17
บทที4 ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่าง

ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

  • Upload
    others

  • View
    0

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

บทที ่4

ประชากรและการคดัเลอืกกลุม่ตวัอยา่ง

Page 2: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

ประชากร (Population) คือ ส่วนทัง้หมดของทุกหน่วยซ่ึงเป็นไปตามเง่ือนไขท่ีต้องการศึกษา

กลุ่มตวัอย่าง (Sample) คือ ส่วนหน่ึงของประชากรท่ีถกูสุ่มหรือเลือกขึ้นมาใช้ในการศึกษาแทนประชากร เพ่ือน าผลสรปุจากหลกัฐานเชิงตวัเลขไปบรรยายลกัษณะของส่ิงท่ีท าการศึกษาหรือสรปุอ้างอิงถึงลกัษณะประชากร

Page 3: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

• การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น เป็นการเลือกกลุ่มตวัอย่างแต่ละหน่วยมาศึกษาโดย

กลุ่มตวัอย่างมีโอกาสได้รบัเลือกในการวิจยัเท่ากนั • การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยไม่อาศยัหลกัความน่าจะเป็น เป็นการเลือกกลุ่มตวัอย่างข้ึนมาศึกษาแบบเจาะจง

ตามความต้องการของผู้วิจยั

Page 4: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

เหตผุลการสุ่มกลุ่มตวัอย่าง

1. ประชากรขนาดใหญ่ ยากท่ีจะเกบ็รวบรวมข้อมูลข้อมูลจากทุกหน่วยประชากร

2. ประหยดัเวลา ค่าใช้จ่าย และงบประมาณ 3. ท าให้นักวิจยัได้ผลทนัเวลา 4. ท าให้ได้ผลท่ีมีความแม่นย า เช่ือถือได้ ถ้า

สุ่มตวัอย่างโดยมีหลกัการ

Page 5: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

ลกัษณะของกลุ่มตวัอย่างท่ีดี

1. เป็นตวัแทนท่ีดี (representative) 2. ได้ตวัอย่างท่ีมีการกระจายเหมือน

ประชากร 3. ตวัอย่างควรมีขนาดใหญ่พอ

(large sample)

Page 6: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

ล าดบัขัน้การสุ่มตวัอย่าง 1. ศึกษาปัญหาการวิจยัให้ละเอียดรอบคอบ 2. ศึกษาจดุมุ่งหมายของการวิจยัให้ชดัเจน 3. ให้นิยามประชากรและกลุ่มตวัอย่างท่ีต้องการ 4. ก าหนดหน่วยการสุ่ม (sampling unit) ว่าจะสุ่มจากอะไร 5. จดัท าบญัชีหน่วยการสุ่มแต่ละหน่วยให้ครอบคลมุประชากร 6. ก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่าง (sample size) 7. วางแผนการสุ่ม (sampling plan) ว่าจะสุ่มอย่างไรและวิธีใด 8. ด าเนินการสุ่มตวัอย่างตามวิธีการสุ่มและแผนการสุ่ม

Page 7: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างแบบไม่ทราบค่าความน่าจะเป็น 1. การเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) 2. การเลือกแบบโควต้า (quota sampling) 3. การเลือกแบบสโนวบ์อลล ์(snowball sampling) 4. การเลือกแบบบงัเอิญ (accidental sampling) 5. การเลือกแบบอาสาสมคัร (volunteer sampling)

Page 8: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 1.การสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling)

1.1 การจบัสลาก 1.2 การใช้ตารางเลขสุ่ม ข้อดี ง่าย ไม่ซบัซ้อน ข้อเสีย ไม่เหมาะกบัประชากรท่ีแต่ละหน่วยแตกต่าง

กนัมาก ต้องใช้ตวัอย่างขนาดใหญ่เพ่ือลด ความคลาดเคล่ือน ค่าใช้จ่ายสงู กรณีท่ี ตวัอย่างอยู่กระจดักระจาย

Page 9: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น

2. การสุ่มแบบมีระบบ (systematic random sampling) K = N N คือ ขนาดประชากร n n คือ ขนาดกลุ่มตวัอย่าง เช่น สุ่มคร ู100 คน จากคร ู1,000 คน เป็นการสุ่ม 1 คน จากทุก 10 คน เร่ิม

โดยให้หมายเลข 1-1,000 แก่ครทูุกคน ค านวณค่าตามสูตร ซ่ึงเท่ากบั 10 แล้วจึงท าการสุ่มครคูนแรกจากหมายเลข 1-10 สมมติได้หมายเลข 6 หมายเลขต่อไปจะเป็นครหูมายเลข 16, 26,36…

ข้อดี ง่าย รวดเรว็ ท าได้แม้ไม่มีกรอบตวัอย่าง ข้อเสีย ต้องมีรายช่ือกลุ่มตวัอย่างแน่นอน

Page 10: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 3. การสุ่มแบบแบง่ชัน้ (stratified random sampling) แยกประชากรออกเป็นชัน้ (Strata) ให้ทุกหน่วยในชัน้เดียวกนั

ใกล้เคียงกนัมากท่ีสุด และแตกต่างระหว่างชัน้มากท่ีสุด จากนัน้สุ่มแต่ละหน่วยจากแต่ละชัน้โดยวีการสุ่มอย่างง่ายตามสดัส่วน

ข้อดี ได้ตวัอย่างจากทุกชัน้ เป็นตวัอย่างท่ีใกล้เคียงประชากร ข้อเสีย ต้องระมดัระวงัเร่ืองเกณฑก์ารแบ่งชัน้ ถ้าชัน้มากเกินไปก็

ยุ่งยาก

Page 11: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

stratified random sampling Population

Sample

Stratification

Stratum 1 Stratum 2 Stratum 3 Stratum 4

Page 12: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 4. การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (cluster random sampling) ประชากรมีหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มมีความคล้ายกนั แต่ละกลุ่มมี

ลกัษณะเช่นเดียวกบัประชากร โดยหน่วยภายในกลุ่มมีความหลากหลาย และระหว่างกลุ่มมีความคล้ายกนั จึงไม่จ าเป็นต้องสุ่มทุกกลุ่ม เช่น แบ่งตามภาค จงัหวดั ต าบล

ข้อดี ใช้ได้เม่ือมีกรอบตวัอย่าง ประหยดัเวลา แรงงาน ค่าใช้จ่าย ข้อเสีย ยุ่งยากในการประมาณค่า

Page 13: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การเลือกกลุ่มตวัอย่าง

การเลือกกลุ่มตวัอย่างโดยอาศยัหลกัความน่าจะเป็น 5. การสุ่มหลายขัน้ตอน (multi-stage random sampling) มีการสุ่มมากกว่า 1 ครัง้ เช่น สุ่มภาค สุ่มจงัหวดั สุ่ม

อ าเภอ สุ่มต าบล เป็นต้น ข้อดี ใช้ได้เม่ือไม่มีกรอบตวัอย่าง ประหยดัเวลา แรงงาน

ค่าใช้จ่าย มีระเบียบแบบแผนสุ่มชดัเจน ข้อเสีย ยุ่งยากในการประมาณค่าพารามิเตอร ์

Page 14: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่าง

1. ใช้ตารางส าเรจ็รปูเก่ียวกบัการก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่าง

2. ใช้สตูรการคิดค านวณของ Yamane n = N/(1+Ne2)

Page 15: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

การก าหนดขนาดของกลุม่ตัวอยา่ง :

สตูรของ Taro Yamane :

Ne

Nn

21

n = ขนาดของกลุม่ตัวอยา่ง N = จ านวนประชากร e = คา่ความคลาดเคลือ่น (ความเชือ่มั่นอยูท่ี ่ 95% จะมคีวามคลาดเคลือ่นอยูท่ี ่5%)

Page 16: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก
Page 17: ประชากรและการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างsphan.rmutr.ac.th/spss/ls004.pdf · บทที่ 4 ประชากรและการคัดเลือก

สรปุ 1. เป้าหมายของการสุ่ม คือ การได้กลุ่มตวัอย่างท่ีลกัษณะ

เป็นตวัแทนของประชากร 2. หลกัการสุ่มท่ีจะท าให้ได้กลุ่มตวัอย่างท่ีดีต้องใช้วิธีสุ่มท่ี

เหมาะสม และก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่างท่ีใหญ่เพียงพอ 3. วิธีการสุ่มตวัอย่างท่ีเหมาะสม เป็นการสุ่มท่ีไม่ล าเอียง

โดยใช้หลกัความน่าจะเป็น ซ่ึงท าให้สมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาสได้รบัเลือกเท่าเทียมกนั

4. การก าหนดขนาดกลุ่มตวัอย่างท่ีใหญ่เพียงพอ สามารถด าเนินการได้โดยใช้สตูรค านวณขนาดกลุ่มตวัอย่างท่ีเหมาะสม หรือการใช้ตารางส าเรจ็รปู