการวิจัยเพื่อใหบรรลุจุดมุงหมาย เคาโครงงานวิจัยเปรียบเสมือนพิมพเขียวที่บอกทิศทางและขั้นตอนในการดําเนินการวิจัย ในอดีตเคาโครงงานวิจัยไดแกการเขียน 3 บทแรกของงานวิจัยใหเสร็จโดยเฉพาะในการนําเสนอเคาโครงงานวิจัยของนักศึกษา แตในปจจุบันการเสนอเคาโครงงานวิจัยตอหนวยงานตางๆ เพื่อขออนุมัติดําเนินการหรือขอรับการสนับสนุนในการทําวิจัยนั้นจะมีลักษณะคลายโครงการ (project) จึงอาจเรียกวาโครงการวิจัยทีเ่ปนเอกสารแสดงแนวคิด (concept paper) ที่มีรูปแบบและองคประกอบของเอกสารแตกตางกัน แตก็ยังคงมีรายละเอียดครอบคลุมกระบวนการวิจัยเหมือนการทําบทที่ 1–3 จะแตกตางกัน ก็เพียงรูปแบบการนําเสนอและบางหัวขอเทานั้น เคาโครงงานวิจัยเปนขอเสนองานวิจัยที่ใชเชื่อมโยงความเขาใจในงานวิจัยระหวางเจาของงานหรือผูสนับสนุนงานวิจัยกับผูดําเนินการวิจัย เพราะเคาโครงงานวิจัยจะแสดงแผนการทํางานที่ระบุวาจะทําอะไร ทําอยางไร ทําที่ไหน ทําใหใคร ใครเปนผูทํา และจะไดประโยชนอะไรจากการวิจัยนี้ หากไมมีเคาโครงงานวิจัยที่แสดงรายละเอียดของแผนการวิจัย ในรูปแบบเอกสารจะทําใหเกิดความลําบากในการสรางความเขาใจใหแกผูอ่ืนซึ่งรวมไปถึงตัวผูวิจัยเองก็จะไมสามารถมีเอกสารหลักฐานที่แสดงแนวคิดของงานวิจัยที่ตองการทํา หากพิจารณาไปถึงประโยชนของเคาโครงงานวิจัยแลวสามารถที่จะแบงเปนประโยชนของ 2 ฝายคือ ฝายเจาของงานหรือผูสนับสนุนและฝายผูวิจัย โดยแตละฝายไดรับประโยชนจากเคาโครงงานวิจัยดังตอไปนี้ (วัชราภรณ สุริยาภิวัฒน, 2548, หนา 68–70) 1.1 เจาของงานหรือผูสนับสนุน เคาโครงงานวิจัยที่ชัดเจน เกิดประโยชนแกเจาของงาน ผูสนับสนุน รวมทั้งผูบริหารดังตอไปนี้

Page 20: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

140

1.1.1 เปนการรับประกันวาผูวิจัยเขาใจถองแทถึงปญหาที่จะทําการวิจยัเพราะ ในเคาโครงงานวิจัยจะระบุถึงปญหาที่จะวิจัยและผลลัพธที่คาดหวังไว หากผูวิจัยระบุปญหาคลาดเคลื่อนไปจากที่เจาของงานหรือผูสนับสนุนตองการ ก็สามารถปรับเปลี่ยนใหตรงตามที่ตองการหรือหยุดการดําเนินการตอ

1.1.2 เปนเครื่องมือควบคุม เมื่อเคาโครงงานวิจยัเปนทีย่อมรับจากเจาของงาน หรือผูสนับสนุนแลว เคาโครงงานวิจัยจะเปนสัญญาหรือขอความที่ผูกมัดผูวิจัยใหทํางานตามแนวทางที่เสนอไว

1.1.3 ชวยใหเจาของงานหรอืผูสนับสนุนประเมินวิธีการวิจัยวาการศกึษาครั้งนี ้จะไดผลลัพธตรงตามเปาหมายหรือไม หากไมตรงจะไดมีการปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมตอไป

1.1.4 ชวยตดัสินถึงคุณคาและคุณภาพงานวิจยั โดยท่ัวไปเจาของงานหรือ ผูสนับสนุนพยายามคัดเลือกหรือจัดลําดับความสําคัญของโครงการวิจัยภายใตงบประมาณที่จํากัด ดังนั้นเคาโครงงานวิจัยจึงเปนเครื่องมือสําคัญที่ชวยในการตัดสินใจของเจาของงาน โดยเฉพาะเมื่อมีการประมูลหรือใชผูวิจัยจากแหลงภายนอก เคาโครงงานวิจัยจะเปนประโยชนในการเปรียบเทียบวาผูวิจัยคนใดหรือกลุมใดที่เสนอการวิจัยที่มีคุณภาพดีกวาหรือดีที่สุด

1.2 ฝายผูวิจยั เชนเดยีวกันกบัเจาของงานหรือผูสนับสนุน ผูวิจยักจ็ะไดประโยชน

อยางมากจากการเขียนเคาโครงงานวิจัย ประโยชนที่ผูวิจัยจะไดจากเคาโครงงานวิจัยที่ดีมีดังนี้ 1.2.1 เปนการยืนยนัวาผูวิจยัเขาใจปญหาทีศ่ึกษาตรงตามที่เจาของงานตองการ

ไมวาจะเปนทีมวิจัยจากภายนอกหรือภายในองคกร หากเคาโครงงานวิจัยผานการอนุมัติจากเจาของงาน ก็เปนการยืนยันแกผูวิจัยวาเขาใจปญหาตรงกับเจาของงานหรือผูสนับสนุน ทําใหเกิดความมั่นใจในการดําเนินงานวิจัยตอไป

1.2.2 ทําใหผูวิจัยไดวางแผนและทบทวนขั้นตอนการวจิัยไดอยางรอบคอบกอน จะลงมือดําเนินการวิจัย การเขียนเคาโครงงานวิจัยจะทําใหผูวิจัยไดวางแผนและคิดวาจะแกปญหาอยางไร นอกจากนี้ยังทําใหมีการตรวจสอบทุกขั้นตอนของกระบวนการวิจัย

1.2.3 เคาโครงงานวิจยัเปนแผนดําเนนิการและแนวทางที่ชวยควบคุมขั้นตอน การวิจัย ผูวิจัยสามารถใชเคาโครงงานวิจัยเปนแนวทางในการดําเนินงานและควบคุมการ-ดําเนินงานตามแผนที่วางไว หากมีขั้นตอนใดที่สงสัยหรือมีปญหาก็สามารถยอนกลับมาดูในเคาโครงงานวิจัยวาเขียนไวอยางไร เคาโครงงานวิจัยจึงทําหนาที่คลายแผนที่ที่จะนําผูวิจัยไปตามเสนทางจนกระทั่งถึงเปาหมาย

Page 21: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

141

1.2.4 บอกถึงขอตกลงระหวางเจาของงานกับผูวิจยั ความคิดของเจาของงาน ตอการวิจัยมักมีลักษณะเฉพาะตัวซ่ึงอาจไมเหมือนกับที่นักวิจัยคิด ดังนั้นเคาโครงงานวิจัยจะชวยลดปญหาความไมเขาใจระหวางผูดําเนินการวิจัยกับเจาของงานวิจัย หากมีอะไรที่ตกลงกันไมได ก็จะกลับมาพิจารณาตามที่เขียนในเคาโครงงานวิจัยที่ไดอนุมัติแลว

เคาโครงงานวิจัยเปนงานที่ผูวิจัยทําหลังจากที่ไดกําหนดปญหาวิจัย ทบทวนเอกสาร

ที่เกี่ยวของ ออกแบบ และวางแผนการวิจัยแลว โดยเคาโครงงานวิจัยจะทําหนาที่เปนแผนการดําเนินงาน (plan) ที่บอกถึงโครงสรางการวิจัย ยุทธวิธีในการวิจัย (strategy) คุณคาของการวิจัย (value) รวมทั้งเปนขอเสนอเพื่อการพิจารณาอนุมัติงบประมาณหรือเงินทุนดําเนินการวิจัย (support) ดังนั้นการจัดทําเคาโครงงานวิจัยจึงเปนขั้นตอนที่สําคัญของงานวิจัยทุกชิ้นที่ผูวิจัยตองรวบรวมความคิดใหเปนระบบ แลวเขียนลงบนกระดาษในรูปของเคาโครงงานวิจัย มีนักวิจัยเปนสวนนอยเทานั้นที่ทําการวิจัยโดยไมเขียนแผนหรือเคาโครงงานวิจัย

2. ประเภทและสวนประกอบของเคาโครงงานวิจัย

หากแบงประเภทของเคาโครงงานวิจัยตามวัตถุประสงคของเคาโครงงานวิจัยและ

องคกรหรือเจาของงานวิจัยแลว สามารถจําแนกประเภทของเคาโครงงานวิจัยไดเปน 3 ประเภทดังตอไปนี้

2.1 เคาโครงงานวจิัยภายในองคกร เปนเคาโครงงานวิจยัที่มจีุดประสงคเพือ่บอก

รายละเอียดใหกับผูบริหารหรือผูที่เกี่ยวของไดรับรูหรืออนุมัติ ปกติแลวเคาโครงงานวิจัยชนิดนี้มักมีขนาดสั้นและมีความซับซอนนอยกวาเคาโครงงานวิจัยประเภทอื่นๆ รวมทั้งอาจมี ความเปนทางการนอยกวาเคาโครงงานวิจัยประเภทอื่นเชนกัน

ปจจุบันองคกรที่เปนหนวยงานของราชการมีงบประมาณเพื่อใหบุคลากรไดดําเนินการวิจัยที่เปนประโยชนตอองคกร ซ่ึงบุคลากรจะตองเสนอเคาโครงงานวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนจากหนวยงานหรือองคกร แตสําหรับองคกรธุรกิจอุตสาหกรรมแมจะมีงบประมาณเพื่อการดําเนินการวิจัย แตสวนมากงานวิจัยที่เต็มรูปแบบมักจะเปนการจางบุคคลหรือนักวิจัยภายนอกมาดําเนินงาน โดยเฉพาะการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ยกเวนการวิจัยเพื่อแกปญหาหนางานจะมีการทําเคาโครงงานวิจัยในรูปโครงการเชนกัน

Page 22: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

142

2.2 เคาโครงงานวิจัยจากองคกรภายนอก เปนเคาโครงงานวิจัยที่บุคคลภายนอกหรือนักวิจัยทั่วไปสงเขามาที่องคกรเพื่อขอรับการสนับสนุนการดําเนินงานหรืออาจเรียกวาเปนการประมูลงานวิจัย ผลลัพธที่ไดจากการวิจัยอาจจะนํามาใชประโยชนภายในหนวยงานผูวาจาง หรืออาจจะมีประโยชนตอองคกรอื่น รวมท้ังชุมชนและสังคม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะขององคกรสนับสนุนงานวิจัยนั้นๆ รายละเอียดที่เขียนในเคาโครงงานวิจัยประเภทนี้จะมีความละเอียดและมีความยาวมากกวาเคาโครงงานวิจัยภายในองคกร โดยทั่วไปองคกรสนับสนุนจะเขียนขอกําหนดการวิจัยขึ้น เพื่อใหแนวทางสําหรับเรื่องหรือปญหาที่ตองการวิจัย แลวแจงใหผูสนใจเขามาประมูล นักวิจัยที่สนใจจะเขียนเคาโครงงานวิจัยของตนมาเสนอ

2.3 เคาโครงงานวิจยัของสถานศึกษา อาจจัดเปนเคาโครงงานวิจยัประเภทที่ 2.1 หรือประเภทที่ 2.2 ก็ได ทั้งนี้เนื่องจากการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับตั้งแตปริญญาตรีขึ้นไปของสถาบันการศึกษาสวนมากนิยมใหนักศึกษาตองดําเนินการวิจัยกอนสําเร็จการศึกษา และพบวามีนักศึกษาสวนหนึ่งที่ขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากหนวยงานหรือองคกรตางๆ โดยเฉพาะในปจจุบันที่หนวยงานของรัฐและเอกชนนิยมที่จะสนับสนุนใหเกิดประโยชนจากความรูความสามารถในการศึกษาคนควาหาคําตอบของนักศึกษา จึงใหการสนับสนุนใหดําเนินการวิจัยกันอยางมากมายหลากหลายหนวยงาน แมกระทั่งสถานศึกษาเองก็ใหการ-สนับสนุนเชนเดียวกัน ไมวาเคาโครงงานวิจัยจะจัดทําขึ้นเพื่อวัตถุประสงคใด จากการสนับสนุนจากหนวยงานหรือองคกรใด โดยทั่วไปเคาโครงงานวิจัยจะมีองคประกอบที่สําคัญ 3 สวนคือสวนนํา สวนเนื้อหา และสวนอางอิง โดยแตละองคประกอบมีหัวขอที่แตกตางกันออกไปตามหนวยงานที่เปนเจาของหรือใหการสนับสนุนกําหนด แตพบวาโดยสวนมากจะมีหัวขอและมีแนวทางในการเขียนดังตอไปนี้ 1) สวนนํา เปนสวนแรกของการเขียนเคาโครงงานวิจัย ที่มุงแสดงรายละเอียดของ ช่ือเร่ือง ช่ือผูวิจัยและทีมผูวิจัย ประเภทของการวิจัย สาขาที่ทําการวิจัย ที่ปรึกษาโครงการ และปที่ทําวิจัย 1.1) ช่ือเร่ืองหรือช่ือโครงการ ในการกําหนดชื่อเร่ืองควรมีความสัมพันธกับ ปญหาการวิจัย เพราะการเลือกชื่อเร่ืองเปนจุดเริ่มตนที่สําคัญของกระบวนการวิจัย ผูวิจัยจึงควรพิจารณารายละเอียดเรื่องตางๆ ไมวาจะเปนความสนใจของผูวิจัยเอง อาจเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับ

Page 23: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

143

การปฏิบัติงาน หรืออยูในสาขาที่ผูวิจัยมีความรู มีประสบการณมากพอสมควร นอกจากนี้งานวิจัยที่ทําควรมีประโยชนและคุณคาเพียงพอตอการทุมเทเวลา แรงกายและงบประมาณ(รายละเอียดของการกําหนดชื่อเร่ืองวิจัยเสนอในบทที่ 3) 1.2) ช่ือผูวิจยัและทีมผูวิจยั หากเปนการวจิัยที่มีผูวจิัยเพยีงคนเดยีวก็จะระบ ุเพียงชื่อและรายละเอียดตางๆ ที่กําหนดเชน คุณวุฒิทางการศึกษา ตําแหนง หนวยงานที่สังกัด ประสบการณในการทําวิจัย เปนตน แตหากมีผูวิจัยมากกวา 1 คน จะกําหนดตําแหนงหัวหนาโครงการจํานวน 1 คน สวนที่เหลือจะเปนผูรวมโครงการหรือทีมผูวิจัยที่ระบุรายละเอียดอยางครบถวนเชนเดียวกับหัวหนาโครงการ บางหนวยงานอาจใหระบุรายละเอียดของผูวิจัยในภาคผนวกหรือเปนสวนแนบทายของเคาโครงงานวิจัย 1.3) ประเภทของงานวิจัย ประเภทของงานวิจัยจะระบุวางานวิจัยที่ทําเปนงานวิจัยประเภทใด เชน งานวิจัยพื้นฐาน งานวิจัยประยุกต งานวิจัยเพื่อพัฒนา เปนตน (รายละเอียดเรื่องประเภทของงานวิจัยเสนอในบทที่ 1) 1.4) สาขาที่ทําการวิจยั เปนการระบุสาขาวิชาการของโครงการวิจัยนัน้ หากม ีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธกับหลายสาขาวิชาก็พิจารณาวาโครงการวิจัยเนนหนักไปในวิชาการสาขาใด เชน สาขาการศึกษา สาขาวิทยาศาสตร สาขาสังคมศาสตร เปนตน (รายละเอียดเรื่องสาขาวิชาในการวิจัยไดกลาวรายละเอียดไวแลวในบทที่ 1) 1.5) ที่ปรึกษาโครงการ ที่ปรึกษาโครงการวิจัยจะใชในกรณีที่งานวิจยันั้นม ีผูทรงคุณวุฒิเปนที่ปรึกษา โดยระบุช่ือ คุณวุฒิทางการศึกษาและตําแหนงของที่ปรึกษาโครงการ 1.6) ปที่ทําวิจยั เปนการกําหนดปหรือพุทธศักราชที่ดําเนนิการวจิัย 2) สวนเนื้อหา เปนสวนสําคัญที่แสดงถึงแผนการวิจัย ในสวนนี้จะทําใหรูวาผูวิจัยมีแนวคิดและแนวทางของการวิจัยเชนไร รวมทั้งแสดงใหเห็นความเปนไปไดของผลการดําเนินงาน ซ่ึงสวนเนื้อหาประกอบดวยหัวขอ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย สมมติฐานการวิจัย ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ วิธีดําเนินการวิจัย และแผนการดําเนินงานตลอดโครงการ 2.1) ความเปนมาและความสําคัญของปญหา เปนขอความที่พยายามชีใ้หเห็น ความสําคัญของปญหาในลักษณะวิเคราะหปญหาใหเห็นเหตุผลที่ตองทําการวิจัยเร่ืองนี้ มีหลักการ ทฤษฎีหรือขอมูลมาสนับสนุน เปนการอางขอมูลที่บอกสถานการณปจจุบันที่เปนอยูซ่ึงคาดวาจะเปนปญหา อางขอมูลสนับสนุนถึงสิ่งที่ควรจะเปน มีเหตุผลสนับสนุนและระบุวิธีการที่

Page 24: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

144

จะตองดําเนินการเพื่อใหสภาพปจจุบันเปนไปตามสิ่งที่ควรจะเปน รวมทั้งประโยชนที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่ดําเนินการแลว เนื่องจากการเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหาตองแสดงเหตุผลใหผูอานเห็นความสําคัญและเห็นภาพวาเหตุใดผูวิจัยจึงเลือกทําการวิจัยเร่ืองนี้ ผูวิจัยจึงควรกําหนดประเด็นที่ตองการเขียนใหชัดเจนกอนลงมือเขียน ซ่ึงประเด็นที่ควรศึกษาขอมูลมานําเสนอไดแก 2.1.1) บอกสภาพปจจุบัน อันไดแกเกดิเหตุการณหรือปรากฏการณอะไร ขึ้น รายละเอียดของเหตุการณโดยสรุปเปนอยางไร 2.1.2) บอกสภาพที่ควรจะเปน อันไดแกเหตุการณหรือปรากฏการณที่ดี หรือที่คาดหวงั ที่ตองการ ควรเปนเชนไร 2.1.3) บอกปญหาที่เกิดขึ้น ไดแกปญหามลัีกษณะอยางไร มีความรุนแรง เทาใด โดยสวนมากแลวปญหาจะเกิดจากสภาพที่เปนจรงิในขอ 2.1.1) ตางจากสภาพที่ควรจะเปนในขอ 2.1.2) นั่นเอง 2.1.4) ความสมัพันธ หรือผลกระทบของปญหาที่มีตอส่ิงอื่นๆ 2.1.5) การศึกษาเกีย่วกับเรื่องนี้มีใครทําบางหรือไม ไดขอมูลอะไรและขาดขอมูลอะไร 2.1.6) ปญหาที่เกิดขึ้นนํามาสูแนวคิดในการวิจัยในครั้งนี้คือการวิจยัเร่ืองอะไร 2.1.7) ภายหลังจากไดผลของการวิจยัในเรื่องดังกลาวในขอ 2.1.6) แลว จะเกิดความสําคัญอยางไรโดยมีใครหรือหนวยงานใดสามารถนําขอคนพบที่ไดไปใชประโยชนและใชเพื่อส่ิงใด ไดอยางไรอันนําไปสูการแกไขสภาพปญหาตามที่ไดอธิบายไวแลว การนําเสนอประเด็นดังกลาว ผูวิจัยควรเขียนเปนความเรียงอยางตอเนื่องเปนเหตุเปนผล โดยมีลักษณะการเขียนความเปนมาและความสําคัญของปญหา 2 ลักษณะคือการเขียนทางบวก หมายถึงนัยของความเปนมาและความสําคัญของปญหา จะกลาวถึงประโยชนหากมีการทํางานวิจัยเร่ืองนี้ และเขียนทางลบ หมายถึงนัยของความเปนมาและความสําคัญของปญหา จะกลาวถึงโทษหรืออันตรายหากไมมีการดําเนินการวิจัยเร่ืองนี้ อยางไรก็ตามควรเขียนใหตรงประเด็น ใหเหตุผลที่นําไปสูจุดที่เปนปญหาที่จะตองทําการวิจัยและชวยใหเห็นความสําคัญของ

Page 25: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

145

ส่ิงที่จะวิจัย มีการอางอิงขอมูลเพื่อใหเหตุผลที่นําเสนอมีน้ําหนักนาเชื่อถือ และเชื่อถือได รวมทั้งเขียนใหเขาใจงายดวยการนําเสนออยางเปนขั้นตอนตอเนื่อง มีลําดับของเนื้อหา การเขียนหัวขอความเปนมาและความสําคัญของปญหาใหงาย ผูวิจัยอาจแบงเนื้อหาออกเปน 4 สวนคือ สวนที่ 1 การกลาวนําที่อธิบายถึงสภาพทั่วๆ ไป โดยอางทฤษฎี เขียนในภาพกวางเขาสูภาพแคบในเรื่องที่ตองการวิจัย สวนที่ 2 การกลาวถึงสภาพปญหา ควรนําเสนอขอมูลที่เปนสถิติ โดยอางอิงที่มา สวนที่ 3 การกลาวถึงผลกระทบของปญหา สวนที่ 4 การสรุปที่ เชื่อมโยงสูการทําวิจัย เพื่อแกไขปญหา หรือหาขอเท็จจริงของปญหา และบอกประโยชนที่จะไดรับจากผลของการวิจัย จากประสบการณของผูเขียนพบวาผูวิจัยจะใหน้ําหนักของขอมูลในสวนที่ 1 ปริมาณมาก และการกลาวถึงสภาพปญหาในสวนที่ 2 รวมทั้งผลกระทบของปญหาในสวนที่ 3 มีน้ําหนักนอย ทําใหการแสดงถึงประโยชนที่จะไดรับจากผลการวิจัยมีน้ําหนักลดลงไปดวยเชนกัน 2.2) วัตถุประสงคของการวิจัย การเขียนวัตถุประสงคของการวิจัยจะตองช้ีใหเห็นวาผูวิจัยตองการศึกษาคนควาอะไร อาจเขียนในลักษณะวัตถุประสงคทั่วไป หรือวัตถุประสงคเฉพาะ หรือทั้งสองแบบ โดยเขียนเรียงลําดับเปนรายขอ วัตถุประสงคที่มีความสําคัญมากควรมากอน ตามดวยวัตถุประสงครอง วัตถุประสงคจะบอกลักษณะของการ-ดําเนินการ กลุมตัวอยาง ตัวแปร และเปนตัวกําหนดสถิติที่ใชในการวิ เคราะหขอมูล (รายละเอียดเรื่องวัตถุประสงคของการวิจัยเสนอในบทที่ 3)

2.3) ขอบเขตของการวิจยั การกําหนดขอบเขตของการวิจัย เปนการขีดวงของ การวิจัยใหชัดเจนวาการวิจัยกวางหรือแคบ เฉพาะเจาะจงเพียงใด หากแคบหรือเฉพาะเจาะจงมากเกินไปอาจมีปญหาในการสรุปอางอิงถึงผลของการวิจัย แตหากกวางเกินไปอาจมีปญหา ในการดําเนินการวิจัยเกี่ยวกับเวลาและงบประมาณที่ใช ดังรายละเอียดที่กลาวมาแลวในหัวขอขั้นตอนการวางแผนการวิจัย 2.4) สมมติฐานการวจิัย เปนการคาดการณคําตอบของการดําเนินการวจิัยซ่ึงจะ มีความสัมพันธกับวัตถุประสงคของการวิจัย (เสนอรายละเอียดเรื่องสมมติฐานการวิจัย ในบทที่ 3) 2.5) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ หัวขอประโยชนที่คาดวาจะไดรับจะถูกระบุ

Page 26: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

146

ไวในเคาโครงงานวิจัย โดยระบุวาการวิจัยคร้ังนี้จะใหประโยชนอะไรบางและชี้ใหเห็นคุณคาทางวิชาการวาไดคนพบความรูใหมอะไร กลุมเปาหมายใดจะไดรับประโยชนจากผลการวิจัยนี้ ในการเขียนประโยชนที่คาดวาจะไดรับนี้ควรเขียนเรียงลําดับจากประโยชนโดยตรงมากที่สุด ไปหานอยที่สุด และเขียนใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย ไมเขียนประโยชนที่สวยหรู เกินจริง เปนจินตนาการที่วัดผลไมได ในบางหนวยงานพบวาในรายงานผลการวิจัยที่จัดทําเปนรูปเลมภายหลังจากทําการวิจัยเสร็จสิ้นจะไมมีหัวขอประโยชนที่คาดวาจะไดรับ โดยนําเนื้อความที่เปนประโยชนจากการทํางานวิจัยไปเพิ่มเติมไวในความเปนมาและความสําคัญของปญหา 2.6) วิธีดําเนนิการวจิัยหรือระเบียบวิธีการวิจัย เปนการเขียนที่แสดงใหเห็นวา การดําเนินการวิจัยคร้ังนี้มีลําดับขั้นตอนอยางไรตั้งแตตนจนจบกระบวนการ ในการเขียนหัวขอวิธีดําเนินการวิจัยจะแสดงรายละเอียดของสิ่งตอไปนี้คือ 2.6.1) ประชากรและกลุมตวัอยาง โดยระบกุลุมของประชากรที่จะศึกษา วาเปนใครและมีจํานวนเทาใด บอกรายละเอียดของวิธีการเลือกตัวอยางจากประชากรดังกลาว และกลุมตัวอยางที่ได (รายละเอียดเรื่องประชากรและกลุมตัวอยางเสนอในบทที่ 6)

2.6.2) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย โดยระบุเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัย ใหรายละเอียดของสวนประกอบของเครื่องมือ ขั้นตอนการสรางหรือการพัฒนาเครื่องมือ การทดสอบคุณภาพของเครื่องมือและคุณภาพของเครื่องมือหลังจากการนําไปทดลองใช (เสนอรายละเอียดเรื่องเครื่องมือวิจัยในบทที่ 7)

2.6.3) การเก็บรวบรวมขอมูล กลาวถึงวิธีการและขั้นตอนที่ใชในการรวบรวมขอมูลโดยใชเครื่องมือแตละชนิด ผูเก็บรวบรวมขอมูล ชวงเวลาและสถานที่ที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล (เร่ืองการเก็บรวบรวมขอมูลเสนอรายละเอียดในบทที่ 8)

2.6.4) การวิเคราะหขอมูลและสถิติที่ใช กลาวถึงวิธีการที่ใชในการวิเคราะหขอมูลที่รวบรวมมาไดวาจะใชสถิติอะไรในการวิเคราะหขอมูล (การวิเคราะหขอมูลเสนอรายละเอียดในบทที่ 9) 2.7) แผนการดําเนินงานตลอดโครงการ เปนการระบุขัน้ตอนของกิจกรรมและ ระยะเวลาดําเนินการวิจัยโดยละเอียด รวมทั้งแสดงตารางกําหนดการดําเนินงานตลอดโครงการ 2.8) เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในหัวขอนี้ผูเสนอโครงการวจิัยจะตอง นําเสนอสรุปเนื้อหาของงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อเปนการยืนยันวาการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีแหลง ศึกษาคนควาซึ่งแสดงถึงโอกาสที่จะทําการวิจัยไดสําเร็จและผูวิจัยไดทําการศึกษาเบื้องตนมาแลว ในบางหนวยงานจะใหผูวิจัยเสนอเฉพาะชื่อเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของในรูปแบบการเขียน

Page 27: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

147

บรรณานุกรมตามหลักวิชาการเทานั้น แตบางหนวยงานตองการทั้งสรุปเนื้อหาของงานวิจัยที่เกี่ยวของและการอางอิงตามหลักการเขียนบรรณานุกรม (รายละเอียดเรื่องการศึกษาเอกสารเสนอในบทที่ 4) 3) สวนอางอิง หัวขอที่ปรากฏอยูในสวนนี้ที่พบมากไดแก บรรณานกุรม และ ภาคผนวก ซ่ึงหากเปนเคาโครงงานวิจัยของนักศึกษาที่ตองเสนอรายละเอียดของรายงานผลการวิจัยจํานวน 3 บท มักจะมีบรรณานุกรมและภาคผนวกซึ่งไดแกการเสนอเครื่องมือที่ใชในการวิจัย รายละเอียดของประชากรและกลุมตัวอยาง เปนตน (รายละเอียดของรายงานผลการวิจัยเสนอในบทที่ 10) แตถาเปนเคาโครงงานวิจัยเพื่อการขอรับทุนอุดหนุนจากหนวยงานตางๆ มักจะพบวาการเสนอรายละเอียดของบทที่ 2 หรือเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของมีไมมากนัก บางหนวยงานใหเสนอเพียงชื่อเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของอยูในรูปการเสนอบรรณานุกรม และแสดงไวในสวนเนื้อหา จึงไมพบสวนภาคผนวกของเคาโครงงานวิจัยก็เปนไปได นอกจากหัวขอตางๆ ในองคประกอบของเคาโครงงานวิจัยที่กลาวไปแลวนั้น อาจพบวาบางหนวยงานมีหัวขออ่ืนๆ เพิ่มเติม หรือบางครั้งผูวิจัยเองอาจมีความจําเปนตองเพิ่มบางหัวขอเพื่อใหเคาโครงงานวิจัยมีความสมบูรณเห็นรายละเอียดมากยิ่งขึ้น ดังเชนหัวขอตอไปนี้ 1) สถานที่ทําการทดลอง หรือสถานที่เก็บขอมูล หรือหนวยงานที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 2) อุปกรณทีใ่ชในการวิจัย ที่เสนอเปน 2 ประเภทคืออุปกรณที่จําเปนในการวจิัย ที่ตองการไดรับการสนับสนุนเพิ่มเติม และอุปกรณการวิจัยที่มีอยูแลวซ่ึงมักจะเปนเครื่องจักรหรือครุภัณฑตางๆ ทั้งนี้การระบุอุปกรณที่ใชในการวิจัยจะมีผลตอการนําเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุน 3) งบประมาณของโครงการวิจัย เปนการนําเสนองบประมาณที่ตองการไดรับเพื่อ ใชจายในการดําเนินงานโครงการ โดยทัว่ไปจะจําแนกเปน 3 หมวดคอื

3.1) หมวดคาตอบแทน เชน คาตอบแทนผูเชี่ยวชาญ คาตอบแทนนกัวิจยั

คาตอบแทนทีป่รึกษา เปนตน 3.2) หมวดคาใชสอย ไดแกคาจางในการดาํเนินการตางๆ เชน จางเก็บขอมูล

จางวิเคราะหขอมูล จางพิมพรายงานผลการวิจัย เปนตน

Page 28: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

148

3.3) หมวดคาวัสดุ ไดแกคาใชจายในการซื้อวัสดุและอปุกรณเพื่อการวิจัย ในสวนงบประมาณคาครุภัณฑและงบลงทุน เชน คากอสราง คาที่ดิน หนวยงานมักจะไมพิจารณาใหงบประมาณสนับสนุน 4) ขอตกลงเบือ้งตน และขอจํากัดของการวิจัย เปนกรณเีฉพาะสําหรับงานวิจยับาง-ฉบับเทานั้น (รายละเอียดของการเขียนขอตกลงและขอจาํกัดของการวจิัยนําเสนอในบทที่ 10) จากการจัดการเรียนการสอนพบวาปญหาหลักของผูเรียนรายวิชาเกี่ยวกับการวิจัยเปนปญหาที่ตอเนื่องจากการหาปญหาวิจัย การกําหนดวัตถุประสงคของการวิจัย การกําหนดตัวแปร และกําหนดกลุมประชากร อันนําไปสูการวางแผนการวิจัย ที่ผิดพลาดไมสามารถดําเนินการตามระยะเวลาที่กําหนดไวตามแผนการดําเนินงานตลอดโครงการไดเนื่องจากตองกลับไปแกไขรายละเอียดที่สําคัญที่นําไปสูการปฏิบัติ แนวทางแกไขหนึ่งนอกจากการเรียนรูทฤษฎีตามเนื้อหาวิชาการทางดานการวิจัยแลว ส่ิงสําคัญที่สุดคือการศึกษาเอกสารและขอมูลสนับสนุนที่เกี่ยวของกับเรื่องที่ผูเรียนตองการวิจัยใหมากที่สุดจะชวยใหผูเรียนเกิดแนวคิดและวางแผนไดอยางรอบคอบ ถูกตอง และสามารถปฏิบัติไดตามแผนการวิจัยที่กําหนดไว โดยมีผูกลาวไววาการเขียนเคาโครงงานวิจัยที่ดีตองยึดหลัก 7 ประการ (7Cs) คือ ความถูกตอง (correctness) มีเหตุผล (cogency) กระจาง (clarity) สมบูรณ (completeness) กะทัดรัด (concise) สม่ําเสมอ (consistency) และสัมพันธเชื่อมโยง (correspondence) ซ่ึงทั้งหมดนี้มาจากพื้นฐานของความรูนั่นเอง สรุป การวางแผนการวิจัยเปนการวางแนวทางในการดําเนินงานทั้งหมดของการวิจัยไมวา จะเปนรูปแบบการวิจัย ขอบเขต เครื่องมือ วิธีการ ระยะเวลา รวมไปถึงงบประมาณของการ-วิจัย เพื่อใหไดคําตอบตามวัตถุประสงคของการวิจัยนั่นเอง การวางแผนการวิจัยจะชวยใหคาํตอบที่ไดมีความตรงทั้งภายในและภายนอก ผูวิจัยสามารถควบคุมความคลาดเคลื่อนของ การดําเนินงานได ชวยใหมีการใชทรัพยากรอยางประหยัด รวมทั้งเกิดความรอบคอบในการ-ดําเนินงาน โดยการวางแผนการวิจัยเร่ิมจากการเลือกประเภทของการวิจัย ซ่ึงหากเปนการวจิยัเชงิสํารวจที่พบวามีการทํากันอยางแพรหลาย ตองพิจารณาวาเปนการสํารวจเชิงบรรยายหรือการสํารวจเชิงวิเคราะห หลังจากนั้นแลวจึงกําหนดขอบเขตของการวิจัย ออกแบบวิธีการสุมตัวอยาง การวัดตัวแปร และการวิเคราะหขอมูล กําหนดระยะเวลาและงบประมาณที่ใชในการดําเนินงาน

Page 29: บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค าโครงงานว ิจัย · บทที่ 5 การวางแผนการวิจัยและเค

149

เมื่อวางแผนการวิจัยแลวจึงนําเสนอแผนการวิจัยดังกลาวในรูปของเคาโครงงานวิจัย เพราะนอกจากจะชวยใหผูวิจัยมีแผนการดําเนินงานแลว ยังใชเปนขอตกลงรวมกันระหวางผูวิจัยและผูสนับสนุนงานวิจัยเร่ืองนั้นๆ อีกดวย