22
การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย โดย กองพัฒนากฎหมาย สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

  • Upload
    others

  • View
    9

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย

โดย กองพัฒนากฎหมาย ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

Page 2: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จ าเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจ าเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่ เป็นอุปสรรคต่อการด ารงชีวิตหรือการประกอบอาชีพโดยไม่ชักช้าเพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน และด าเนินการให้ประชาชนเข้าถึงตัวบทกฎหมายต่าง ๆ ได้โดยสะดวกและสามารถเข้าใจกฎหมายได้ง่ายเพื่อปฏิบัติตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง

มาตรา ๗๗

Page 3: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และน ามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน เมื่อกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว รัฐพึงจัดให้ มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาที่ก าหนดโดยรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย เพื่อพัฒนากฎหมายทุกฉบับให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป

มาตรา ๗๗

Page 4: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐพึงใช้ระบบอนุญาตและระบบคณะกรรมการในกฎหมายเฉพาะกรณีที่จ าเป็น พึงก าหนดหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ของรัฐและระยะเวลาในการด าเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้ในกฎหมายให้ชัดเจน และพึงก าหนดโทษอาญาเฉพาะความผิดร้ายแรง

มาตรา ๗๗

Page 5: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

มาตรา ๒๕๘ ค (๑)ให้ด าเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี้

ค. ด้านกฎหมายมีกลไกให้ด าเนินการปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับอยู่

ก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา ๗๗ และพัฒนาให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยให้มีการใช้ระบบอนุญาตและระบบการด าเนินการโดยคณะกรรมการเพียงเท่าที่จ าเป็นเพื่อให้การท างานเกิดความคล่องตัว โดยมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน และไม่สร้างภาระแก่ประชาชนเกินความจ าเป็น เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ

Page 6: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

เพื่อก าหนดหลักเกณฑ์ใหม้ีการพจิารณาทบทวนความเหมาะสมของบทบัญญัติของกฎหมาย

คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาจึงได้เสนอให้มี

“พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘” ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๓๒ ตอนที่ ๘๖ ก ลงวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๕๘

Page 7: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

จัดให้มีการพิจารณาทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย ตามรอบระยะเวลาที่กฎหมายนั้นใช้บังคับ หรือเมื่อมีเหตุอื่นตามที่ก าหนด

จัดท าค าแปลกฎหมายทั้งหมดเป็นภาษากลางของอาเซียนและเผยแพร่เพือ่ให้ประชาชนถึงข้อมูลได้

หลักการ:ก าหนดให้รัฐมนตรีผู้รักษาการกฎหมายแต่ละฉบับมีหน้าที่

Page 8: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

พระราชบัญญัติ

ประมวลกฎหมาย

พระราชก าหนด

กฎตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

ประเภทกฎหมายที่จะต้องมีการพิจารณาทบทวนความเหมาะสมและจัดท าค าแปล

Page 9: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

ข้อยกเว้น (กฎหมายที่ไม่ต้องทบทวนความเหมาะสมและจัดท าค าแปล)

กฎหมายที่ใช้บังคับเฉพาะช่วงเวลาหนึ่ง และระยะเวลานั้นได้ล่วงพ้นไปแล้ว เช่น กฎหมายเกี่ยวกับงบประมาณรายจ่ายประจ าปี

กฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม กฎหมายที่ให้ด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งและได้มีการด าเนินการนั้นแล้ว เช่น กฎหมาย

ให้ใช้ประมวลกฎหมาย กฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ กฎหมายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน กฎหมายจัดตั้งศาล กฎหมายจัดตั้งจังหวัด กฎหมายเกี่ยวกับการออกเหรียญ ธนบัตรหรือเครื่องราชอิสริยาภรณ์

กฎหมายที่ก าหนดลักษณะของเครื่องแสดงวิทยฐานะ เครื่องหมาย หรือเครื่องแบบ เช่น กฎหมายก าหนดครุยวิทยฐานะ กฎหมายก าหนดเครื่องหมายราชการ กฎหมายก าหนดเครื่องแบบ

กฎหมายอื่นที่คณะรัฐมนตรีก าหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย

Page 10: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

หน้าที่ในการทบทวนความเหมาะสมและจัดท าค าแปล กรณีกฎหมายแม่บท ผูร้ักษาการตามกฎหมาย

กรณีกฎหมายล าดับรอง ผูม้ีอ านาจออกกฎ

กรณีกฎหมายท่ีไม่มีผู้รักษาการ นายกรัฐมนตรี ในกรณีนี้นายกรัฐมนตรีอาจมอบหมายให้รัฐมนตรีคนหนึ่งหรือหลายคนเป็นผู้รับผิดชอบด าเนินการแทนได้

ผูม้ีหน้าที่ในการทบทวนอาจขอให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายเป็นผู้พิจารณาทบทวนแทนก็ได้

๑๑

Page 11: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

ก าหนดเวลาที่จะทบทวน > ทุกห้าปีที่กฎหมายใช้บังคับ หรือเมื่อมีกรณี ดังต่อไปนี้(๑) เมื่อเห็นว่าจ าเป็นต้องมีการปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมาย(๒) เมื่อได้รับข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะที่มีเหตุผลอันสมควร จากองค์กรที่เกี่ยวข้อง

หรือจากประชาชนทั่วไป(๓) เมื่อได้รับข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย(๔) เมื่อมิได้มีการบังคับใช้หรือปฏิบัติตามกฎหมายเกินสามปีนับแต่วันที่กฎหมายนั้นใช้บังคับ

๑๒

Page 12: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

ประเด็นที่จะต้องพิจารณาในการทบทวน (ทั้งหมดหรือบางเรื่องตามที่จ าเป็น)(๑) เหตุผลและความจ าเป็นที่ต้องมีกฎหมายนั้นใช้บังคับต่อไป(๒) การปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป (๓) การปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมายเพื่อให้สอดคล้องหรืออนุวัติการตามพันธกรณี

ระหว่างประเทศที่ประเทศไทยต้องปฏิบัติตาม(๔) การปรับปรุง แก้ไข หรือยกเลิกกฎหมายเพ่ือลดผลกระทบและภาระของประชาชน

ทีเ่กิดขึ้นจากกฎหมายนั้นของประชาชนดีขึ้น

๑๓

Page 13: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

ประเด็นที่จะต้องพิจารณาในการทบทวน (ทั้งหมดหรือบางเรื่องตามที่จ าเป็น) (ต่อ)(๕) การใช้ระบบคณะกรรมการ การอนุมัติ การอนุญาต ใบอนุญาต ระบบการจดทะเบียน

หรือระบบอื่นที่ก าหนดขึ้นเพื่อก ากับหรือควบคุม เพียงเท่าที่จ าเป็น(๖) การให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ(๗) การป้องกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้กฎหมายนั้น(๘) เรื่องอื่นใดที่จะท าให้กฎหมายนั้นไม่เป็นอุปสรรคต่อการด าเนินชีวิตหรือการประกอบอาชีพ

ของประชาชนโดยไม่จ าเป็น ไม่ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่ประชาชน หรือท าให้คุณภาพชีวิต

๑๔

Page 14: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

๑๕

ขั้นตอนในการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย

Page 15: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

การตรวจสอบกฎหมายที่จะต้องมีการพิจารณาทบทวนในวาระเริ่มแรก

กลุ่ม ๑ กลุ่ม ๒

กฎหมายที่ใช้บังคับเกินห้าปีนับถึงวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ(กฎหมายที่ใช้บังคับก่อน ๙ ก.ย. ๕๓)

ให้หน่วยงานแจ้งว่าจะทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายนั้นในปีใด ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๕๙ –พ.ศ. ๒๕๖๓

กฎหมายที่ใช้บังคับยังไม่ถึงห้าปีนับถึงวันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ

ให้หน่วยงานทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายนั้นเมื่อครบก าหนดห้าปีนับแต่กฎหมายนั้นใชบ้ังคับ หรือหากมีความจ าเป็นอาจก าหนดก าหนดให้ทบทวนก่อนครบห้าปีก็ได้

๑๖

Page 16: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

การจัดท าค าแปลกฎหมาย

> จัดท าค าแปลกฎหมายที่อยู่ภายใต้บังคับพรฎ.นี้ เป็นภาษากลางของอาเซียน (ภาษาอังกฤษ) ใหแ้ล้วเสร็จภายในสองปีนับแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับ

> เผยแพร่ค าแปลทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ > ส าหรับกฎหมายที่มีขึ้นใหม่ หรือมีการปรับปรุงแก้ไขในภายหลัง

ให้ด าเนินการจัดให้มี หรือปรับปรุงแก้ไขค าแปลของกฎหมายดังกล่าวโดยเร็วด้วย

๑๗

Page 17: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

๑. เสนอแนะต่อรัฐมนตรีผู้รักษาการให้มีการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย (มาตรา ๕)๒. จัดท าข้อเสนอแนะเพือ่ประกอบการพิจารณาทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย (มาตรา ๗)๓. พิจารณาข้อร้องเรยีนหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย

ขององค์กรทีเ่กี่ยวข้องหรือประชาชน (มาตรา ๘)๔. พิจารณาทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายแทนรัฐมนตรีผูร้ักษาการ ในกรณีที่รัฐมนตรี

ผู้รักษาการร้องขอ (มาตรา ๑๑)๕. จัดท ารายงานประจ าปีสรุปผลการปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาฯ เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี

และรัฐสภาเพื่อทราบ (มาตรา ๑๒)

อ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนากฎหมายตามพระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายฯ

๑๘

Page 18: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๕๘

๑๙

ภาพรวมกระบวนการทบทวนความเหมาะสม

ของกฎหมาย

Page 19: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

๑) การแจ้งรายชื่อกฎหมายที่จะทบทวน โดยแจ้งชื่อกฎหมายที่ได้รับการยกเว้นการปฏิบัติตาม พรฎ. นี้มาด้วย

๒) การด าเนินการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายไม่สอดคล้องกับขั้นตอนที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกาฯ

เช่น ไม่มีการแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไปไม่มีการแจ้งให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายทราบไม่มีการรับฟังผลกระทบที่เกิดขึ้นแก่ผู้ถูกบังคับหรือผู้ได้รับผลกระทบจากกฎหมายอย่างแท้จริง

ปัญหาและอุปสรรค

(๑) ความเข้าใจหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการในการปฏิบัติตามกฎหมายนี้

๒๐

Page 20: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

ปัญหาและอุปสรรค

หลายหน่วยงานยังขาดการบูรณาการข้อมูลกฎหมายในภาพรวมเกี่ยวกับการด าเนินการตามพระราชกฤษฎีกานั้น ซึ่งอาจส่งผลให้การรวบรวมฐานข้อมูลในภาพรวมคลาดเคลื่อน

(๒) ปัญหาการขาดการบูรณาการข้อมูลกฎหมายภายในกระทรวง

หน่วยงานของรัฐยังไม่ได้มีการแต่งตั้งหรือมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบในเรื่องนี้จึงมีผลท าให้การติดต่อหรือประสานงานเป็นไปด้วยความยากล าบาก ไม่ต่อเนื่อง และเกิดความไม่คล่องตัว

(๓) ปัญหาการขาดผู้รับผิดชอบโดยตรงเพื่อการประสานงาน

๒๑

Page 21: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

ปัญหาและอุปสรรค

- ข้อร้องเรียนหรือข้อเสนอแนะที่ริเริ่มโดยองค์กรท่ีเกี่ยวข้องหรือประชาชนทั่วไปยังมีน้อยและยังไม่มีการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายอันเนื่องมาจากเหตุดังกล่าว

สาเหตุ- ความรับรู้และความเข้าใจของประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับช่องทางและขั้นตอนการทบทวน

ความเหมาะสมของกฎหมายยังไม่เป็นที่รับทราบอย่างถ่องแท้ - การที่หน่วยงานของรัฐยังไม่มีช่องทางในการร้องเรียนหรือให้ข้อเสนอแนะที่ประชาชน

ทั่วไปสามารถเข้าถึงได้โดยง่าย

(๔) ปัญหาเกี่ยวกับการรับรู้ข้อมูลของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน

๒๒

Page 22: การทบทวนความเหมาะสมของกฎหมายweb.krisdika.go.th/data/outsitedata/article77/file/30-8-60-3.pdf · พระราชกฤษฎีกาการทบทวนความเหมาะสม

ข้อเสนอแนะ

(๑) การจัดให้มีคู่มือการทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย โดยอาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีใหค้วามเห็นชอบคู่มือดังกล่าวและให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติต่อไป

(๒) การอบรมและเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชกฤษฎีกาฯ (๓) เร่งสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวน และความส าคัญของการทบทวนความเหมาะสม

ของกฎหมายให้แก่หน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ทบทวนความเหมาะสมของกฎหมาย(๔) หน่วยงานของรัฐควรมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้การประสานงาน

และการด าเนินงานตามพระราชกฤษฎีกาฯ มีความต่อเนื่องและคล่องตัวในทางปฏิบัติ

๒๓