79
เอกสารวิชาการ เรื่อง เทคโนโลยีการผลิตเบญจมาศที่เหมาะสม ตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา โดย นายอนุสร จันทรแดง ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา (พันธุพืชเพาะเลี้ยง) สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที4 จังหวัดขอนแกน กรมสงเสริมการเกษตร .. 2549

เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

  • Upload
    others

  • View
    6

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

เอกสารวชิาการ

เร่ือง

เทคโนโลยีการผลิตเบญจมาศที่เหมาะสม ตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

โดย นายอนุสร จันทรแดง

ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา (พันธุพืชเพาะเลี้ยง) สํานักสงเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 จังหวัดขอนแกน

กรมสงเสริมการเกษตร พ.ศ. 2549

Page 2: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

คํานํา

ในป พ.ศ. 2543 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกเบญจมาศประมาณ 2,000 ไร พื้นที่ปลูกที่สําคัญไดแกจังหวัด เชียงใหม เชียงราย เพชรบูรณ นครราชสีมา อุดรธานี ขอนแกน หนองคาย และอุบลราชธานี เบญจมาศสามารถผลิตไดดีในพื้นที่ราบภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือในชวงฤดูหนาว (ในฤดู) ซ่ึงจะใหผลผลิตในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม สวนพื้นที่ที่มีการผลิตอยางตอเนื่องตลอดทั้งป (ในและนอกฤดูกาล) จะผลิตภายในโรงเรือนพลาสติกบนพื้นที่สูงในจังหวัดเชียงใหมและเชียงราย เนื่องจากเบญจมาศเปนไมดอกที่ไดรับความนิยมมาก การผลิตในประเทศไมเพียงพอและไมตอเนื่องจึงตองนําเขาจากตางประเทศปละไมต่ํากวา 500 ลานบาท และเกษตรกรยังขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสม เชน พันธุ การขยายพันธุดวยตนแมพันธุ การจัดการโรคแมลง (กรมสงเสริมการเกษตร, 2545) เนื่องจากอําเภอวังน้ําเขียวมีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางเฉลี่ย 500 เมตร มีสภาพภูมิอากาศเย็นตลอดป (อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 22 – 27 องศาเซลเซียส) และยังมีระยะทางใกลตลาดกรุงเทพมหานคร กรมสงเสริมการเกษตรจึงสนับสนุนงบประมาณเพื่อสงเสริมการปลูกเบญจมาศครั้งแรกในป พ.ศ. 2542 ในจังหวัดนครราชสีมา ภายใตช่ือโครงการวา โครงการสงเสริมการผลิตเบญจมาศเพื่อทดแทนการนําเขา (กรมสงเสริมการเกษตร, 2539) จากการที่อําเภอดังกลาวมีสภาพภูมิอากาศเหมาะสมในการผลิตเบญจมาศ และความตั้งใจปฏิบัติของเกษตรกรเอง การติดตามแนะนําของนักวิชาการเกษตรจากกรมสงเสริมการเกษตร สํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา สํานักงานเกษตรอําเภอวังน้ําเขียว และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี รวมถึงการสนับสนุนพันธุเบญจมาศจากศูนยสงเสริมอาชีพการเกษตร จังหวัดนครราชสีมา (พันธุพืชเพาะเลี้ยง) กรมสงเสริมการเกษตร จึงทําใหเกษตรกรผลิตเบญจมาศไดดี ทั้งในและนอกฤดู ผลผลิตมีคุณภาพสูงเปนที่ตองการของตลาด ป พ.ศ. 2545 ตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้ําเขียว มีพื้นที่ปลูกเบญจมาศเพิ่มเปน 120 ไร ผลผลิตประมาณ 191 ตันตอป (เฉลี่ย 4.8 ตันตอไร ปลูก 3 รุนตอป) ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45 บาท ตนทุนการผลิตกิโลกรัมละ 20.75 บาท ถือไดวาเบญจมาศเปนพืชเศรษฐกิจของ อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา จึงมีเกษตรกรจากที่ตาง ๆ เดินทางมาดูงานเปนจํานวนมาก (สํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา, 2546) ในการนี้ หากไดรวบรวมเทคโนโลยีการผลิตเบญจมาศที่เหมาะสมของตําบลไทยสามัคค ีอําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา เพื่อใหผูสนใจไดศึกษา จะเปนประโยชนตอการนําไปประยุกตใชและพัฒนาการปลูกเบญจมาศทั้งในอําเภอวังน้ําเขียวและจังหวัดอื่นที่มีสภาพแวดลอมใกลเคียงกันตอไป

นายอนุสร จันทรแดง พฤษภาคม 2549

Page 3: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

สารบัญ หนา สารบัญตาราง (2) สารบัญรูปภาพ (3) บทที่ 1 บทนํา 1 บทที่ 2 ลักษณะทางพฤกษศาสตรและการจําแนกประเภทเบญจมาศ 4 บทที่ 3 การปลูกเบญจมาศ ตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้ําเขยีว จงัหวัดนครราชีมา 18 บทที่ 4 โรคแมลงที่สําคัญ 39 บรรณานุกรม 58 ภาคผนวก 61

Page 4: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

(2)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1 ชวงแสงและการใหแสงเบญจมาศในเขตจงัหวัดนครราชสีมา 21 2 ตนทุนการผลิตเบญจมาศตอ 1 โครง 36 ตารางผนวกที่ 1 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2536 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 61 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 2 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2537 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 62 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 3 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2538 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 63 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 4 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2539 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 64 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 5 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2540 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 65 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 6 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2541 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 66 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 7 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2542 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 67 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 8 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2543 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 68 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 9 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2544 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 69 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 10 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2545 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 70 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 11 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2546 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 71 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 12 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2547 ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช 72 อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

Page 5: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

(3)

สารบัญรูปภาพ

ภาพที ่ หนา

1 ลักษณะทางพฤษศาสตรของเบญจมาศ 5 2 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศดอกเดี่ยว (standard type) และดอกชอ (spray type) 7 3 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศประเภท single 12 สายพันธุ 8 4 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศประเภท anemone 12 สายพันธุ 10 5 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศประเภท spider และ half spider 6 สายพันธุ 12 6 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศประเภท pompon 4 สายพันธุ 13 7 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศประเภท decorative 12 สายพันธุ 14 8 ตัวอยางพนัธุเบญมาศประเภทดอกใหญ (large flowered) ชนิด Incurved 4 สายพันธุ 16 9 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศประเภทดอกใหญ (large flowered) ชนิด reflex 17 10 ตัวอยางพนัธุเบญจมาศประเภทดอกใหญ (large flowered) ชนิด tabular 17 11 โครงพลาสติกคลุมแปลงเบญจมาศและขนาดแปลง 19 12 การใหไฟแกตนเบญจมาศในชวง 30 วนัแรกหลังปลูก 4 ช่ัวโมงตอคืน 23 เพื่อปองกันไมใหเบญจมาศออกดอกจนกวาลําตนจะยาว 30 เซนติเมตร 13 การคลุมผาพลาสติกสีดําบนโครงเบญจมาศ เพื่อบังคับใหเบญจมาศสรางตาดอก 23 14 การขึงตาขายขนาดชอง 12.5x12.5 เซนติเมตร (กวาง 8x160 ชอง) บนแปลงเบญจมาศ 24 15 แปลงเบญจมาศหลังจากไถพาน 7 และขึ้นแปลงปลูกโดยโรยแกลบคลุมดินไวแลว 25 16 การใชรถโรตารี่ตีดิน เตรียมดินปลูกเบญจมาศปลูกเบญจมาศในรุนที่ 2 และ 3 26 17 การรดน้ําตนเบญจมาศโดยรดในตอนเชาถึง 14.00 น. รดตรงสวนลางของตน 27 เพื่อไมใหใบเปยกชื้น 18 การถอนหญาในแปลงเบญจมาศโดยใชมือ 28 19 การลิดใบลาง สูงประมาณ 20 เซนติเมตร จากพื้นดนิ ประมาณ 42 วนัหลังปลูก 29 20 ภาพการเด็ดดอกขางออกของดอกเบญจมาศชนิดดอกเดีย่ว (single type) 29 21 ภาพการเด็ดแตงชอดอกใหเหลือ 5-12 ดอกตอชอในเบญจมาศชนิดดอกชอ 30 (spray type) 22 การใชกรรไกรตัดกิ่งไมตัดโคนตนเบญจมาศ เพื่อเก็บเกี่ยวในตอนเยน็ 31 23 ดอกเบญจมาศในระยะเก็บเกีย่ว 31 24 หอเบญจมาศขนาดหอละ 1 กิโลกรัมพรอมจําหนาย 32

Page 6: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

(4)

สารบัญรูปภาพ (ตอ)

ภาพที ่ หนา 25 โรคเหี่ยว fusarium wilt ของเบญจมาศ 39 26 ใบเบญจมาศทีเ่ปนโรคราสนิมขาว 40 27 อาการโรคใบจุดดําในเบญจมาศ 42 28 อาการโรคใบจุดจากเชื้อเซพตอเรีย (septoria leaf spot) ของเบญจมาศ 43 29 โรคเตี้ยแคระของเบญจมาศ 44 30 อาการโรคใบดาง (mosaic) ของเบญจมาศ 45 31 อาการดอกเบญจมาศที่ถูกเพล้ียไฟทําลาย 46 32 อาการโรคเหี่ยวจากเชื้อฟวซาเรียมของเบญจมาศ 49 33 อาการโรคใบจุดจากเชื้อเซพตอเรียของเบญจมาศ 49 34 อาการโรคราสนิมบนใบเบญจมาศ 50 35 อาการโรคราสนิมขาวบนใบเบญจมาศ 50 36 อาการโรคเตี้ยแคระของเบญจมาศ 51 37 อาการโรคใบดางของเบญจมาศ 51 38 แปลงทดลองควบคุมโรคเหีย่วฟวซาเรียม 56 39 เปรียบเทียบแปลงควบคุมโรคเหี่ยวจากฟวซาเรียมของเบญจมาศโดย 56 ใชปุยอินทรยีชีวภาพ คารเบนดาซิม และฟอรมาลิน 40 แปลงปกชํายอดพันธุที่ปลอดโรค โรคใบจุดและโรคเหีย่วที่ติดมากับยอดพันธุ 57

Page 7: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

บทท่ี 1 บทนํา

ประวัติเบญจมาศ เบญจมาศเปนพืชที่อยูในวงศ (Family) Compositae ซ่ึงมีช่ือวิทยาศาสตรคือ Dendranthema

grandiflora จากชื่อเดิม Chrysanthemum morifolium Ramat. (วิจิตร และยิ่งยง, 2537) ช่ือสามัญ คือ Chrysanthemum มีถ่ินกําเนิดอยูที่ประเทศจีนและประเทศญี่ปุน มีหลากหลายสายพันธุดวยกัน จึงยากที่จะทราบถึง บรรพบุรุษที่แนนอน แตมีหลักฐานเชื่อไดวามีการปลูกที่ประเทศจีน โดยคนจีนโบราณใชเบญจมาศพันธุปา (Dendranthema indicum และอื่นๆ) เปนตัวบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล และเร่ิมมีการนํามาปลูกในสวนตามบาน และราชสํานักตางๆ นอกจากนั้นเบญจมาศยังสามารถนําไปใชเปนเครื่องดื่ม และยาไดอีกดวย เบญจมาศ ชนิดและรูปรางตางๆ รวมทั้ง สีแปลกๆ จึงไดรับการพัฒนาคัดเลือก และคอยๆ เพิ่มจํานวนขึ้น ตามประวัติศาสตรจีน ไดบันทึกไววามีการปลูกเบญจมาศในเมืองจีนมานานกวา 2,000 ป มีการนําเบญจมาศไปใชประโยชนเปนสมุนไพรในประเทศจีนตั้งแตศตวรรษที่ 15 ในป ค.ศ. 1186 ซามูไรของจักรพรรดิ์ราชวงศมิกาโด ไดจารึกรูปดอกเบญจมาศไว (สมเพียร, 2522) ดวยดอกเบญจมาศมีลักษณะคลายดวงอาทิตยที่สองแสงประเทศญี่ปุนจึงใชดอกเบญจมาศเปนสัญลักษณประจําพระองคของพระจักรพรรดิ์อยางเปนทางการในป ค.ศ. 1336 (เศรษฐพงศ, 2544) เบญจมาศไดแพรหลายไปยังประเทศตะวันตกประมาณศตวรรษที่ 17 และมีการพัฒนาสายพันธุอยางตอเนื่อง ในป ค.ศ. 1688 มีพอคาพาณิชยช่ือ Jacob Breynius ไดนําเอาเบญจมาศเขาไปปลูกในประเทศฮอลแลนดเปนครั้งแรก สวนในฝรั่งเศสไดมีการนําเอาไปปลูกในป ค.ศ. 1789 โดยพอคาอีกเชนกัน คือ Mr. M. Vlanchard ในป ค.ศ. 1864 มีการจัดตั้งสมาคมเบญจมาศแหงชาติในประเทศอังกฤษ เรียกวา “National Chrysanthemum Society of England” สวนในอเมริกานั้น ไมมีหลักฐานแนนอนวาไดมีการนําเอาเบญจมาศเขาไปในประเทศตั้งแตเมื่อใด แตสันนิษฐานวานาจะเปนประมาณป ค.ศ. 1795 หรือกอนหนานี้ (ทวีเกียรติ ยิ้มสวัสดิ์, 2527) การทําการปลูกเบญจมาศเปนไมตัดดอกเพื่อการคาในประเทศญี่ปุนไดเร่ิมขึ้นในปลาย ค.ศ. 1920 ในตลาดประมูลอัลเมีย ประเทศเนเธอรแลนด เบญจมาศเปนไมตัดดอกที่มีการซื้อขายปริมาณมากเปนอันดับ 2 รองจากกุหลาบ ประเทศผูผลิตและสงออกรายใหญของโลกไดแก เนเธอรแลนด แอฟริกา สเปน อิสราเอล สหรัฐอเมริกาและญี่ปุน โดยเฉพาะประเทศญี่ปุนมีพื้นที่ปลูกเบญจมาศมากที่สุดในโลก ทั้งที่ปลูกภายในโรงเรือนซึ่งสามารถผลิตเบญจมาศไดตลอดป และปลูกภายนอกโรงเรือนที่ผลิตดอกเบญจมาศไดบางฤดู (สุกัญญา และอธิพัฒน, 2546)

Page 8: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

2

ประวัติความเปนมาของการปลูกเบญจมาศในประเทศไทย การปลูกเบญจมาศในประเทศไทย ไมมีหลักฐานที่แนชัดวาไดนําเขามาปลูกตั้งแตเมื่อใดแตมีการปลูกมานานแลว ในป พ.ศ. 2506 ไดมีการนําเบญจมาศสายพันธุตาง ๆ จากประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศญี่ปุนเขามาปลูกหลายครั้ง โดยคณาจารยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และยังไดนําพันธุใหม ๆ เขามาจากประเทศไตหวัน ญ่ีปุน เนเธอรแลนด สหรัฐอเมริกา และอิสราเอล โดยโครงการหลวงอยางตอเนื่อง สําหรับการปลูกเปนไมตัดดอกนั้น เร่ิมมีการปลูกที่ถนนตกเขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร แตไมทราบวาปลูกเมื่อป พ.ศ. ใดและมีสายพันธุอะไร จนถึงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2509 คุณขาว ซ่ึงเปนเจาของสวนการะเกดในซอยเอกมัย ไดนําเบญจมาศจากประเทศญี่ปุนมาปลูก เขาใจวามีอยูหลายพันธุ แตที่ปลูกเลี้ยงไดดี และแพรหลายออกไปมีเพียงสายพันธุเดียว ดอกสีขาว เรียกวา “ ขาวการะเกด ” (อดิศร, 2535 และสมเพียร, 2526)

หลังจากนั้นมีการนําเบญจมาศจากประเทศสหรัฐอเมริกา ญ่ีปุน และสายพันธุยุโรปหลาย สายพันธุมาปลูกที่โครงการหลวง พรอมทั้งมีการคัดสายพันธุที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศในประเทศไทย และพัฒนาสายพันธุเร่ือยมาจนถึงปจจุบัน (สมเพียร, 2526) ซ่ึงเบญจมาศไดรับความนิยมอยางแพรหลาย เนื่องจากมีสีสันสดใส มีอายุการปกแจกันนาน และราคาไมแพงมากนัก สําหรับประเทศไทย ปริมาณดอกเบญจมาศยังไมเพียงพอกับความตองการใชในประเทศ จึงมีการนําเขาดอกเบญจมาศจากตางประเทศ โดยเฉพาะนําเขาจากประเทศมาเลเซีย แตเนื่องจากดอกนําเขามีราคาแพงขึ้น แนวโนมการขยายการปลูกภายในประเทศจึงมีมากขึ้น ในป 2534 ประเทศไทยมีพืน้ที่ปลูกเบญจมาศประมาณ 1,000 ไร โดยมีแหลงปลูกทีสํ่าคัญอยูในจังหวดันนทบรีุ เชียงใหม และเชียงราย ผลผลิตรวมทั้งประเทศประมาณ 50 ลานกานตอป แตยังไมเพียงพอจึงตองนําเขาจากตางประเทศทุกป โดยนําเขาจากมาเลเซีย 2.7 ลานกาน คิดเปนมูลคา 25 ลานบาท (กานละ 9.25 บาท) คาดวามีการนําเขามาโดยไมถูกตองอีกปละกวา 20 ลานกาน คิดเปนมูลคา 200 ลานบาท เนื่องจากภาษนีําเขาไมตัดดอกสูงถึงรอยละ 60 (กรมสงเสริมการเกษตร, 2539) และในป พ.ศ. 2543 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกเบญจมาศประมาณ 2,000 ไร พื้นที่ปลูกที่สําคัญไดแกจังหวัดเชียงใหม เชียงราย เพชรบูรณ นครราชสีมา อุดรธานี ขอนแกน หนองคาย และอุบลราชธานี (เศรษฐพงศ, 2546) เบญจมาศสามารถผลิตไดดีในพื้นที่ราบภาคเหนอืและภาคตะวนัออกเฉียงเหนือในชวงฤดหูนาว (ในฤด)ู ซ่ึงจะใหผลผลิตในเดือนพฤศจกิายนถึงเดือนมีนาคม สวนพื้นที่ทมีีการผลิตอยางตอเนื่อง ตลอดทั้งป (ในและนอกฤดูกาล) โดยจะผลิตภายในโรงเรือนพลาสติกบนพื้นที่สูงในจังหวดัเชียงใหมและเชียงราย โดยในปที่ผานมาเกษตรกรมีการขยายพื้นทีก่ารผลิตในฤดูเพิ่มมากขึ้น ทําใหราคาเบญจมาศในฤดูตกต่ํา แตผลผลิตไมตอเนื่องตองนําเขาจากตางประเทศปละไมต่ํากวา 500 ลานบาท และเกษตรกรยังขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสม เชน พันธุ การขยายพนัธุดวยตนแมพนัธุ การจัดการโรคและแมลงที่เหมาะสม (กรมสงเสริมการเกษตร, 2545)

Page 9: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

3

จังหวัดนครราชสีมาไดมีการดําเนินโครงการสงเสริมการผลิตเบญจมาศเพื่อทดแทนการนําเขา ในป 2542 ที่อําเภอวังน้ําเขียว เพื่อทําการผลิตเบญจมาศทดแทนการนําเขาจากตางประเทศ ในเขตพื้นที่ 5 ไร 20 ราย เนื่องจากอําเภอวังน้ําเขียวมีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางเฉลี่ย 500 เมตร มีสภาพภูมิอากาศเย็นตลอดป (อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 22 – 27 องศาเซลเซียส) และยังมีระยะทางใกลตลาดกรุงเทพมหานครเมื่อเปรียบเทียบกับแหลงปลูกในภาคเหนือ ปจจุบันจังหวัดนครราชสีมามีการขยายผลการปลูกเบญจมาศไปยังเกษตรกรในอําเภอวังน้ําเขียวและอําเภอสูงเนินเพิ่มขึ้น อีกทั้งพัฒนาการผลิตจนสามารถผลิตไดตลอดทั้งป จากสถิติการปลูกเบญจมาศในจังหวัดนครราชสีมาในป 2546 พบวา จังหวัดนครราชสีมามีการปลูกเบญจมาศในพื้นที่อําเภอวังน้ําเขียวและอําเภอสูงเนิน จํานวน 96 ราย พื้นที่ปลูกประมาณ 75 ไร ผลผลิตรวมประมาณ 5 ลานกานตอป ขณะที่สภาพการผลิตของเกษตรกรยังมีปญหามากเชนกัน ทั้งผลผลิตที่ไดยังมีคุณภาพไมสม่ําเสมอ ปริมาณการผลิตยังไมตอเนื่อง เกษตรกรขาดเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการผลผลิตอยางเหมาะสม การรวมกลุมการผลิตยังไมมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม สํานักงานเกษตรอําเภอวังน้ําเขียว รายงานวาปจจุบัน (พ.ศ. 2546) พื้นที่ปลูกเบญจมาศในอําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา 150 ไร ผลผลิตประมาณ 60 ตัน/ป (สํานักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา, 2546)

Page 10: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

4

บทท่ี 2 ลักษณะทางพฤกษศาสตรและการจําแนกประเภทเบญจมาศ

เบญจมาศเปนไมขนาดเล็กสูงประมาณ 1 - 3 ฟุต ตามกิ่งกานและลําตนมีขนละเอียด ใบเปนใบเดี่ยวเรียวรี ขอบใบหยักมีสีเขียวออนนุมมีขนออนๆ ทั่วทั้งใบ แตกกิ่งมาก การเรียงตัวของใบเปนแบบ spiral หรือ vacates สามารถแตกหนอใหมได ดอกกลม กลีบใบจะซอนกันมีหลากหลายสี เชน สีแดง สีบานเย็น สีขาว สีมวง สีชมพู สีเหลือง สีสม และอื่นๆ ดอกเบญจมาศเปนดอกชนิด inflorescence ซ่ึงแตละ inflorescence ประกอบดวยดอกยอย (floret) 2 ชนิด คือ ชนิดแรก ดอกยอยช้ันนอกของฐานรองดอก (ray floret) เปนดอกเพศเมีย ซ่ึงจํานวนชั้นของดอกเพศเมียข้ึนอยูกับชนิดของดอกวาเปนดอกชั้นเดียว (single) ดอกซอน (double) หรือชนิดอื่นๆ และชนิดที่สองดอกยอยช้ันใน (disc floret) ที่อยูถัดจากดอกยอยช้ันนอกเขามาครอบคลุมพื้นที่สวนกลางของฐานรองดอก เปนดอกสมบูรณเพศ (perfect flower) มีทั้งเกสรตัวผู (stamen) ซ่ึงมีสวนที่อยูบนสุดเรียกวา อับละอองเรณู (anther) และเกสรตัวเมีย (carpel) มีสวนที่อยูบนสุดเรียกวา ยอดเกสรตัวเมีย (stigma) ซ่ึงจํานวนชั้นของดอกจะสัมพันธกับดอกเพศเมีย เชน ดอกชั้นเดียว (single) จะมีช้ันของกลีบดอกยอยช้ันนอก 2-5 ช้ัน พื้นที่สวนใหญของฐานรองดอกจะถูกคลุมไปดวยดอกยอยช้ันใน สวนในดอกซอน (double) จะมีดอกยอยช้ันนอกเปนจํานวนนอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับดอกยอยช้ันในที่มีอยู เปนตน ทั้งดอกยอยช้ันนอกและชั้นในแบงเปน 2 สวน คือ กลีบดอก (corolla) และกลีบใบหุมดอก (calyx) (ภาพที่ 1) เบญจมาศมีทั้งที่เปน พืชลมลุก (annual) พืชสองป (biennial) และพืชยืนตน (perennial) แตนิยมปลูกเปนพืชปเดียว เพราะตนเบญจมาศจะโทรมเร็ว มีอายุ 90-150 วัน และเปนพืชไวตอความยาวของวันหรือชวงแสง โรคและแมลงเขาทําลายงายเมื่ออยูในพื้นที่ปลูกเปนเวลานาน สามารถขยายพันธุโดยการเพาะเมล็ด การปกชํา และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (นันทิยา, 2535) (ภาพที่ 1)

Page 11: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

5

ภาพที่ 1 ลักษณะทางพฤกษศาสตรของเบญจมาศ

ที่มา: ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 12: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

6

การจําแนกประเภทของพันธุเบญจมาศ การจําแนกเบญจมาศมีหลายระบบ เชน จําแนกตามการตอบสนองตอชวงความยาวของแสง จําแนกตามประโยชนใชสอยและธุรกิจการคา และที่นิยมกันมากที่สุดคือ จําแนกตามลักษณะของดอก

1. การจําแนกตามการตอบสนองตอชวงความยาวของแสง ในปจจุบันนี้การปลูกเบญจมาศเปนการผลิตเชิงอุตสาหกรรมขนาดใหญ ดังนั้นการกําหนดวันตัดดอกใหตรงกับความตองการของตลาดจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่ง จึงไดมีการจัดกลุมเบญจมาศตามจํานวนสัปดาหหลังจากเริ่มไดรับวันสั้นจนถึงวันตัดดอกจําหนาย โดยแบงออกเปน 3 กลุม ดังนี้

1.1 กลุมพันธุ 8 สัปดาห เบญจมาศในกลุมนี้จะใชเวลานับจากเริ่มบังคับดวยวันสั้นไปจนถึงวันตัดจําหนาย 56 วัน หรือ 8 สัปดาห

1.2 กลุมพันธุ 9 สัปดาห เบญจมาศในกลุมนี้จะใชเวลานับจากเริ่มบังคับดวยวันสั้นไปจนถึงวนัตัดจําหนาย 63 วัน หรือ 9 สัปดาห

1.3 กลุมพันธุ 10-15 สัปดาห เบญจมาศในกลุมนี้จะใชเวลานับจากเริ่มบังคับดวยวันสั้นไปจนถึงวันตัดจําหนาย 70-105 วัน หรือ 10-15 สัปดาห

2. การจําแนกประเภทเบญจมาศตามประโยชนใชสอยและการปลูกปฏิบัติ กรมสงเสริมการเกษตร (2538) ไดแยกพันธุเบญจมาศตามประโยชนใชสอย และการปลูก

ปฏิบัติ ได 4 ประเภท ดังนี้ 2.1 exhibition type เปนเบญจมาศที่มีดอกขนาดใหญ ลําตนสูงประมาณ 1 เมตร ไมมีการ

เด็ดยอดแตตองเด็ดดอกขาง ทิ้งเพื่อใหเหลือดอกยอดเพียง 1 ดอก 2.2 standard type มีดอกเล็กกวาประเภทแรก ตองเด็ดยอดตนกลา เพื่อใหแตกกิ่งขาง 3-4

กิ่ง และแตละกิ่งจะเด็ดดอกขางทิ้งใหเหลือดอกยอดเพียงดอกเดียว นิยมใชเปนไมตัดดอก (ภาพที่ 2) 2.3 spray type เบญจมาศประเภทนี้เปนประเภทที่มีหลายดอกตอ 1 กิ่ง และมี 6-10 กิ่งตอ

ตน ไมมีการเด็ดดอกขาง ดอกมีขนาดเล็กกวาประเภท standard type ใชปลูกเปนไมตัดดอก (ภาพที่ 2) 2.4 potted plant เบญจมาศ ประเภทนี้ใชปลูกเปนไมกระถาง มีทรงพุมกะทัดรัด ดอกดก

และมี ดอกขนาดเล็กแตกกิ่งกานมาก

Page 13: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

7

ภาพที่ 2 ตัวอยางพันธุเบญจมาศประเภทดอกเดี่ยว (single type) และดอกชอ (spray type)

เบญจมาศดอกเดี่ยว (standard type)

พันธุ Super White มีรูปทรงแบบ spider พันธุ Fred Shoesmith มีรูปทรงแบบ incurve

เบญจมาศดอกชอ (spray type)ด

พันธุ Pink Westland มีรูปทรงแบบ spoon พันธุ Aloha มีรูปทรงแบบ spoon tip anemone ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

3. ประเภทของพนัธุเบญจมาศที่จําแนกตามรปูทรง กรมวิชาการเกษตร (2542) ไดจําแนกรูปทรงของเบญจมาศ ขึ้นอยูกับลักษณะของกลีบ

ดอก และการจัดเรียงตัวของกลีบดอก มีแบบตางตางๆดังนี้

3.1 ซิงเกิ้ล (single) หรือดอกชั้นเดียว มีลักษณะคลายดอกเดซี่ ประกอบดวยดอกยอยวงนอก (ray floret) 1-2 ช้ัน และดอกยอยช้ันใน (disk floret) จะไมพัฒนาหากแตรวมตัวเปนกระจุกอยูตรงใจกลางดอก เชน พันธุเรแกน ไวท (Reagan White - สีขาว) โรสควีน (Rose Queen - ชมพู / ไสเขียว) จูโน (Juno - สีชมพู) โกลเดน วา ลังเกน (Golden van Langan - สีเหลือง) เปนตน (ภาพที่ 3)

Page 14: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

8

ภาพที่ 3 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบ single และตัวอยางพนัธุ 12 สายพันธุ ดํารดดนนา

Reagan White Reagan Sunny

Reagan Purple Reagan Pink

TigerragTigerrag TigerTiger

Page 15: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

9

Golden van Langen Ellen van Langen

Klondik Derby

Fiji White Fiji Bright Yellow ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 16: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

10

3.2 อนิโมน (anemone) ลักษณะคลายดอกชั้นเดียวแต disk floret มีความยาวมากกวาแบบ

ดอกชั้นเดียวและมีลักษณะเปนหลอดรวมตัวกระจุกอยูตรงใจกลางดอก จึงมีขนาดใหญกวาและมองเห็นเดนชัดกวาแบบดอกชั้นเดียว ทําใหสวนกลางชอดอกโปงขึ้น บางครั้งกลีบดอกชั้นในมีสีตางไปจากกลีบดอกชั้นนอก เชน พันธุพูมา (Puma - สีขาว) ซันนี่พูมา (Sunny Puma - สีเหลือง) (ภาพที่ 4)

ภาพที่ 4 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบ anemone และตัวอยางพันธุ 10 สายพันธุ

Sunny Puma Puma

Cleopatra Jaguar Purple

Page 17: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

11

Pom-Pom Pink Regatta Yellow

Hawaii Hawaii Orange

Le mans Mundial Apricot

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 18: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

12

3.3 สไปเดอร (spider) หรือแมงมุม ประกอบดวยกลีบชั้นนอกเปนสวนใหญ ซ่ึงมีลักษณะ เรียวเล็กและปลายโคงคลายขาแมงมุม เชน พันธุ เวสแลนดวินเทอร (Westland Winter - ขาว) และเวสแลนดรีเกิ้ล (Westland Regal - ชมพู) เปนตน (ภาพที่ 5)

ภาพที่ 5 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบ spider และ half spider และตัวอยางพันธุ 6 สายพันธุ

Westland Regal - ชมพู Westland Yellow

Yellow Spider White Spider

Shamrock Bright lameet ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 19: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

13

3.4 ปอมปอน (pompon) มีลักษณะกลีบดอกของ ray floret จะสั้นกวาง และงุมเขาหาใจกลางดอกอีกทั้งพัฒนามากกวา disk floret จึงมองเห็นคลายกับวามีเฉพาะ ray floret เทานั้น ลักษณะดอกเปนลูกกลมนูนสวยงาม คลายลูกปงปอง ประกอบดวยกลีบดอกชั้นนอกที่มีขนาดเทาๆ กัน โดยไมปรากฏใหเห็นกลีบดอกชั้นใน เชน พันธุ กรีนพี (Green Pea - สีเขียว) โกลดพี (Gold Pea – สีเหลือง) (ภาพที่ 6)

ภาพที่ 6 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบ pompon และตัวอยางพันธุ 4 สายพันธุ

Gold Pea Kermit Discovery Gold Pea ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 20: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

14

3.5 เดคเคอเรทีฟ (decorative) หรือดอกซอน มีลักษณะคลายปอมปอนเพราะประกอบดวยกลีบดอกชั้นนอกเปนสวนใหญ แตแตกตางกันตรงที่กลีบดอกของ ray floretรอบนอก ๆ จะมีความยาวกวากลีบดอกของ ray floret ที่อยูรอบใน ๆ จึงทําใหรูปทรงของดอกดูแบนกวาเปนดอกซอนมีขนาดใหญ มีลักษณะคลายปอมปอน เชน พันธุ ฟจิไวท (Fiji White - สีขาว) ฟจิ ดารค (Fiji Dark - สีชมพู) (ภาพที่ 7)

ภาพที่ 7 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบ decorative และตัวอยางพนัธุ 12 สายพันธุ

Ping Pong Yellow Inga white

Yuri Cremist golden

Page 21: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

15

Fiji pink Cremist

Boris becker yellow Polaris

Boris becker white Fiji

Inga Faroe ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 22: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

16

3.6 ดอกใหญ (large flowered) ดอกที่บานแลวจะมีขนาดใหญกวา 4 นิ้ว สวนใหญแลวจะไมเห็นกลีบดอกชั้นใน นิยมปลูกโชว โดยเด็ดดอกขางออก ใหเหลือเพียงดอกยอดดอกเดียวตอ 1 กาน การพัฒนาของ ray floret จะมีมากกวา disk floret จึงแทบจะมองไมเห็น disk floret ดอกเบญจมาศในกลุมนี้ยังสามารถแบงออกไดอีก 3 กลุมยอย

3.6.1 Incurved ดอกมีขนาดใหญ มีการจัดเรียงของดอกคลายปอมปอน และกลีบของ ray floret ยาวงุมเขาหาใจกลางดอก ทําใหดูสวยงามและมีระเบียบ (ภาพที่ 8)

ภาพที่ 8 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบ ดอกใหญ (large flowered) ชนิด incurved และตัวอยางพนัธุ 4 สายพันธุ

Rivalry Shoesmith

Rivalry Shoesmith

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 23: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

17

3.6.2 reflex มีการจัดเรียงของดอกยอยคลายปอมปอน อีกทั้งมีกลีบดอกของ ray floret ยาวคลายแบบ incurved แตกลีบดอกจะหงายกลีบหอยลงดานลาง ทําใหรูปทรงของดอกเปลี่ยนไป (ภาพที่ 9)

ภาพที่ 9 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบ ดอกใหญ (large flowered) ชนิด reflex และตัวอยางพนัธุ

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

3.7 tubular มีกลีบดอกของ ray floret ยาวบางสั้นบางและปลายกลีบไมแผออกหรือไมคล่ี

ออก จึงมองเห็นเปนหลอดยาว ๆ ส้ัน ๆ ไมเทากัน (ภาพที่ 10)

ภาพที่ 10 ลักษณะดอกเบญจมาศรูปทรงแบบดอกใหญ (large flowered) ชนิด tabular และตัวอยางพนัธุ

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 24: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

18

บทที่ 3 การปลูกเบญจมาศ ตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

ตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา ปลูกเบญจมาศไดผลดีมาตั้งแต พ.ศ.2539 ปจจุบันมีกลุมผูปลูกเบญจมาศ อยู 4 กลุม ประมาณ 126 ราย หรือ 120 ไร อําเภอวังน้ําเขียวมีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 300-400 เมตร เปนปาเขา ลอนลูกฟูก ตนน้ํามูล จึงมีความชุมชื้น ดินอุดมสมบูรณและภูมิอากาศเย็นสบาย โดยมีปริมาณน้ําฝนตกเฉลี่ย 1,290 มม./ป จํานวนวันฝนตกเฉลี่ย 129.9 วัน/ป อุณหภูมิเฉลี่ย 23-33 องศาเซลเซียส ตามลําดับ จึงมีความเหมาะสมในการปลูกไมดอกกึ่งเมืองหนาว ผัก ไมผล และเห็ดหอม นับวาเปนทุนทางธรรมชาติของชาววังน้ําเขียวที่มีคาสูงยิ่ง เทคโนโลยีการผลิตเบญจมาศ ตําบลไทยสามัคคี

1. โครงพลาสติก การผลิตเบญจมาศ จะปลูกภายใตโครงพลาสติกตลอดเวลา โครงละ 2 แปลง ทั้งนี้เพื่อปองกันความชื้นจากน้ําฝน ถาใบถูกน้ําฝนจะทําใหเกิดโรคไดงาย สวนในระยะออกดอก น้ําฝนจะทําใหดอกเนาเสียหายไดงาย พลาสติกใสที่ใชคลุมมีขนาดหนา 150 ไมครอน กัน UV ได 7% นอกจากตองคลุมพลาสติกแลว จะตองพรางแสงดวยซาแรน 50 % ใหแกเบญจมาศในระยะยายกลาใหมๆ เปนเวลา 7-10 วัน และระยะที่ดอกเริ่มแยมเปนตนไป เพื่อปองกันตนออนและดอกจากแสงแดดจา ทั้งนี้ถาไมคลุมซาแรน ดอกเบญจมาศจะมีสีซีด

ขนาดโครงพลาสติกและแปลงปลูก (ภาพที่ 11) - ทําดวยเหล็ก 4 หุน ทอกลมทาสีกันสนิม - หนากวาง 2.50 เมตร สูงประมาณ 2 เมตร - ขนาดแปลง กวาง 50 ซม.X สูง 50 ซม. X ยาว 20 เมตร - ทางเดินระหวางแปลง 50 เซนติเมตร - ทางเดินระหวางโครง 1 เมตร

Page 25: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

19

ภาพที่ 11 โครงพลาสติกคลุมแปลงเบญจมาศและขนาดแปลง

Page 26: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

20

2. การบังคับใหเบญจมาศออกดอกหรือไมออกดอก เบญจมาศเปนพืชวันสั้น จะออกดอกได เมื่อมีชวงเวลากลางวันสั้นแตมีชวงเวลากลางคืนยาว พันธุเบญจมาศที่ปลูกเปนการคาสวนใหญ ตามทฤษฏีตองการชวงแสงกลางวันสั้นกวา 14.5 ช่ัวโมง จึงจะเริ่มสรางตาดอก แตดอกจะเปนดอกที่สมบูรณไดตองมีชวงแสงกลางวันสั้นกวา 13.5 ช่ัวโมง (ถาชวงแสงกลางวันอยูระหวาง 13.5-14.5 ช่ัวโมง อาจมีการสรางตาดอกแตไมพัฒนาเปนตาดอกที่สมบูรณ) หากชวงแสงกลางวันยาวกวา 14.5 ช่ัวโมง เบญจมาศจะไมออกดอก ดังนั้นในการผลิตเบญจมาศเปนการคา จึงสามารถบังคับเบญจมาศใหออกดอกหรือไมออกดอก หรือมีดอกที่ไดคุณภาพไดโดยการควบคุมจํานวนชั่วโมงที่ตนเบญจมาศจะไดรับแสงสวาง หากเราตองการจะไมใหไดรับแสง เราจะคลุมดวยผาพลาสติกสีดํา เพื่อใหมืดเหมือนชวงเวลากลางคืน และถาตองการใหมีแสงเพิ่มก็จะเปดหลอดไฟ ใหแสงสวางในตอนกลางคืน เพื่อเพิ่มจํานวนชวงแสงเหมือนเปนตอนกลางวัน สําหรับที่จังหวัดนครราชสีมา ตามตารางชวงแสง (ตารางที่ 1) ความยาวกลางวันจะอยูในชวง 13 ช่ัวโมง 48 นาที ถึง 12 ช่ัวโมง 2 นาทีตอวัน ดังนั้นการปลูกเบญจมาศในจังหวัดนครราชสีมา เบญจมาศจะออกดอกไดทุกเดือน และออกดอกไดทันทีที่ตนกลาตั้งตัวได จึงทําใหตนเบญจมาศที่นี่มีลําตนหรือกานสั้นมาก ไมไดมาตรฐาน จึงไมสามารถจําหนายได อยางไรก็ตาม เบญจมาศตองการชวงแสงกลางวันประมาณ 13 ช่ัวโมง หรือต่ํากวาเพื่อใหไดคุณภาพที่ดี ดังนั้นตามคําแนะนําของกรมสงเสริมการเกษตรสําหรับการปลูกเบญจมาศที่อําเภอวังน้ําเขียว คือ ฤดูกาลที่เหมาะสมในการผลิตเบญจมาศ คือ วันที่ 11 กันยายน ถึง 9 มกราคม ซ่ึงเรียกวาเปนผลผลิตในฤดู สวนการผลิตนอกเวลาดังกลาว เรียกวา การผลิตนอกฤดู ซ่ึงจะตองทําการคลุมแปลงดวยผาพลาสติกสีดําในชวงเวลาเย็นและเปดออกในชวงเชา เพื่อใหไดจํานวนแสงนอยกวา 13 ช่ัวโมงตอวัน วันผลิตนอกฤดูเร่ิมตั้งแต 10 มกราคม ถึง 10 กันยายน

Page 27: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

21

ตารางที่ 1 ชวงแสง และการใหแสงเบญจมาศ ในเขตจังหวัดนครราชสีมา

ความยาวกลางวัน วันที่ตองคลุม

(ชม.) แปลงดวยผาดํา1 มกราคม 6:14 18:16 12:02 22:16 2:14 3:58 10 ม.ค15 มกราคม 6:18 18:24 12:06 22:24 2:18 3:541 กุมภาพันธ 6:18 18:32 12:14 22:32 2:18 3:46 10 ก.พ.15 กุมภาพันธ 6:15 18:37 12:22 22:37 2:15 3:38

1 มีนาคม 6:07 18:41 12:34 22:41 2:07 3:2615 มีนาคม 5:58 18:43 12:45 22:43 1:58 3:151 เมษายน 5:46 18:46 13:00 22:46 1:46 3:0015 เมษายน 5:36 18:48 13:12 22:48 1:36 2:48

1 พฤษภาคม 5:26 18:51 13:25 22:51 1:26 2:3515 พฤษภาคม 5:21 18:56 13:35 23:26 1:21 2:25

1 มิถุนายน 5:17 19:02 13:45 23:02 1:17 2:1515 มิถุนายน 5:18 19:06 13:48 23:06 1:18 2:121 กรกฎาคม 5:22 19:09 13:47 23:09 1:22 2:1315 กรกฎาคม 5:26 19:09 13:43 23:09 1:26 2:17

1 สิงหาคม 5:32 19:04 13:32 23:04 1:32 2:28 10 ส.ค.15 สิงหาคม 5:35 18:57 13:22 22:57 1:35 2:381 กันยายน 5:38 18:45 13:07 22:45 1:38 2:53 10 ก.ย.15 กันยายน 5:39 18:25 12:56 22:35 1:39 3:041 ตุลาคม 5:40 18:22 12:42 22:22 1:40 3:1815 ตุลาคม 5:42 18:13 12:31 22:13 1:42 3:29

1 พฤศจิกายน 5:45 18:05 12:20 22:05 1:45 3:4015 พฤศจิกายน 5:51 18:02 12:11 22:02 1:51 3:49

1 ธันวาคม 5:58 18:03 12:05 22:03 1:58 3:5515 ธันวาคม 6:06 18:08 12:02 22:08 2:06 3:5831 ธันวาคม 6:14 18:16 12:02 22:16 2:14 3:58

ท่ีมา : ธวัชชัย ทีฆชุณหเถียร และ ออยใจ พิมจอง, 2546

วันปลูกตกขึ้นวันที่ปลูกนอกฤดูดวงอาทิตย การใหแสงชวงกลางคืน

เร่ิมให หยุดให รวมเวลา

Page 28: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

22

2.1 การบังคับเบญจมาศไมใหออกดอก เพื่อปองกันไมใหตนกลาเบญจมาศสรางตาดอกจนกวาลําตนจะมีขนาดสูงประมาณ 30 เซนติเมตร และลําตนแข็งแรง ซ่ึงเมื่อเบญจมาศเติบโตถึงระยะดอกบานจะตองมีชอดอกที่ยาวไดมาตรฐานของตลาด จะตองเปดไฟใหแกตนออน ตั้งแตวันปลูกวันแรกจนตนมีลําตนสูงประมาณ 30 เซนติเมตร ซ่ึงจะใชเวลาประมาณ 1 เดือน หลังยายกลา การใหแสงยึดหลักใหมีชวงสวางเพิ่มในเวลากลางคืน จะเปนเวลาใดก็ไดติดตอกันไมนอยกวา 4 ช่ัวโมงตอคืน หรือชวงใหแสง 4 ช่ัวโมงจะใหแสง 15 นาที สลับชวงมืด 15 นาที ก็ได ยกเวนแปลงผลิตยอดพันธุจะตองใหแสง 4 ช่ัวโมงติดตอกันเทานั้น ความเขมของแสง คือ 80-100 ลักซ (LUX) เดิมใชหลอดไฟขนาด 36 วัตต แขวนสูงจากพื้น 1.50 เมตร หางกัน 2 เมตร (10 ดวง/โครง) ปจจุบันนิยมใชหลอดนีออนชนิด Super warm light 40 วัตต สูงจากพื้น 1.5 เมตร ในแปลงยาว 20 เมตร จะแขวนหางกัน 5 หลอด ทําใหประหยัดไฟฟาได 3 เทา (ภาพที่ 12) ในชวงเดือน ธันวาคม-มกราคม จะตองเปดไปนาน 4 ช่ัวโมงติดตอกัน ในขณะที่เขาสูฤดูรอน (มีนาคม-เมษายน) แลว ในชวง 4 ช่ัวโมงไมตองเปดไฟตอเนื่องก็ได สามารถเปดไฟ 8 นาที ปด 22 นาที สลับกันไปก็ได

2.2 การบังคับเบญจมาศใหออกดอก เมื่อเปดไปใหเบญจมาศจนเบญจมาศมีความสูงประมาณ 30 เซนติเมตร จึงปลอยใหสรางตาดอกได 2.2.1 การผลิตในฤดู คือ การปลูกวันที่ 11 สิงหาคม ถึง 9 มกราคม เมื่อเบญจมาศอายุได 1 เดือน ไมจําเปนตองบังคับการออกดอก เพราะชวงแสงเฉลี่ยของเดือนดังกลาวนอยกวา 13 ช่ัวโมงตอวัน จึงเหมาะสมกับการสรางตาดอกที่สมบูรณของเบญจมาศ 2.2.2 การผลิตนอกฤดู คือ การปลูกวันที่ 10 มกราคม ถึง 10 สิงหาคม เมื่อเบญจมาศอายุได 1 เดือน ชวง แสงเฉลี่ยของเดือนดังกลาวอยูในชวง 13 ช่ัวโมงตอวัน หรือยาวกวา ทําใหดอกเบญจมาศที่ผลิตไดไมมีคุณภาพ จึงจําเปนตองบังคับการออกดอก โดยการคลุมพลาสติกสีดําบนโครงหลังคาแปลงเบญจมาศขนาดหนา 150 ไมครอน กัน UV ได 7% ใหมิดชิด ตั้งแตเวลา 18.00-07.30 น. จึงจะเปดผาดําออก โดยเกษตรกรจะรวบผาดํามาไวตรงกลางแปลงทุกวัน ทั้งนี้ จะคลุมผาดําทุกวัน จนสังเกตเห็นไดชัดวามีดอกเจริญเปนเม็ดดีแลว ไมฝอ จึงหยุดคลุมผาดํา ซ่ึงจะเปนระยะเวลาคลุมผาดํารวมประมาณ 30 วันตอเนื่อง (ภาพที่ 13)

Page 29: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

23

ภาพที่ 12 การใหไฟแกตนเบญจมาศในชวง 30 วันแรกหลังปลูก 4 ช่ัวโมงตอคืน เพื่อปองกัน ไมใหเบญจมาศออกดอกจนกวาลําตนจะยาว 30 เซนติมตร a : หลอดไฟแบบหลอดกลม 100 วัตต 10 ดวง/แปลงยาว 20 เมตร b : หลอดไฟแบบวอรมไลท 40 วัตต c : แสงสวางในแปลง ขณะเปดดวงไฟ

(3)

ภาพที ่13 การคลุมผาพลาสติกสีดําบนโครงเบญจมาศ เพื่อบังคับใหเบญจมาศสรางตาดอก

a b c

Page 30: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

24

3. การค้ํายันตนเบญจมาศ ตนเบญจมาศที่ไดขนาดที่ตองการมีความยาวกวา 90 เซนติเมตร และดอกเดี่ยวที่มีขนาดใหญหรือดอกชอที่มีดอกมากกวา 10 ดอก จะทําใหตนหักลมหรือโคงงอได จึงตองมีการค้ํายันตนเบญจมาศ โดยใชเชือกตาขายพลาสติกซึ่งมีจําหนายตามทองตลาดถักสําเร็จรูปแลว ทั้งนี้จะขึงตาขายไวบนแปลงเบญจมาศ ตั้งแตหลังเตรียมแปลงปลูกเสร็จ ทําการปลูกตนเบญจมาศลงในชวงตาขายชองละ 1 ตน ทุกชอง เมื่อตนเบญจมาศเจริญเติบโตไปเรื่อยๆ ทุกสัปดาหก็จะทําการขยับตาขายใหสูงขึ้นตามไปดวย โดยใหตาขายสูงประมาณครึ่งหนึ่งของความสูงตนเบญจมาศ ในโครงหลังคาที่ปลูกเบญจมาศมี 2 แปลงยอย กวางแปลงละ 1x20 เมตร จะขึงตาขายขนาดชอง 12.5x12.5 ซม. หนากวาง 8 ชอง ยาว 160 ชอง บนแตละแปลงยอยจึงปลูกไดแปลง 1,280 ตน (ภาพที่ 14)

ภาพที่ 14 การขึงตาขายขนาดชอง 12.5x12.5 เซนติเมตร (กวาง 8x160 ชอง) บนแปลงเบญจมาศ กอนปลูก และขยบัขึ้นทุกสัปดาห เพื่อเปนการค้ํายันไมใหตนเบญจมาศลม

Page 31: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

25

4. ขั้นตอนการปลูก การเขตกรรมและการเก็บเกี่ยว 4.1 การเตรียมดิน

แปลงที่เร่ิมปลูกเบญจมาศเปนครั้งแรก หรือปลูกหลังปลูกพืชหมุนเวยีนมากอน จะตองเตรียมดินใหม โดยไถดวยไถพาน 3 ตากดินไวประมาณ 10-15 วัน เพื่อกําจัดวัชพืชและโรคในดิน จากนั้นไถดวยไถพาน7 และตากดินอกี 10-15 วนั แลวใสปุยและวัสดปุรุงดินรองพืน้ ไดแก ปุย สูตร 0-46-0, 2 กิโลกรัม/โครง แกลบดิน 10 ถุงปุย/โครง ขี้หมู 8 กิโลกรัม/โครง ปุย 15-15-15, 1-2 กิโลกรัม/โครง โดโลไมท 8-10 กิโลกรัม/โครง หรือปุยกระดกู 1-2 กิโลกรัม/โครง และ หินฝุน 1 กิโลกรัม/โครง จากนั้นใชรถโรตารี พรวนใหคลุกเคลาเขาดวยกัน ใชแรงงานคนทํารองขึ้นแปลงสูง 50 เซนติเมตร ภายใน 1 โครง จะมีแปลงๆ กวาง 1 เมตร ยาว 20 เมตร จํานวน 2 แปลง แตละแปลงหางกัน 50 เซนติเมตร ระหวางโครงหางกัน 1 เมตร ขึ้นแปลงเสร็จแลวโรยแกลบคุมแปลง โครงละ 3 ปป เกลี่ยใหเสมอ และวางตาขาย รดน้ําและทําการปลูกยอดพันธุ

ตามหลักการเตรียมดินปลูกเบญจมาศควรปรับสภาพความเปนกรด-ดางดวยการใสโดโลไมท ใหดินมีระดับกรดดางที่ 6.5 และตากดินฆาเชื้อโรคในดิน มูลสัตวที่ใชไมใชขี้วัว เพราะมีเมล็ดพืชปะปนมาและขี้ไกจะทําใหเกิดเชื้อราในดินมาก

ภาพที่ 15 แปลงปลูกเบญจมาศหลังจากไถพาน 7 และขึน้แปลงปลูกโดยโรยแกลบคลุมดินไวแลว

Page 32: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

26

ตามปกติแลว เกษตรกรจะไถเตรียมดินตามวิธีขางตนแลวปลูกเบญจมาศติดตอกัน 3 รุนใน

แปลงเดิม (รุนละ 3 เดือน) แลวพักแปลงหรือปลูกพืชหมุนเวียน 1 รุน จึงเตรียมดินใหม เพื่อปลูกเบญจมาศอีก 3 รุน ทั้งนี้เพื่อกําจัดโรคเหี่ยวในดิน กรณีมีพื้นที่เหลือมาก เมื่อปลูกเบญจาศครบ 3 รุนแลว ก็จะยายไปปลูกในพื้นที่ใหมที่ยังไมไดปลูกเบญจมาศมากอน สวนแปลงที่ปลูกเบญจมาศครบ 3 รุนแลว พักแปลงโดยปลูกพืชอ่ืนที่ไมใชเบญจมาศ เชน ผัก ไมดอกอื่นๆ หรือปุยพืชสดบํารุงดิน หรือปลอยใหหญาขึ้น

หลังจากไถเตรียมดินปลูกรุนที่ 1 แลว การปลูกรุนที่ 2 จะกระทําโดยการรื้อตอเบญจมาศออก เอาโครงหลังคาออก เพื่อใหแสงแดดสองถึงพื้นดิน ฆาเชื้อโรค ในชวงฤดูฝน สามารถใชผาพลาสติกคลุมดิน อบดินใหรอน เปนการฆาเชื้อโรคไดอีกวิธีหนึ่ง ขั้นตอนตอไปจะหวานวัสดุปรุงดินและปุยรองพื้น แลวใชรถโรตารีตีดินใหวัสดุคลุกเคลากัน (ภาพที่ 16) และขึ้นแปลง ทําการปลูกรุนที่ 2 ตอไป การเตรียมแปลงปลูกรุนที่ 3 ทําเชนเดียวกับวิธีการนี้

ภาพที่ 16 การใชรถโรตารี่ตีดิน เตรียมดินปลูกเบญจมาศในรุนที่ 2 และ 3

4.2 ระยะปลูก 4.2.1 การปลูกแบบไมเด็ดยอดหรือแบบตนเดีย่ว จะใชระยะปลกูที่ถ่ีกวาการปลกูแบบเดด็ยอด จึงตองมกีารลงทุนยอดพันธุสูงกวา เพราะใชยอดพนัธุมากกวา แตการปลูกแบบนี้จะมีชวงเวลาการเติบโตสั้นกวาและคุณภาพดอกจะดีกวาอีกดวย ปจจุบนัเกษตรกรนยิมปลูกดวยวิธีนี้ จะใชระยะปลูก 12.5 x 12.5 เซนติเมตร 1 ตนตอ 1 ชองตาขาย มีจํานวนตน 2,560 ตน/โครง อัตรารอด 98 % จะไดจํานวนตนที่ใหดอกโครงละประมาณ 2,508 ตน/โครง

Page 33: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

27

4.2.2 การปลูกแบบเด็ดยอด เกษตรจะเด็ดยอดตนออน กอนปลูกหรือหลังจากตนกลาตั้งตัวไดแลว เมื่อมียอดใหมเกดิขึ้น แตงใหเหลือ 3 ยอดตอตน ทําใหประหยัดยอดพันธุ ซ่ึงมีราคาแพงและขาดแคลน วิธีนี้ใชระยะปลูก 25X25 เซนติเมตร คือปลูกลงในชองตาขายชองเวนชองนั่นเอง

4.3 การใหน้ํา น้ําที่ใชรดเบญจมาศมาจากแหลงน้ําตามธรรมชาติ โดยจะทําการรดทุกวันเพื่อใหดินชุมแตไมแฉะ ระยะปลูกใหม 7 วันแรก รดน้ําวันละ 2 คร้ัง ตอไปรดน้ําวันละ 1 คร้ัง การรดน้ําจะรดชวงเชามืด ถึง 14.00-15.00 น. เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหใบเปยกในชวงกลางคืน เปนการปองกันการระบาดของโรคเชื้อรา โดยจะใชแรงงานคน ดึงสายยางติดฝกบัวเดินรดตามแปลง (ภาพที่ 17)

ภาพที่ 17 การรดน้ําตนเบญจมาศ โดยรดในตอนเชาถึง 14.00 น. รดตรงสวนลางของตน เพื่อไมใหใบเปยกชื้น

4.4 การใสปุยเคมีและฮอรโมน

4.4.1 ปุยและวสัดุรองพื้นปรุงดิน ใสตอนเตรียมดิน - แกลบดิบ 10 ถุงปุย/โครง - ขี้หมู 8 กิโลกรัม/โครง - โดโลไมท 8-10 กิโลกรัม/โครง หรือปุยกระดูก 1-2 กิโลกรัม/โครง - หินฝุน 1 กิโลกรัม/โครง - ปุย 0-46-0 2 กิโลกรัม/โครง - ปุย 15-15-15 1-2 กิโลกรัม/โครง

- สัปดาหที่ 1 ใสปุย 46-0-0 2 กิโลกรัม/โครง - 10 วันถัดมา (ประมาณ 17 วันหลังปลูก) ใสปุยสูตร 15-0-0 2 กิโลกรัม/โครง

Page 34: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

28

- 10 วันถัดมา (ประมาณ 27 วันหลังปลูก) ใสปุยสูตร 15-0-0 2 กิโลกรัม/โครง - เมื่อหยุดใหแสงไฟ ประมาณ 30 วันหลังปลูก คือตนสูง 30 เซนติเมตร ใหเร่ิมใหปุยสูตร 15-15-15 2 กิโลกรัม/โครง 1 คร้ัง จากนั้นทุก 10 วันหลังจากใหปุย 8-24-24 2 กิโลกรัม/โครง รวมกับฉีดปุยทางใบสูตร 13-0-46 1 กิโลกรัมตอน้ํา 200 ลิตร ฉีดทั้งที่ดอกตูมและใบใหทั่ว การฉีดปุย 13-0-46 จะใหวันเดียวกันหรือคนละวันกับปุย 8-24-24 ก็ได สรุปแลวจะใสปุย 8-24-24 และ 13-0-46 อยางละประมาณ 3 คร้ัง

4.4.2 เมื่อดอกเริ่มแยมเริ่มเห็นสีของกลีบดอกแลว (ประมาณ 1 สัปดาหกอนตัดดอก) งดปุยในขอ 5 แตพนดอกและใบดวยปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1 กิโลกรัมตอน้ํา 200 ลิตร เพื่อใหสีดอกสด ระยะนี้จะตองพรางแสงดวยซาแรนสีดํา

4.4.3 ฮอรโมนจะฉีด 2 คร้ัง คือ (1) ระยะตนกลา จะฉีดฮอรโมนจิบเบอรลิน บํารุงใบเปนหลอดมีเม็ดสีขาว

เล็กๆ ในหลอด ฉีด 3 คร้ัง หลังปลูกในสัปดาหที่ 1, 2 และ 3 อัตรา 1 หลอดฉีดได 10 โครง (2) จิบเบอรริลินเม็ด ซ่ึงจะใหในทุกพันธุ โดยจะใชฉีดเมื่อหยุดใหไฟแกตนเบญจมาศ อัตรา 1 เม็ดตอน้ํา 200 ลิตร (ฉีดได 10 โครง) เพื่อยืดชอดอก ฉีด 1-2 คร้ัง หางกัน 15 วัน 4.5 การกําจัดวัชพืช ในการปลูกเบญจมาศของอําเภอวังน้ําเขียว ไมนิยมใชสารเคมีกําจัดวัชพืชใดๆ เลย จะจัดการลักษณะทางพฤกษศาสตร2 คร้ัง ตนเบญจมาศก็โตชิดกัน วัชพืชไมสามารถขึ้นไดอีกตอไป

ภาพที่ 18 การถอนหญาในแปลงเบญจมาศ โดยใชมือ

Page 35: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

29

4.6 การริดใบลาง เร่ิมริดใบลางของตนเบญจมาศทิ้งดวยมือ เมื่อเบญจมาศมีความสูงได 30-35 ซม. โดยริดทิ้ง

5-6 ใบหรือริดออกสูงจากพื้นดิน 1 คืบ (ภาพที่ 19) จะทําใหโคนตนโปรงโลง ระบายความชื้นไดดี จะไมทําใหเกิดโรคงาย หลังจากริดใบแลวฉีดพนปุยสูตร 13-0-46 ทันทีที่ใบ ในทางปฏิบัติระยะที่เหมาะสมในการริดใบจะเปนระยะหลังปดไฟแลว หรือ 30 วันหลังปลูก หรืออาจปฏิบัติในสัปดาหที่ 6-7 พรอมแตงดอกก็ได

ภาพที่ 19 การริดใบลาง สูงประมาณ 20 เซนติเมตร จากพื้นดิน ประมาณ 42 วันหลังปลูก

4.7 การแตงฟอรมดอก

4.7.1 ชนิดดอกเดี่ยว ตองการดอกที่ปลายชอเปนดอกใหญเพียงดอกเดียว จึงจําเปนตองปลิดดอกขางออกดวยมือ เหลือไวแตดอกที่ปลายชอ ทําการปลิดดอกขางออกใหหมด เมื่อเห็นเม็ดดอกชดัเจน (ขนาดเทาหัวไมขีด) ตองทําการปลิดดอกขาง 2 คร้ัง จึงจะหมด โดยการปลิดดอกขางครั้งที่ 2 หางจากคร้ังแรก 2 สัปดาห ในขณะที่แตงดอกจะปลิดแขนงขางออกดวย (ภาพที่ 20)

ภาพที่ 20 การปลิดดอกขางออกของดอกเบญจมาศชนิดดอกเดี่ยว (single type) ในระยะ a : กอนปลิด, b : ปลิดดอกขางแลว, c : ระยะดอกบาน a b c

Page 36: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

30

4.7.2 ชนิดดอกชอ เบญจมาศชนิดดอกชอ จะมีดอกยอยเล็กๆ ที่ปลายชอมากมาย แตตองการใหมีดอกขนาดเล็ก จํานวน 5-12 ดอกเทานั้น แลวแตสายพันธุ อยูในตําแหนงที่สวยงามไดจังหวะ เมื่อตุมดอกปลายชอมีขนาดเทาหัวไมขีดไฟ ใชมือจะปลิดดอกยอดและดอกที่ไมตองการ ในเวลาเดียวกันจะริดแขนงขางออกดวย ซ่ึงจะเปนระยะเวลาประมาณ 15 วันหลังหยุดไฟ (ภาพที่ 21)

ภาพที่ 21 ภาพการปลิดแตงดอกชอใหเหลือ 5-12 ดอกตอชอในเบญจมาศชนิดดอกชอ (spray type) a และ b : ระยะหลังแตงดอกแลวกอนดอกบาน c : ระยะดอกชอที่บานแลว

4.8 การเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวจะตองตัดทั้งชอ โดยใชกรรไกรตัดกิ่งไม ตัดที่โคนตนใหไดกานดอกยาวที่สุด (80- 100 ซม.) และตัดในชวงตอนเย็น เพื่อไมใหเบญจมาศเหี่ยวงาย (ภาพที่ 22) เบญจมาศแบบดอกเดี่ยวจะเก็บเกี่ยวเมื่อดอกบานใกลจะเต็มที่ คือ บาน 70-80 % ซ่ึงจะสังเกตไดวาเกสรตัวผูและกลีบดอกช้ันในจะบานเต็มที่ สําหรับเบญจมาศแบบดอกชอจะเก็บเกี่ยวไดเมื่อจํานวนดอกในชอบาน 70 % (ภาพที่ 23) เมื่อตัดดอกแลว แตงดอกที่เกงกางไมไดตําแหนงออก ริดใบสวนลางออกบาง และทําการหอชอดอกดวยกระดาษ หอละ 1 กก. ทําชอดอก ตัดปลายกานดอกใหเทากัน โดยใหกานยาว 70-75 ซม. แลวนําชอดอกปกลงในถังน้ําทันที เพื่อปองกันอากาศอุดตันทอลําเลียงน้ํา ซ่ึงจะทําใหดอกเบญจมาศเหี่ยวไดงาย

a b c

Page 37: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

31

ภาพที่ 22 การใชกรรไกรตัดกิ่งไมตัดโคนตนเบญจมาศ เพื่อเก็บเกีย่วในตอนเยน็

ภาพที่ 23 ดอกเบญจมาศในระยะเก็บเกี่ยว a : ระยะเกบ็เกี่ยวเบญจมาศดอกเดีย่วทีบ่าน 70-80%

b : ระยะเกบ็เกี่ยวเบญจมาศดอกชอที่ดอก 70% ในชอบาน

4.9 การตลาด 4.9.1 เกรดดอกและราคาขาย เกรด A - มีความยาวของลําตน 70 ซม. หนาฟอรมดอกเสมอ (รูปทรงดอกสวยตามสายพันธุ) ในชอดอกมีประมาณ 12-15 ดอก

เกรด B - มีความยาวของลําตนประมาณ 50-60 ซม. หนาฟอรมดอกอาจเสมอหรือไมเสมอ ก็ได

เกรด C - มีความยาวของลําตนต่ํากวา 50 ซม. ซ่ึงเกรด B และ C ถือวาเปนเบญจมาศตกเกรด นั่นเอง

a b

Page 38: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

32

4.9.2 ราคาขายสงหนาฟารม

นอกฤดู คือ 10 มกราคม ถึง 10 สิงหาคม เกรด A เฉลี่ยกิโลกรัมละ 60 บาท

เกรด B เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50 บาท เกรด C เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40 บาท

ในฤดู คือ 11 สิงหาคม ถึง 9 มกราคม เกรด A เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40 บาท เกรด B เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30 บาท เกรด C เฉลี่ยกิโลกรัมละ 20-25 บาท

ดอกเดี่ยวจะขายราคาประมาณ 4-6 บาท/ดอก การจําหนายปลีกจะเพิ่มราคาอีกกิโลกรัมละ 15-20 บาท

4.9.3 การจัดจําหนาย ทุกเชาสมาชิกจะนําดอกไมที่หอแลวไปสงใหที่ทําการกลุม เพื่อรวมกันขายเพียงที่เดียว ในราคาเดียวกัน โดยทางกลุมจะคิดคาการตลาดกิโลกรัมละ 5 บาท ทั้งนี้จะมีลูกคามารับถึงที่ทุกวัน

4.9.4 การบรรจุภัณฑและการขนสง เนื่องจากแมคาจะมารับซื้อถึงที่ ดังนั้นการบรรจุภัณฑจึงเปนแบบงายๆ คือ 1. หอกระดาษหนังสือพิมพ กรณีนี้จะสงใหตลาดที่อยูใกลๆ (ภาพที่ 24)

2. หอกระดาษขาว(คลายกระดาษหอกระหรี่ปป) เพื่อขนสงขนาดไกล ดอกจะไดไมรวง

กรณีดอกเดี่ยวจะมีการหอรอบดอกดวยกระดาษหอดอกสีขาวกันการเสียหาย แมคาจะนําไปขายตอที่ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดตามจังหวัดและอําเภอใกลเคียง

ภาพที่ 24 หอเบญจมาศขนาดหอละ 1 กิโลกรัม พรอมจําหนาย

Page 39: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

33

4.10 ขอเสนอแนะดานเทคโนโลยีการผลิตเบญจมาศ

โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไมดอก ภายใตการสนับสนุนทุนวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา โดยผูชวยศาสตราจารย ดร.เรณู ขําเลิศ และดร.อัศจรรย สุขธํารงค สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ในป พ.ศ. 2547-2548 (เรณู และอัศจรรย, 2548)ไดศึกษาปญหาการผลิตเบญจมาศของเกษตรกร ในอําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา ไดรายงานปญหาที่พบและขอเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเบญจมาศไวดังนี้

4.10.1 ปญหาที่พบ (1) ตนกลาเบญจมาศไมแข็งแรง ทําใหคุณภาพของดอกลดลง (2) การใหปุยเบญจมาศไมเหมาะสมกอนการเก็บเกี่ยว (3) ปญหาคอดอกยาวเมื่อปลูกเบญจมาศในฤดูรอน (4) ปญหาวัชพืชในแปลงปลูกเบญจมาศ

4.10.2 การดูแลจัดการแปลงปกชํา ตนกลาจากแปลงปกชํามีความสําคัญมาก เพราะถาไดตนกลาไมดี แมมีการจัดการดีเพียงใดก็ไมสามารถผลิตเบญจมาศที่มีคุณภาพดีได ตนกลาในแปลงปกชําคอนขางออนแอ และติดโรคงาย ถาการจัดการไมดีตนกลาที่ไดจะไมสมบูรณแข็งแรง และอาจกระจายโรคไปยังแปลงปลูกอื่น ตนกลาที่แข็งแรงจะตองมีรากอวบ ออกรอบโคนตนอยางสม่ําเสมอ ยาวประมาณ 2 ซม. ทางโครงการนี้ไดนําผลการทดลองการใชฮอรโมนน้ําเพื่อการออกรากของตนกลาปกชําใหเกษตรกรใช โดยใช NAA 2,500 ppm แทนฮอรโมในทองตลาด ซ่ึงปรากฏวาสามารถลดคาใชจายได

4.10.3 การใหปุยเพื่อเพิ่มคุณภาพกอนเก็บเกี่ยว การใหปุยเบญจมาศไมเหมาะสมกอนเก็บเกี่ยว ทําใหดอกเบญจมาศดอยคุณภาพ

และมีอายุการปกแจกันสั้น การใหปุยเบญจมาศที่เหมาะสม ในระยะการพัฒนาดานลําตนและใบ ควรใหปุยไนโตรเจนเปนหลักในระยะสรางตาดอกควรเนนการใหปุยฟอสฟอรัส และระยะการพัฒนาดอกจะใสปุย โพแทสเซียมเปนสวนใหญ เบญจมาศที่ใหปุยไนโตรเจนอยางตอเนื่องตลอดการปลูกเลี้ยงจะมีคุณภาพต่ํา ดอก กานและใบ ไมแข็งแรง อายุการปกแจกันสั้น ดังนั้นควรมีการจัดการปุยอยางถูกวิธี เพื่อใหเบญจมาศที่ผลิตไดมีคุณภาพเปนที่ยอมรับของตลาด การฉีดพนปุย 0-0-60 ที่ความเขมขนตั้งแต 1%-2% กอนเก็บเกี่ยว 1 คร้ัง (10 วันกอนตัด) จะชวยยืดอายุ การปกแจกัน กลีบดอก ใบ และกานดอกแข็งแรงขึ้น

Page 40: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

34

4.10.4 การลดปญหาคอดอกยาว ปญหาคอดอกยาวพบในเบญจมาศประเภทดอกชอ เมื่อปลูกในฤดูรอน ทําใหเสียรูปทรงของชอดอก ไมเปนที่ตองการของตลาด ซ่ึงปกติชอดอกเบญจมาศมีความยาวคอดอก 6 – 8 ซม. แตในฤดูรอนมีความยาวคอดอกมากกวา 10 ซม. พบวาการใชฮอรโมนแพคโคลบิวทราโซล ฉีดพนยอดเบญจมาศ ซ่ึงมีปญหาคอดอกยาวในชวงฤดูรอน โดยใชที่ความเขมขน 1 % ฉีดพนเมื่อ 7 – 10 วัน หลังหยุดใหไฟ จะสามารถลดความยาวคอดอกได

4.10.5 การแกปญหาวัชพืชในแปลงปลูกเบญจมาศ ปญหาวัชพืชในเบญจมาศ ทําใหเกษตรกรเสียคาใชจายในการจางแรงงานถอนทําลาย และคาสารจํากัดวัชพืชสูงมาก นอกจากนี้ชนิดของสารกําจัดวัชพืชและอัตราที่ใชยังมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของตนเบญจมาศ ซ่ึงอาจทําใหคุณภาพของดอกลดลงหรืออาจทําใหเบญจมาศตาย การใชหินฝุนและโดโลไมทอัตราสวน 4:1 ปริมาณ 100 กรัมตอตารางเมตรโรยบนแปลงปลูก รวมกับใชสารอาลารคอล (alarchlor) โดยฉีดพนสารทิ้งไว 3 วัน และ 6 วัน กอนปลูก ทําใหปริมาณวัชพืชในแปลงปลูกเบญจมาศลดลงอยางเห็นไดชัดเจน และไมเปนอันตรายตอเบญจมาศ

4.11 ผลผลิตและผลตอบแทนการลงทุน ในแตละโครง (2 แปลง) จะเก็บเกี่ยวเบญจมาศไดเฉลี่ย 150-180 กก. (เฉลี่ย 165 กก.) ซ่ึงเมื่อนําไปจําหนายจะไดราคาเฉลี่ย 50 บาท/กก.(สงที่กลุม) จะมีรายได 8,250 บาท/โครง ซ่ึงกรณีที่ทําเดือนละ 5 โครง ก็จะไดผลผลิต รายไดและกําไร ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ผลผลิต รายไดและผลตอบแทนในการผลิตเบญจมาศของตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

รายการ ตอโครง ตอเดือน (5 โครง) ตอป (60 โครง) ผลผลิต (กก.) 165.00 825.00 9,900.00 รายได (8,250 บาท/โครง) 8,250.00 41,250.00 495,000.00 กําไร(4,519.35 บาท/โครง) 4,519.35 22,596.75 271,161.00 หมายเหตุ : ดอกเบญจมาศ 1 กก. จะมี 12-15 ชอ ตนทุนกิโลกรัมละ 22.61 บาท หรือโครงละ 3,730.65 (22.61 บาท x 165 กก.) กําไร/โครง 8,250 – 3,730.65 = 4,519.35 บาท ที่มา: วภิา จันทรคุม, 2549

Page 41: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

35

4.12 ตนทุนการผลิตเบญจมาศ การปลูกเบญจมาศ สําหรับ 1 ครอบครัว ใชแรงงานในครอบครัว คือ พอ แม และลูก หรือ พอ แม และจางลูกจาง 1 คน จะสามารถปลูกเบญจมาศได 5 โครง/เดือน หรือ 60 โครง/ป โดยอาจใชพื้นที่ 2 ไร หรือนอยกวา แตไมต่ํากวา 1 ไร 1 ไร จะปลูกได 18 โครงพรอมกัน ใน 1 ป จะปลูกเบญจมาศได 3 รุน ในแปลงเดิม โดยไถเตรียมดินในการปลูกรุนแรก อีก 2 รุนหลัง ไมตองไถแตใชโรตาร่ี หรือจอบสับดิน เมื่อครบ 3 รุน จะพักแปลง โดยปลูกพืชอ่ืนที่ไมใชเบญจมาศหรือปุยพืชสด หรือทิ้งวางใหหญาขึ้น ประมาณ 3 เดือน หรือมากกวา เพื่อกําจัดโรคเหี่ยวในดิน อยางไรก็ตามสามารถพักดินไดกอนปลูกเบญจมาศครบ 3 รุนติดตอกัน เชน 1 รุน หรือ 2 รุน หากมีพื้นที่เหลือมาก การคํานวณตนทุนการผลิตตอ 1 โครง แสดงไวในตารางที่ 3 โดยมีตนทุนดังนี้

1. โครงคลุมแปลงและอุปกรณหลอดไฟ 368.63 บาท 2. ยอดพันธุและวัสด ุ 1,292.22 บาท 3. วัสดุปรุงดิน 162.00 บาท 4. ปุยและฮอรโมน 291.50 บาท 5. สาธารณูปโภค (น้ําไฟ) 250.00 บาท 6. คาจาง 807.78 บาท 7. คาเสื่อมเครื่องมือ 58.91 บาท 8. อ่ืนๆ 500.00 บาท รวม 3,731.04 บาท ขอมูลจําเพาะ

- 1 โครง มีตนทุน 3,731.04 บาท - 1 โครง มีผลผลิต (150-200 กิโลกรัม) เฉลี่ย 165.00 กก. - ตนทุนตอกิโลกรัม = = 22.61 บาท - ราคาขายกิโลกรัมละ (เฉลี่ย) 50.00 บาท - รายไดตอโครง = 165 กก. X 50 บาท = 8,250.00 บาท - กําไรตอโครง = 8,250 – 3,731.04 = 4,519.35 บาท - กําไรตอกิโลกรัม = = 27.39 บาท - ผลิตเดือนละ 5 โครง มีกําไรตอเดือน 4,519.35 X 5 โครง = 22,596.75 บาท - ผลิตปละ 60 โครง มีกําไรตอป 4,519.35 X 60 โครง = 271,161.00 บาท - ลงทุนตอป = 3,731.04 X 60 โครง = 223,862.40 บาท - % กาํไร 121.31 % ของเงินลงทุน

3,731.04 165

4,519.35 165

Page 42: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ตนทุน / โครง / รุนปริมาณ หนวย ราคา(บาท) ปริมาณที่ใช หนวย ราคา(บาท)

1.1 เหล็กทอกลม 4 หุน ยาว 6 เมตร 1 เสน 100 14 เสน 116.67 อายุการใชงาน 4 ป ใชได 3 รุน/ป 1 โครงใช 14 เสน เสริมไมไผ 3 ลํา1.2 ไมไผ 1 ลํา 7 3 ลํา 7 อายุการใชงาน 1 ป ใชได 3 รุน/ป ใชเสริมโครงเบญจมาศ1.3 สีทากันสนิม 1 กระปอง 220 18 กระปอง 3.3 1 กระปองทาทอเหล็กไดทั้งหมด 100 เสน อายุการใชงาน 4 ป ใชได 3 รุน/ป1.4 พลาสติกใส 3*100 เมตร 1 มวน 4,000 20 เมตร 66.67 1 มวนยาว 100 เมตร ใชคลุมได 5 โครง อายุการใชงาน 4 ป ใชปละ 3 เดือน1.5 พลาสติกดํา 6*100 เมตร 1 มวน 4,200 33.33 เมตร 29.16 1 มวนยาว 100 เมตร ใชคลุมได 3 โครง อายุการใชงาน 4 ปใชงาน 1 เดือน/โครง1.6 ซาแรนกวาง 3*100 เมตร 1 มวน 1,200 20 เมตร 13.33 1 มวนยาว 100 เมตร อายุการใชงาน 4 ป ใชได 3 รุน/ป1.7 ประกับดําขนาด 4 หุน 1 อัน 5 40 อัน 16.67 อายุการใชงาน 4 ป ใชได 3 รุน/ป1.8 เชือกพาดบนหลังคา - - - - - 5.83 อายุการใชงาน 4 ป ใชได 3 รุน/ป1.9 ชุดหลอดไฟนีออนวอรมไลท ขนาด 40 วัตต

1 ชุด 180 5 ชุด 100 อายุการใชงาน 3 ป ใชได 3 รุน/ป 1 โครงใช 5 ชุด

1.10 สายไฟ 100 เมตร 600 20 เมตร 10 อายุการใชงาน 4 ป ใชได 3 รุน/ป368.63

2.1 เชือกตาขายไนลอน 1 กก. 120 2.5 กก. 25 ใชไดมากกวา 12 รุน2.2 สายยางขนาดใหญ 1 มวน 1,000 100 เมตร 8.33 อายุการใชงาน 4 ป ปละ 3 รุน2.3 ทอ PVC 1 ทอน 80 1.33 ทอน 8.89 ใช 20 ทอน/15 โครง อายุการใชงาน 4 ป ใชได 3 รุน/ป ใชเปนทอน้ําจากปมน้ํายังจุดจายน้ําประจําแปลง

2.4 ยอดพันธุ 1 ตน 0.5 2,500 ตน 1,2501,292.22

36ตารางที่ 3 ตนทุนการผลิตเบญจมาศ ตอ 1 โครง (สมมติฐานการคิด 1. 1 โครงมี 2 แปลงยอย แปลงละ 1*20 เมตร ประมาณ 1,250 ตน/แปลง รวม 2,500 ตน/โครง

2 . ตัวอยางนี้คิดจากการผลิตเดือนละ 5 โครง ใน 1 ป ปลูกรวม 60 โครง พื้นที่ผลิต 2 ไร ใน 1 ป ปลูกในแปลงเดิมได 3 รุน ซึ่งเหมาะสมสําหรับการผลิต 1 ครอบครัว จางแรงงานเสริม 1 คน)

1. โครงคลุมแปลงเบญจมาศและอุปกรณหลอดไฟฟา

รวม

ลําดับที่ ปจจัยการผลิต ปริมาณบรรจุหรือชุด

2. ยอดพันธุและวัสดุการเกษตร

รวม

หมายเหตุ

Page 43: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ตนทุน / โครง / รุนปริมาณ หนวย ราคา(บาท) ปริมาณที่ใช หนวย ราคา(บาท)

3.1 ขี้หมู 1 ถุงปุย 15 4 ถุงปุย 60 รองพื้น 2 ถุงปุย (8 กก.) และหลังหยุดใหไฟ3.2 แกลบ 1 ถุงปุย 6 13 ถุงปุย 78 รองพื้น 10 ถุงปุย คลุมแปลง 3 ถุงปุย รวม 13 ถุงปุย3.3 โคโลไมท 25 กก. 50 8 กก. 16 รองพื้น 8 กก. 3.4 หินปูน 25 กก. 50 2 กก. 8 รองพื้น 1 กก.

162

4.1 ปุยสูตร 15-15-15 50 กก. 700 4 กก. 56 ใชรองพื้น 2 กก. และใสหลังหยุดไฟ 2 กก.4.2 ปุยสูตร 0-46-0 50 กก. 720 2 กก. 28.8 ใสรองพื้น 2 กก. ตอโครง4.3 ปุยสูตร 46-0-0 50 กก. 580 2 กก. 23.2 สัปดาหที่ 1 2 กก.4.4 ปุยสูตร 15-0-0 50 กก. 600 4 กก. 48 ใส 2 ครั้งในระยะเปดไฟครั้งละ 2 กก.4.5 ปูยสูตร 8-24-24 50 กก. 800 6 กก. 96 ใสครั้งละ 2 กก. รวม 3 ครั้ง4.6 ปุยสูตร 13-0-46 50 กก. 750 0.3 กก. 4.5 ฉีด 3 ครั้ง อัตรา 1 กก./น้ํา 20 ลิตร โครงละ 20 ลิตร4.7 ปุยสูตร 0-0-6 1 กก. 50 0.2 กก. 10 ใส 2 ครั้ง ฉีดอัตรา 1 กก./น้ํา 20 ลิตร โครงละ 20 ลิตร4.8 ฮอรโมนบํารุงใบ 1 หลอด 30 0.3 หลอด 9 ฉีด 3 ครั้ง ทุกสัปดาห หลังปลูก 1 หลอด ฉีดได 10 โครง/ครั้ง4.9 ฮอรโมนจิบเบอริลินยืดชอดอก 1 เม็ด 80 0.2 เม็ด 16 1 เม็ด/น้ํา 200 ลิตร ฉีดได 10 โครง ฉีด 2 ครั้ง

291.50

37ตารางที่ 3 ตนทุนการผลิตเบญจมาศ ตอ 1 โครง (ตอ)

ลําดับที่ ปจจัยการผลิต ปริมาณบรรจุหรือชุด หมายเหตุ

4. ปุยและสารเคมีรวม

รวม

3. วัสดุปรุงดิน

Page 44: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ตนทุน / โครง / รุนปริมาณ หนวย ราคา(บาท) ปริมาณที่ใช หนวย ราคา(บาท)

5.1 คาไฟฟา - - - - - 200 1,000 บาท/เดือน ปละ 60 โครง5.2 คาน้ํามัน - - - - - 50

250

6.1 คนงาน 1 คน 130 - - 780 แรงงาน 1 คน เดือนละ 3,900 บาท 1 ป ดูแล 60 แปลง/คน6.2 คาไถเตรียมดิน 1 ไร 250 - - 27.78 1 ไร 250 บาท ไถ 2 ครั้ง 1 ไรปลูกได 18 โครง

807.78

7.1 ไทมเมอร (Timer) 1 ชุด 2,400 * ชุด 8 อายุการใชงาน 5 ป7.2 เครื่องพนยา 1 เครื่อง 9,500 * เครื่อง 39.58 อายุการใชงาน 4 ป7.3 ปมน้ํา 1 เครื่อง 2,800 * เครื่อง 9.33 อายุการใชงาน 5 ป7.4 กรรไกร 1 อัน 120 1 อัน 2 อายุการใชงาน 1 ป

58.91

5003,731.04

หมายเหตุ : 1 โครง เทากับ 165 กก ตนทุนตอโครงจึงเทากับ 3,731.04 บาท/16 22.61 บาท/กก. (ผลผลิตสูงสุด 200 กก./โครง ต่ําสุด 150 กก./โครง เฉลี่ย 165 กก./โครง) ราคาขายปลีกใหกลุมเฉลี่ย กิโลกรัมละ 50 บาทกําไร กิโลกรัมละ 27.39 บาท หรือ 4,519.35 บาท/โครงใน 1 ป ผลิต 60 โครง มีกําไรรวม บาท

ที่มา : วิภา จันทรคุม, 2549 38ตารางที่ 3 ตนทุนการผลิตเบญจมาศ ตอ 1 โครง (ตอ)

ลําดับที่ ปจจัยการผลิต ปริมาณบรรจุหรือชุด หมายเหตุ

รวมทั้งสิ้น

รวม

รวม

7. ครุภัณฑเครื่องมือ

8. อื่น ๆ เชน สารฆาแมลงและโรครวม

271,161.00

5. สาธารณูปโภค

6. คาจางรวม

Page 45: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

39

บทที่ 4 โรคและแมลงที่สําคัญ

ชรัมพร และคณะ (2548) ไดกลาวถึงโรคและแมลงของเบญจมาศดังนี ้

1.โรคเหี่ยว (fusarium wilt) เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชือ้รา Fusarium sp. ลักษณะอาการ โคนเนาช้ําเปนสีน้ําตาลดาํ (ภาพที่ 25)

ภาพที่ 25 โรคเหี่ยว fusarium wilt ของเบญจมาศ

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

การปองกันและกําจัด ปลูกพืชหมุนเวียนอยาใหน้ําขังบริเวณแปลงมาก ใชสารเคมี เชน ควินโทซิน+อทริไดอะโซน

(เทอราคลอ ซุปเปอรเอ็กซ)

2. โรคราสนิมขาว (White Rust) เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Puccinia horiana ลักษณะการทําลาย เร่ิมแรกเกดิจุดสีเหลืองขนาดเล็ก บริเวณสวนบนของใบ ซ่ึงจะคอย ๆ ขยายใหญขึ้น ถึง

เสนผาศูนยกลางประมาณ 5 มม. สวนใตใบ ณ ตําแหนงเดียวกับเริ่มแรกจะเห็นจุดสีขาวนวล ตอมาจะขยายใหญขึ้น เปนจุดนูนกลมออกสีชมพู และเปลี่ยนเปนสีขาว (ภาพที่ 26) เมื่อเจรญิเต็มที่และระบาดมากจะทําใหใบมีสีเหลือง และลามแหงไปทั่วทั้งใบ ในดอกจะมกีารไหมแหงจากปลายกลีบดอกเขามา

Page 46: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

40

ภาพที่ 26 ใบเบญจมาศที่เปนโรคราสนิมขาว

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

การแพรกระจายและฤดูการระบาด เปนโรคที่ระบาดรุนแรงในภาคเหนือ ระบาดรุนแรงชวงฤดูหนาวขณะมีอากาศชื้น พบวาเมื่อ

อากาศรอนและแหงแลงความรุนแรงจะลดลง สปอรของเชื้อราจะงอกที่อุณหภูมิ ระหวาง 4-24 องศาเซลเซียส และผิวใบจําเปนตองเปยกน้ํา สปอรจึงจะงอกไดในสภาพที่เหมาะสม

เชื้อราสนิมขาวมักแพรระบาดจากตนพันธุที่เปนโรค หรือสวนของพืชที่มีเชื้อรานี้อยู สปอรราสนิมขาวนี้ สามารถมีชีวิตอยูบนใบที่รวงจากตนได เปนเวลานานถึง 8 สัปดาห

การปองกันและกําจัด - การปองกันควรใหตนและใบเบญจมาศแหงที่สุดเทาทีจ่ะทําได ใหหลีกเลี่ยงการรดน้ําถูกใบ โดยเฉพาะในชวงเยน็ เนื่องจากใบที่เปยกเปนสภาพที่เหมาะสมกับการเกิดโรค และปองกันน้ํากระเดน็จากใบหนึ่งไปสูอีกใบหนึ่ง - เพื่อหลีกเลี่ยงไมใหน้ําคางเกาะทีใ่บ หรือน้ําจากหลังคาหยดลงใบ จึงควรใหมีการระบายอากาศในแปลงปลูกในชวงเย็น - ปลูกเบญจมาศใหมีระยะหางพอควรเพือ่ใหมีการระบายอากาศที่ด ี - หากการระบาดอยูในระยะแรก การเดด็ใบที่เปนโรคออกจะชวยควบคุมโรคได - ควรขุดหลุมลึกเพื่อฝงซากพืชที่มีอาการของโรค หรือเผาทําลายเสีย

การใชสารเคม ีเนื่องจากการกําจัดทําไดลําบาก จึงควรปองกันโดยฉีดพนดวยสารเคมี ประเภทสัมผัส เชน คลอ

โรธาโลนิล ผสมกับแมนโคเซบ ฉีดพนทุก 7 วันหากเกิดการระบาดมาก ควรใชสารเคมีประเภทดูดซึม จะไดผลดีกวา แตเชื้อรามักจะตานทานตอสารเคมีประเภทนี้ไดงาย โดยฉีดพนทุก 5-7 วัน เพื่อปองกันการดื้อยา การฉีดพนสารเคมีทั้งเพื่อปองกัน หรือกําจัดโรคราสนิมขาว ควรใชสารเคมีซํ้ากันไมเกิน 2-3 คร้ัง จากนั้นจึงควรเปลี่ยนกลุมสารเคมี (ตารางที่ 4)

Page 47: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

41

ตารางที่ 4 สารเคมีที่ใชในการปองกันกําจดัราสนิมของเบญจมาศ

ชื่อสามัญ ชื่อการคา (แหลงผลิต) ประเภทสารเคมี การออกฤทธิ์ 1. คลอโรธาโลนิล ดาโคนิล ทาลิมีด

(Phthalimide) -

2. แมนโคเซบ ไดเทนเอ็ม 45,แมนโคเซ็บพาเทนเอ็ม

ไดไธโอคารบารเมท (Dithiocarbamate)

สัมผัส -

3. ไตรโฟรีน ซาพรอล (เซลล) ไพเพอราซีน (Piperazine)

-

4. ออกซีคารบอกซิน พลานแวกซ (ยิบอินซอย) ออกซาไธอิน (Oxathiin)

-

5. โดดีมอรฟ มิลแบน หรือเมลทาทอกซ (บีเอเอสเอฟ)

มอรโฟลีน (Morpholines)

-

6. ไซโปรโคนาโซล อัลโต - ดูดซึม 7. ไตรอะไดมฟีอน ไบลีตัน (ไบเออร) - - 8. บิเทอรทาโนล ไบคอร (ไบเออร) ไทรอะโซล

(Triazole) -

9. โปรพิโคนาโซล ทิลท (ซีบา ไกกี้) - - 10. เฮกซาโศนาโซล แอนวิล (ไอซีไอ) - - 11. ไซโครเฮ็กซิไมด แบคซิน, แอคติดา, ทีจีเอฟ,

แอนติโกร (แอกโกร), ฟูซานอล (ไซมาเคมี)

ยาปฏิชีวนะ (Antibiotic)

-

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 48: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

42

3. โรคใบจุดดํา เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Alternaria sp. ลักษณะการทําลาย ใบเปนจุดสีน้ําตาลไหม (ภาพที่ 27)

ภาพที่ 27 อาการโรคใบจุดดําบนใบเบญจมาศ

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

การแพรกระจายและฤดูการระบาด ในพื้นที่ที่มีความชื้นสูง ฝนตกชุก เชื้อราจะสามารถแพรขยายพันธุไดอยางรวดเร็ว การควบคุมโรค ควรปลูกเบญจมาศใหอยูในระยะที่เหมาะสม ไมชิดจนเกินไป เพื่อที่สามารถระบายความชื้นได

ดีควรหลีกเลี่ยงไมใหใบเปยกชื้น เพราะจะเปนสาเหตุใหเชื้อราขยายพันธุไดดี การปองกันและกําจัด ควรใชสารเคมีแมนโคเซ็บ ผสมกับคารเบนดาซิม หรือโบรคลรราชา หรืออาจใชสารฟอสเฟต

พนทุก 7-10 วัน

Page 49: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

43

4. โรคใบจุดจากเชื้อเซพตอเรีย (septoria leaf spot) เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อรา ลักษณะอาการ

ใบจะเปนจดุสีน้ําตาลไหม ใบไหมแหงและรวง มักเปนใบลางขึ้นมาจนถึงยอด (ภาพที่ 28)

ภาพที่ 28 อาการโรคใบจุดจากเชื้อเซพตอเรีย (septoria leaf spot) ของเบญจมาศ

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 50: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

44

5. โรคท่ีเกิดจากเชื้อไวรอยด/ไวรัส

5.1 โรคเตี้ยแคระ (stunt) ลักษณะการระบาด จะเห็นตนที่เตี้ยแคระแกร็น มีความสูงต่ําของตนไมสม่ําเสมอกัน (ภาพที่ 29)

ภาพที่ 29 โรคเตี้ยแคระของเบญจมาศ

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

Page 51: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

45

5.2 โรคใบดาง (mosaic)

ลักษณะอาการ ใบมีสีเขียวออนสลับสีเขียวเขมไมสม่ําเสมอ ใบหดผิดปกติ ตนเตี้ย ดอกผิดปกติ

(ภาพที่ 30)

ภาพที่ 30 อาการโรคใบดาง (mosaic) ของเบญจมาศ

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

การระบาดของโรคทั้ง 2 ชนิด ติดมากับยอดพันธุที่ไดจากแมพันธุที่เปนโรค การใชเครื่องมือตัดแตง และมีเพล้ียออนเปน

พาหะ การควบคุมโรค หากไมแนใจวาเปนโรคควรตัดตนนี้เปนตนสุดทาย เปนการปองกันการระบาด การปองกันกําจัด - ควรใชยอดพันธุที่มีมาจากแหลงที่มั่นใจวาปลอดโรค เชนยอดพันธุที่ไดมาจากการ

เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - ควรทําความสะอาดอุปกรณการตัดใหสะอาด เชน เช็ดดวยแอลกอฮอลกอนตัดดอกหรือ

ยอด เปนตน - ถอนทําลายตนที่แสดงอาการเปนโรค

Page 52: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

46

- ควรใชโรงเรือนเพาะชําที่กันแมลงได 6. เพลี้ยไฟ (thrips)

ชื่อวิทยาศาสตร Microcephalothrips abdominalis Thrips florum Schmutz และT. apicatus ลักษณะการทําลาย จะทําลายดอกทันที่ที่ออกดอกเปนตุมเทาหัวไมขีด ดอกจะแคระแกรนไมคล่ีบานตามปกติ

หรือทําใหกลีบดอกมีสีน้ําตาลไหมเหี่ยวแหง เนื่องจากเพลี้ยไฟมีนิสัยชอบทําลายสวนออน สวนยอดของพืช และมีขนาดเล็ก จึงมักซุกซอนหลบหลีกการสังเกตและการใชสารเคมีฉีดพนทําไดไมทั่วถึง การทําลายของเพลี้ยไฟนั้น โดยใชปากเขี่ยใหพืชชํ้า แลวดูดกินน้ําเลี้ยงของพืชที่ ตาดอก และยอดออนทําใหพืชไมออกดอก (ภาพที่ 31)

ภาพที่ 31 อาการของดอกเบญจมาศที่ถูกเพล้ียไฟทําลาย

ที่มา : ชรัมพร และคณะ, 2548

การแพรกระจายและฤดูการระบาด เพล้ียไฟจะระบาดมากในชวงอากาศรอน แหงแลง ในชวงเดือนมกราคม-เมษายน

พืชอาหาร นอกจากทําลายเบญจมาศแลว ยังพบการทําลายในพืชผักเศรษฐกิจ ไดแก มะเขือเปราะ

มะเขือเทศ แตงโม แตงกวา ฝกเขียว บวบ พริก ถ่ัวฝกยาว หนอไมฝร่ัง กระเจี๊ยบเขียว ในไมผล ไดแก พุทรา มะมวง ในพืชไร ไดแก ฝาย ยาสูบ งา ทานตะวัน ถ่ัวเหลือง ถ่ัวลิสง ขาวโพด และในไมดอก เชน กลวยไม กุหลาบ เบญจมาศ และดาวเรือง เปนตน

การปองกันและกําจัด - การใชกับดักกาวเหนียว ใชในแงการพยากรณการแพรระบาดเทานั้น ยังไมมีการทดลองนํามาใช เพื่อการปองกันกําจัดเพลี้ยไฟ เพื่อลดปริมาณการระบาด

Page 53: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

47

- ใชสารสะเดาฉีดพน การใชสารเคมี มีสารเคมีหลายชนิดที่ใชแนะนําในการปองกันกําจัดเพลี้ยไฟ เชน คารบาริล

กูซาไธออน-เอ มาลาไธออน เมทธิโอคาบ โปรโชโอฟอส ฟอรมินาเนต อะมาเมคติน เบนฟูราคารบ และนิโบรนิล อิมิตาโครฟด ซ่ึงการใชสารเคมีเหลานี้ ควรคํานึงถึงพืชที่จะพน สภาพและทองที่ การระบาด ตลอดจนความรุนแรงของการระบาดดวย ถาอยูในชวงที่มีการระบาดรุนแรงควรพนสารเคมีคอนขางถ่ีคือประมาณ 3-5 วัน โดยพนติดตอกัน 2-3 คร้ัง จนประชากรเพลี้ยไฟลดลง แลวจึงเวนระยะหางออกไป สําหรับพืชที่ดูแลเปนพิเศษ ควรใสปุยใบพนใหพืชฟนตัวเร็วข้ึน

Page 54: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

48

การจัดการโรคของเบญจมาศ เบญจมาศ เปนพืชที่มีโรครบกวนหลายชนดิ จากที่เคยมีผูรายงานไว มีโรคเบญจมาศที่เกิดจากเชื้อโรคตาง ๆ ดังนี้

- เชื้อรา 22 ชนิด - แบคทีเรีย 4 ชนิด - ไวรอยด/ไวรัส 7 ชนิด - ไสเดือนฝอย 3 ชนิด

อาจารย ดร.โสภณ วงศแกว สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไดศึกษาโรคเบญจมาศ ในอําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา ในป พ.ศ. 2547-2548 (โสภณ, 2548) ไดใหขอมูลและขอเสนอแนะเพื่อการจัดการโรคเบญจมาศ สําหรับ อําเภอวังน้ําเขียวไวดังนี้ โรคเบญจมาศที่วังน้ําเขียวที่สําคัญไดแก โรคจากเชื้อรา พบโรคดังตอไปนี้

- เหี่ยวจากเชื้อฟวซาเรียม (fusarium wilt) - ใบจุดจากเชื้อเซพตอเรีย (septoria leaf spot) - ราสนิม (brown rust) - ราสนิมขาว (white rust)

โรคจากเชื้อไวรอยด/ไวรัส พบโรคดังตอไปนี้ - โรคเตี้ยแคระ (stunt) - โรคใบดาง (mosaic)

โรคจากไสเดือนฝอย พบโรคดังตอไปนี้ - โรครากปม (root knot nematode)

Page 55: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

49

1. โรคจากเชื้อรา

1.1 โรคเหี่ยวจากเชื้อฟวซาเรียม (fusarium wilt) ตนเบญจมาศมีอาการ ตนเหี่ยว โคนตนมีลักษณะเนาช้ําเปนสีน้ําตาลดํา (ภาพที่ 32)

ภาพที่ 32 อาการโรคเหี่ยวจากเชื้อ ฟวซาเรียม ของเบญจมาศ

ที่มา : โสภณ วงศแกว, 2548

1.2 โรคใบจุดจากเชื้อเซพตอเรีย (septoria leaf spot)

อาการของโรค ใบจะเปนจดุสีน้ําตาลไหมแผลคอนขางกลม เมือ่เปนมาก ๆ แผลจะขยายใหญติดกันจนทําใหใบไหมแหงและรวง มักเปนใบลางขึ้นมาจนถึงยอด ระบาดมากในฤดูฝน (ภาพที่ 33)

ภาพที่ 33 อาการโรคใบจุดจากเชื้อเซพตอเรีย ของเบญจมาศ

ที่มา : โสภณ วงศแกว, 2548

Page 56: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

50

1.3 โรคราสนิม (brown rust) มีอาการ ใบ กลีบดอก และกานดอก เปนแผลจุดมีสปอรของเชื้อราสีเหลืองคลายสนิมคลุมบริเวณแผลทําใหใบแหงเปนสีน้ําตาล (ภาพที่ 34)

ภาพที่ 34 อาการโรคราสนิมบนใบเบญจมาศ

ที่มา : โสภณ วงศแกว, 2548

1.4 โรคราสนิมขาว (white rust) อาการเริ่มแรกเกิดจุดสีเหลืองออนขนาดเล็ก ตอมาจะขยายใหญขึ้นเปนจุดนนูกลมออกสีชมพู และเปลีย่นเปนสีขาว เมื่อเจริญเต็มที่จะทําใหใบมีสีเหลือง และลามแหงไปทัว่ทั้งใบ ในดอกจะมีการไหมแหงจากปลายกลีบดอก (ภาพที่ 35)

ภาพที่ 35 อาการโรคราสนิมขาวบนใบเบญจมาศ

ที่มา : โสภณ วงศแกว, 2548

Page 57: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

51

2. โรคจากเชื้อไวรอยด/ไวรัส 2.1โรคเตี้ยแคระ (stunt)

ภาพที่ 36 อาการโรคเตี้ยแคระของเบญจมาศ

ที่มา: โสภณ วงศแกว, 2548

2.2 โรคใบดาง (mosaic) อาการทําใหใบมีสีเขยีวออนสลับสีเขียวเขมไมสม่าํเสมอ ใบหดผิดปกติ ตนเตีย้ ดอกผิดปกตแิละไมไดคุณภาพ (ภาพที่ 37)

ภาพที่ 37 อาการโรคใบดางของเบญจมาศ

ที่มา: โสภณ วงศแกว, 2548

Page 58: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

52

3. โรคจากใสเดือนฝอย 3.1โรครากปม (root knot nematode)

อาการ ตนแคระแกร็น ใบยอดและใบรอง ๆ ลงมาเหลืองคลายขาดธาตุอาหาร เมื่อถอนตนขึ้นมาจะเห็นเปนปุมปมบนราก แนวทางแกปญหาโรคเบญจมาศ

1. โรคเหี่ยวจากเชื้อฟวซาเรียม แหลงที่มาของเชื้อฟวซาเรียม

1. ติดมากับพันธุ (พันธุอมโรค) 2. ตกคางอยูในดิน (ดินอมโรค)

การแกปญหาเชื้อที่ติดมากับพันธุ : มาตรการปองกันปญหา 1. แมพันธุที่ใชขยายจะตองผลิตในสภาพปลอดโรค 2. แมพันธุควรไดรับการตรวจและรับรองสภาพปลอดโรคกอนเริ่มขยาย 3. ยอดพันธุจําหนายควรมีการรับรองสภาพปลอดโรค 4. พื้นที่เพาะชํายอดจะตองอยูในสภาพปลอดโรค ถูกสุขลักษณะ และมีการเปลี่ยนวัสดุปลูกหรือ

ฆาเชื้อในวัสดุปลูกเปนครั้งคราว 5. เลือกใชเฉพาะยอดพันธุที่สมบูรณไมมีอาการผิดปกติ 6. แชยอดพันธุที่ชําแลวดวยคารเบนดาซิมหรือเบโนมิล นาน 1-2 ช่ัวโมง กอนยายปลูก 7. ทําลายตนที่แสดงอาการโดยถอนออกจากแปลง เพื่อลดแหลงระบาดของโรค

การแกปญหาเชื้อที่ตกคางอยูในดิน : 1. สลับการใชพื้นที่โดยปลูกพืชชนิดอื่นบางเพื่อตัดวงจรของโรคเบญจมาศ 2. ถอนตนที่เปนโรคออกทําลายทิ้งนอกบริเวณปลูกทันทีที่พบเห็น 3. ลดปริมาณหรือฆาเชื้อที่ตกคางอยูในดินโดยใชฟอรมาลินหรือสารคารเบนดาซิมหรือ

เบโนมิลหรือใสปุยอินทรียชีวภาพ หรือใชทั้งสามวิธีแบบผสมผสาน การใชฟอรมาลินฆาเชื้อในดนิ

1. เตรียมดินใหอยูในสภาพพรอมปลกู 2. ลดน้ําพอชุมทิ้งไว 1 คืน 3. เตรียมผาพลาสติกขนาดความกวางเทาแปลงปลูกความยาวชวงละประมาณ 10 เมตร 4. เตรียมฟอรมาลิน 4% โดยผสมฟอรมาลิน 800 ซีซีกับน้ํา 20 ลิตร ราดดวยบัวใหทั่วพื้นที่ 10

ตารางเมตร(แปลงยาว 10 เมตร)

Page 59: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

53

5. คลุมผาพลาสติกทันทีที่ราดเสร็จใชดินกลบบริเวณชายผาพลาสติก เพื่อกันไมใหฟอรมัลดีไฮด ระเหย

6. ทําเชนเดียวกันกับพื้นที่สวนที่เหลือจนหมดพื้นที่ 7. คลุมพลาสติกไว 3 วัน จึงเอาพลาสติกออกปลอยใหฟอรมัลดีไฮดระเหยออกจากดินอยางนอย

2 วัน จึงจะปลูกเบญจมาศได คาใชจายในการใชฟอรมาลิน

1. ผาพลาสติก (จะตองไมมีรอยร่ัว) 2. ฟอรมาลิน(40% ฟอรมัลดีไฮด) เกรดธรรมดา 20 ลิตร ราคา 680 บาท คาฟอรมาลินตอ 10 ตา

รางเมตร (แถวยาว 10 เมตร) เทากับ 27 บาท

การแกปญหาเชื้อฟวซาเรียมที่ตกคางอยูในดินโดยใชปุยอินทรียชีวภาพ

- ลักษณะของปุยอินทรียชีวภาพที่ด ี1. ใหธาตุอาหารที่จําเปนแกพืชและชวยปรับโครงสรางของดิน 2. มีจุลินทรียชวยปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน 3. มจีุลินทรียที่ชวยคุมครองรากและโคนตนจากการเขาทําลายของเชื้อโรคในดิน

- การใชปุยอินทรียชีวภาพ 1. เตรียมดินใหอยูในสภาพพรอมปลูก 2. ใสปุยอินทรียชีวภาพสูตร มทส อัตรา 25 กก. ตอพื้นที่ 10 ตารางเมตร(ปุยจะให N:P:K

เทากับ 3:1.5:1.5 และมีจลิุนทรียที่มีประโยชนคือ อะโซโตแบคเตอร, อะโซสไปริลล่ัม และไตรโคเดอมา

3. สามารถปลูกเบญจมาศไดทนัทีที่ใสปุย 4. คาใชจาย 125 บาทตอ 10 ตารางเมตร

การแกปญหาทั้ง 3 วิธีมีขอดีขอเสียแตกตางกัน ดังนี ้

ขอดีของการใชฟอรมาลิน - ฆาเชื้อในดนิไดเกือบทุกชนดิ - ราคาถูก ใหผลคุมครองนาน ขอเสียของการใชฟอรมาลิน - หากใชตดิตอกันนานๆ จะมผีลกระทบตอจุลินทรียที่มีประโยชนในดนิ - ยุงยากกวาวิธีอ่ืนๆ และตองรอเวลาอยางนอย 5 วัน( อบ 3 วัน พกั 2 วัน จึงปลูก พืชได)

ขอดีของการใชสารคารเบนดาซิม

Page 60: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

54

- ใชงายไมตองรอเวลา - ราคาถูกมาก

ขอเสียของการใชสารคารเบนดาซิม - ควบคุมไดเฉพาะบางโรค ไมสามารถแกปญหาโรคราเม็ดผักกาด, ราสนิมขาว,แบคทีเรีย,

รากเนาจากราชั้นต่ํา และไสเดือยฝอยได - ใชติดตอกนันานๆ จะทําใหเชื้อดื้อยา - อาจใชไมไดผลหากมีเชื้อตกคางจํานวนมาก (พืชเปนโรครุนแรงในฤดกูอน)

ขอดีของการใชปุยอินทรียชีวภาพ - ใชงายไมตองรอเวลา - ใชทดแทนปุยเคมีไดบางสวนและชวยปรบัปรุงสภาพดนิ - ไมมีผลเสียตอสภาพแวดลอม

ขอเสียของการใชปุยอินทรียชีวภาพ - มาตรฐานของปุยอาจไมคงที ่ตรวจสอบคุณภาพไดยาก - ควบคุมไดเฉพาะบางโรค - คาใชจายคอนขางสูง เมื่อเทียบกับ 2 วิธีแรก - อาจใชไมไดผลหากมีเชื้อตกคางจํานวนมาก

การแกปญหา

จากขอดขีอเสียของทั้ง 3 วิธี จึงควรใชวิธีการแบบผสมผสาน คือ ปแรก ใชฟอรมาลินในชวงเตรยีมปลูก หลังจากพชือายุ 1-1.5 เดือน ใหปุยอินทรีย

ชีวภาพ มทส 1 คร้ัง ปที่สอง ใชปุย อินทรยีชีวภาพ มทส 1 คร้ัง ปถัดไปใสปุยอินทรยีธรรมดาที่หาไดในพื้นที่

หากมีปญหาใชคารเบนดาซิมราดแปลง หากพบการสะสมของโรคใหกลับไปเริ่มตนที่ฟอรมาลิน

2. โรคท่ีเกิดจากเชื้อไวรัสและไวรอยด แหลงของเชื้อ

1. ติดมากับทอนพันธุ 2. เพล้ียออน (เฉพาะไวรัส) 3. ติดมากับเครื่องมือตัดแตง (ทั้งไวรัสและไวรอยด)

การแกปญหาของเชื้อที่ติดมากับพันธุ

Page 61: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

55

1. ใชหลักการเดยีวกันกับโรคเหี่ยวจากเชื้อฟวซาเรียม 2. ควรใชเรือนเพาะชําที่กันแมลงไดในการเตรยีมยอดชํา

การแกปญหาของเชื้อที่ติดมากับเครื่องมือ 1. ถอนทําลายตนที่แสดงอาการเปนโรคกอนเร่ิมการใชเครือ่งมือ 2. ทําลายเชื้อที่อาจติดมากับเครื่องมือ โดยการจุมลงในคลอรอกซ 10% (หรือน้ํายาฟอกขาวเจือ

จาง 1:10 ) นาน 2-3 นาที หลังจากทุกๆ 20-50 ตน

การแกปญหาโรคที่นําโดยเพลี้ยออน 1. หมั่นตรวจดแูปลงชํายอดและแปลงปลกูหากตรวจพบเพลี้ยออนใหรีบฉีดพนสารฆา แมลง

เชน คารบาริล (เซฟวิน) หรือ เมโทมิล(แลนเนท) หรือ เมทามิโดฟอส(ทามา รอน) หรือ คารโบซัลแฟน(พอสส) หรือโอเมโอเอท(โฟลิเมท)

2. ดูแลสภาพแวดลอมอยาใหมวีัชพืชรกรุงรังในพื้นที่ปลูก

3. โรคท่ีเกิดจากเชื้อราท่ีเกิดกับใบ ทั้ง 3 โรค คือ โรคใบจุดจากเซพตอเรีย, โรคราสนิมสีน้ําตาลและโรคราสนิมขาว ใชหลักการ

เดียวกัน คือ 1. กําจัดซากใบทีเ่ปนโรคใหหมดจากพืน้ที่ปลูก 2. ฉีดพนดวยสารเคมีตามชนิดของโรคที่เปนโดยสลับการใชสาร อยางนอย 2 กลุม เพื่อ

แกปญหาการดื้อยา

การแกปญหาโรคที่เกิดกับใบ 1. โรคใบจุดเซพตอเรีย : ใชคารเบนดาซิม สลับกับคลอโรธาโรนิล หากคารเบนดาซิมใชไมได

ผลใหเปลี่ยนเปนยากลุมไตรอะโซล (สกอร, แอนวิล เปนตน) 2. โรคราสนิมสีน้ําตาล : ใชคลอโรธาโลนิล สลับกับแมนโคเซบ 3. โรคราสนิมขาว : ใช ฟอ-เซสธิล-อลูมินัม (อาลีเอท) สลับกับ เมตาแลกซิล หรือแมนโคเซบ

Page 62: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

56

ภาพที่ 38 แปลงทดลองควบคุมโรคเหี่ยวฟวซาเรียม

ที่มา: โสภณ วงศแกว, 2548

ภาพที่ 39 เปรยีบเทียบแปลงควบคุมโรคเหีย่วจากฟวซาเรียมของเบญจมาศโดยใช ปุยอินทรียชีวภาพ คาร เบนดาซิม และฟอรมาลิน

เปรียบเทียบ

ปุยอินทรียชีวภาพ คารเบนดาซิม ฟอรมาลีน

Page 63: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

57

ที่มา: โสภณ วงศแกว, 2548 ภาพที่ 40 แปลงปกชํายอดพันธุที่ปลอดโรค โรคใบจุดและโรคเหี่ยวที่ติดมากับยอดพันธุ

ปญหาโรคเริ่มมาตั้งแตแหลงพันธุ ยอดชําที่ปลอดโรค และยอดชํา

โรคใบจุดที่ตดิมากับยอดชํา โรคเหี่ยวที่ตดิมากับยอดชํา

ที่มา: โสภณ วงศแกว, 2548

Page 64: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

58

บรรณานุกรม

กรมสงเสริมการเกษตร. 2538. การปลูกเบญจมาศ. เอกสารคําแนะนําที ่80. กรุงเทพฯ : ชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย

__________________. 2539. การผลิตไมดอกไมประดบัเชิงอุตสาหกรรม. กองสงเสริมพืชสวน.

. 2542. การผลิตเบญจมาศเพื่อการคา. เอกสารประกอบการฝกอบรมเกษตรกร. 29 มิถุนายน 2542. ณ โรงแรมวังทอง อําเภอแมสาย จังหวัดเชยีงราย. (อัดสําเนา)

__________________. 2544. สถานการณพืชสวน. กองสงเสริมพืชสวน. กรมสงเสริมการเกษตร.

__________________. 2545. คูมือโครงการสงเสริมการผลิตพืชผัก ไมดอกไมประดบั หมอนไหม และ พืชสมุนไพร. (อัดสําเนา)

. 2546. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับงานขยายพนัธุพืช. กรุงเทพฯ : ชุมนุม สหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย.

. 2549. “ความหมายและประโยชน”. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. แหลงที่มา : http://plantpro.doae.go.th/tissue 20 มกราคม 2549.

. การเพาะเลีย้งเนื้อเยื่อ. กลุมงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ สํานักพัฒนาการถายทอด เทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร.

ชรัมพร ใจเดช หฤทัย ชมชืน่ ยุพิน คงกระพี้ สายชล เยารัมย สุวรรณา เทาศิริ ศิวิมล ภูการ. 2548. โครงการวิเคราะหธุรกิจการผลิตยอดพันธุเบญจมาศโดยการเพาะเลีย้งเนื้อเยื่อ. สาขาเทคโนโลยี การผลิตพืช สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. (อัดสเนา)

ณรงค โฉมเฉลา. 2534. เทคโนโลยีการผลิตไมดอกไมประดับ. กรุงเทพฯ : สมาคมไมดอกไมประดับแหงประเทศไทย.

ทวีเกยีรติ ยิ้มสวัสดิ์. 2527. ไมตัดดอก. กรุงเทพฯ : สยามการพิมพ.

ธวัชชัย ทีฆชณุหเถียร และออยใจ พิมจอง. 2546. เทคโนโลยีการผลิตเบญจมาศ กลุมผูปลูกเบญจมาศ ตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้าํเขียว จังหวัดนครราชสีมา. โครงการพัฒนาการทองเทีย่ว ต.ไทย สามัคคี อ.วังน้ําเขียว จ.นครราชสีมา. สํานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี. (อัดสําเนา)

Page 65: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

59

นันทิยา สมานนท. 2535. คูมือการปลูกดอกไม. กรุงเทพฯ : โอเอพร้ินติ้งเฮาส.

เรณู ขําเลิศ และอัศจรรย สุขธํารง. 2548. ปญหาการผลิตเบญจมาศในอาํเภอวังน้ําเขียว จังหวดันครราชสีมา. แผนพับ. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช และหนวยบริการวิชาการ

แกชุมชน สํานักวิชาเทคโนโลยีการการเกษตร. มหาวทิยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นครราชสีมา.

วิภา จันทรคุม. 2549. เกษตรกร. เลขที่ 4 หมู 4 ต.ไทยสามัคคี อ.วังน้ําเขียว จ. นครราชสีมา 30370. สัมภาษณ, 15 มกราคม 2549.

วิจิตร วังใน และยิ่งยง ไพสขุศานติวัฒนา. 2537. การจําแนกพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

เศรษฐพงศ เลขะวัฒนะ. 2542. การปลูกเบญจมาศ. กองสงเสริมพืชสวน.

เศรษฐพงศ เลขะวัฒนะ. 2544. การขยายพนัธุและการปรบัปรุงพันธุเบญจมาศ. เอกสารการฝกอบรม หลักสูตรการใชรังสีในการปรับปรุงพันธุไมดอก. ระหวางวันที่ 12 – 14 กันยายน 2544. ณ ศูนยปฏิบัติการรังสี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สมประสงค ประดับมุข. 2549. ผูใหญบานและประธานกลุมผูปลูกเบญจมาศ ตําบลไทยสามัคคี เลขที่ 50 หมูที่ 5 ต. ไทยสามัคคี อ.วังน้ําเขียว จ.นครราชสีมา 30370. สัมภาษณ, 15 มกราคม 2549.

สมเพียร เกษมทรัพย. 2522. การปลูกไมดอก.

________________. 2526 . ไมดอกกระถาง. กรุงเทพฯ : อักษรพิทยา.

________________. 2533. เทคโนโลยีการผลิตและธุรกิจไมตัดดอก. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สถาบันการแพทยแผนไทย กระทรวงสาธารณสุข. 2549. แหลงที่มา : http://www.dtam.moph.go.th/ittm_web/articles/article28.htm 20 มกราคม 2549.

สุกัญญา แพทยปฐม และอธพิัฒน บุญเพิ่มราศรี. 2546. “เบญจมาศวันนี”้. วารสารเคหการเกษตร. ปที่ 27, ฉบับที่ 12, ธันวาคม.

โสภณ วงศแกว. 2548. หัวหนาสาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช. สํานักวิชาเทคโนลีการเกษตร มหาวิทยา เทคโนโลยีสุรนารี. สัมภาษณ, 20 ธันวาคม 2548.

Page 66: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

60

สํานักงานเกษตรอําเภอวังน้ําเขียว. 2545. แผนพัฒนาการเกษตรตําบลไทยสามัคคี อําเภอวังน้าํเขียว จังหวดันครราชสีมา. สํานักงานเกษตรอําเภอวังน้ําเขยีว. กรมสงเสริมการเกษตร.

สํานักงานเกษตรจังหวดันครราชสีมา. 2546. สถิติการปลูกพืชของจังหวดันครราชสีมา. (อัดสําเนา)

สํานักงานเกษตรอําเภอวังน้ําเขียว. 2546. ขอมูลสภาพการผลิตเศรษฐกิจ. (อัดสําเนา)

อนงค จันทรศรีกุล. 2542. โรคและศัตรูไมประดับ. กรุงเทพฯ : ไทยวฒันาพานิชย.

อดิศร กระแสชัย. 2534. เทคโนโลยีการผลิตเบญจมาศในโรงเรือน. ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

_____________. 2535. เบญจมาศ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.

Astronomical Applications Department. U.S. Naval Observatory. แหลงที่มา : http://aa.usno.navy.mil/data/docs/RS_OneYear.html

Page 67: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ภาคผนวก

Page 68: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 28.7 16.1 22.4 91.1 16.7 0.0 1.1 3.4 8.5 0.4 27.3 17.4ก.พ. 32.7 18.2 25.5 83.8 17.6 15.2 1.6 5.4 23.2 1.0 33.4 17.5มี.ค. 34.8 29.4 32.1 81.2 21.1 46.4 2.8 4.8 27.8 1.2 36.5 22.9เม.ย. 34.7 22.3 28.5 82.5 28.1 190.0 1.7 4.4 29.4 1.2 33.8 21.1พ.ค. 34.9 22.9 28.9 87.3 23.8 41.3 1.5 3.6 17.1 0.7 31.8 22.7มิ.ย. 34.6 23.2 28.9 86.7 24.0 122.1 1.3 2.9 17.5 0.7 30.7 22.8ก.ค. 34.2 25.3 29.8 87.9 24.2 25.0 1.4 3.3 25.0 1.0 31.0 22.4ส.ค. 32.5 23.8 28.2 88.2 23.2 118.5 0.8 2.7 21.8 0.9 30.1 21.8ก.ย. 30.5 21.6 26.1 95.0 23.7 138.3 0.4 2.4 16.1 0.7 31.4 22.2ต.ค. 28.4 17.6 23.0 94.3 19.8 3.0 0.7 2.6 7.6 0.3 30.8 19.8พ.ย. 28.5 20.5 24.5 95.2 22.2 214.1 0.6 2.5 13.4 0.6 31.5 22.1ธ.ค. 25.7 15.2 20.5 83.3 16.3 40.4 0.7 2.7 7.7 0.3 28.2 17.6รวม 954.3 14.6 215.1 9.0 376.5 250.3เฉลี่ย 31.7 21.3 26.5 88.0 21.7 79.5 1.2 17.9 0.7 31.4 20.9

61

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 1 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2536 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 69: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 34.2 16.4 25.3 91.1 17.6 0.0 1.5 3.7 16.7 0.7 29.9 18.0ก.พ. 34.8 21.6 28.2 83.9 21.2 40.6 2.2 5.1 34.3 1.4 34.2 21.3มี.ค. 33.5 20.4 27.0 88.4 21.4 68.5 1.4 4.1 24.9 1.0 33.1 24.1เม.ย. 35.7 23.0 29.4 84.3 23.6 60.9 1.8 4.3 23.2 1.0 34.2 23.1พ.ค. 33.6 23.1 28.4 89.1 24.1 70.8 1.2 3.3 24.0 1.0 31.1 23.0มิ.ย. 31.3 22.9 27.1 89.9 23.6 54.4 1.0 2.3 18.3 0.8 28.9 23.1ก.ค. 30.5 22.4 26.5 87.4 23.9 37.7 1.6 2.8 32.3 1.4 28.3 23.2ส.ค. 30.8 22.2 26.5 87.0 22.9 87.7 1.3 3.0 29.7 1.2 29.5 22.5ก.ย. 30.4 21.9 26.2 93.2 23.9 182.0 0.7 2.3 25.7 1.1 31.3 22.9ต.ค. 29.8 18.8 24.3 92.9 21.2 209.7 0.8 2.4 21.0 0.9 32.3 23.7พ.ย. 29.7 18.1 23.9 89.4 19.6 1.3 1.4 3.2 26.4 1.1 30.4 19.8ธ.ค. 30.7 17.8 24.3 87.9 19.0 3.3 1.7 4.3 10.1 0.4 29.9 19.9รวม 816.9 16.6 286.6 12.0 373.1 264.6เฉลี่ย 32.1 20.7 26.4 88.7 21.8 68.1 1.4 23.9 1.0 31.1 22.1

62

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 2 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2537 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 70: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 30.8 17.1 24.0 88.6 17.3 0.0 1.9 3.8 16.8 0.7 29.7 17.3ก.พ. 34.5 19.0 26.8 88.2 19.6 24.7 2.4 4.6 37.3 1.6 33.8 18.7มี.ค. 36.6 23.3 30.0 80.0 23.2 89.9 2.7 4.2 29.2 1.2 35.3 23.2เม.ย. 36.2 26.4 31.3 82.2 22.3 27.9 2.3 5.2 40.9 1.7 35.5 21.6พ.ค. 34.1 23.3 28.7 81.5 23.0 141.1 1.4 3.1 21.5 0.9 32.2 23.3มิ.ย. 33.7 23.5 28.6 80.4 22.9 106.4 1.5 3.2 22.0 0.9 31.0 23.4ก.ค. 32.5 23.1 27.8 85.1 23.1 148.2 1.2 2.5 22.1 0.9 30.1 22.9ส.ค. 32.1 22.6 27.4 87.6 23.0 167.7 1.0 2.4 23.7 1.0 30.5 23.1ก.ย. 29.0 22.3 25.7 91.0 23.2 220.9 0.6 2.3 22.6 0.9 30.6 23.2ต.ค. 28.2 21.0 24.6 92.8 22.2 131.4 0.5 2.4 10.1 0.4 30.5 22.4พ.ย. 26.1 18.2 22.2 91.3 19.1 23.1 0.7 2.1 17.1 0.7 30.3 19.7ธ.ค. 26.3 15.8 21.1 85.0 15.4 0.0 1.4 2.4 18.0 0.8 26.9 17.3รวม 1,081.3 17.6 281.3 11.7 376.4 256.1เฉลี่ย 31.7 21.3 26.5 86.1 21.2 166.4 2.7 43.3 1.8 57.9 39.4

63

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 3 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2538 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 71: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 30.3 16.8 23.6 82.1 16.4 0.0 1.4 4.0 21.6 0.9 32.0 18.1ก.พ. 31.9 16.9 24.4 78.5 16.1 0.0 1.8 4.3 18.4 0.8 31.2 18.0มี.ค. 35.5 21.4 28.5 78.7 21.0 59.4 2.3 5.0 33.5 1.4 36.6 21.1เม.ย. 32.9 22.1 27.5 82.9 22.4 106.7 1.4 3.7 30.6 1.3 39.0 22.4พ.ค. 33.6 22.3 28.0 87.7 23.5 87.7 1.1 2.6 16.3 0.7 31.2 23.3มิ.ย. 32.7 22.7 27.7 86.8 23.6 98.5 1.2 2.7 28.1 1.2 29.8 22.9ก.ค. 32.1 22.8 27.5 86.7 23.4 85.9 1.3 2.7 36.1 1.5 29.1 22.4ส.ค. 34.0 23.0 28.5 86.9 23.4 91.9 1.6 4.0 28.7 1.2 30.6 24.0ก.ย. 30.3 22.1 26.2 97.0 23.3 263.7 0.4 1.9 16.3 0.7 32.1 22.6ต.ค. 28.3 21.3 24.8 96.5 22.7 165.6 0.5 1.8 10.0 0.4 29.0 21.8พ.ย. 26.8 19.6 23.2 98.4 21.6 42.3 0.8 2.8 14.1 0.6 26.8 20.3ธ.ค. 25.3 15.3 20.3 89.4 16.5 0.0 1.1 2.4 18.1 0.8 26.1 16.8รวม 1,001.7 14.9 271.8 11.3 373.5 253.7เฉลี่ย 31.1 20.5 25.8 87.6 21.2 83.5 1.2 22.7 0.9 31.1 21.1

64

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 4 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2539 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 72: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 28.5 16.8 22.7 83.0 15.3 0.0 1.2 2.8 18.0 0.8 28.0 17.2ก.พ. 32.2 16.9 24.6 83.1 18.9 13.7 1.6 3.9 21.4 0.9 32.4 19.9มี.ค. 35.4 21.4 28.4 81.9 21.0 8.2 1.8 4.8 31.8 1.3 35.9 20.4เม.ย. 34.6 22.1 28.4 84.6 22.5 37.6 1.5 4.2 30.1 1.1 31.9 23.4พ.ค. 34.8 22.3 28.6 85.9 24.3 93.0 1.7 3.7 33.2 1.4 31.4 22.9มิ.ย. 34.9 22.7 28.8 84.6 24.1 20.1 2.4 4.5 34.7 1.5 30.8 23.0ก.ค. 32.1 22.8 27.5 87.1 23.4 70.2 2.6 5.0 44.9 1.9 29.0 22.6ส.ค. 32.7 23.0 27.9 86.6 23.6 43.3 1.6 3.9 29.1 1.2 29.5 22.7ก.ย. 31.3 22.1 26.7 93.1 23.3 185.2 0.8 2.6 24.2 1.0 28.6 22.3ต.ค. 30.4 21.3 25.9 92.4 22.8 228.8 1.0 2.7 28.2 1.2 27.2 22.2พ.ย. 30.3 19.6 25.0 86.9 20.0 9.6 0.6 3.1 20.2 0.8 30.3 20.4ธ.ค. 33.5 15.3 24.4 85.6 19.2 0.0 1.5 3.2 27.9 1.2 30.1 19.6รวม 709.7 17.3 343.7 14.2 336.1 256.6เฉลี่ย 32.6 20.5 26.5 86.2 21.7 118.3 2.9 52.9 2.2 56.0 39.5

65

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 5 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2540 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 73: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 33.8 22.3 28.1 83.8 20.5 0.5 2.5 4.3 32.6 1.4 33.3 19.8ก.พ. 35.4 21.6 28.5 86.7 22.1 0.6 2.4 6.3 59.8 2.5 33.7 23.0มี.ค. 40.1 23.6 31.9 79.8 20.9 21.6 5.6 7.7 73.9 3.1 35.9 22.1เม.ย. 37.3 23.3 30.3 77.6 20.4 43.7 6.4 8.2 83.5 3.5 33.5 23.0พ.ค. 37.1 23.6 30.4 82.9 22.1 15.2 2.9 5.1 56.0 2.3 33.5 23.5มิ.ย. 35.7 24.2 30.0 85.0 19.8 31.9 2.2 3.9 35.9 1.5 32.9 23.3ก.ค. 33.6 23.6 28.6 86.4 20.0 40.8 2.5 4.1 36.1 1.50 33.0 23.6ส.ค. 32.4 22.6 27.5 81.0 21.5 239.5 1.0 3.8 30.3 1.26 31.5 22.9ก.ย. 30.1 22.3 26.2 80.4 20.8 190.1 0.9 2.8 23.4 1.0 31.0 22.7ต.ค. 29.7 20.8 25.3 83.9 20.9 144.4 0.8 2.5 19.3 0.8 30.9 21.8พ.ย. 26.2 19.4 22.8 87.6 19.2 124.7 0.6 1.8 12.8 0.5 27.4 19.6ธ.ค. 25.1 17.1 21.1 90.3 16.8 0.0 0.9 1.9 10.4 0.4 26.4 17.7รวม 572.7 25.2 407.6 17.0 318.5 216.5เฉลี่ย 33.0 22.0 27.5 83.8 20.5 57.3 2.5 40.8 1.7 31.9 21.7

66

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 6 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2541 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 74: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 27.9 17.6 22.8 89.1 21.1 3.9 1.3 2.9 23.0 1.0 28.2 17.9ก.พ. 30.8 18.5 24.7 81.8 17.3 16.5 1.8 4.2 24.2 1.0มี.ค. 34.5 22.9 28.7 74.1 20.2 64.4 2.1 5.2 45.4 0.2เม.ย. 30.4 22.5 26.5 89.5 22.8 179.0 0.9 3.1 18.0 0.7พ.ค. 30.8 22.3 26.6 90.0 22.6 196.0 0.7 2.2 15.1 0.6มิ.ย. 30.8 22.7 26.8 86.3 22.3 121.7 0.8 3.5 15.7 0.7ก.ค. 30.4 22.9 26.7 85.9 22.0 48.1 1.3 2.6 23.5 0.99ส.ค. 31.4 22.6 27.0 88.0 21.6 131.7 0.9 2.7 20.4 0.85ก.ย. 30.0 22.0 26.0 92.7 22.5 228.6 0.6 2.6 11.8 0.5ต.ค. 27.6 21.0 24.3 96.3 22.2 195.2 0.3 2.4 14.0 0.6พ.ย. 25.8 20.3 23.1 94.5 19.9 110.4 0.4 2.1 6.1 0.3ธ.ค. 23.7 14.0 18.9 87.0 13.3 0.0 2.0 0.9 10.8 0.5รวม 1,115.7 10.9 184.1 6.0 28.2 17.9เฉลี่ย 29.5 20.8 25.1 87.9 20.4 202.9 2.0 33.5 1.1

67

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 7 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2542 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 75: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 29.1 17.7 23.4 89.2 21.9 1.6 1.1 2.6 12.1 0.5ก.พ. 31.3 17.5 24.4 84.1 16.6 44.5 0.6 3.8 15.9 0.7มี.ค. 34.6 21.4 28.0 77.6 19.5 16.5 2.3 5.8 27.2 1.1เม.ย. 33.0 22.5 27.8 87.0 22.3 208.9 1.1 2.9 18.7 0.8พ.ค. 32.1 22.7 27.4 90.9 23.3 148.3 0.8 2.5 16.9 0.7มิ.ย. 31.6 21.8 26.7 87.0 21.6 71.3 0.9 2.7 15.9 0.7ก.ค. 29.8 22.4 26.1 88.4 22.2 76.9 0.9 2.3 17.0 0.7ส.ค. 32.2 22.6 27.4 85.0 21.9 132.2 1.3 3.1 16.6 0.7ก.ย. 31.1 22.2 26.7 92.5 22.4 215.5 1.0 2.5 20.9 0.9ต.ค. 27.8 21.2 24.5 96.0 22.1 185.5 0.5 2.3 15.6 0.7พ.ย. 27.4 16.9 22.2 89.6 17.6 0.0 0.3 2.1 9.5 0.4ธ.ค. 28.6 17.1 22.9 86.8 17.6 0.0 0.9 2.3 10.7 0.5รวม 1,101.2 11.7 197.0 8.2เฉลี่ย 30.7 20.5 25.6 87.8 20.8 169.4 1.8 30.3 1.3

68

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 8 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2543 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 76: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 32.1 18.3 25.2 87.8 18.8 0.0 1.5 3.6 27.2 1.1ก.พ. 34.2 19.7 27.0 83.0 18.1 0.0 2.0 5.2 18.8 0.8มี.ค. 32.5 20.7 26.6 88.2 20.7 65.1 1.3 3.5 13.4 0.6เม.ย. 36.8 23.4 30.1 84.3 22.5 4.4 2.3 5.5 30.0 1.0พ.ค. 34.0 22.4 28.2 88.1 22.9 6.5 0.7 2.6 10.3 0.4มิ.ย. 33.6 22.4 28.0 84.4 22.6 5.5 0.9 2.0 9.5 0.4ก.ค. 32.6 22.2 27.4 85.7 22.3 1.7 1.1 2.3 14.1 0.6ส.ค. 42.4 21.9 32.2 87.0 22.1 2.5 1.1 2.3 9.6 0.4ก.ย. 33.4 21.8 27.6 91.0 22.9 198.2 21.7 69.8 166.1 6.8ต.ค. 29.5 21.2 25.4 96.2 22.7 157.7 3.7 58.1 7.2 0.1พ.ย. 26.7 16.6 21.7 18.3 18.5 40.6 13.4 47.8 12.3 0.1ธ.ค. 29.6 16.4 23.0 17.9 17.1 2.5 36.3 74.7 42.0 1.8รวม 484.7 86.0 360.4 14.1เฉลี่ย 33.1 20.6 26.8 76.0 20.9 40.4 7.2 30.0 1.2

69

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 9 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2544 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 77: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 32.0 16.1 24.1 84.0 16.9 0.0 1.7 3.9 4.6 0.2ก.พ. 34.0 19.0 26.5 78.0 18.9 82.6 2.0 4.7 10.9 0.5มี.ค. 35.3 22.1 28.7 81.0 21.1 46.2 1.8 4.5 17.4 0.7เม.ย. 37.0 22.7 29.9 80.0 22.2 177.8 1.9 4.8 18.3 0.8พ.ค. 32.3 22.4 27.4 89.0 23.2 199.6 0.7 1.7 11.2 0.5มิ.ย. 33.9 23.6 28.8 84.0 22.7 119.4 1.3 3.2 17.1 0.7ก.ค. 32.4 23.3 27.9 81.0 22.1 26.2 1.4 3.4 24.0 1.0ส.ค. 31.7 22.5 27.1 85.0 22.0 202.0 1.1 2.7 14.0 0.6ก.ย. 29.9 21.7 25.8 92.0 22.2 267.0 0.5 1.4 6.2 0.3ต.ค. 29.2 20.4 24.8 84.0 21.8 100.9 0.4 1.1 2.9 0.1พ.ย. 27.3 19.8 23.6 93.0 19.8 22.4 0.5 1.3 2.7 0.1ธ.ค. 28.2 19.0 23.6 95.0 18.9 9.3 1.3 3.2 6.5 0.3รวม 1,253.4 14.6 135.8 5.7เฉลี่ย 31.9 21.1 26.5 85.5 21.0 104.5 1.2 11.3 0.5

70

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 10 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2545 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 78: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 29.1 16.0 22.6 91.0 15.0 0.0 4.3 10.8 28.0 1.2ก.พ. 32.6 19.1 25.9 91.0 17.8 28.0 5.4 2.1 28.3 1.2มี.ค. 32.7 20.9 26.8 90.0 20.0 139.4 6.3 2.5 25.4 1.0เม.ย. 35.5 23.7 29.6 89.0 22.3 11.0 3.1 7.7 29.9 1.3พ.ค. 34.5 23.2 28.9 89.0 21.9 113.3 2.8 7.0 29.3 1.2มิ.ย. 33.0 23.3 28.2 91.0 22.5 70.3 3.2 4.0 21.9 0.9ก.ค. 31.7 22.3 27.0 93.0 21.7 110.0 2.7 6.8 32.0 1.3ส.ค. 32.1 23.1 27.6 90.0 22.1 89.4 2.8 7.1 34.0 1.4ก.ย. 30.6 22.0 26.3 91.0 21.1 140.9 2.1 5.2 25.0 1.0ต.ค. 28.7 26.6 27.7 94.0 20.5 40.2 2.4 6.2 14.4 0.6พ.ย. 30.1 18.7 24.4 85.0 16.6 0.0 14.3 12.9 39.8 1.7ธ.ค. 28.0 15.6 21.8 80.0 12.8 0.0 7.1 17.9 37.6 1.6รวม 742.5 56.5 345.6 14.4เฉลี่ย 31.6 21.2 26.4 89.5 19.5 61.9 4.7 28.8 1.2

71

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 11 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2546 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย

Page 79: เทคโนโลยีการผล ิตเบญจมาศท ี่ ...lovewangnamkeaw.sut.ac.th/doc1/Technology.pdf · 2010. 10. 25. · (2) สารบัญตาราง

ความชื้นสัมพัทธ จุดน้ําคาง จํานวนน้ําฝนเดือน เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุด เฉลี่ย เฉลี่ย (%) (องศาเซลเซียส) (มม.) เฉลี่ยพิเช เฉลี่ยถาด 24 ชม. เฉลี่ย

เฉลี่ย รวม (กม./วัน) (กม./ชม) เฉลี่ยสูงสุด เฉลี่ยต่ําสุดม.ค. 31.1 16.7 23.9 83.0 14.6 7.6 3.7 9.2 26.0 1.1ก.พ. 31.6 17.6 24.6 91.0 16.8 48.3 2.3 5.8 21.7 0.9มี.ค. 36.0 22.6 29.3 78.0 19.2 19.6 5.4 9.0 33.2 1.4เม.ย. 35.7 23.2 29.5 81.0 20.6 70.5 3.9 9.9 31.6 1.3พ.ค. 32.8 23.1 28.0 89.0 21.9 68.4 2.1 5.3 20.3 0.9มิ.ย. 30.2 22.1 26.2 92.0 21.3 141.2 1.9 - 11.7 0.5ก.ค. 31.3 22.6 27.0 113.0 21.0 46.9 3.0 7.5 15.2 0.6ส.ค. 31.3 22.9 27.1 88.0 21.4 51.6 2.9 7.2 18.1 0.8ก.ย. 22.9 21.8 22.4 91.0 21.1 83.4 2.2 5.7 19.5 0.8ต.ค. 30.5 19.6 25.0 83.0 17.3 25.3 3.5 8.7 18.0 0.7พ.ย. 32.0 18.8 25.4 80.0 15.8 23.1 3.6 9.0 16.9 0.7ธ.ค. 30.2 14.9 22.6 83.0 12.6 0.0 3.1 7.7 14.8 0.6รวม 585.9 37.6 247.0 10.3เฉลี่ย 31.3 20.5 25.9 87.7 18.6 48.8 3.1 20.6 0.9

72

(องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 12 คาเฉลี่ยขอมูลอุตุนิยมวิทยา พ.ศ. 2547 ณ สถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอวังน้ําเขียว จังหวัดนครราชสีมา

อุณหภูมิอากาศ (องศาเซลเซียส) จํานวนน้ําระเหย (มม.) ความเร็วลม (กม.) อุณหภูมิน้ําระเหย