51
1 บทที่ 4 การต่อลงด นของระบบไฟฟ้า ( Power System Grounding )

การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

1

บทท่ี 4การต่อลงดินของระบบไฟฟ้า( Power System Grounding )

Page 2: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

2

ความผิดพร่องแบบลดัวงจร แบง่ได้เป็น 2 ประเภท

4.1 บทน า

1. ความผิดพร่องแบบเฟส ( Phase Fault )- Three Phase Fault - Line to Line Fault

2. ความผิดพร่องลงดิน ( Ground Fault )- Single Line to Ground Fault - Double Line to Ground Fault

ความผิดพร่องลงดิน 70 - 90 %ของความผิดพร่องแบบลดัวงจร

Page 3: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

3

จดุประสงคข์องการต่อลงดิน

1) เพ่ือจ ากดัแรงดนัเกิน ( Overvoltage ) เน่ืองจาก- ฟ้าผา่ ( Lightning )- เสิรจ์ในสาย ( Line Surge )- สมัผสักบัสายแรงสงูโดยบงัเอิญ

2) เพ่ือให้แรงดนัระหว่างสายกบัดินในขณะท างานตามปกติมีค่าคงท่ี

3) เพ่ือช่วยให้อปุกรณ์ป้องกนักระแสเกิน ท างานได้รวดเรว็ขึน้เมื่อเกิดการลดัวงจร (Short Circuit) ส่วนท่ีต่อลงดินเช่น สวิตชต์ดัตอนอตัโนมติั (CB)

Page 4: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

4

1. ตดัวงจรและก าจดัความผิดพร่องออกจากระบบ( Trip and Clear Fault )- ตดัวงจรออกทนัที- ใช้ในกรณีท่ีความผิดพร่องมีความรนุแรง- รปูแบบการต่อลงดิน

(1) ระบบการต่อลงดินโดยตรง ( Solidly Grounding System )(2) ระบบต่อลงดินผา่นความต้านทานค่าต า่

( Low Resistance Grounded System )

4.2 ข้อพิจารณาในการท างานของระบบป้องกนั

การป้องกนัความผิดพร่องลงดิน เลือกการท างานได้ 2 แบบ

Page 5: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

5

2. ไม่ตดัวงจรและให้ระบบท างานต่อเน่ืองไปเรื่อยๆ ( Not to Trip and Maintain Service Continuity

- เม่ือเกิดความผิดพร่อง ส่งสญัญาณเตือน ระบบยงัคงการท างานต่อไปได้

- ใช้ในกรณีระบบมีค่ากระแสผิดพร่องต า่- ใช้ในอตุสาหกรรมท่ี Continuity of Service ส าคญัมาก- รปูแบบการต่อลงดิน

(1) ระบบต่อลงดินผา่นความต้านทานค่าสงู( High Resistance Ground System )

(2) ระบบไม่ต่อลงดิน ( Ungrounded System )

Page 6: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

6

- ระบบไฟฟ้าก าลงัท่ีไม่ได้ตัง้ใจให้มีการต่อลงดิน- แต่ความเป็นจริงแล้ว ระบบจะต่อลงดินผา่นตวัเกบ็ประจุ ( Capacitance )

4.3 ระบบไฟฟ้าท่ีไม่มีการต่อลงดิน (Ungrounded System)

รปูท่ี 4.1 ระบบไฟฟ้าท่ีไม่มีการต่อลงดิน

XG0

เมือ่ XG0 คอื รแีอคแตนซล์ ำดบัศนูยข์องเครือ่งก ำเนดิไฟฟ้ำหรอืหมอ้แปลง

Page 7: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

7

ข้อดี

- เม่ือเกิดความผิดพร่องลงดิน กระแสผิดพร่องมีค่าต า่

- ขณะเกิดความผิดพร่องลงดิน ระบบยงัสามารถท างานต่อได้

- ไม่ต้องลงทนุเพ่ือท าการต่อลงดิน

ข้อเสีย

- เกิดแรงดนัเกินชัว่ครู่สงู (High Transient Overvoltage)

- มีโอกาสเกิด Arcing Ground Faults

Ungrounded System

Page 8: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

8

รปูท่ี 4.2 วงจรสมมลูและแรงดนัเกินชัว่ครู่ ในระบบท่ีไม่มีการต่อลงดิน

ข้อเสียของระบบไฟฟ้าก าลงัท่ีไม่มีการต่อลงดิน

- เกิดแรงดนัเกินชัว่ครู่สงู High Transient Overvoltage

Ungrounded System

Page 9: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

9

สามารถแบง่ออกเป็น 2 รปูแบบ

1. การต่อลงดินโดยตรง (Solid Grounding)

4.4 การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าก าลงั

2. การต่อลงดินผา่นอิมพีแดนซ์ (Impedance Grounding)- การต่อลงดินผา่นความต้านทาน (Resistance Grounding)- การต่อลงดินผา่นรีแอคแทนซ์ (Reactance Grounding)- การต่อลงดินแบบเรโซแนนซ์ (Resonant Grounding)

Page 10: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

10

4.5 การต่อลงดินโดยตรง ( Solidly Grounding )

รปูท่ี 4.3 การต่อลงดินโดยตรง

XG0

เมือ่ XG0 คอื รแีอคแตนซล์ ำดบัศนูยข์องเครือ่งก ำเนดิไฟฟ้ำหรอืหมอ้แปลง

- เรียกว่า Effectively Ground หรือ Directly Ground- ท าโดยต่อจดุนิวทรอลลงดิน โดยไม่ผา่น Impedance ใดๆ

Page 11: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

11

ข้อดี- ค่าแรงดนัเกินชัว่ขณะ (Transient Overvoltage) มีค่าน้อยมาก

- ท าให้อปุกรณ์ป้องกนั เช่น อปุกรณ์ป้องกนักระแสเกิน(Overcurrent Devices) สามารถท างานได้อย่างรวดเรว็เน่ืองจากกระแสผิดพร่องลงดินท่ีเกิดขึน้จะมีค่าสงู

- Arcing Ground Faults จะไม่เกิดขึน้

Solidly Grounding

ข้อเสีย- กระแสผิดพร่องลงดินมีค่าสงู อาจท าให้อปุกรณ์เสียหาย- ในเครื่องก าเนิดไฟฟ้า ค่ากระแสผิดพร่องแบบสายเดียวลงดิน

อาจมากกว่าค่ากระแสผิดพร่องแบบ 3 เฟส

Page 12: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

12รปูท่ี 4.4 การต่อลงดินโดยผา่นความต้านทาน

เมื่อ XGO คือ รีแอคแทนซล์ าดบัศนูยข์องเคร่ืองก าเนิดไฟฟ้าหรือหม้อแปลงRN คือ ความต้านทานท่ีใช้ในการต่อลงดิน

XG0

3RN

RN

4.6 การต่อลงดินโดยผา่นความต้านทาน( Resistance Grounding )

Page 13: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

13

ข้อดี•ลดความเสียหายของอปุกรณ์ท่ีเป็นทางผา่นของกระแสผิดพร่อง เช่นสวิตชเ์กียร์ หม้อแปลง สายเคเบิล และเครื่องกลไฟฟ้าต่างๆ•ลดความเครียดทางกลของในวงจร และอปุกรณ์•ลดอนัตรายจากการชอ๊ค (Shock) ทางไฟฟ้า เมื่อคนสมัผสัสายดิน•ลดอนัตรายจากการเกิดประกายไฟ (Arc or Flash Hazard) ขณะเกิดผิดพร่อง•ลดการเกิดแรงดนัตกชัว่ขณะ และช่วยแก้ไขได้อย่างรวดเรว็เม่ือเกิดการผิดพร่อง•ควบคมุแรงดนัเกินชัว่ขณะ ลดโอกาสในการตดัวงจรในช่วงแรก

Resistance Grounding

Page 14: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

14

การต่อลงดินผา่นความต้านทาน มี 2 ประเภท1. การต่อลงดินผา่นความต้านทานต า่

( Low Resistance Grounding )

2. การต่อลงดินผา่นความต้านทานสงู( High Resistance Grounding )

Resistance Grounding

Page 15: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

15

การต่อลงดินผา่นความต้านทานต า่ยอมให้ค่ากระแสผิดพร่องลงดินให้อยู่ระหว่าง 100 - 1000 A เฉล่ีย 400 A

ข้อดีกระแสผิดพร่องมีค่ามากพอ อปุกรณ์ป้องกนัตดัวงจรได้อย่างรวดเรว็

ข้อเสียกระแสผิดพร่องมีค่าสงู เกิดความเสียหายกบัอปุกรณ์ และระบบได้

Resistance Grounding

Page 16: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

16

การต่อลงดินผา่นความต้านทานสงู

- ยอมให้ค่ากระแสผิดพร่องลงดินมีค่าต า่ แต่ต้องมากกว่า Charging Current ( IC ) ของ Stray Capacitance

- กระแสผิดพร่องลงดิน ควรมีค่าไม่เกิน 2 เท่าของ ICหรือ 10 A

ถ้ากระแสสงูกว่าน้ี การเกิดอารก์จะรนุแรง

- นิยมใช้กบัระบบแรงดนัปานกลาง

- การต่อลงดินผา่นความต้านทานสงู ท าได้โดย- ต่อความต้านทานเข้ากบัจดุศนูยโ์ดยตรง- ต่อความต้านทานผา่น Distribution Transformer

Resistance Grounding

Page 17: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

17

รปูท่ี 4.5 การต่อลงดินโดยใช้ Distribution Transformer

a : 1

GEN

DistributionTransformer

RN

ReflectedResistance

= a2RN

Resistance Grounding

ใชค้วามตา้นทานคา่ต ่าต่อผา่นหมอ้แปลง ชว่ยท าใหป้ระหยดัคา่ใชจ้า่ยได้

Page 18: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

18

การต่อลงดินผา่นความต้านทานสงูข้อดี- กระแสผิดพร่องมีค่าต า่ ในการตรวจจบัฟอลต์ และส่งสญัญาณเตือน- ป้องกนัแรงดนัเกินชัว่ขณะได้ดี โดยไม่ต้องใช้รีเลย์

ข้อเสียกระแสผิดพร่องมีค่า > 10 A มีโอกาสเกิด Arc ท่ีรนุแรง

Resistance Grounding

Page 19: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

รปูท่ี 4.6 ระบบการต่อลงดินผา่นรีแอคเตอร์19

4.7 การต่อลงดินผา่นรีแอคเตอร์( Reactance Grounding )

- การต่อจดุศนูยข์องหม้อแปลง หรือเคร่ืองก าเนิดไฟฟ้าผา่น รีแอคเตอรล์งดิน- จ ากดักระแสผิดพร่องให้อยู่ในช่วง 25 - 60 % ของกระแสผิดพร่องลงดินแบบ 3 เฟส

Page 20: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

20

4.8 การต่อลงดินผา่นรีแอคเตอรแ์บบเรโซแนนซ์(Resonant Grounding)

- โดยการติดตัง้ตวัหกัล้างความผิดพร่องลงดิน ( Ground Fault Neutralizer or Petersen Coil)

- XN จะปรบัค่าให้หกัล้าง XC ของระบบ ท าให้ขณะเกิดความผิดพร่องมีแค่ R ท าให้กระแสและแรงดนัในนิวทรอลมีเฟสตรงกนั

- ใช้กบัระบบส่งขนาดใหญ่ ไม่นิยมใช้ในงานไฟฟ้าอตุสาหกรรม

รปูท่ี 4.7 การต่อลงดินผา่นรีแอคแทนซแ์บบเรโซแนนซ์

Page 21: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

21

การเปรียบเทียบระบบการต่อลงดินแบบต่างๆ

Characteristics of different grounding methodsCharacteristic Ungrounded High-resistance Low-resistance Effective

Transient Overvoltage Up to 6 p.u. 2.5 p.u. 2.5 p.u. 2.5 p.u.

Positive Fault Location No Yes Yes Yes

System Interruption On First Fault Sometimes Optional Yes Yes

Personnel Safety Poor Best Good Fair

Multiple Faults Often Seldom Seldom Seldom

Fault damage Low Low Medium High

Coordination Of Protective Relays Impossible Best Good Good

Page 22: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

22

ตารางท่ี 4.1 เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของการต่อลงดินแบบต่างๆ

4.9 การเปรียบเทียบระบบการต่อลงดินแบบต่างๆ

Case Type AUngrounded

Type B

EffectivelyGrounded

Type C

ReactanceGrounded

Type D

ResistanceGrounded

Type E

ResonanceGrounded

1) การฉนวนของอุปกรณ์

Fully Insulated ต ่า Partially Graded Partially Graded Partially Graded

2) กระแสผดิพรอ่งลงดนิ

มคีา่ต ่า คา่สงูสดุโดยทัว่ไปไม่มากกวา่

อยูร่ะหวา่ง 25%-50%

ของ Type B

มคีา่ต ่า ละเลยได้

3) ความปลอดภยัจาก Voltage

Gradient

โดยทัว่ไปดี ให้ Gradient สงูสดุแต่โดยทัว่ไปจะไมม่ปัีญหาอะไร

ดกีวา่ Type B ดกีวา่ Type C คา่ Gradient น้อยทีส่ดุ

4) เสถยีรภาพ ไมต่อ้งพจิารณา มเีสถยีรภาพต ่ากว่าแบบอื่นแต่ท าใหด้ไีด้โดยการใช้ CB ความไวสงู

ดกีวา่ Type B ดกีวา่ Type B ไมม่ปัีญหาเมือ่เกดิSLG

Page 23: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

23

ตารางท่ี 5.1 ( ต่อ ) เปรียบเทียบการต่อลงดินแบบต่างๆCase Type A

UngroundedType B

EffectivelyGrounded

Type C

ReactanceGrounded

Type D

ResistanceGrounded

Type E

ResonanceGrounded

6) Arcing Ground มโีอกาสเกดิมาก มโีอกาสน้อย อาจมไีดถ้า้Reactance มคีา่สงู

มโีอกาสน้อย มโีอกาสน้อย

7) เมือ่เกดิLocalizing Fault

เกดิ Fault ทีเ่ฟสหนึ่งท าใหเ้กดิแรงดนัเกนิที่เฟสอื่นๆไดใ้นวงจร

เมือ่เกดิ Fault แลว้ทีอ่ื่นไมเ่กีย่วขอ้ง

เหมอืน Type B ดกีวา่ Type A ดกีวา่ Type A

8) โอกาสเกดิDouble Fault (เกดิFault 2 ที่ )

มโีอกาสเกดิสงูมาก มโีอกาสเกดิน้อย โอกาสเกดิน้อยเวน้แต่วา่Reactance มากเกนิไปและฉนวนอ่อนแอไป

เหมอืน Type C มโีอกาสเกดิแต่ไม่มาก

9) การป้องกนัฟ้าผา่ ตอ้งใช้ Arrester ที่ไมไ่ดต้่อลงกราวน์

ประสทิธภิาพสงูสดุราคาต ่าสดุ

ถา้ Reactance มคีา่สงูตอ้งมี Arrester ต่อที่Neutral

ตอ้งใช้ Arrester กบัสายทีไ่มไ่ดต้่อลงกราวน์และจดุ Neutral ดว้ย

เหมอืนกบั Type D

10) การเหนี่ยวน า ปกตจิะมคีา่ต ่ายกเวน้ในกรณี Double Fault

มคีา่มากเนื่องจากกระแส Fault สงูแกโ้ดยใช้ CBความไวสงู

มคีา่ต ่ากวา่ Type B มคีา่ต ่ากวา่ Type B มคีา่ต ่ายกเวน้กรณีเกดิ Double Fault

หรอื Series

Resonant

Page 24: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

24

ตารางท่ี 5.1 ( ต่อ ) เปรียบเทียบการต่อลงดินแบบต่างๆCase Type A

UngroundedType B

EffectivelyGrounded

Type C

ReactanceGrounded

Type D

ResistanceGrounded

Type E

ResonanceGrounded

11) การรบกวนทางความถีค่ลืน่วทิยุ

มคีา่ต ่า น้อยมาก มากกวา่ Type B มคีา่ต ่ากวา่ Type B อาจมมีากถา้ Fault

มคีา่ต ่า

12) เมือ่เกดิ Fault

สายสามารถใชไ้ด้หรอืไม่

โดยทัว่ไป Fault จะClear ตวัเองถา้สายที่ต่ออยูม่ไีมม่ากนกั หากมจี านวนมากตอ้งตดัสว่นเกดิ Fault ออก

ตอ้งตดัสว่นเกดิ Fault

ออกจากระบบเหมอืน Type B เหมอืน Type B ไมจ่ าเป็นตอ้งตดั

วงจรโดยทัว่ไปFault จะ Clear

ตวัเอง

13) ความสามารถในการต่อวงจรกบัระบบอื่น

ไมส่ามารถต่อกบัระบบอื่นได้

สามารถต่อไดก้บั Type

C

สามารถต่อไดก้บั Type

B

สามารถต่อไดก้บัType B และ Type C

ไมส่ามารถต่อกบัระบบอื่นได้

14) การตัง้ CB Ic ของ CB หาไดโ้ดยก าหนดจาก Fault 3

เฟส

โดยทัว่ไปก าหนดโดยFaultแบบ 3 เฟสแต่บางกรณี SLG Fault

อาจมากกวา่ได้

เหมอืน Type A เหมอืน Type A เหมอืน Type A

15) ราคาทัง้หมด สงู ต ่าสดุ ปานกลาง ปานกลาง สงู

Page 25: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

25

Z0, Z

1, Z

2

Zf

A

B

C

4.10 การวิเคราะหค์วามผิดพร่องลงดินกรณี Single Line to Ground Fault

Page 26: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

26

f3Z

2Z

1Z

0Z

fE

2I

1I

0I

2I

1I

0I

2aa1

a2a1

111

cI

bI

aI

2I

1I

0I

FI

0I 3

f3Z

2Z

1Z

0Z

f3E

Page 27: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

27

2I

1I

0I

2Z00

01

Z0

000

Z

0

fE

0

2V

1V

0V

2V

1V

0V

a2a1

2aa1

111

cV

bV

aV

b

V- a V ab

V

c V- b

V bc

V

a V- cV caV

Page 28: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

28

ตวัอย่างท่ี 4.1 พจิารณาระบบไฟฟ้าก าลงัมี Single Line Diagram ดงัรปู โดยมรีายละเอยีดดงันี้

SCC = 5000 MVA X/R = 10

Z1 = Z2 = 0.1905 + j0.3229 ?/km

F1

2km.

F2

Z0 = 0.3817 + j1.5440 ?/km

transformer 40 MVA115 kV / 22 kV%U = 10 X/R = 10

4.11 ตวัอย่างการค านวณเก่ียวกบัการต่อลงดิน

1. ให้ค านวณหากระแส Three Phase Fault และ SLG ท่ีระยะ0 km และ 2 km2. ถ้าใช้ Neutral Ground Resistor เพ่ือจ ากดักระแสให้ไม่เกิน 1000 A กระแส SLG จะเป็นเท่าใด ท่ีระยะ 0 km และ 2 km

SCC = 1500 MVA, X/R = 10

%Z = 10, X/R = 6

Page 29: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

29

วิธีท า

kA 0.50201153

100kV) (115bI

kA 2.6243223

100kV) (22bI

4.84100

222MVA

2kV kV) (22b

Z

ก าหนดให้ Base Power = 100 MVABase Voltage = 115 kV และ 22 kV

Page 30: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

30

p.u. 0.0667 1500100

SZ

1) ระบบไฟฟ้า

ดงันัน้ 10 RX

p.u. 0.0066 2

RX1

Z S

R

p.u. 0.066 S

10R S

X

S2 X

S1 X,

S2R

S1R

Page 31: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

31

2) หม้อแปลง

p.u. 0.25 40

1000.10 T

Z

ดงันัน้ 6 RX

p.u. 0.0411 2

RX1

TZ

T

R

p.u. 0.2466 T

6R T

X

T0 X

T1 X,

T0R

T1R

Page 32: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

32

3) Feeder ท่ี 2 km

p.u. 0.1362 j0.0787 F1

XjF1

R

p.u. 0.6380 j0.1577 F0

XjF0

R

SCC = 5000 MVA X/R = 10

Z1 = Z2 = 0.1905 + j0.3229 ?/km

F1

2km.

F2

Z0 = 0.3817 + j1.5440 ?/km

transformer 40 MVA115 kV / 22 kV%U = 10 X/R = 10

Page 33: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

33

สว่น Impedance ( p.u. )

0 1 2

1) ระบบไฟฟ้า - 0.0066 + j 0.066

0.0066 + j 0.066

2) หมอ้แปลง 0.0411 + j 0.2466

0.0411 +j 0.2466

0.0411 + j 0.2466

Fault ที่ F1 0.0411 + j 0.2466

0.0477 +j 0.3126

0.0477 + j 0.3126

3) สายป้อน 2km. 0.1577 + j 0.6380

0.0787 + j 0.1362

0.0787 + j 0.1362

Fault ที่ F2 0.1988 + j 0.8846

0.1264 + j 0.4488

0.1264 + j 0.4488

Page 34: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

34

หากระแส Three Phase Fault ท่ี 0 km. ( F1 )

p.u. 3.160.3126 j0.0477

1.0

1ZE

FI

kA 8.28 2.623.16

หากระแส Three Phase Fault ท่ี 2 km. ( F2 )

p.u. 2.145

0.4488 j0.1264

1.0

1

ZE

FI

kA 5.62

2.622.145

Page 35: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

35

หากระแส SLG ท่ี 0 km. ( F1 )

p.u. 3.4

j0.87180.13651.03

2Z

1Z

0Z

3EFI

kA 8.9

2.623.4

หากระแส SLG ท่ี 2 km. ( F2 )

p.u. 1.63

j1.78220.4516

1.03

2Z

1Z

0Z

3E FI

kA 4.27

2.621.63

Page 36: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

36

2. ถ้าใช้ Neutral Ground Resistor ( NGR )เพ่ือจ ากดั กระแสให้ไม่เกิน 1000 A

Rph

E I จาก

12.70

1000

3

22000

Iph

E R

p.u. 2.62

4.84

12.70 puR

Page 37: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

37

เม่ือติดตัง้ NGR หากระแส SLG ท่ี 0 km ( F1 )

pu3R2

Z1

Z0

Z3E

FI

2.62)(30.8718) j(0.13651.03

kA 0.98 2.620.373

p.u. 0.373

Page 38: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

38

เม่ือติดตัง้ NGR หาหระแส SLG ท่ี 2 km ( F2 )

2.62)(31.7822) j(0.45161.03

pu3R2

Z1

Z0

Z3E

FI

2.62)(31.7822) j(0.45161.03

p.u. 0.353

kA 0.92 2.620.353

จะเหน็ได้ว่าสามารถก าหนดกระแส Fault สงูสดุได้ โดยติดตัง้ NGR ระหว่างจดุ Neutral และ Ground

Ans.

Page 39: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

39

ตวัอย่างท่ี 4.2 ค านวณกระแสผิดพร่องของระบบไฟฟ้าดงัรปูต่อไปน้ี

ระบบไฟฟ้าส าหรบัตวัอย่างท่ี 4.2

R

(2) (1)

3 phase fault

(L-G)

ก าหนดให้ Short Circuit Capacity = 2000 MVA , 115 kVเกดิ 3 Short Circuit ทีข่ ัว้ 22 kV ของหมอ้แปลงหมอ้แปลงขนาด 20 MVA 115/22 kVX1 = X2 = 10 % , X0 = 5 %

Page 40: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

40

วิธีท าระบบไฟฟ้า

200020

scMVAbase

MVA

2 X

1X

หม้อแปลง p.u. 0.10 j 2

X 1

X

A525 223

20000 BaseI

p.u. 0.05 j 0

X

p.u. 0 .11 j 0 .10 j 0 .01 j 2

X 1

XTotal

Page 41: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

41

3 Phase Fault0.11 j1.0

1 XjE

3I

p.u. 9.09

kA 4.77 5259.09

Line to Ground Fault

j0.05j0.1121.03

0 Xj

2 Xj

1 Xj

3E 1I

pu 11.110.27 j3

kA 5.83 52511.11

จะสงัเกตเหน็ว่า กระแส Line to Ground Fault มากกว่า กระแส 3 Phase FaultAns.

Page 42: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

42

ตวัอย่างท่ี 4.3 จากตวัอย่างท่ี 4.2 จงหาค่า R ท่ีต่ออยู่ระหว่างจดุNeutral กบั Ground เพ่ือจ ากดักระแส SLG Fault ไม่ให้เกิน 400 A

R

(2) (1)

3 phase fault

(L-G)

Page 43: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

43

วิธีท า

3R0

Xj2

Xj1

Xj3E

1I

Line to Ground Fault

kV 12.703

22 p.u. 1.0E

31.75 400

12700 R ดงันัน้

A400 1I

เน่ืองจาก R >> j X1 + j X2 + j X0

RE

3R3E

1I

Ans.

Page 44: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

44

ตวัอย่างท่ี 4.4 ต่อความตา้นทานเขา้กบัจุดศนูยโ์ดยตรงดงัรปู

การต่อลงดินผา่นความต้านทานสงู

R

GEN

Page 45: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

45

ก าหนดให้เคร่ืองก าเนิดไฟฟ้ามีพิกดั 160 MVA , 18 kV

เมื่อ Capacitance to Ground เป็นดงัน้ี- Generator Winding 0.24 F- Generator Surge Capacitance 0.25 F- Generator to Transformer Leads 0.004 F- หมอ้แปลงก าลงั ดา้นแรงต ่า 0.03 F- ดา้นแรงสงูของหมอ้แปลง 0.004 F- ขดลวดแรงดนัของหมอ้แปลง 0.0005 F

รวม Capacitance to Ground 0.5285 F

Page 46: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

46

วิธีท า

Capacitance ของเครือ่งก ำเนิดไฟฟ้ำ

)50)(0.52852(3.1416)(610 j

fC2610 j

CX

/phase 6023 j

ส าหรบั High Resistance Grounding จะได้

/phase 6023 3R

kV 18 at 2008 R

Page 47: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

47

C X//3R

o45 4259

j60236023)906023(6023

0Z

ค่า Positive-Sequence และ Negative-Sequence มีค่าน้อยมากตดัท้ิงได้

o452.44 1000454259

318/0I

2I

1I

ส าหรบั Single Line to Ground Fault

Page 48: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

48

o45 2.443 1I

kV 18 at o45 7.32

o45 COS1I

RI

A5.18

1000200825.18 R I Ploss

R2

Rating Continuous kW 53.8

Ans.

Page 49: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

49

ตวัอย่างท่ี 4.5 ใชเ้ครือ่งก าเนิดไฟฟ้าและหมอ้แปลงเดยีวกบัตวัอยา่งที่ 4.4 แต่ใชต้่อลงดนิผา่น Distribution Transformerขนาด 18 kV / 240 V ดงัรปู

ต่อลงดินผา่น Distribution Transformer

GEN

R

Page 50: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

50

วิธีท า

2

180002402008R

0.36

A388.5 240

180005.18 SI

V139.9 0.36388.5 S

V

จากตวัอย่างท่ี 4.4 จะได้

Page 51: การต่อลงดินของระบบไฟฟ้าeestaff.kku.ac.th/~sa-nguan/192424/04-Grounding.pdf2 ความผ ดพร องแบบล ดวงจร

51

10000.36388.5 R I

lossP

22

Distribution Transformer Rating

kW 54.3

3

185.18

kVA 53.8

ทัง้ Distribution Transformer และความต้านทานสามารถใช้พิกดัช่วงเวลาสัน้ๆ ( Short Time Rating ) ได้

END