76
ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในโครงการ โรงพักเพื่อประชาชน : ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ธนกฤต เนืองพุด ปญหาพิเศษนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา มิถุนายน 2549 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในโครงการ

โรงพักเพื่อประชาชน : ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง

ธนกฤต เนืองพุด ปญหาพิเศษนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชานโยบายสาธารณะ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา

มิถุนายน 2549 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยบูรพา

Page 2: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

คณะกรรมการอาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษทางการบริหารและคณะกรรมการควบคุมมาตรฐานวิชาปญหาพิเศษทางการบริหาร เห็นสมควรรบัเปนสวนหนึง่ของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ ของมหาวิทยาลัยบูรพาได

คณะกรรมการควบคุมมาตรฐานปญหาพิเศษทางการบริหาร .………. …………………………………..... ประธานกรรมการ

…………………………………………….... กรรมการ

…………………………………………….... กรรมการ

…………………………………………….... กรรมการ

…………………………………………….... กรรมการที่แตงตัง้เพิ่มเติม

…………………………………………….... กรรมการที่แตงตัง้เพิ่มเติม

…………………………………………….... กรรมการที่แตงตั้งเพิ่มเติม วิทยาลัยการบริหารรัฐกจิอนมุัติใหรับปญหาพิเศษฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตาม

หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิานโยบายสาธารณะ ของมหาวิทยาลัยบูรพา

………………………………………................ ผูอํานวยการวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ (รองศาสตราจารย ศรุติ สกุลรัตน)

วันที่............เดอืน.............................พ.ศ............

Page 3: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

ประกาศคณุูปการ

การศึกษาเรื่อง “ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในโครงการโรงพักเพื่อประชาชน : ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง” สําเร็จลงไดดวยความกรุณาจากหลายทานที่ไดอนุเคราะหใหความชวยเหลืออยางดียิ่ง โดยเฉพาะ อาจารยรชตะ จันทรนอย อาจารยที่ปรึกษาที่ใหกรอบแนวคิดแนวทางในการศึกษา และไดใหคําแนะนําในการจดัทําปญหาพิเศษ และดวยความกรุณาของ อาจารยกิจฐเชต ไกรวาส อาจารยธวัชชัย ภาคแกว และอาจารยวลัลภ ศัพทพันธ ไดชวยเหลือ เสนอแนะ และแกไขปญหาในทกุ ๆ ดานของการทําปญหาพิเศษ สงผลใหการศึกษาสําเรจ็ลุลวงไปดวยดี ซ่ึงเปนประโยชนตอการศกึษาครั้งนี้เปนอยางดียิ่ง ผูศกึษาจึงขอกราบขอบพระคุณอยางสูงไว ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคุณคณาจารย วทิยาลัยการบรหิารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา และ คณาจารย อ่ืน ๆ ทุกทาน ที่กรุณาประสทิธิประสาทวิชา อํานวยความสะดวกในการศึกษา จนผูศกึษามีความรูนํามาใชในการทําปญหาพิเศษครั้งนี้เปนอยางดี

ผูศึกษาขอขอบพระคุณ ประชาชนอําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรีทุกทานที่ไดใหความอนุเคราะหสนบัสนุนและอํานวยความสะดวกใหกําลังใจ สนับสนุนดานเอกสารตาง ๆ ในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนอยางดียิ่งในการศึกษาครั้งนี้เปนไปดวยดี ในการศึกษาปญหาพิเศษครั้งนี้ ผลการศึกษาที่ไดจะเปนประโยชนตอนิสิต และประชาชนอําเภอบานบึงตอไป

สุดทายนี้ ขอมอบคุณความดทีั้งหมดของปญหาพิเศษเลมนี้ แดบิดา มารดา ภริยา พี่ ๆ และเพื่อน ๆ ของผูศึกษา โดยเฉพาะคุณมนตรี พงษธานี และครอบครัวที่ทําใหมีความสําเร็จในวนันี ้ ธนกฤต เนืองพุด

Page 4: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

ชื่อปญหาพิเศษ ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจใน โครงการโรงพักเพื่อประชาชน : ศึกษากรณสีถานีตํารวจภธูรอําเภอบานบึง ชื่อผูเขียนปญหาพิเศษ ธนกฤต เนืองพุด สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (สาขานโยบายสาธารณะ) ปการศึกษา 2548

บทคัดยอ

การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในโครงการโรงพักเพื่อประชาชน : ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพทัว่ไปของประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง ตามเพศ อายุ สถานภาพสมรส และอาชีพ ศึกษาระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน ศึกษาความแตกตางของความพึงพอใจของประชาชนตามเพศ อายุ สถานภาพสมรส และอาชีพ

ผลการศึกษาพบวา ประชากรที่เปนกลุมตัวอยาง 100 คน สวนใหญเปนเพศชาย คิดเปนรอยละ 76.00 มีอายุระหวาง 20-35 ป คิดเปนรอยละ 56.00 สมรสแลว คิดเปนรอยละ 71.00 และประกอบอาชพีรับจางหนวยงานเอกชนเปนสวนใหญ คดิเปนรอยละ 36.00 การศึกษาความพึงพอใจของประชาชน พบวา ประชาชนมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในดานการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการพัฒนาระบบสายตรวจ ดานการสืบสวนปราบปราม และดานการปราบปรามยาเสพติด ในระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจการปฏิบัติงานดานการพัฒนาระบบสายตรวจเปนอันดับแรก และพึงพอใจการปฏิบัติงานดานการสืบสวนปราบปรามนอยที่สุด จากการศึกษาความแตกตางของความพึงพอใจของประชาชนตามเพศ อายุ สถานภาพสมรสอาชีพ รายได และพืน้ที่อยูอาศัย พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามสถานภาพสมรสและอาชีพ โดยประชาชนที่สมรสแลวและประกอบอาชีพรับราชการมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาทีต่ํารวจมากกวาประชาชนที่มสีถานภาพโสดและประกอบอาชีพรับจางหนวยงานเอกชนอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .05 และความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจไมแตกตางกันตามเพศและอาย ุ

Page 5: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย ง สารบัญ จ สารบัญตาราง ช สารบัญภาพ ฌ บทที่

1 บทนํา 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 วัตถุประสงคของการศึกษา 3 สมมติฐานการวิจัย 3 ขอบเขตของการศึกษา 4 นิยามศัพทเฉพาะ 4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 5

2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 6 แนวคิดเกี่ยวกับการใหบริการ 6 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ 8 ความสําคัญของประชาชนในฐานะผูรับบริการจากหนวยงานของรัฐ 10 แนวคิดเกี่ยวกับโครงการโรงพักเพื่อประชาชน 12 ประโยชนที่จะไดรับ 18 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการสาธารณะ 19 สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง 23 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 30 กรอบแนวคิดในการวิจัย 32

Page 6: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา

3 วิธีการดําเนินการศึกษาคนควา 32 ประชากรกลุมตัวอยาง 32 เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 34 การสรางเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล 34 การเก็บรวมรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล 34 การวิเคราะหขอมูล 35 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 35

4 ผลการวิเคราะหขอมูล 36 สวนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไป 36 สวนที่ 2 การวิเคราะหความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของ เจาหนาที่ตํารวจ 39 สวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน 42

5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 50 สรุปผลการศึกษา 50 อภิปรายผลการศึกษา 52 ขอเสนอแนะ 53

บรรณานุกรม 55

ภาคผนวก 59

ประวัติยอของผูเขียนปญหาพิเศษ 67

Page 7: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา

1 จํานวนประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง 24 2 สถานภาพกําลังพล 26 3 สถิติคดีอาญา 5 กลุมเปรียบเทียบ 28 4 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามเพศ 36 5 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามอายุ 36 6 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามสถานภาพการสมรส 37 7 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามอาชีพ 37 8 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามรายได 38 9 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามพื้นที่อยูอาศัย 38 10 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในแตละดาน 39 11 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ 40 12 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการพัฒนาสายตรวจ 40 13 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการสืบสวนปราบปราม 41 14 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการปราบปรามยาเสพติด 42 15 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามเพศ 42 16 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามอายุ 43 17 เปรียบเทียบความพึงพอใจ จําแนกตามอายุ 43 18 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามสถานภาพสมรส 44 19 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามสถานภาพสมรส 44 20 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามสถานภาพสมรสเปนรายคู 45 21 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามอาชีพ 45 22 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามอาชีพ 46

Page 8: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

สารบัญตาราง (ตอ) ตารางที่ หนา

23 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามอาชีพเปนรายคู 46 24 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามรายได 47 25 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามรายได 47 26 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามรายไดเปนรายคู 48 27 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามพื้นที่อยูอาศัย 48 28 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามพื้นที่อยูอาศัย 49 29 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามรายไดเปนรายคู 49

Page 9: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา

1 ความพึงพอใจตอกระบวนการยุติธรรม 10 2 กรอบแนวคิดในการวิจัย 32

Page 10: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ตํารวจเปนสถาบันหนึ่งของรฐั ที่มีหนาที่เกีย่วกับการรักษาความสงบเรียบรอยภายในประเทศ การปองกันเหตุรายไมใหเกดิขึ้น และการใหบริการตาง ๆ แกสมาชิกในสังคมเปนการปฏิบัติงานเกี่ยวของกับสทิธิเสรีภาพของประชาชน (กองบัญชาการตํารวจนครบาล, 2530, หนา 1) และยิ่งมกีารเปลี่ยนแปลงจากสังคมชนบทเขาสูสังคมเมืองมากขึ้นเพยีงใด ภาระหนาที่ในการจัดระเบียบสังคม การรักษาความสงบเรียบรอยและการใหบริการดานตาง ๆ แกสมาชิกในสังคมยิ่งตกอยูกับตํารวจมากขึ้นเทานัน้ (ปุระชัย เปยมสมบูรณ, 2524, หนา 3) เปนที่ยอมรับกันวาปจจุบนัอํานาจหนาที่ของตํารวจมีขอบเขตกวางขวางมาก และตามขอบังคับของกระทรวงมหาดไทยไดกําหนดอํานาจหนาที่ของตํารวจไว 4 ประการ (สํานักงานตํารวจแหงชาต,ิ 2525, หนา 1) คือ 1. รักษาความสงบเรียบรอยภายในและภายนอกเพื่อประโยชนของประชาชน 2. รักษากฎหมายที่เกีย่วกับการกระทําความผิดในคดีอาญา 3. บําบัดทุกข บํารุงสุขใหแกประชาชน 4. ดูแลรักษาผลประโยชนของสาธารณะ สถานีตํารวจเปนหนวยงานที่มีความสําคัญที่สุด ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ เนื่องจากเปนหนวยงานระดับยุทธศาสตรในการทําหนาที่รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน ซ่ึงเปนภารกจิหลักของสํานักงานตํารวจแหงชาต ิประชาชนและสังคม จะใชการปฏิบัติงานของสถานีตํารวจเปนตัวช้ีวัดประสิทธิภาพของตํารวจ หากสามารถเพิ่มประสิทธิภาพใหกับสถานีตํารวจไดมาก ประชาชนจะไดรับผลประโยชนโดยตรง กอใหเกดิความพึงพอใจ แตอยางไรก็ตามการปฏิบัติงานของตํารวจในปจจุบัน ยังคงมีปญหาอยูหลายประการ งานของตํารวจยงัคงไดรับความแคลงใจจากสาธารณะชนอยูเสมอวาปฏิบัติงานไมไดผลเต็มที่เทาที่ควร มีขอวิพากษวจิารณเกีย่วกับสมรรถนะ พฤติกรรมและความสามารถในการใหบริการของเจาหนาทีต่ํารวจผานทางสื่อมวลชนอยูเสมอมา

Page 11: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

2

การปฏิบัติงานของสถานีตํารวจทั้งในการใหบริการบนสถานีตํารวจและการใหบริการนอกสถานีตํารวจ ยังไมเปนที่พึงพอใจของประชาชนทีม่าใชบริการ ซ่ึงพอสรุปสภาพปญหาตาง ๆ ไดดังนี้ (สํานักงานตํารวจแหงชาต,ิ 2541, หนา 1-2) 1. โครงสรางอัตรากําลังขาราชการตํารวจประจําสถานีตํารวจที่มีอยูในปจจุบันไมเพยีงพอกับปริมาณและคุณภาพของงานที่เพิ่มขึ้น ไมสอดคลองรองรับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเรว็ และเปนอุปสรรคตอการใหบริการประชาชนของสถานีตํารวจ 2. ระบบและวิธีการปฏิบัติในสถานีตํารวจมีกฎเกณฑและขั้นตอนมากมาย สลับซับซอน เสียเวลา ไมสอดประสานสัมพันธกัน และไมเสร็จสิ้น ณ ที่สถานีตํารวจ 3. ตํารวจถูกมองวาเปนพวกวางอํานาจ ไมสุภาพ แสวงหาแตผลประโยชนและไมคอยใหบริการสาธารณะ 4. ประชาชนขาดความรูความเขาใจที่ถูกตองวาอาชญากรรมเปนภยัของสังคมที่ทุกคนรวมกันรับผิดชอบแกไข 5. เจาหนาที่ตาํรวจบางสวน ไมเห็นความสําคัญของการมีสวนรวมของประชาชน และไมเขาใจวาสถานีตํารวจถือเสมือนเปนสมบัติรวมกันของประชาชน จึงถือปฏิบัติงานแตเพยีงลําพังฝายเดียว ไมสนใจแสวงหาความรวมมือและสนับสนุนจากประชาชน 6. เจาหนาที่ตาํรวจบางสวน ขาดความเขาใจและความสํานึกรับผิดชอบ ในการเปน ผูใหบริการประชาชนมีพฤตกิรรมและทาทกีารปฏิบัติตอประชาชนที่ไมเหมาะสม 7. ผูบังคับบัญชาบางสวนขาดการดูแลเอาใจใสผูใตบังคับบัญชาอยางใกลชิด 8. สถานที่ทํางานของสถานีตํารวจคับแคบ ที่ใชสอยไมเพียงพอ ไมสะดวกตอการใชงาน ที่ใหบริการประชาชนอยูกระจัดกระจาย ไมตอเนื่อง ไมสําเร็จ ณ จุดเดยีว ความเปนระเบยีบเรียบรอย 9. อุปกรณเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบตัิงานมีไมเพยีงพอ ไมทันสมัย ไมเหมาะสมกับการใชงาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ ภายใตการนําของ พลตํารวจเอกโกวิท วัฒนะ ผูบัญชาการตํารวจแหงชาต ิไดเนนการพฒันาสถานีตํารวจและการปฏบิัติงานหลักใหมีความพรอมในการใหบริการประชาชนไดกระจายทรัพยากรการบริการไปยังสถานีตํารวจใหมากขึน้ และเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสถานีตํารวจ โดยเนนการพัฒนาการบริการของสถานีตํารวจ งานอํานวยความยุติธรรม งานสืบสวนสอบสวน งานสายตรวจปองกนัและปราบปรามอาชญากรรม งานประชาสัมพันธชุมชน และมวลชนสมัพันธ งานจราจรและกระจายกําลังตํารวจออกไปปฏิบัติงานในพืน้ที่ตาง ๆ ตอมารัฐบาลไดใหความสําคัญตอการพัฒนาสถานีตํารวจ จึงไดแตงตั้งคณะกรรมการเฉพาะกิจ พิจารณาปรับปรุงระบบการบริหารงาน โครงสรางอัตรากําลังและการจัดการทัว่ไปของสถานีตํารวจภูธร และ

Page 12: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

3

สถานีตํารวจนครบาล สํานักงานตํารวจแหงชาติ ไดแนวความคิดของคณะอนุกรรมการเฉพาะกจิ มาผสมผสานเขากับสภาพและแนวทางการดําเนินการปรับปรุงพัฒนาสถานีตํารวจในอดีตที่ผานมา มาดําเนินการโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชนหรือมีช่ือยอวา “โครงการโรงพักเพื่อประชาชน” ใหมีเปาประสงคเพื่อใหบริการประชาชน ของสถานีตํารวจสอดคลองกับความตองการของประชาชนอยางแทจริง ดังนั้น การศกึษาความพึงพอใจตอการปฏิบตัิงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนก็เพื่อใหทราบวาประชาชนมคีวามพึงพอใจตอการปฏบิัติงานของตํารวจภายใตโครงการโรงพักเพื่อประชาชนหรือไม เพียงใด และมีการปฏิบัตงิานในดานใดที่จําเปนจะตองมีการแกไขปรับปรุงเพื่อใหประชาชนผูรับบริการพึงพอใจ

วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในโครงการโรงพักเพื่อประชาชน 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกตางในความพึงพอใจของประชาชนที่มตีอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจในโครงการโรงพักเพือ่ประชาชนโดยจําแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส และอาชีพ รายได และพื้นที่อยูอาศัย

สมมติฐานการวิจัย

ในการศึกษาเรือ่ง ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ผูศึกษาไดกําหนดสมมติฐานในการศึกษาไว 6 สมมติฐาน ดังนี ้ 1. ประชาชนที่มีเพศแตกตางกันมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนแตกตางกัน 2. ประชากรที่มีอายุแตกตางกัน มีความพงึพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนแตกตางกัน 3. ประชากรที่มีสถานภาพสมรสแตกตางกนัมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนแตกตางกัน 4. ประชากรที่มีอาชีพแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนแตกตางกัน

Page 13: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

4

5. ประชากรที่มีรายไดแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนแตกตางกัน 6. ประชากรที่มีพื้นที่อยูอาศัยแตกตางกัน มีความพึงพอใจตอการปฏิบตัิงานของเจาหนาที่ตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนแตกตางกนั

ขอบเขตของการศึกษา

1. ขอบเขตของเนื้อหา สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง แบงงานออกเปน 5 ดาน 1.1 งานอํานวยการ 1.2 งานปองกนัและปราบปราม

1.3 งานสืบสวน 1.4 งานสอบสวน

1.5 งานจราจร การศึกษาครั้งนี้ศึกษากรณีการปฏิบัติ (เฉพาะงานปองกนัและปราบปราม) ตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนของเจาหนาที่ตํารวจ สถานีตํารวจภธูรอําเภอบานบึง จังหวดัชลบุรี การศึกษาครั้งนี้มุงเนนความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในดานการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยเนนการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ การพฒันาระบบสายตรวจ การสืบสวนปราบปรามและการปราบปรามยาเสพติด 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอสิระ ไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ รายได และพื้นที่ที่อยูอาศยั 2.2 ตัวแปรตาม ไดแก ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ 4 ดาน คือ การปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ การพัฒนาระบบสายตรวจ การสืบสวนปราบปรามและการปราบปรามยาเสพตดิ

นิยามศัพทเฉพาะ

ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏบิัตงิานของเจาหนาท่ีตํารวจ หมายถึง การรับรูของบุคคลหรือการแสดงออกของบุคคลตอที่หมายใดทีห่มายหนึ่งที่ไดปรากฏออกมาในลักษณะชอบหรือไมชอบ เห็นดวยหรือไมเห็นดวย พอใจหรือไมพอใจตอที่หมายนั้น การปฏิบตัิงานของเจาหนาท่ีตํารวจดานงานปองกันและปราบปราม หมายถึง การปฏิบัติเกี่ยวกับการใหบริการประชาชนในดานการรักษาความปลอดภัยในชีวติและทรัพยสิน การปฏิบตัิตัวของเจาหนาท่ี หมายถึง การแตงกาย กิริยาวาจา และความซื่อสัตยสุจริตปฏิบัติหนาที่อยางตรงไปตรงมาของเจาหนาที่ตํารวจ

Page 14: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

5

การพัฒนาระบบสายตรวจ หมายถึง การจดัระบบสายตรวจทั้งรถจักรยานยนตและรถยนตจุดตรวจคน ตูยามรับแจงเหตุ รวมทัง้การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ประจําสายตรวจ จุดตรวจคนและตูยามรับแจงเหต ุ การสืบสวนปราบปราม หมายถึง การปฏิบัติงานในดานการปราบปรามแหลงอบายมุขการสืบสวนจับกุมคนราย การปราบปรามยาเสพติด หมายถึง การเรงรัดปราบปรามยาเสพติด การเผยแพรขอมูลขาวสารและความรูเร่ืองยาเสพติดแกประชาชน

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ทําใหทราบวาประชาชนมีความพึงพอใจตอการใหบริการและการปฏิบัติหนาที่ตามโครงการของโรงพักเพื่อประชาชนหรือไม 2. นําผลการศึกษามาปรับปรุงการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจสถานีตํารวจภูธร อําเภอบานบึง จังหวดัชลบุรี 3. เปนแนวคดิใหผูสนใจใชเปนแนวทางในการศึกษา เพือ่พัฒนาการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึงจังหวัดชลบุรีใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึน้

Page 15: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

6

บทที่ 2

แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาคนควาครั้งนี้ มุงศกึษาความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชนของสถานีตํารวจภธูรอําเภอบานบึง ผูศึกษาไดศึกษาเอกสาร ทฤษฎี และผลงานวิจยัที่เกีย่วของตาง ๆ ดังนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการใหบริการ 2. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ 3. ความสําคัญของประชาชนในฐานะผูรับบริการจากหนวยงานของรัฐ 4. แนวคิดเกี่ยวกับโครงการโรงพักเพื่อประชาชน 5. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการสาธารณะ 6. สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง 7. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 8. กรอบแนวคิดในการวิจัย

แนวคิดเกี่ยวกับการใหบริการ

“การใหบริการ” อาจกลาวไดวาเปนหนาที่หลักสําคัญในการบริหารงานภาครัฐ โดยเฉพาะ ในลักษณะงานที่ตองมีการติดตอสัมพันธกับประชาชนโดยตรง โดยหนวยงานและเจาหนาที่ผูใหบริการมีหนาที่ในการสงตอบริการ (delivery service) ใหบริการแกผูรับบริการ มีนักวิชาการใหแนวความคิดเกี่ยวกับ “การใหบริการ” ที่ขอนํามากลาวไดแก เวเบอร (Weber, 1966, p. 340) ไดช้ีใหเห็นวา การใหบริการที่มีประสิทธิภาพและเปนประโยชนตอประชาชนมากที่สุด คือ การใหโดยไมคํานึงถึงตัวบุคคลหรือที่เรียก Fine Ira Et Studio กลาวคือ การที่ไมใชอารมณและไมมีความชอบพอใครเปนพิเศษ แตทุกคนจะตองไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันตามหลักเกณฑที่มีอยูในสภาพที่เหมือนกัน มิลเลต (Millat, 1954, pp. 937-400) ไดช้ีใหเหน็วา คุณคาประการแรกของการบริหารรัฐกิจทั้งหมดคือ การปฏิบัติงานดวยการใหบริการที่กอใหเกิดความพึงพอใจ ซ่ึงมีลักษณะที่สําคัญ 5 ประการ คือ

Page 16: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

7

1. การใหบริการอยางเทาเทียมกัน (equitable service) โดยยึดหลักวาคนเราทุกคนเกิดมาทุกคนเทาเทยีมกัน ความเทาเทยีมกันนั้น หมายถึง ประชาชนทุกคนควรมีสิทธิเทาเทียมกนัทั้งกฎหมายและการเมือง การใหบริการของรัฐจะตองไมแบงเชื้อชาติ ผิวหรือความยากจนตลอดจนสถานะทางสังคม 2. การใหบริการอยางรวดเรว็ทันตอเวลา (timely service) จะไมมีผลงานทางสาธารณะใด ๆ ที่มีประสิทธิภาพหากไมตรงตอเวลาหรือทนัเหตุการณ เชน รถดับเพลงิมาถึงหลังจากไฟไหมหมดแลว การบริการนั้นก็ถือวาไมเปนสิ่งที่ตองการและนาพอใจ 3. การใหบริการอยางพอเพยีง (ample service) นอกจากใหบริการอยางเทาเทียมกนัและใหอยางรวดเรว็แลว ตองคํานึงถึงจํานวนคนที่เหมาะสม จํานวนความตองการในสถานที่ที่เพียงพอในเวลาที่เหมาะสมอีกดวย 4. การใหบริการอยางตอเนื่อง (continuous service) คือ การใหบริการตลอดเวลาตองพรอมและเตรียมตัวบริการตอความสนใจของสาธารณชนเสมอ มีการฝกอบรมอยูเปนประจํา เชน การทํางานของตํารวจจะตองบริการตลอด 24 ช่ัวโมง 5. การใหบริการอยางกาวหนา (progressive service) เปนการบริการทีม่ีความเจริญคืบหนาไปทั้งทางดานผลงานและคณุภาพ เทคโนโลยีที่ทันสมัย แคท, ดาเนท และเบรนดา (Kats, Danet & Brenda, 1973, pp. 4-60) ไดศึกษาการบริการประชาชนเนนวาหลักการที่สําคัญของการใหบริการขององคกรของรัฐ ประกอบดวยหลักการ 3 ประการ คือ 1. การติดตอเฉพาะงาน (specificity) เปนหลักการที่ตองใหบทบาทของประชาชนและเจาหนาที่อยูในวงจํากัด เพื่อใหการควบคุมเปนไปตามระเบียบกฎเกณฑและทําไดงาย ทั้งนี้โดยดูจากเจาหนาที่ที่ใหบริการวา ใหบริการประชาชนเฉพาะเรื่องทีต่ิดตอหรือไม ปฏิบัติหรือมกีารสอบถาม เร่ืองอื่นที่ไมเกี่ยวของกับเรือ่งที่ติดตอหรือไม หากมกีารใหบริการที่ไมเฉพาะเรื่องและสอบถามเรื่องที่ไมเกี่ยวของ นอกจากจะทําใหลาชาแลวยงัทําใหการควบคุมเจาหนาทีเ่ปนไปไดยาก 2. การใหบริการที่มีลักษณะเปนทางการ (universality) หมายถึง การที่ผูใหบริการจะตองปฏิบัติตอผูรับบริการอยางเปนทางการ ไมยึดถือความสัมพันธสวนตวั แตยึดถือการใหบริการแกผูรับบริการทุกคนอยางเทาเทียมกันในทางปฏิบัติ 3. การวางตนเปนกลาง (affective aeutrality) หมายถึง การใหบริการแกผูรับบริการโดยจะตองไมนําเรื่องของอารมณของเจาหนาที่ที่ใหบริการเขามาเกี่ยวของ กุลธน ธนาพงศธร (2530, หนา 303-304) ไดช้ีใหเหน็ถึงหลักการใหบริการที่สําคัญมี 5 ประการ คือ

Page 17: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

8

1. หลักความสอดคลองกับความตองการของบุคคลเปนสวนใหญ กลาวคือ ประโยชนและบริการที่องคกรจัดใหนัน้ จะตองตอบสนองความตองการของบุคลากรสวนใหญหรือทั้งหมดมิใชเปนการจดัใหแกบุคคลกลุมใดกลุมหนึ่งโดยเฉพาะ มิฉะนั้นแลวนอกจากจะไมเกิดประโยชนสูงสุดในการเอื้ออํานวยประโยชนและบรกิารแลว ยังไมคุมคากับการดาํเนินการนัน้ ๆ ดวย

2. หลักความสม่ําเสมอ กลาวคือ การใหบริการนั้น ๆ ตองดําเนินการอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ ไมทํา ๆ หยุด ๆ ตามความพอใจของผูปฏิบัติงาน

3. หลักความเสมอภาค กลาวคือ บริการที่จัดนั้นจะตองใหแกผูมาใชบริการทุกคนอยางเสมอภาคและเทาเทียมกนั ไมมีการใชสิทธิพิเศษแกบุคคลหรือกลุมคนใดบุคคลหนึง่ในลักษณะจากบุคคลกลุมอื่น ๆ อยางเห็นไดชัด

4. หลักความประหยดั บริการที่จัดใหแกผูรับบริการจะตองเปนไปในลักษณะปฏิบัติไดงาย สะดวก สบาย ส้ินเปลืองทรัพยไมมากนัก ทั้งยังไมเปนการสรางภาระยุงยากใจใหแกผูใหบริการหรอืผูใชบริการมากจนเกินไป

แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ

“ความพึงพอใจ” ไดถูกศึกษาตั้งแตชวงกอนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยเกิดขึ้นในอังกฤษ ยุโรป รวมทั้งในสหรฐัอเมริกา เพื่อมุงตอบคําถามวาทําอยางไรจึงจะเอาชนะความจําเจและความนาเบื่อหนายของงาน ตอมาการศึกษาความพึงพอใจไมไดจํากัดเฉพาะการศึกษาความพงึพอใจที่มีตองานของตนเองเทานั้น แตยังนําไปศึกษาในเชิงการมีปฏิสัมพันธทางสังคม โดยเฉพาะในลักษณะงานที่เกี่ยวของกบัการใหบริการที่ประกอบไปดวยบุคคล 2 ฝาย คือ ฝายผูมีอํานาจหนาทีใ่นการใหบริการและฝายผูรับบริการโดยศึกษาถึงความพึงพอใจของผูรับบริการที่มีตอการใหบริการ มีนักวิชาการใหแนวความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจที่ขอนํามากลาว ไดแก แสวง รัตนมงคลมาศ (2514, หนา 20-21) กลาววา ความแตกตางที่สําคญัระหวางประสิทธิภาพทางดานธุรกิจกับทางดานรัฐกิจนั้น จุดใหญอยูที่กําไรกบัความพึงพอใจของประชาชนสําหรับกําไรนัน้เปนสิ่งที่สามารถมองเห็นและนับกนัได สวนความพึงพอใจเปนสิ่งที่มองไมเห็นและคอนขางยากสําหรับการนั้น และตามทศันของ ลีเมอร (Lemer) ใหความหมายของความพึงพอใจวา หมายถึง ความสําเร็จ (achievement) และความมุงปรารถนา (aspiration) ในงานนั้น ๆ อาจเขียนเปนสูตรไดดังนี ้ Satisfaction = achievement : aspiration ความพึงพอใจในเชิงปฏิสัมพันธทางสังคม โดยเฉพาะในลักษณะงานที่เกี่ยวของกับการใหบริการที่ประกอบไปดวยบุคคล 2 ฝาย คือ ฝายแรก ไดแก ผูที่มีอํานาจหนาทีใ่นการใหบริการ

Page 18: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

9

สวน ฝายที ่2 ไดแก ผูรับบรกิาร การศึกษาความพึงพอใจของผูรับบริการนั้น ไซมอน (herbert Simon) เห็นวางานใดที่มีประสิทธิภาพสูงสุดนั้นสามารถพิจารณาไดจากความสัมพนัธระหวางปจจัยนําเขา (input) กับผลผลิต (output) ที่ไดรับออกมาโดยพจิารณาจากผลผลิตลบออกดวยปจจยันําเขา แตถาเปนเรื่องการบริหารรัฐกิจก็ตองบวกความพึงพอใจของผูรับบริการดวย ไซมอน (Simon, 1960, p. 180) ซ่ึงอาจเขียนเปนสูตรไดดังนี ้ E = (O - I) + S โดย E คือ ประสิทธิภาพของงาน O ผลผลิตที่ไดรับออกมา (efficiency) I ปจจยัที่นาํเขา (input) S ความพึงพอใจของผูรับบริการ (satisfaction) อมร รักษาสัตย (2522, หนา 13) ใหความเห็นวา ความพอใจของผูรับบริการเปนมาตรการอยางหนึ่งที่ใชวัดประสิทธิภาพของการบริการได เพราะการจัดบริการของรัฐไมใชสักแตวาทําใหเสร็จ ๆ ไป แตหมายถึงการใหบริการอยางดีเปนที่พอใจแกประชาชน ปุระชัย เปยมสมบูรณ (2531, หนา 34-36) ไดเสนอผลงานอันเปนแนวทางที่มุงเปนฐานคติวาดวยความพึงพอใจของประชาชนในกรุงเทพมหานครตอกระบวนการยุติธรรมวา การตั้งฐานคติเกี่ยวกับสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคมเมืองขนาดใหญจะตองตระหนักถึงความกลมเกลียวและความขัดแยง ทัง้ความรวมมือและการแขงขนัทั้งการไดเปรยีบและเสยีเปรยีบภาพของขบวนการยุติธรรม จึงอาจเปนไปไดทั้งเชิงปฏิฐานและเชิงนิเสธ เสมือนสองปลายของเสนตรงเดียวกัน การศึกษาเกีย่วกับการพึงพอใจตอกระบวนการยุติธรรม จึงเปนปรากฏการณที่สลับซับซอน และตองอาศัยแนวคิดเชงิปทัสถาน (normative concepts) แนวคดิเชิงประจักษ (empirical concepts) ฉะนั้นทฤษฎีวาดวยความพึงพอใจตอกระบวนการยุติธรรมจึงไดแก ทฤษฎีที่หนึ่ง ภูมิหลังของประชาชนผูรับบริการ นาจะมีความสัมพันธกับความพึงพอใจตอกระบวนการยุติธรรม ภายใตสภาวะแวดลอมของสังคมเมืองขนาดใหญ ทฤษฎีที่สอง ประสบการณของประชาชนผูรับบริการเกี่ยวกับปญหาอาชญากรรม นาจะมีความสัมพันธกับความพึงพอใจตอกระบวนการยุติธรรมภายใตสภาวะแวดลอมของสังคมเมืองขนาดใหญ ภูมิหลังของประชาชน หมายถึง อายุ การศกึษา ระยะเวลาอยูอาศัยในทองถ่ินนั้น ๆ ของประชาชน ประสบการณของประชาชนเกี่ยวกับปญหาอาชญากรรม หมายถึง ลําดบัความสําคัญของอาชญากรรมและความปลอดภัยจากอาชญากรรม

Page 19: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

10

ภาพที่ 1 ความพึงพอใจตอกระบวนการยตุิธรรม นอกจากนี ้ยังกลาววาความพึงพอใจจัดเปนทัศนคติที่ตองผานกระบวนการการรับรูและ

ตีความของบุคคล ซ่ึงมีการประเมินคาของสิ่งที่รับรูวาชอบหรือไมชอบ ปรารถนาหรือไมปรารถนา พึงพอใจหรือไมพึงพอใจ ทัศนคติ หมายถึง ลักษณะการประเมินผลเกีย่วกบัแนวคดิและการตอบสนองในเชิงประเมนิตอส่ิงเราทั้งหลาย ฉะนั้น ผลที่ติดตามมาคือ บุคคลทั้งหลายตางมีทัศนคติตอสรรพสิ่งตาง ๆ อาจเปนบวกมาเปนลบหรือเปนกลาง

ความสําคัญของประชาชนในฐานะผูรบับริการจากหนวยงานของรัฐ

เมื่อพิจารณาจากพื้นฐานภายใตการปกครองในระบบประชาธิปไตยในลกัษณะของรัฐบาลของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชนแลว การดําเนินกิจกรรมใด ๆ ก็ตามหนวยงานของรัฐจะตองฟงเสียงของประชาชนในฐานะผูรับบริการและคํานึงถึงผลประโยชนทีป่ระชาชนควรจะไดรับเปนสาํคัญ ดังนั้น หนวยงานของรัฐจึงจําเปนตองแสวงหาขอมลูจากประชาชนอยางตอเนื่องทั้งในขั้นตอนของการวางแผนการปฏิบัติงานและการประเมินผล เพื่อใหสามารถบริการประชาชนไดสอดคลองกับความตองการไดมากยิ่งขึน้ นอกจากนั้นการแพรหลายของแนวความคดิรัฐประสนศาสตรในความหมายใหม (new public administration) นบัตั้งแตชวงทศวรรษ 1970 เปนตนมา ที่ใหความสําคัญกับเรื่องความเปนธรรมในสังคม (social equity) โดยเฉพาะการใหบริการสาธารณะจะตองสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนได รวมทั้งยังคํานึงถึงผูเสียเปรียบในสังคมดวย รีฮาฟล (Rehfuss, 1973) ประกอบกับในการใหบริการสาธารณะจําเปนตองใหความสําคัญตอลูกคาผูรับบริการ (clients) และผูรับบริการควรจะตองมีอํานาจในการประเมินผลการทํางานของหนวยงานรัฐดวย ฟเดอรริคสัน(Frederickson, 1980) ซ่ึงจะเห็นไดวาเปนจดุเปลี่ยนแปลงที่สําคัญพอสมควรที่การบริหารภาครัฐ เร่ิมใหความสาํคัญตอประชาชนในฐานะผูรับบริการจากหนวยงานของรัฐมากขึ้น และยังเปดโอกาสใหเขามามีสวนรวมมากขึ้นดวย

ภูมิหลังของประชาชนผูรับบริการ

ความพึงพอใจตอกระบวนการยุติธรรม

ประสบการณเกี่ยวกับปญหาอาชญากรรม

Page 20: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

11

ตอมาจากการจุดประกายแนวคิดการจดัการภาครัฐใหม (reinventing government) โดย ออสบอรนและแกบเลอร (Osborne & Gaebler, 1992) พยายามใหทุกฝายหันมาใหความสําคัญตอการปรับเปลี่ยนแนวทางและการบริหารภาครัฐจากเดิมทีม่ีลักษณะของรัฐบาลเชิงราชการ (bureaucratic government) มาสูรัฐบาลเชิงประกอบ (entrepreneurial government) ที่พยายามสงเสริมการแขงขันระหวางผูใหบริการสาธารณะตาง ๆ เพิ่มอํานาจประชาชนและชุมชนในการตัดสินใจมากกวาเปนเพยีงผูรับบริการจากทางราชการ การดําเนินงานของรัฐบาลตองมีภารกิจที่ชัดเจน และตรวจผลสําเร็จในการดําเนนิงานมากกวาปลอยใหเกิดปญหากอนแลวคอยหามาตรการแกไข รวมทั้งพยายามดําเนนิการในลักษณะของการแสวงหารายไดมากกวาการใชจายงบประมาณเพียงอยางเดยีว และใชกลไกลการตลาดแทนการแทรกแซงของภาครัฐในการแกปญหาอุปสรรคและใหบริการดานตาง ๆ นอกจากนี้ยังเนนการกระจายอํานาจโดยใชวิธีการบริหารแบบมีสวนรวมมากขึ้น (ทศพร ศิริสัมพันธ, 2538 หนา 3) ส่ิงที่สําคัญเปนอยางยิ่งในแนวคิดการจดัการภาครัฐใหมที่จําเปนตองขยายความเขาใจก็คือ การใหความสําคัญตอลูกคาเปนอันดบัแรก ดวยวธีิการเปลี่ยนแปลงหลักการพื้นฐานของการดําเนินงานในภาครัฐโดยสิ้นเชิง จากเดิมที่เคยบริหารงานตามแผนงานโครงการและงบประมาณที่ไดรับ งานมีลักษณะผูกขาด นําไปสูการสรางแรงบีบคั้นใหหนวยงานตาง ๆ ตองแขงขันเพื่อบริการลูกคา ไมวาจะเปนการแขงขันภายในหนวยงานระหวางหนวยงานและภาคเอกชน พรอมกนันี้ยังตองดิ้นรนตอสูเพื่อลดตนทุนคาใชจายและปรับปรุงการใหบริการลูกคา ในทํานองเดียวกับผูบริหารของภาคธุรกิจเอกชนดวย ซ่ึงแนวทางดังกลาวประธานาธิบดีบิล คลินตัน ไดประกาศเปนแนวทางนโยบายที่สําคัญประการหนึ่งในการบริหารประเทศสหรัฐอเมริกา พรอมทั้งไดกําหนดเปนมาตรการในทางปฏิบัติที่สําคัญ เชน การสํารวจความคิดเห็นของลูกคาเกี่ยวกับการใหบริการเปนความพึงพอใจเกี่ยวกับการใหบริการของหนวยงานและบริการที่พึงประสงคแลวมากาํหนดเปนเกณฑมาตรฐานในการใหบริการลูกคา (customer service standards) จัดการรื้อและจัดโครงสรางหนวยงานใหมตามความตองการของลูกคาและประการสําคัญใหมีการวัดผลการปรับปรุงการใหบริการโดยพิจารณาวดัจากความพึงพอใจของลูกคาเปนหลัก (ทศพร ศิริสัมพันธ, 2538, หนา 19-22) จากแนวคิดทีไ่ดตอเนื่องมาเปนลําดับจะเหน็ไดวาการใหบริการสาธารณะโดยหนวยงานของรัฐนั้นประชาชนในฐานะผูรับบริการหรืออีกนัยหนึ่งคือลูกคานั้น มิใชอยูในฐานะแคเพียงผูรอรับบริการเทานั้น แตจะมีความสําคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งในแงของการไดรับความสนใจ โดยถือวาเปนทรัพยากรหนึ่งที่สําคัญในการใหบริการสาธารณะ ความคิดเห็นหรือความตองการของลูกคา ถือวาเปนผลชี้วัดความสําเร็จหรือลมเหลวในการใหบริการสาธารณะ และขยายตอเนือ่งไปถึงการพยายามปรับปรุงหนวยงานของรัฐในทุกวิถีทาง เพื่อใหบรรลุผลตามตองการของลูกคาหรือประชาชนในฐานะผูรับบริการจากหนวยงานของรัฐใหไดเชนเดียวกัน ภารกิจดานการรักษาความมั่นคง

Page 21: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

12

ปลอดภัยในชวีิตและทรัพยสินใหกับประชาชนหรือการปองกันปราบปรามอาชญากรรม ซ่ึงถือวาเปนภารกจิสวนหนึ่งของการดําเนินกิจกรรมใหบริการโดยหนวยงานของรัฐ ก็ตองปรับตัวใหอยูภายใตเงื่อนไขนี้ดวยเชนกัน แตขอเท็จจริงที่ปรากฏในหนวยงานของรัฐในปจจุบัน ซ่ึงมีภารกิจที่ซับซอนกวางขวางขึ้นดังตัวอยางภารกิจของสํานักงานตํารวจที่ตองรับผิดชอบภารกิจตาง ๆ ที่นอกเหนือจากภารกจิหลักคอืการปองกันอาชญากรรม กลับใหความสนใจตอการตอบสนองความตองการของประชาชนในฐานะผูรับบริการนอยลง ทัง้นี้ คอกซและเวด (Cox & Wade, 1985) ไดใหความเหน็วาความจริงแลวประชาชนนับวามีความสําคญัเปนอยางมากตอการใหบริการขององคกรของรัฐ ดังเชนงานตํารวจเพราะในสภาพความเปนจริง กําลังตํารวจไมสามารถดูแลประชาชนไดอยางทั่วถึง จงึตองอาศัยบทบาทของประชาชนในการใหความรวมมือตาง ๆ ทั้งในการใหขาวสารชวยแจงเหตหุรือสนับสนุนทางดานอื่น ๆ นอกจากนัน้แลวประชาชนยงัจดัเปนแหลงขอมูลที่สําคัญยิ่งในการประเมินผลการปฏิบัติงานขององคกรรัฐ ประชาชนจึงเปนองคประกอบที่สําคัญยิ่งตอการชี้ใหเหน็ถึงความสําเร็จหรือความลมเหลวในการใหบริการขององคกรรัฐ เพราะการที่จะบอกไดวาองคกรของรัฐใดสามารถปฏิบัติงานใหเกดิประโยชนตอประชาชนไดอยางแทจริงนั้น ควรใหประชาชน ผูไดรับผลจากนโยบายสาธารณะนัน้ ๆ หรือประชาชนในฐานะลกูคาผูรับบริการ เปนผูมีสวนรวมในการประเมนิประสิทธิผลหรือช้ีใหเห็นถึงความสําเร็จหรือความลมเหลวในการปฏิบัติงานของหนวยงานของรัฐหรือการใหบริการสาธารณะ ตวัอยางเชน การใหบริการของตํารวจซึ่งเปนงานที่สงผลกระทบโดยตรงตอประชาชนทั้งในดานใหคุณและใหโทษ จึงมคีวามจําเปนอยางยิ่งที่จะตองหันไปหาอีกแนวทางหนึ่งทีย่ังถูกละเลยอยูนั่นก็คือ การประเมินถึงความรูสึกของประชาชนวามีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของตํารวจมากนอยเพยีงใด ก็จะทําใหเกิดประโยชนมากขึ้น เพราะจะเปนเสมือนขอมูลยอนกลับเพื่อการปรับปรุงแกไขตอไป นอกจากจะเกิดประโยชนตอองคกรตํารวจแลว ผลประโยชนสุดทาย (ultimate outcome) ก็จะเกิดขึน้ตอประชาชนอยางแทจริงอีกดวย

แนวคิดเกี่ยวกับโครงการโรงพักเพื่อประชาชน

รัฐบาลไดใหความสําคัญการพัฒนาสถานีตํารวจเปนอยางมาก จึงไดแตงตั้งคณะอนกุรรมการเฉพาะกจิ พิจารณาปรับปรุงระบบการบริหารงานและการจัดการทั่วไปของสถานีตํารวจ ตามคําสั่งคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ ที่ 2/2540 ลงวันที่ 2 พฤษภาคม 2540 มี พลตํารวจเอกพรศักดิ์ ดุรงควิบูลย รองอธิบดีกรมตํารวจ (ฝายปองกันและปราบปรามอาชญากรรม) เปนประธาน เพื่อศึกษาวเิคราะหและเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงระบบบริหาร โครงสรางอัตรากําลัง และการจัดการทัว่ไปของสถานีตํารวจภูธรและสถานีตํารวจนครบาล รวมทั้งศึกษาขอเท็จจริง ปญหา

Page 22: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

13

อุปสรรคเกี่ยวกับการบริการประชาชนของสถานีตํารวจเพื่อหาแนวทางปรับปรุงแกไขใหประชาชนไดรับบริการที่สะดวกรวดเร็ว ตามระเบียบสาํนักนายกรัฐมนตรีวาดวยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2532 และพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ซ่ึงตอมาคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการไดใหความเห็นชอบรายงานผลการศึกษาของคณะอนุกรรมการดังกลาวแลวเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2541 การพัฒนาสถานีตํารวจในครั้งนี้ เปนการจัดทําโครงการตามแนวความคิดของคณะอนกุรรมการเฉพาะกิจพิจารณาปรับปรุงระบบบริหารงานและการจัดการทั่วไปของสถานีตํารวจสํานักงานตํารวจแหงชาติ ซ่ึงไดยึดถือหลักการตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติวิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และระเบยีบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2540 ตลอดจนหลักการและวิธีการปรับปรุงระบบการทํางานของหนวยงานรัฐตามแผนแมบทการปฏิรูประบบราชการ (พ.ศ. 2540-2544) ทั้งนี้สํานักงานตํารวจแหงชาติไดนําแนวความคิดดังกลาวขางตนมาผสมผสานเขากับหลักการและแนวทางดําเนินการปรับปรุงพฒันาสถานีตํารวจในสังกัดตํารวจภาค 1 “โรงพักของเรา” และคูมือบริหารสถานีตํารวจภาค 4 ตลอดจนแนวความคดิและการดําเนินของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ประจําป พ.ศ. 2541 รวมทั้งมาตรการรองรับนโยบายในแตละดาน ดังนั้นโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพือ่ประชาชน ซ่ึงมีช่ือเรียกโดยยอวา “โครงการโรงพักเพื่อประชาชน” จึงมีหลักการสําคัญในการดําเนนิการดังนี้ (กองบัญชาการตํารวจนครบาล, 2530, หนา 5-18) 1. การสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมในกระบวนการนโยบาย และการบริหารทัง้ในระดบัสํานักงานตํารวจแหงชาติไปจนถึงสถานีตํารวจในลักษณะของการรวมกันคิด รวมกันวางแผน รวมกันทําและรวมกันประเมนิผลในระบบเปด ในฐานะทีส่ถานีตํารวจถือเสมือนหนึ่งเปนสมบัติรวมกันของชมุชน 2. การปรับปรุงบทบาทคานิยมและจิตสํานึกของขาราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติ จากการเปน “ผูปกครอง” มาเปน “ผูใหบริการ” ตามแนวทางการสงเสริมการบริหารของรัฐ และเปดโอกาสใหประชาชนมีทางเลือกในการใชบริการจากสถานีตํารวจใหมากขึ้น 3. การปรับปรุงแกไขใหขบวนการตาง ๆ ของงานตํารวจสิ้นสุด ณ ทีส่ถานีตํารวจใหมากที่สุด โดยการยกระดับหวัหนาสถานีตํารวจใหมหีนาที่รับผิดชอบสูงขึ้น รวมงานบรกิารตาง ๆ ของสถานีตํารวจไวในทีเ่ดียวกนั ตลอดทั้งแกไขระเบียบ ขอบังคับ และคําสั่งตาง ๆ ใหมีขั้นตอนปฏิบัติที่นอยลง 4. การมอบหมายใหสถานีตาํรวจเปนผูกําหนดรายละเอยีดการปฏิบัติ ขั้นตอนและระยะเวลาบริการประชาชนของแตละแหงใหสอดคลองกับสถานการณ สภาพปญหาทรัพยากรที่มีอยู และ

Page 23: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

14

ความตองการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อใหบริการประชาชนของสถานีตํารวจเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริมสนับสนุนใหมีการใหรางวัลแกสถานีตํารวจและขาราชการตํารวจดีเดนจากประชาชน 5. การกระจายการบริการประชาชนและการปฏิบัติงานในดานตาง ๆ ของสถานีตํารวจออกไปสูการปฏิบัติในพื้นที่อยางทั่วถึง ตามหลักยุทธศาสตรเชิงรุก โดยเฉพาะทางดานการปองกนัปราบปรามอาชญากรรมและยาเสพตดิ 6. การปรับเกลี่ยกําลังพลจากหนวยงานอื่นในสังกัดสํานกังานตํารวจแหงชาติที่ความสําคัญนอยตอภารกิจในการปองกนัปราบปรามอาชญากรรมและการใหบริการประชาชน ไปยังสถานีตํารวจใหมากที่สุดเทาที่ทําได รวมทั้งปรับปรุงระบบการบริหารงานบุคคลในระดับสถานีตํารวจใหมีความยืดหยุน เพื่อมอบอํานาจใหผูบริหารสถานีตํารวจสามารถหมุนเวียนขาราชการตํารวจในสังกัดทําหนาที่ตาง ๆ ไดตามความเหมาะสมเพียงพอตอการปฏิบัติงานของสถานีตํารวจ โดยเฉพาะในภาวะขาดแคลนกําลังพล 7. การปรับปรุงระบบการจดัทําคําของบประมาณประจําปของสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพื่อใหตรงกับความตองการของสถานีตํารวจอยางแทจริง รวมทั้งปรับปรุงการจัดหาและแจกจายวัสดุครุภณัฑและเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติงาน โดยใหความสําคัญตอสถานีตํารวจเปนลําดับแรก เปาประสงค เพื่อใหบริการประชาชนของสถานีตํารวจสอดคลองกับความตองการของประชาชนอยางแทจริง สํานักงานตํารวจแหงชาติไดกําหนดเปาประสงคในลักษณะของคํามั่นสัญญาไวเปนหลักในการบริการประชาชนที่สํานกังานตํารวจแหงชาติจะมุงมัน่เพียรพยามยามใหประสบผลสําเร็จอยางจริงจังและตอเนื่อง 10 ประการ คือ 1. มีมาตรฐาน สถานีตํารวจทุกแหงจะมีมาตรฐานการใหบริการที่ชัดเจน ทั้งในสวนของการบริการประชาชนบนสถานีตํารวจและการบริการประชาชนนอกสถานีตํารวจ เพือ่ใหสามารถประเมินผลไดอยางเปนรูปธรรมและแจงใหประชาชนในฐานะผูใชบริการไดรับทราบโดยทั่วกัน ทั้งนี้มาตรฐานดังกลาวนัน้ตองสอดคลองกับความตองการของประชาชนตามสภาพความเปนจริงและทรัพยากรของแตละสถานีตํารวจ 2. โปรงใส ทุกสถานีตํารวจในฐานะผูใหบริการ จะเปดเผยขั้นตอนและระยะเวลาในการบริการ เพื่อใหประชาชนผูใชบริการสามารถตรวจสอบได ทั้งในดานผูรับผิดชอบหลักเกณฑ วิธีการปฏิบัติลําดับและขั้นตอนของงานที่ไมเกดิความเสียหายตอทางราชการ 3. ซ่ือสัตยสุจริต การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ในสถานตีํารวจ จะปฏิบัติหนาที่ดวยความซ่ือสัตย มีจิตสํานึกในการใหบริการประชาชนและมุงมั่นพิทักษรับใชประชาชนอยางมีศักดิ์ศรี

Page 24: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

15

4. สะดวกรวดเร็ว การบริการประชาชนของสถานีตํารวจ จะตองเปนไปอยางสะดวก และรวดเร็ว มีขัน้ตอนและระยะเวลาการทํางานที่ส้ันใหเสรจ็สิ้นที่สถานีตํารวจใหมากทีสุ่ดภายใตหลักการทํางานเสร็จสิ้น ณ จุดเดยีว 5. เสมอภาคและความเปนธรรม การบริการประชาชนของสถานีตํารวจจะตองเปนไปอยางเสมอภาคและเปนธรรม โดยไมเลือกปฏิบัติตอบุคคล เพราะเหตแุหงความแตกตางในเรื่องถ่ินกําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรมหรือความคิดเห็นทางการเมือง อันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ 6. มีประสิทธิภาพ การบริการประชาชนของสถานีตํารวจจะเปนไปอยางคุมคาประหยัด มีคุณภาพเกิดประโยชนอยางแทจริง และสอดคลองกับความตองการของประชาชน 7. สุขภาพและชวยเหลือเกือ้กูล เจาหนาทีต่ํารวจผูปฏิบัติงานของสถานีตํารวจจะใหการตอนรับและบริการประชาชนดวยความสภุาพ กระตือรือรน เปนมิตร เอาใจใสเอื้ออาทรใหความชวยเหลือเกื้อกูลอยางเต็มที ่ 8. มีทางเลือก ประชาชนในฐานะผูรับบริการของสถานีตํารวจยอมมีทางเลือกที่จะสามารถใชบริการจากสถานตีํารวจที่เกดิความสะดวกมากที่สุดภายใตขอบเขตที่กฎหมายบัญญัติไว 9. มีสวนรวม การบริการประชาชนของสถานีตํารวจจะเปดโอกาสใหประชาชนและขาราชการตํารวจในทุกระดบัของหนวยงาน มีสวนรวมในการใหขอเสนอแนะตาง ๆ เพื่อรับทราบความตองการตั้งแตตน และจะไดกําหนดแนวทางปฏิบตัิงานที่ถูกตอง สอดคลองเหมาะสมกับความเปนจริงและความตองการของประชาชน 10. ยึดถือประโยชนสวนรวม สถานีตํารวจถือเสมือนหนึ่งเปนสมบัตริวมกันของชมุชนผลการปฏิบัติงานตาง ๆ ที่เกดิขึ้นจะยึดถือประโยชนสวนรวมที่ประชาชนไดรับเปนสําคัญ วัตถุประสงค การดําเนินตามโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชน มีวัตถุประสงค 7 ประการ ดังนี ้ 1. มุงใหประชาชนไดรับการบริการดวยความสะดวกและรวดเรว็ 2. มุงใหประชาชนไดรับการอํานวยความยุติธรรมทางอาญาจากตํารวจดวยความเสมอภาค เปนธรรม ถูกตองตามหลักนิติธรรมโดยมิชักชา 3. มุงใหสังคมมีความสงบเรียบรอย และประชาชนมีความรูสึกอบอุนใจปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน สามารถดํารงชีวิตประจําวันไดโดยปกติสุข

Page 25: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

16

4. มุงใหประชาชนไดรับความสะดวกในการใชรถใชถนน ขณะเดยีวกันก็มุงบังคับใชกฎหมายทีเ่กีย่วกับการจราจรอยางเครงครัด สุภาพและยตุิธรรม 5. มุงสรางความเขาใจอันดีระหวางตํารวจและประชาชน และแสวงหาความรวมมือจากประชาชนเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของตํารวจใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 6. มุงใหสถานตีํารวจ รวมทั้งหนวยงานในลักษณะเดยีวกนัเปนแหลงทีพ่ึ่งของประชาชนอยางแทจริง มคีวามเปนระเบยีบเรียบรอย สะอาด จดัพื้นทีอ่ยางเปนสัดสวน สะดวกตอการใหบริการประชาชน 7. มุงพัฒนาใหขาราชการตํารวจเปนผูที่มคีวามประพฤติดี ปฏิบัติหนาที่ดวยความซือ่สัตยสุจริตเอาจริงเอาจัง เปนที่ไววางใจของประชาชน และมจีิตสํานึกในการใหบริการ และชวยเหลือประชาชน เสมือนหนึ่งตวัเองไดรับความเดือดรอน เปาหมาย โครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชน มีเปาหมายในการพฒันาสถานีตํารวจ รวมทั้งหนวยงานในลักษณะเดียวกันทกุแหงทั่วประเทศดงันี้ 1. เพิ่มประสทิธิภาพการปฏิบัติงานในดานตาง ๆ ไดแก ดานการบริหารทั่วไปดานการอํานวยความยตุิธรรมทางอาญา ดานการรกัษาความปลอดภัยในชวีิตและทรัพยสินของประชาชน ดานการประชาสัมพันธและแสวงหาความรวมมือจากประชาชน ดานการปรับปรุงสถานที่ทําการและสภาพแวดลอมและดานการบริหารงานปกครองบังคับบัญชา 2. ปรับปรุงระบบการบริหารงานและวิธีการปฏิบัติตาง ๆ ของสํานักงานตํารวจแหงชาติ เพื่อใหสถานีตาํรวจ รวมทั้งหนวยงานในลักษณะเดยีวกนัมีความพรอมในการบริการประชาชนมากยิ่งขึ้นทั้งในดานกําลังพล งบประมาณ วัสด ุครุภัณฑ และเครื่องมือเครื่องใชตาง ๆ อนึ่ง ในการพฒันาสถานีตํารวจทุกแหงทัว่ประเทศดังกลาว สํานักงานตํารวจแหงชาติจะคัดเลือกสถานีตํารวจที่มีผลงานดีตามขอ 1 และมีความพรอมในการบริการประชาชนตามขอ 2 เปนสถานีตํารวจตวัอยาง เพื่อใหสถานีตํารวจอื่น ๆ นําไปเปนแมแบบในการพัฒนาและเพิม่จํานวนสถานีตํารวจทีม่ีความสมบูรณเร่ือย ๆ ไป ใหครบทุกสถานีโดยเรว็ที่สุด วิธีการดําเนินการ สถานีตํารวจหรือหนวยงานในลักษณะเดยีวกันทุกแหง ในสังกดักองบัญชาการตํารวจนครบาล ตํารวจภูธร ภาค 1 ถึง 9 และกองบัญชาการตํารวจสอบสวนกลางพิจารณาดําเนนิการดังนี ้ 1. จัดใหมีการประชุมชี้แจงทําความเขาใจแกขาราชการตํารวจทุกนาย เพื่อใหเกิดเอกภาพทางความคิด มีความรูความเขาใจและประพฤติปฏิบัติในแนวทางเดยีวกัน 2. เสนอกองบังคับการตนสังกัดแตงตั้งคณะกรรมการสถานีตํารวจ หรือคณะกรรมการหนวยงาน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด เพื่อใหประชาชนเขามา

Page 26: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

17

มีสวนรวมในการบริหารและการปฏิบัติงานไดตามสมควร ในลักษณะของการรวมกนัคิด รวมกนัวางแผน รวมกันทํา และรวมกันประเมนิผล 3. สํารวจขอมูลเกี่ยวกับความสามารถในการจัดกิจกรรมการพัฒนาตามแนวทางที่สํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนดไว เพื่อรายงานผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นใหทราบวาเคยดําเนินการในเรื่องตาง ๆ มาแลวหรือไมและในการปฏบิัติตามโครงการในครั้งนี้จะสามารถดําเนินการไดเองมากนอยเพยีงใดทั้งนี้ ใหใชแบบรายงานการสํารวจทีสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด 4. เรงปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในดานตาง ๆ โดยพิจารณาจัดกิจกรรม การพัฒนาตามแนวทางทีก่ําหนดใหเหมาะสมกับภารกิจ หนาที่ความรบัผิดชอบ ภายใตขีดความสามารถที่จะดําเนินไดเองเปนลําดับแรก รวมทั้งตามที่คณะกรรมการบริหารโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชนระดับสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนดอีกสวนหนึ่งดวย 5. กําหนดขั้นตอนและระยะเวลาการบริการประชาชนใหเหมาะสมกับภารกิจ หนาที่ความรับผิดชอบ สภาพความเปนจริง และทรัพยากรทางการบริหารที่มีอยูของแตละแหง โดยพิจารณาปรับใชจากหลักเกณฑขั้นต่ําที่สํานกังานตํารวจแหงชาติกําหนดไว พรอมเงื่อนไขทั่วไปและเงื่อนไขเฉพาะในแตละเรื่อง ซ่ึงบางสถานีตํารวจหรอืหนวยงานอาจลดขั้นตอนและระยะเวลาการบริการประชาชนของตนเองเสร็จสิ้นเปนที่เรียบรอยแลวใหติดประกาศแจงใหประชาชนผูมาใชบริการไดทราบทั่วกัน 6. นําแนวความคิดในการดําเนินงานตามโครงการนี้ไปแปลงเปนกิจกรรมและการปฏิบัติอ่ืนใดที่เปนรูปธรรมใหบังเกิดผลอยางจรงิจังและตอเนือ่ง ระยะเวลาดําเนินการ ดําเนนิการตอเนื่องตั้งแต พ.ศ. 2541-2544 แผนการดําเนนิการ โครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชน แบงการดําเนินการออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะเริ่มตนและระยะพัฒนาดังนี ้ 1. ระยะเริ่มตน (ปงบประมาณ 2541) เปนชวงของการชีแ้จงทําความเขาใจแกขาราชการตํารวจทุกระดบั รณรงคแสวงหาความรวมมือจากประชาชน ดําเนนิการจัดกิจกรรมการพัฒนาที่กําหนดไว ตามขีดความสามารถที่จะดําเนนิการไดเองเปนลําดับแรกและนําขั้นตอนและระยะเวลาการบริการประชาชนที่กําหนดไวไปทดลองใช เพื่อขอรับฟงความคิดเห็นจากประชาชนกอนที่สํานักงานตํารวจแหงชาติจะประกาศใชบังคับเปนระเบยีบใหทุกหนวยถือปฏิบัติตอไป 2. ระยะพัฒนา (ปงบประมาณ 2542-2544) เปนการดําเนนิการพัฒนาอยางตอเนื่องเปนขั้นตอน ตั้งแตการวิเคราะหสถานการณ การกําหนดแนวทางดําเนินงานตาง ๆ การชี้แจงทําความเขาใจ การเตรยีมความพรอม การลงมือปฏิบัติ ไปจนถึงการติดตามประเมินผล โดยมีการพิจารณา

Page 27: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

18

ทบทวนและปรับปรุงวิธีดําเนินการพรอมรายละเอียดตาง ๆ ใหเหมาะสมกับสถานการณเปนประจาํทุกป การติดตามและประเมินผล สํานักงานตํารวจแหงชาติจะทําการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชนดังนี ้ 1. การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการดําเนินงานตามโครงการโดยหนวยงานทีเ่กีย่วของตามที่คณะกรรมการบริหารโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชนระดับสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด 2. การติดตามผลโดยผูบังคับบัญชาหรือฝายอํานวยการในระดับกองบงัคับการกองบัญชาการและสาํนักงานตํารวจแหงชาติรวมทั้งจเรตํารวจ 3. การติดตามผลโดยคณะกรรมการบริหาร โครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชนระดับสํานักงานตํารวจแหงชาติ ระดับกองบัญชาการและระดับกองบังคบัการ 4. การรายงานผลการปฏิบัติของหนวย ตามแบบการรายงานที่คณะกรรมการบริหารโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชนระดับสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด โดยสํานักงานแผนงานและงบประมาณจะเปนผูจัดสงไปใหหนวยงานตาง ๆ เพื่อรายงานความคืบหนาในการดําเนินการทุกระยะการประเมินผล สํานักงานแผนงานและงบประมาณเปนหนวยงานรับผิดชอบในการประเมินผลดังนี้ 4.1 การประเมินผลจากรายงานของหนวยงานตาง ๆ ที่รายงานตามแบบรายงานที่คณะกรรมการบริหารโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชนระดับสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนด 4.2 การวิจยัประเมินผลของคณะกรรมการบริหารโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อ ประชาชนระดบัสํานักงานตํารวจแหงชาติ โดยรวมกับนักวิจัยอิสระและผูทรงคุณวุฒิจากสถาบันอุดมศึกษา

ประโยชนท่ีจะไดรับ

1. ประชาชนจะไดรับการคุมครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ 2. ประชาชนจะไดรับการบริการจากสถานีตํารวจดวยความสะดวก รวดเรว็ เสมอภาคและเปนธรรม ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และมีระเบียบสํานกันายกรัฐมนตรวีาดวยการปฏิบัติราชการเพือ่ประชาชนของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. 2540

Page 28: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

19

3. ประชาชนจะมีความปลอดภัยในชวีิตและทรัพยสินมากยิง่ขึ้น สามารถดํารงชีวิตประจําวันไดอยางปกติสุข และมีสวนชวยเสริมสรางพัฒนาชุมชนของตนใหมีความเข็มแข็ง มั่นคงปลอดภัย และรวมกันแกไขปญหาทางดานเศรษฐกจิและสังคมไดอยางจริงจัง 4. ขาราชการตํารวจจะไดรับการพัฒนาใหเปนที่เชื่อถือ ศรัทธา ไววางใจ เปนที่รักใครของประชาชน สมกับการเปนผูพิทักษสันติราษฎรอยางแทจริง ทําใหภาพลักษณสวนรวมของสํานักงานตํารวจแหงชาติดีขึน้ 5. สถานีตํารวจ รวมทั้งหนวยงานในลักษณะเดียวกนัจะไดรับการพัฒนาใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและสอดคลองกับความตองการของประชาชนในพื้นที่มากยิ่งขึ้น

แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการสาธารณะ

การใหบริการสาธารณะ (public service delivery) โดยทั่วไปจะเกี่ยวของกับกิจกรรมใหบริการตาง ๆ แกประชาชน ซ่ึงเปนการดาํเนินงานโดยหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบ ซ่ึงสวนใหญมักจะเปนหนวยงานของรัฐ (ประยูร กาญจนดุล, 2491) ถึงแมวาอาจจะมีนักวิชาการบางทานที่เห็นวาการใหบริการสาธารณะนั้น ไมจําเปนตองเปนหนาทีข่องหนวยงานของรัฐเทานั้น แตอาจเปนของภาคเอกชนก็ได (เทพศักดิ์ บณุยรัตพนัธ, 2536) อยางไรกต็ามไมวาการใหบริการสาธารณะนัน้จะกระทําโดยฝายใดก็ตาม การใหบริการสาธารณะก็มกัจะเกี่ยวของกับผูใหบริการ (providers) กิจกรรมที่ใหบริการ (services) และผูรับบริการ (recipients) ความหมายความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบรกิารสาธารณะ ในการใหความหมายของความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการสาธารณะ มีนกัวิชาการไดใหความหมายไวตาง ๆ มากมายพอสรุปไดดงันี้ ฟทซเจอรัลดและดูแรนท (Fitzgerald & Durant, 1980, p. 586 อางถึงใน วัลลภา ชายหาด, 2532, หนา 285) ไดใหความหมายความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการสาธารณะ (public service satisfaction) วาเปนการประเมินผลการปฏิบัติงานในการใหบริการของหนวยงานปกครองทองถ่ิน โดยมีพื้นฐานเกิดจากการรับรูถึงการสงมอบบริการที่แทจริง และการประเมินผลนี้จะแตกตางกนัออกไป ทั้งนี้ขึน้อยูกับประสบการณที่แตละบุคคลไดรับ และตามเกณฑที่แตละบุคคลตั้งไว รวมทั้งการตัดสินของบุคคลนั้น ๆ ดวย และมักจะพิจารณาจาก 2 ดาน คือ ดานอัตวิสัย ซ่ึงเกิดจากการรับรูถึงการสงมอบการบริการ และดานวัตถุวิสัย ซ่ึงเกิดจากการไดรับปริมาณและคุณภาพของการบริการ สวน กันแลซและเรด (Gundlach & Reid, 1983, p. 41) เห็นวาความพึงพอใจของประชาชน ตอการใหบริการสาธารณะ เปนระดับความพึงพอใจของประชาชนวาหลังจากไดรับบริการจาก

Page 29: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

20

เจาหนาทีแ่ลว สามารถตอบสนองความตองการหรือแกไขปญหาและทําใหประชาชนเกิดความภูมิใจไดมากนอยเพียงใด นักวิชาการของไทย อาทิเชน สุริยะ วิริยะสวัสดิ์ (2530) ไดใหความหมายความพึงพอใจหลังการใหบริการของหนวยงานของรัฐวาหมายถึง ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่เกิดขึน้หลังจากไดรับบริการวาเจาหนาที่สามารถตอบสนองความตองการหรือแกไขปญหาทีต่นประสบอยูไดหรือไม และทําใหประชาชนเกิดความภาคภูมิใจมากนอยเพียงใด ปุระชยั เปยมสมบูรณ (2531) กับงานวิจยัเร่ือง ความพึงพอใจของประชาชนในกรุงเทพมหานครตอกระบวนยุติธรรม : การสํารวจปจจยัและผลกระทบระดับยนูิแวริเอท และระดับมัลติแวริเอท ไดใหความหมายความพึงพอใจของประชาชนตอกระบวนการยตุิธรรมวา หมายถึง ทัศนคติทั้งเชิงปฏิฐานและเชิงนิเสธของประชาชนที่มีตอกระบวนการยุติธรรม วัลลภา ชายหาด (2532) เหน็วาความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการบริการสาธารณะ หมายถึง ระดบัความพึงพอใจของประชาชนภายหลังจากไดรับบริการดานรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร โดยประเมนิจากเกณฑทีแ่ตละคนมีอยู มณีวรรณ ตั้นไทย (2533) ใหความหมายความพึงพอใจหลังการไดรับบริการวาหมายถึง ระดับความพึงพอใจของประชาชนที่เกิดขึน้หลังจากไดรับบริการวาเจาหนาที่สามารถตอบสนองตามความตองการหรือแกไขปญหาที่ตนประสบอยูไดหรือไม และทําใหประชาชนเกดิความภูมใิจมากนอยเพียงใด ซ่ึงเหมือนกันกับความหมายที่ สุริยะ วริิยะสวัสดิ์ ไดใหความหมายไว เทพศักดิ์ บณุยรัตพันธ (2536) ก็ไดใหความหมายในทางที่คลายคลึงกันวาเปน ความพึงพอใจของผูรับบริการตอเจาหนาทีใ่นการชวยแกไขปญหาความเดือดรอนใหแกประชาชน และความพึงพอใจที่มีตอความตั้งใจของเจาหนาที่ในการใหบริการแกประชาชน ในการศึกษาเรือ่ง ความพึงพอใจของประชาชนตอระบบและกระบวนการใหบริการของกรุงเทพมหานคร : ศึกษากรณีสํานักงานเขต ไดใหความหมายความพึงพอใจของประชาชนวา หมายถึง ปฏิกริิยาดานความรูสึกของประชาชนตอส่ิงเราหรือส่ิงกระตุนที่แสดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธสุดทายของกระบวนการประเมินโดยบงบอกถึงทิศทางของผลการประเมินวาเปนไปในลักษณะขั้วบวกหรือขั้วลบหรือไมมีปฏิกิริยาใด ๆ (สํานักนโยบายและแผน กรุงเทพมหานคร, 2537) กลาวโดยสรุป สําหรับความพึงพอใจของประชาชนที่มตีอการใหบริการของหนวยงานของรัฐ นักวิชาการแตละทานก็ไดใหความหมายทีแ่ตกตางกันออกไปตามประสบการณและเกณฑตาง ๆ ที่แตละทานมีอยู อยางไรก็ตามจุดรวมที่สําคัญของความหมายดงักลาวก็จะเกี่ยวของกับ 1. ระดับความรูสึกของประชาชนในฐานะผูรับบริการ 2. ที่มีตอการใหบริการตาง ๆ จากองคกรของรัฐ

Page 30: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

21

3. ในมิติตาง ๆ ตามประสบการณที่ไดรับ การวัดความพงึพอใจของประชาชนตอการใหบริการสาธารณะ มิลเลต (Millet, 1954, p. 357) ซ่ึงศึกษาความพึงพอใจของประชาชนที่มตีอการใหบริการของหนวยงานของรัฐบาลวาตองการยึดหลักการวดัความพึงพอใจ 5 ดานตอไปนี้คือ 1. การใหบริการอยางเสมอภาค (equitable service) 2. การใหบริการอยางทันเวลา (timely service) 3. การใหบริการอยางเพียงพอ (ample service) 4. การใหบริการอยางตอเนื่อง (continuous service) 5. การใหบริการอยางกาวหนา (progressive service) ฟทซเจอรัดลและดูเรนท (Fitzgearald & Durant, 1980, pp. 585-594) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางความตองการของประชาชนที่จะเขามามีอิทธิพลในระบบการสงมอบการบริการกบัความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการบริการที่ไดรับเนนศึกษาในเชิงอัตวิสัย โดยจะเนนวัดดานทัศนคติประกอบดวยทัศนคติของประชาชนที่มีตอความรับผิดชอบของหนวยงานการปกครองของ ทองถ่ิน และทศันคติ ที่เกิดจากการเปรียบเทียบระหวางคาใชจายที่ตนเสียกับผลประโยชนที่ไดรับบริการทั้งสองปจจัยเปนตัวกาํหนดความพงึพอใจของประชาชนที่มีตอบริการที่ไดรับ และระดับความตองการของประชาชนที่จะเขามามีอิทธิพลตอในระบบการใหบริการ วัง (Wang, 1986, pp. 104-129) ไดศึกษาถึง การใหบริการสาธารณะดานสุขภาพอนามัยในการพัฒนาชนบทของประเทศเกาหลี โดยมปีจจัยที่ศกึษาอยู 3 ปจจยัใหญ ๆ คือ การเขาถึงสถานที่หรือบุคคลที่ใหบริการ รูปแบบหรือการใหบริการ ปจจัยสุดทายคือ ความพึงพอใจในการไดรับบริการ โดยสวนนี้มีตวัช้ีวดั คือ 1. ความสะดวกสบายในการใหบริการ 2. การรับรูถึงประสิทธิผลในการใหบริการ 3. เวลาที่ใชไปสําหรับผูรับบริการ บราวน และคลูเตอร (Brown & Coulter, 1983, pp. 50-58 อางถึงใน โสณกุล ทรัพยสมบัติ, 2541, หนา 185) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางการประเมนิในเชิงอัตวิสัย กับการประเมินในเชิงประวัตถุวิสัยตอการใหบริการงานตํารวจ สําหรับความรูสึกพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการของตํารวจ จะพิจารณาดังนี้คือ 1. การใชเวลาของตํารวจหลังจากการไดรับแจงเหต ุ 2. ลักษณะการปฏิบัติตัวของตํารวจที่มีตอประชาชน

Page 31: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

22

3. ความรูสึกเปนธรรมตอการไดรับความคุมครองจากตํารวจ 4. ความรูสึกเปนธรรมตอการใชเวลาของตํารวจเมื่อไดรับแจงเหต ุ 5. ความเปนธรรมตอการปฏิบัติตัวของตํารวจตอประชาชน 6. ความรูสึกเปนธรรมตอจํานวนอาชญากรรมที่เกิดขั้น สําหรับนักวิชาการไทยที่สนใจศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของหนวยงานของรัฐก็มีอยูหลายทาน แตละทานก็ไดกําหนดตัวช้ีวดัความพงึพอใจไวในหลาย ๆ ทัศนะ ดังเชน สุริยะ วิริยะสวัสดิ์ (2530) ซ่ึงศึกษาเกีย่วกบัพฤติกรรมการใหบริการของเจาหนาที่องคกรราชการ กับปจจัยสภาพแวดลอมในเขตเทศบาลเมืองกาฬสินธุ สําหรับการวัดความพึงพอใจของประชาชนหลงัการใหบริการของเจาหนาที่ พิจารณาจากระดับของผลที่ไดจากการใหบริการวาอยูในระดับจากมติิ ตอไปนี้คือ 1. ความสามารถตอบสนองกับความตองการของประชาชน 2. ความสอดคลองของปญหาที่ประชาชนประสบอยู 3. การทําใหประชาชนเกดิความภาคภูมิใจ จากการศึกษาวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของประชาชนในกรุงเทพมหานครตอกระบวนการยุติธรรม : การวิจัยสํารวจปจจยัและผลกระทบระดับยนูิแวริเอท และระดับมัลติแวริเอท โดย ปุระชยั เปยมสมบูรณ (2531) ก็ไดใชมาตรฐานวัด “ความพึงพอใจ” จากมิติตาง ๆ ในดานความไดผลความคุมคาภาษีอากร ความรวดเร็ว ความมีมนุษยสัมพนัธ การเปนระบบตามขั้นตอน ความสุจริตในหนาที่ ความเสมอภาคและความเปนธรรม วัลลภา ชายหาด (2532) ซ่ึงศึกษาความพอใจของประชาชนที่มีตอบริการสาธารณะดานรักษาความสะอาดของกรุงเทพมหานคร ไดกําหนดความพึงพอใจของประชาชนตอการไดรับบรกิารจากเกณฑการใหบริการอยางตอเนื่อง และการใหบริการอยางกาวหนา มณวีรรณ ตั้งไทย (2533) กับการศกึษาเกีย่วกับพฤตกิรรมใหบริการของเจาหนาที่ควบคมุยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตอประชาชนที่มาติดตอราชการวัดระดับพึงพอใจของประชาชนที่มตีอการไดรับบริการในมิติของความสะดวกที่ไดรับ ตัวเจาหนาที่ผูใหบริการคุณภาพของบริการที่ไดรับ ระยะเวลาในการดําเนินการและขอมูลที่ไดรับจากการบริการ ขณะเดียวกัน ในการศกึษาเรือ่ง ปจจัยที่สงผลตอการสรางประสิทธิผลของการนํานโยบายการใหบริการแกประชาชนไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาสํานกังานเขตของกรุงเทพมหานคร โดยเทพศักดิ์ บุณยรัตพนัธ (2536) วัดความพึงพอใจของประชาชนจาก 2 มิติ คือ ตัวเจาหนาที่ผูใหบริการและผลผลิตหรือตัวบริการที่ไดรับ

Page 32: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

23

แตมีงานวิจัยอยู 2 เร่ือง ที่ไดวัดความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการสาธารณะ ที่แตกตางออกไป โดยจะวดัระดับความรูสึกชอบหรือไมชอบตอกิจกรรมการใหบริการสาธารณะในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง เชน กิจกรรมเก็บขยะ กิจกรรมการบูรณะซอมแซมถนน เปนตน (สํานักนโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร, 2537 อางถึงใน จีราพร วีระหงษ, 2538) โดยสรุปแลว จะเห็นไดวาการวัดความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอการใหบริการสาธารณะแลว ประเด็นสาํคญัจะอยูทีว่าการระบุออกมาใหไดวามิติตาง ๆ ตามประสบการณที่ประชาชนไดรับจากการใหบริการสาธารณะนั้นมีอะไรบาง โดยสวนใหญก็จะมุงวดัไปที่มิติของพฤติกรรมของเจาหนาที่ผูใหบริการ (providers behavior) มิติของกระบวนการของการใหบริการ (service process) และมิติในดานผลผลิตหรือบริการ (product or service) อยางไรก็ตามเมื่อไดพิจารณาลงไปในรายละเอียดอยางแทจริงแลว จะเหน็ไดวาการวดัความพึงพอใจตอการใหบริการสาธารณะ (public service satisfaction) จะเปนการประเมินคาโดยลกูคาหรือผูรับบริการตอกิจกรรมใหบริการสาธารณะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือชุดของการใหบริการสาธารณะใด ๆ ก็ตาม แตจากการทบทวนวรรณกรรมที่ผานมา ตัวช้ีวัดความพึงพอใจสวนใหญจะวดัที่พฤติกรรมของผูใหบริการ กระบวนการใหบริการ หรือผลผลิตที่ไดรับ ทั้ง ๆ ที่ส่ิงเหลานี้นาจะเปนสาเหตุหรือปจจัยที่มีอิทธิพลตอการกําหนดระดับของความพึงพอใจมากกวาจะเปนตัวช้ีวัดความพึงพอใจ เพราะความพงึพอใจจะเปนผลของการประเมินคาของประชาชนผูรับบริการจากประสบการณของตนเองที่มีตอส่ิงเราซึ่งก็คือ พฤติกรรมของผูใหบริการ กระบวนการใหบริการตลอดจนผลผลิตที่ไดรับ ดังนั้นการวัดระดับความพึงพอใจจึงนาจะหมายถึง ปฏิกริิยาดานความรูสึกของประชาชนในฐานะผูรับบริการวามีความรูสึกเชนไร โดยที่ความรูสึกนี้จะเปนความรูสึกสุดทายภายหลังจากที่ประชาชนเหลานั้นไดตัดสินใจประเมนิออกมาแลว ขณะที่พฤตกิรรมของผูใหบริการกระบวนการใหบริการ ผลผลิตที่ไดรับจะเปนสาเหตุของการกระทําใหเกดิความรูสึกพึงพอใจหรือไมพึงพอใจออกมา

สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง

ท่ีตั้งและพื้นท่ีรับผิดชอบ สภ.อ.บานบึง ตั้งอยูบริเวณทิศตะวนัออกของจังหวดัชลบุรี ตามถนนสายบานบึง - แกลง ประมาณ 14 กิโลเมตร หางจากศาลากลางจังหวัดชลบุรี 14.89 กิโลเมตร อําเภอบานบึง แบงเขตการปกครองออกเปน 8 ตําบล 52 หมูบาน ในปจจุบันเขตการสอบสวนของเจาหนาที่ตํารวจอําเภอบานบึง มี 2 เขต คือ เขตการสอบสวนของ สภ.ต. คลองกิ่ว ซ่ึงไดแยกออกไปจาก สภ.อ บานบึง มี 1 ตําบล และเขตการสอบสวนของ สภ.อ. บานบึง มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ 7 ตําบล 43 หมูบาน มีเทศบาล 3 แหง ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี ้

Page 33: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

24

1. ตําบลบานบึง (อยูในเขตเทศบาลบานบึง) มี 5 หมูบาน 2. ตําบลหนองซ้ําซาก มี 5 หมูบาน 3. ตําบลมาบไผ มี 6 หมูบาน 4. ตําบลหนองบอนแดง มี 6 หมูบาน 5. ตําบลหนองซาก มี 4 หมูบาน 6. ตําบลหนองอิรุณ มี 12 หมูบาน 7. ตําบลหนองไผแกว มี 5 หมูบาน 8. ตําบลคลองกิ่ว มี 9 หมูบาน เทศบาล เทศบาลที่ตั้งอยูในพืน้ที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง จํานวน 3 แหง คือ 1) เทศบาลบานบึง 2) เทศบาลหนองไผแกว 3) เทศบาลคลองกิ่ว ประชากร ในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง มีประชากรทั้งสิ้น 97,296 คน (สํารวจเมื่อ 31 ม.ค. 2548) แบงเปน ตารางที่ 1 จํานวนประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง

จํานวน ( คน ) ประชากร ชาย หญิง รวม

ในเขตเทศบาล 17,617 18,131 26,255 นอกเขตเทศบาล 31,254 39,787 71,041

รวม 48,471 48,425 97,296

สวนบุคคลตางดาว พบวาบคุคลตางดาวที่เขามาอาศัยและประกอบธุรกิจตาง ๆ อยูในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง มีหลายสัญชาติสวนใหญจะเปนชาวกัมพูชา คอื ประมาณรอยละ 98.00 ของคนตางดาวทั้งหมดซึ่งจําแนกเปนเพศหญิงและเพศชายดงันี้ เพศชาย จํานวน 4,851 คน เพศหญิง จํานวน 2,457 คน รวม 7,298 คน การคมนาคม ในเขตความรบัผิดชอบของสถานีตํารวจภธูรอําเภอบานบึง มเีสนทางคมนาคม ซ่ึงประกอบดวยถนนซุปเปอรไฮเวยและถนนลูกรัง ซ่ึงถนนสายที่สําคัญ จํานวน 3 สาย ดังนี้คือ 1. ระหวางอําเภอบานบึง กับ จังหวดัชลบุรี ใชทางหลวงหมายเลข 344 (บานบึง-แกลง) ระยะทาง 14 กโิลเมตร ใชเวลาเดินทางประมาณ 20 นาท ี

Page 34: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

25

2. การติดตอกับอําเภอกับตาํบลตาง ๆ สวนใหญเปนถนนลาดยางเปนเสนหลัก จํานวน 37 สาย เปนถนนลูกรัง จํานวน 138 สาย 3. ทางหลวงแผนดิน 8 สาย ดังนี ้

3.1 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 331 3.2 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 344

3.3 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3127 3.4 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3138 3.5 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3345 3.6 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3401 3.7 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3289 3.8 ทางหลวงแผนดินหมายเลข 3133

การประกอบอาชีพและธุรกิจ อาชีพหลักของประชากรในเขตความรับผิดชอบของสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง คือ อาชีพเกษตร ไดแก ทาํนา ทาํไร และเลี้ยงสัตวประมาณ รอยละ 54.00 คาขายและอุตสาหกรรม ประมาณ รอยละ 30.00 ขนสง และอื่น ๆ ประมาณ รอยละ 16.00 รายไดเฉลี่ยประมาณ 40,000 บาท/คน/ป โดยมีสถานประกอบการทางธุรกิจที่สําคัญดังนี้ 1. ธนาคาร 11 แหง 2. บริษัทเงินทุน 13 แหง 3. รานทอง 13 แหง 4. ปมน้ํามัน 25 แหง 5. โรงงานอุตสาหกรรม 181 แหง สภาพเศรษฐกจิ สังคมและวัฒนธรรม สภาพเศรษฐกจิของพื้นที่ขึ้นอยูกับการเกษตรโดยใชน้ําฝนจากธรรมชาติและอาศัยน้ําจากอางเก็บน้ําซึ่งเศรษฐกิจทัว่ไปอยูในขั้นดีพอสมควร ประชาชนที่อาศัยอยูในพืน้ที่แตละแหงมีความสัมพันธกันอยางแนนแฟน สังเกตไดจากหลายหมูบานมีการรักษาขนบธรรมเนียนประเพณีและวัฒนธรรมคงเปนไปอยางเครงครัด นับถือผูนํา กํานัน ผูใหญบาน และเจาหนาที่ปกครองบานเมืองดวยดีตลอดมา ดานศาสนา ประชากรสวนใหญในเขตความรับผิดชอบของสถานีตํารวจภธูร อําเภอบานบึง นับถือศาสนาพุทธ มีการทําบุญตาง ๆ สืบเนื่องกันตอมา บางสวนนับถือศาสนาคริสตและนับถือศาสนาอิสลามเปนสวนนอย โดยมีสถานที่สําคัญทางศาสนาดังนี ้ วัดพุทธศาสนา 29 วัด สํานักสงฆ 10 แหง

Page 35: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

26

โบสถคริสตศาสนา 1 โบสถ ศาลเจา 18 แหง ดานการศึกษา อําเภอบานบึงจังหวดัชลบุรี มีการจัดการบริหารทางการศึกษา ตั้งแตระดับกอนประถมศกึษา จนถึงระดับอุดมศึกษา โดยมีสถานศึกษาที่อยูในพืน้ที่รับผิดชอบดังนี ้ โรงเรียนประถมศึกษา 28 โรงเรียน โรงเรียนเทศบาล 3 โรงเรียน โรงเรียนมัธยมศึกษา 7 โรงเรียน

โรงเรียนราษฎร 5 โรงเรียน วิทยาลัย 2 แหง

ดานการเมือง ประชาชนในเขตพื้นที่อําเภอบานบึง มีความรูความเขาใจในเรื่องการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อยูในขั้นที่ดีพอสมควร อําเภอบานบึง อยูในเขตการเลือกตั้งที ่4 ของจังหวดั มีสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ได 1 คน ดานการสาธารณสุข อําเภอบานบึง มีการจัดบริการดานสาธารณสุขในรูปแบบผสมผสาน ซ่ึงมีทั้งภาครัฐและภาคเอกชน สําหรับภาครัฐนั้นไดมีสถานีอนามัยตั้งอยูทุกตําบล สถานภาพของหนวย สถานภาพกําลังของ สภ.อ. บานบึง สถานภาพกําลังพลตอประชากรและพื้นท่ี โดยเฉลี่ยแลวกาํลังเจาหนาทีต่ํารวจ 1 นาย รับผิดชอบประชากร จํานวน 649 คน รับผิดชอบพื้นที่ จํานวน 311 ตารางเมตร ตารางที่ 2 สถานภาพกําลังพล

ขาราชการตํารวจ กําลังอนุญาต ตัวคนจริง วาง สัญญาบัตร 27 17 10 ช้ันประทวน-พลตํารวจ 147 133 14

รวม 174 150 24

ดานการบริหารงานภายในสถานีตํารวจ ดวยไดมีพระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติกระทรวงมหาดไทย (ฉบับที่ 22 พ.ศ. 2536) ไดปรับปรุงสวนราชการสํานักงานตํารวจแหงชาติขึ้นใหมซ่ึงในสวนของสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ไดยกระดับหวัหนาหนวยงานจากสารวัตรใหญเปนระดับผูกํากับการ แบงลักษณะการกําหนดหนาที่การงานตามคําสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ 774/2537 ลงวันที ่7 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 ออกเปน 5 งานคือ งานอาํนวยการ งานปองกันปราบปราม งานสอบสวนและงานจราจร ภายใตการควบคุมบังคับบัญชาของ พ.ต.อ. อิทธิเดช

Page 36: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

27

เจริญสหายานนท ผูกํากับการหัวหนาสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ซ่ึงในแตละงานมีผูควบคุม ดังนี ้ 1. งานธุรการ มีสารวัตรหัวหนางานอํานวยการ ควบคุมการปฏิบัติ รับผิดชอบงานทะเบียนคนตางดาว งานทะเบียนพล พัสดุ การเงินและบญัชี งานโตตอบ งานนโยบายและแผนงาน และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับงานธุรการ โดยมีรองสารวัตรธุรการเปนผูชวย 2. งานปองกนัและปราบปราม มีรองผูกํากบัการหวัหนางานปองกันปราบปราม ควบคุมการปฏิบัติ รับผิดชอบเกี่ยวกบังานขอมูลทองถ่ิน งานประชาสัมพันธ งานชุมชนสัมพันธ งานควบคุมผูตองหา งานศูนยวิทยแุละสายตรวจ โดยมีสารวัตรปองกันปราบปรามเปนผูชวย 3. งานสอบสวนและงานสบืสวน มีรองผูกํากับการหัวหนางานสืบสวน ควบคุมการปฏิบัติรับผิดชอบงานคด ีงานประจําวัน งานเปรียบเทยีบปรับ และงานสอบสวนทั้งหมดและควบคุมการปฏิบัติรับผิดชอบเกี่ยวกบังานติดตามจบักุมคนรายและสืบสวนขอเท็จจริง ตามทีผู่บังคับบัญชาส่ังการ โดยมสีารวัตรสอบสวนหวัหนางานสอบสวนและสารวัตรสืบสวนเปนผูชวย 4. งานจราจร มีรองสารวัตรงานจราจร ควบคุมการปฏิบัติรับผิดชอบงานควบคุมการจราจรในเขตรับผิดชอบปญหาความมั่นคงปลอดภัยในชวีิตและทรัพยสินของประชาชน ยังเปนปญหาสําคัญที่มีผลตอการดําเนินชวีิตและประกอบอาชีพประจําวันของประชาชนเปนอยางมาก ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ ทัง้ดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรม การวางงาน คาครองชีพที่สูงขึ้น จริยธรรม ปญหาคนตางดาวหลบหนีเขาเมืองและปญหาดานอื่น ๆ ของสังคมเมือง ที่กอใหเกิดปญหาอาชญากรรมสูงขึ้น โดยเฉพาะคดีประทุษรายตอทรัพยการโจรกรรมรถยนตและรถจักรยานยนต ปญหายาเสพติดที่แพรระบาดมานาน แมจะไดมกีารเนนย้ําและกําชบัใหดําเนินการปราบปรามอยางจริงจังตอเนือ่งตลอดมา อันสงผลกระทบใหประชาชนเกิดความรูสึกไมปลอดภยัในชีวิตและทรัพยสินเพิ่มมากขึน้ สถานีตํารวจภธูรอําเภอบานบึง จึงมีภารกจิอันหนักหนวงที่จะตองรักษาความปลอดภยัในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน การปองกันและปราบปรามอาชญากรรม ซ่ึงไดดําเนินการอยางจริงจังกับทั้งใหมีการขยายผลออกไปอยางไมหยดุยั้ง มกีารสืบสวนหาขอมูลเปาหมายที่ถูกตอง และแนนอน ไดจดัใหมีการระดมกวาดลางโดยสม่ําเสมอ เพื่อเปนการสนองนโยบายของสาํนักงานตํารวจแหงชาติ สํานกังานตาํรวจภูธรภาค 2 และตํารวจภธูรจังหวัดชลบุรี ไดจัดใหมีเขตปลอดอาวุธภายในเขตเทศบาลบานบึง กวดขันจบักุมบอนการพนัน ยาเสพติดใหโทษ และสถานบริการ ที่ผิดกฎหมายอนัเปนที่มาของการกอใหเกิดอาชญากรรมอยูตลอดเวลา การระดมกวาดลางที่เปนกําหนดเปนชวงเวลาและการกวาดลางประจําวนัไดกําหนดเปาหมายไวชัดเจน คือ

Page 37: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

28

1. คดีเปาหมายหลัก คดีอุฉกรรจ ไดแก ฆาผูอ่ืน ปลนทรัพย ชิงทรัพย คดีลักทรัพย คดีวิ่งราวทรัพย คดีครึกโครมและสะเทือนขวัญ เชน ขมขืนแลวฆา จับคนเรียกคาไถ ฯลฯ คดีตกคางทุกชนิด 2. คดีเปาหมายรอง คดี พ.ร.บ. อาวุธปน คดี พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโทษ คดี พ.ร.บ. เกีย่วกับอบายมุข การพนัน โสเภณี ซ่ึงผลการปราบปรามจับกุมผูกระทําผิดกฎหมายที่ผานมา จะเห็นไดจากสถิติคดีอาญา 5 กลุม เปรียบเทียบดังนี ้ ตารางที่ 3 สถิติคดีอาญา 5 กลุมเปรียบเทียบ

ชวงเวลา 2546 2547 เหตุเกิด ประเมินผลฐานความผิด เกิด จับ คน เกิด จับ คน เพิ่ม/ลด การเกิด การจับ 1. คดีอุฉกรรจสะเทือนขวัญ 13 3 7 15 11 24 +2 14.59 73.33 % 1.1 ฆาผูอื่นโดยเจตนา 12 2 6 3 2 2 1.2 ปลนทรัพย 1 1 1 6 6 18 1.3 ชิงทรัพย (รวม) - - 6 3 4 1.4 ลักพาเรียกคาไถ 1.5 วางเพลิง 2. คดีชีวิต รางกายและเพศ 55 24 38 41 18 32 -14 39.89 43.90% 2.1 ฆาผูอื่นโดยเจตนา 12 2 6 3 2 3 2.2 ฆาผูอื่นโดยไมเจตนา 1 2.3 ฆาผูอื่นโดยประมาท 2.4 พยายามฆา 13 6 6 8 3 4 2.5 ทํารายรางกาย 21 13 19 19 8 18 2.6 ขมขืนกระทําชาํเรา 9 3 7 10 5 7 3. คดีประทุษรายตอทรัพย 73 33 48 115 65 105 +42 84.60 54.78% 3.1 ลักทรัพย 66 29 43 93 49 70 3.2 วิ่งราวทรัพย 1 1 2 3 2 4 3.3 รีดเอาทรัพย 3.4 กรรโชกทรัพย 3.5 ชิงทรัพย (รวม) 6 3 4 - บาดเจ็บ 1 1 1 - ไมบาดเจ็บ 3.6 ปลนทรัพย 1 1 1 6 6 18 3.7 รับของโจร 1 1 1 1 1 2 3.8 ทําใหเสียทรัพย 4 1 1 2 1 3 4. คดีที่นาสนใจ 47 7 10 92 30 39 +45 4.1 โจรกรรมรถจักยานยนต 3 1 1 12 4.2 โจรกรรมรถยนต 32 5 8 36 13 22

Page 38: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

29

4.3 โจรกรรมโค-กระบือ 4.4 โจรกรรมเครื่องมือเกษตร 4.5 ปลน-ชิงรถยนต

ตารางที่ 3 (ตอ)

ชวงเวลา 2546 2547 เหตุเกิด ประเมินผลฐานความผิด เกิด จับ คน เกิด จับ คน เพิ่ม/ลด การเกิด การจับ 4.6 ปลน-ชิงรถยนตแท็กซี่ 4.7 ขมขืนแลวฆา 4.8 ลักพาเรียกคาไถ 4.9 ฉอโกงทรัพย 2 1 4.10 ยักยอกทรัพย 10 1 1 43 17 17 5. คดีที่รัฐเปนผูเสยีหาย 231 535 532 774 +101 5.1 อาวุธปน 33 30 34 - อาวุธปนธรรมดา 31 30 34 34 - อาวุธปนสงคราม 1 - วัตถุระเบิด 5.2 การพนัน 1 - การพนันทั่วไป 442 414 156 589 - สลากกินรวบ 103 405 140 562 5.3 ยาเสพติด - สารระเหย ยาบา 81 86 141 147 5.4 การคาประเวณ ี 1 1 5.5 สถานบริการ 5 5 3 4 5.6 โรงแรม 5.7 มีและเผยแพรวัตถุลามก

ผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

จากการสํารวจวรรณกรรมทีม่ีผูศึกษาเกีย่วกับความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของเจาหนาที่ตํารวจเฉพาะสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษาวิจยัในครั้งนี้คือ เศกสรรค บัวเรือง (2541) ไดศึกษาความพงึพอใจของประชาชนตอการใหบริการของสถานีตํารวจ ศึกษาเฉพาะกรณี สถานีตํารวจตําบลสําโรงใต โดยศกึษาระดับความพึงพอใจของประชาชน ปจจัยตาง ๆ ที่สงผลตอความพึงพอใจของประชาชน เพื่อนําผลการศึกษาไปปรับปรุงรูปแบบการใหบริการของสถานีตํารวจตําบลสําโรงใต จากผลการศึกษา พบวา ประชาชนมีความพึงพอใจในดานสภาพแวดลอม อาคารสถานที่ใหบริการของสถานีในระดับมาก มคีวามพึงพอใจในการปฏิบัติงาน

Page 39: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

30

ของเจาหนาทีต่ํารวจในระดบัปานกลาง ผลการวิเคราะหความสัมพันธระหวางเพศ สถานภาพ ในการติดตอที่แตกตางกันกับความพึงพอใจในดานสภาพแวดลอม พบวา เพศ สถานภาพที่แตกตางกันไมมีความสัมพันธกับความพึงพอใจในดานสภาพแวดลอม อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ เขตที่พักอาศัยที่แตกตางกนัของประชาชน ไมมีความสัมพันธกับความพงึพอใจของประชาชนที่มารบับริการ ในดานการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่าํรวจ เพศ อายุ การศึกษา เขตที่พักอาศัยทีแ่ตกตางกนัของประชาชนมีความสัมพันธกับความพึงพอใจของประชาชนที่มารับบริการ สุเทพ บุญค้ํา (2541) ไดศึกษาและเปรยีบเทียบระดับความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจจราจร สถานีตํารวจภูธรอําเภอเมืองจันทบุรี พบวา ประชาชนม ีความพึงพอใจ ตอการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจจราจรโดยรวมอยูในระดับปานกลาง โดยเรียงจากคาเฉลีย่มากไปหานอย ดังนี้ ดานความสะดวกที่ไดรับ ดานวิธีการบรกิาร ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ ดานการสรางความรวมมือกับชุมชน ดานความเสมอภาคและดานความเปนธรรม เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของประชาชน ตอการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจจราจร จําแนกตามอาชีพ พบวา ประชากรที่มีอาชีพแตกตางกันมีความพึงพอใจไมแตกตางกัน เมื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจจราจร จําแนกตามประเภทยานพาหนะที่ใช พบวา ประชากรที่ใชยานพาหนะแตกตางกนั มีความพึงพอใจไมแตกตางกัน ดนัยศกัดิ์ เกตบุุญลือ (2541) จากการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจตามโครงการโรงพักเพือ่ประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณีตํารวจภูธรอําเภอเมืองชลบรีุ พบวา ประชาชนมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในดานการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการพฒันาระบบสายตรวจ ดานการสืบสวนปราบปราม และดานการปราบปรามยาเสพติดในระดับปานกลาง และจากการศกึษาความแตกตางของความพึงพอใจของประชาชนตามเพศ อายุ สถานภาพการสมรส และอาชีพ พบวา ความพงึพอใจของประชาชนแตกตางกันตามสถานภาพการสมรสและอาชีพ และความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจไมแตกตางกันตามเพศและอาย ุ โสณกุล ทรัพยสมบัติ (2541) ไดศึกษาทัศนคติของประชาชนตอการใหบริการงานตาํรวจ รวมทั้งปจจยัทีเ่ปนสาเหตุความพึงพอใจ พบวา ประชาชนมีความเห็นวา การปฏิบัติงานของตํารวจ ในสถานีตํารวจภธูรอําเภอเมืองกบินทรบุรี ในดานตาง ๆ อยูในระดับปานกลาง สวนปจจัยที่เปนสาเหตุของความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการงานตํารวจ ประกอบดวย ความรวดเร็ว ความเสมอภาค ความเปนธรรม และคาใชจาย จากการทดสอบสมมติฐาน พบวา เพศ อายุ อาชีพ การศึกษาและประเภทของบริการดานตาง ๆ ที่แตกตางกนัมีทัศนคติตอการใหบริการของเจาหนาทีต่ํารวจไมแตกตางกนั ราชัน โสตถิทัต (2541) ไดทําการศึกษาวจิัย “ทัศนคติของประชาชนผูมาติดตอราชการที่สถานีตํารวจภธูรตําบลบางขนาก” ผลการศึกษา พบวา ประชาชนสวนใหญมีทัศนคตดิานการใหบริการของเจาหนาที่ตํารวจสถานีตํารวจภูธรตําบลบางขนาก ในดานตาง ๆ ในเกณฑพอใจมาก –

Page 40: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

31

มากอยางยิ่ง แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใหบริการประชาชน เนื่องจากผูบังคับบัญชาและเจาหนาทีต่ํารวจทุกนายไดกวดขันเอาใจใสตอการใหบริการประชาชน ตามนโยบายโรงพักเพื่อประชาชน สําหรับทัศนคติของประชาชนที่มตีอการบริการในเชิงลบ คือ ความสะอาดของหองสุขา และการจัดสรรที่จอดรถของผูมาติดตอราชการ สาเหตุจากสถานที่ราชการคับแคบ โครงสราง ตัวอาคารและหองสุขา ลานจอดรถยังไมไดปรับปรุงใหม บุญญสิทธิ์ วองไว (2541 อางถึงใน มณวีรรณ ตั๊นไทย, 2533, หนา 352) ไดศึกษาภาพลักษณของขาราชการตํารวจภูธรจังหวดัชลบุรี ในดานบุคลิกภาพและการเปนผูนาํทางสังคม ดานการปฏิบตัิงาน ดานการรักษาระเบยีบวินัย และดานจริยธรรม และเพื่อเปรียบเทยีบภาพลักษณของขาราชการตํารวจภูธรจงัหวัดชลบุรีตามทัศนะของประชาชน 3 กลุมอาชีพ คือ อาชีพคาขาย อาชพีรับราชการ และอาชีพรับจาง ผลการวิจยัพบวา ตามทัศนะของประชาชนสวนใหญ เหน็วา ดานบุคลิกภาพและการเปนผูนําทางสังคม ขาราชการตาํรวจเปนผูมีความเชื่อมั่นในตนเอง วางตนเหมาะสม นาเคารพนับถือการแตงกายเรียบรอย เหมาะสมตามกาลเทศะ พูดจาสุภาพ รักษาชื่อเสียงและเกยีรติของตํารวจ และเปนผูนําในการพัฒนาสังคม ดานการปฏิบัติงาน ขาราชการตํารวจเปนผูเฉลียวฉลาดและรอบคอบในการแกปญหา ปฏิบัติงานรวดเร็วมีประสิทธิภาพ อํานวยความยุติธรรมแกประชาชน และติดตามงานที่ปฏิบัติอยางสม่ําเสมอจนสําเร็จ ดานการรักษาระเบยีบวินยัขาราชการตํารวจเปนผูปฏิบัติตามระเบียบและธรรมเนียมอันดีของตํารวจ มีความสามัคคีและเปนน้ําหนึ่งใจเดยีวกันในหมูคณะ เปนผูรักษาความลับของทางราชการและไมกระทําการหาผลประโยชนอันอาจทําใหเสียความเทีย่งตรง ดานจริยธรรม ขาราชการตํารวจเปนผูปฏิบตัิตามประเพณอัีนดีของสังคม เปนผูยึดมัน่ในศีลธรรมอันดีเปนผูมีความซ่ือสัตยสุจริต และใหความชวยเหลือผูอ่ืนอยูเสมอ สวนผลการเปรียบเทยีบภาพลกัษณของขาราชการตํารวจภูธรจังหวัดชลบุรีตามทัศนะของประชาชน 3 กลุมอาชีพนั้น พบวา ไมแตกตางกันทั้งในภาพลักษณที่เปนภาพรวมและที่เปนรายดาน

Page 41: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

32

กรอบแนวคดิในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพที่ 2 กรอบแนวคดิในการวิจัย

- เพศ - อาย ุ- สถานภาพสมรส - อาชีพ - รายได - พื้นที่ที่อยูอาศัย

ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน

Page 42: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

33

บทที่ 3

วิธีการดําเนินการศึกษาคนควา

การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน: ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง มีวิธีการดําเนินการศึกษาตามลําดบัดังนี ้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูล 3. การสรางเครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล 4. การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ในการศึกษาครั้งนี้ ไดดําเนินการศึกษาในลักษณะของการวจิัยเชงิสํารวจ (survey research) โดยวิธีการเลือกกลุมตัวอยางที่จะศึกษาจากประชาชนของการวิจยัและเกบ็รวบรวมขอมูล โดยใชแบบสอบถามที่เปนมาตรฐานเดียวกนั (standardized auestionnaire) นอกจากนี้จะใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณใหมขอมูลสําคัญ ตามกลุมอาชีพ อาชีพละคน (เปาหมายนักธุรกจิ เกษตร และพอคาแมคา) เพื่อชวยในการอธิบายในลักษณะเจาะลึก

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนีค้ือ ประชาชนที่พักอาศัยอยูในเขตอําเภอบานบึงจํานวน 97,296 คน กลุมตัวอยาง เนื่องจากการศกึษาครั้งนี้ถูกจาํกัดดวยระยะเวลาในการศกึษา จึงไมสามารถเก็บขอมูลจากประชาชนไดทั้งหมดได ผูศึกษาจึงตองใชกลุมตัวอยางเปนตวัแทนของการศึกษาการสุมตัวอยางที่เหมาะสมกับการศกึษาครั้งนี้คือ การสุมตัวอยางโดยวิธี systematic sampling ซ่ึงเปนการสุมตัวอยางที่คํานงึถึงความนาจะเปน (probability sampling) โดยใชจํานวนครัวเรือนในการสุมตัวอยาง ตองการกลุมตัวอยางทั้งสิ้น 100 คน ฉะนัน้จะเลือกตัวอยางจากบัญชีรายชื่อครัวเรือน ทุก ๆ ลําดับที่ 972 โดยสุมตัวอยางจากครัวเรือนละ 1 คน

Page 43: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

34

เครื่องมือท่ีใชในการเก็บขอมูล

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคร้ังนี้ เปนแบบสอบถามแบงเปนสองสวน ไดแก สวนที ่1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป เปนแบบสอบถามแบบปลายปด (closed ended) ประกอบดวยคําถามแบบรายละเอียดสวนตัวของผูตอบแบบสอบถามไดแกเพศ อาย ุสถานภาพสมรส อาชีพ รายได และพื้นที่ที่อยูอาศัย สวนที่ 2 แบบสอบถามขอมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน เปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประเมินคา 5 ระดับ (Likert scale) คือ มีความพึงพอใจมากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด โดยใชตัวช้ีวัดเกี่ยวกับการมีอัธยาศัยด ีความรวดเร็วทนัเวลา ความยุติธรรมและเสมอภาคความเพียงพอ ความตอเนื่องของบริการ ในดานการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ การพัฒนาระบบสายตรวจ การสืบสวนปราบปราม และการปราบปรามยาเสพติด

การสรางเครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล

ในการสรางเครื่องมือในการรวบรวมขอมลู ผูศึกษาดําเนนิการตามขั้นตอนดังนี ้ 1. ศึกษาขอมลูจากเอกสาร ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการทําผลงานทางวิชาการทั้งใน และตางประเทศ 2. สรางแบบสอบถามเสนออาจารยที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบความครอบคลุมของเนื้อหาแลวนํามาปรับปรุงแกไข 3. ทําแบบสอบถามที่ปรับปรุงแกไขตามคาํแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา ออกเก็บรวบรวมขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล

การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูล ผูศึกษาไดใชวิธีแจกแบบสอบถามใหกับประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง ในชวงระหวางวันที่ 16-20 เมษายน พ.ศ. 2548 เนื่องจากผูศึกษาเปนขาราชการตํารวจ และกลุมตวัอยางทีใ่ชในการศึกษาเปนประชาชนที่อาศัยอยูในพื้นทีอํ่าเภอบานบึง การตอบแบบสอบถามของกลุมตัวอยางอาจทําใหไมไดขอมูลที่แทจริง ดังนั้นการเกบ็ขอมูลที่มีการกระจายและถกูตองสมบูรณ พรอมตองชี้แจงรายละเอยีดใหผูตอบแบบสอบถามเขาใจ โดยใชเวลาประมาณ 1 สัปดาห รวบรวมแบบสอบถามไดทั้งสิ้น จํานวน 100 ชุด ตามที่ตองการ

Page 44: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

35

การวิเคราะหขอมูล

1. นําแบบสอบถามที่สมบูรณทั้งหมดมาตรวจใหคะแนนน้ําหนักทั้งหมดดังนี ้ พอใจมากที่สุด 5 คะแนน พอใจมาก 4 คะแนน พอใจปานกลาง 3 คะแนน พอใจนอย 2 คะแนน พอใจนอยที่สุด 1 คะแนน 2. ทําคะแนนเฉลี่ยรายขอรายดานเกี่ยวกับเกณฑดังตอไปนี้ 4.21-5.00 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมากที่สุด 3.41-4.20 หมายถึง ระดับความพึงพอใจมาก 2.61-3.40 หมายถึง ระดับความพึงพอใจปานกลาง 1.81-2.60 หมายถึง ระดับความพึงพอใจนอย 1.00-1.80 หมายถึง ระดับความพึงพอใจนอยที่สุด 3. ขอมูลที่ไดมาวิเคราะหดวยวิธีการทางสถิติ โดยใชคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป สําหรับการวิจยัเชิงสังคมสาสตร แลวนํามาศึกษาตามความมุงหมายของการศึกษาครัง้นี้

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

1. พรรณลักษณะของขอมูลทั่วไปดวยคารอยละ 2. วิเคราะหความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน ดวยคาเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน 3. วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของความพึงพอใจของประชาชนจําแนกตามเพศโดยการทดสอบคา t-test 4. วิเคราะหเปรียบเทียบความแตกตางของความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามเพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ รายได และพืน้ที่อยูอาศัย โดยใชการทดสอบคา t-test

Page 45: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

36

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

ในการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน: ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ไดเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลทั่วไป สวนที่ 2 การวิเคราะหความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของตํารวจ สวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

สวนที่ 1 การวิเคราะหขอมูลท่ัวไป

ตารางที่ 4 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน รอยละ ชาย 76 76.00 หญิง 24 24.00

รวม 100 100.00

จากตารางที่ 4 พบวาประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง พบวา สวนใหญเปนเพศชาย คิดเปน รอยละ 76.00 เปนเพศหญิงคดิเปนรอยละ 24.00 ตารางที่ 5 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน รอยละ ต่ํากวา 20 ป 8 8.00 25-30 ป 56 56.00 มากกวา 35 ป 36 36.00

รวม 100 100

Page 46: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

37

จากตารางที่ 5 พบวาประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง สวนใหญมีอายุระหวาง 20-35 ป คิดเปนรอยละ 56.00 รองลงมาคือ อายุมากกวา 35 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 36.00 ตารางที่ 6 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามสถานภาพการสมรส

สถานภาพการสมรส จํานวน รอยละ โสด 26 26.00 สมรส 71 71.00 หยาราง, หมาย 3 3.00

รวม 100 100 จากตารางที่ 6 พบวาประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง สวนใหญสมรสแลว คิดเปนรอยละ

71.00 และเปนโสดคิดเปนรอยละ 26.00

ตารางที่ 7 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามอาชีพ

อาชีพ จํานวน รอยละ รับราชการ 19 19.00 พนักงานรัฐวสิาหกิจ 9 9.00 รับจางหนวยงานเอกชน 36 36.00 อาชีพอิสระ 30 30.00 อ่ืน ๆ 6 6.00

รวม 100 100.00 จากตารางที่ 7 พบวาประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง สวนใหญประกอบอาชีพรับจาง

หนวยงานเอกชน คิดเปนรอยละ 36.00 รองลงมาคือ ประกอบอาชีพอิสระ คิดเปนรอยละ 30.00 และรับราชการ คิดเปนรอยละ 19.00

Page 47: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

38

ตารางที่ 8 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามรายได

รายได จํานวน รอยละ ไมเกิน 10,000 บาท 60 60.00 10,001-20,000 บาท 29 29.00 20,001-30,000 บาท 9 9.00 30,001 บาทขึ้นไป 2 2.00

รวม 100 100.00 จากตารางที่ 8 พบวาประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง สวนใหญมีรายไดไมเกิน 10,000 บาทคิดเปนรอยละ 60.00 รองลงมาคือ 10,001-20,000 บาท คิดเปนรอยละ 29.00 และ 20,001-30,000 บาท คิดเปนรอยละ 9.00 ตารางที่ 9 ความถี่และรอยละของประชาชน จําแนกตามพื้นที่อยูอาศยั

พื้นที่ที่อยูอาศยั จํานวน รอยละ เขตชุมชน/เขตเมือง 48 48.00 เขตชนบท/ชานเมือง 46 46.00 เขตพื้นที่หางไกล/ชาวเขา 6 6.00

รวม 100 100.00 จากตารางที่ 9 พบวาประชาชนที่เปนกลุมตวัอยาง สวนใหญอาศัยอยูในเขตชุมชน/เขตเมือง คิดเปนรอยละ 48.00 รองลงมาคือ เขตชนบท/ชานเมือง คิดเปนรอยละ 46.00 และเขตพืน้ที่หางไกล/ชาวเขา คิดเปนรอยละ 6.00

Page 48: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

39

สวนที่ 2 การวิเคราะหความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ

การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ผลการศึกษาปรากฏดังนี้

ความพึงพอใจของประชาชนที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 100 คนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในแตละดา สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ปรากฏตามตารางที่ 10

ตารางที่ 10 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในแตละดาน

ตัวแปร X S.D. ระดับความพึงพอใจ ลําดับ การปฏิบัติตัวของเจาหนาทีต่ํารวจ 3.25 .69 ปานกลาง 3 การพัฒนาระบบสายตรวจ 3.33 .71 ปานกลาง 1 การสืบสวนปราบปราม 3.07 .66 ปานกลาง 4 การปราบปรามยาเสพติด 3.29 .71 ปานกลาง 2

รวม 3.23 .55 ปานกลาง จากตารางที่ 10 พบวา ประชาชนมีความพึงพอใจในการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ การพัฒนาระบบสายตรวจการสืบสวนปราบปราม และการปราบปรามยาเสพติด ในระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจการพฒันาระบบสายตรวจเปนอนัดับ 1 และความพงึพอใจตอการสืบสวนปราบปรามเปนอันดับสุดทาย 1. ความพึงพอใจการปฏิบัตงิานของเจาหนาที่ตํารวจรายขอ ในแตละดาน 1.1 การปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ ความพึงพอใจของประชาชนที่เปนกลุมตัวอยางจํานวน 100 คน ตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ สถานีตํารวจภธูรอําเภอบานบึง ในดานการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ ปรากฏตามตารางที่ 11

Page 49: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

40

ตารางที่ 11 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ

ตัวแปร X S.D. ระดับความพึงพอใจ ลําดับ การแตงกายของเจาหนาที่ตาํรวจ 3.57 .88 มาก 1 กิริยา วาจาของเจาหนาที่ตํารวจ 3.07 .86 ปานกลาง 3 ความซื่อสัตยสุจริต ปฏิบัติหนาที่อยางตรงไปตรงมา

3.12 .79 ปานกลาง 2

รวม 3.25 .69 ปานกลาง จากตารางที่ 11 พบวา ประชาชนมีความพึงพอใจตอการแตงกายของเจาหนาที่ตํารวจมากเปนอันดับที่ 1 และมีความพงึพอใจอยูในระดับมาก รองลงมาคือ ความซื่อสัตยสุจริตปฏิบัติหนาที่อยางตรงไปตรงมาและกิริยาวาจาของเจาหนาที่ตํารวจ มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง 1.2 การพัฒนาระบบสายตรวจ ความพึงพอใจของประชาชนที่เปนกลุมตัวอยางจํานวน 100 คน ตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตาํรวจ สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ในดานการพัฒนาระบบสายตรวจของเจาหนาที่ตํารวจ ปรากฏตามตารางที่ 12 ตารางที่ 12 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการพัฒนาระบบ สายตรวจ

ตัวแปร X S.D. ระดับความพึงพอใจ ลําดับ 1. การพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนของเจาหนาที่ตํารวจ 3.31 .83 ปานกลาง 4 2. การปฏิบัติหนาที่ของรถยนตสายตรวจ และ รถจักรยานยนตสายตรวจ 3.40 .92 ปานกลาง 3

3. การจัดตั้งจุดตรวจคนและการปฏิบัติหนาที่ของ ตํารวจประจําจุด 3.61 1.08 มาก 1

4. การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจประจําตูยาม ในการรับแจงเหตุและ ระงับเหตุ 2.94 .86 ปานกลาง 5

5. การจัดระบบสายตรวจตามพื้นที่ตาง ๆ 3.48 .98 ปานกลาง 2 รวม 3.35 .71 ปานกลาง

จากตารางที่ 12 พบวาประชาชนมีความพึงพอใจในการจดัตั้งจุดตรวจคนและการปฏบิัติ

หนาที่ของตํารวจประจําจุดตรวจคนเปนอันดับ 1 และมีระดับความพึงพอใจมาก รองลงมาคือ การจัดระบบสายตรวจตามพื้นทีต่าง ๆ การปฏิบัติหนาที่ของรถยนตสายตรวจและรถจักรยานยนตสายตรวจ

Page 50: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

41

การพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนของเจาหนาที่สายตรวจและการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจประจําตูยามในการรับแจงเหตุและระงับเหตุ ตามลําดับ โดยมีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง 1.3 การสืบสวนปราบปราม ความพึงพอใจของประชาชนที่เปนกลุมตวัอยางจํานวน 100 คน ตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตาํรวจ สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ในดานการสืบสวนปราบปราม ปรากฏตามตารางที่ 13 ตารางที่ 13 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการสืบสวน ปราบปราม

ตัวแปร X S.D. ระดับความพึงพอใจ ลําดับ 1. การปราบปรามแหลงอบายมุข 3.24 1.02 ปานกลาง 2 2. การเดินทางไปถึงสถานที่เกิดเหต ุ เพื่อระงับเหตุไดอยางรวดเร็ว

3.25 .92 ปานกลาง 1

3. การสืบสวนจับกุมคนรายในคดีสําคัญ ๆ 2.95 .93 มาก 4 4. อาชญากรรมลดลง 3.07 .91 ปานกลาง 3 5. ความปลอดภัยในชวีิตและทรัพยสิน 2.83 .99 ปานกลาง 5

รวม 3.07 .66 ปานกลาง จากตารางที่ 13 พบวาประชาชนมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจดานการสืบสวนปราบปรามในระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจตามลําดับดังนี้คอื การเดินทางไปถึงสถานที่เกิดเหตุเพื่อระงับเหตุไดอยางรวดเร็ว การปราบปรามแหลงอบายมุข การลดลงของอาชญากรรม การสืบสวนจบักุมคนรายในคดีสําคัญ ๆ และความปลอดภัยในชวีิตและทรัพยสิน 1.4 การปราบปรามยาเสพตดิ ความพึงพอใจของประชาชนที่เปนกลุมตัวอยางจํานวน 100 คน ตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ในดานการปราบปรามยาเสพติดปรากฏตามตารางที่ 14

Page 51: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

42

ตารางที่ 14 ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ ดานการปราบปราม ยาเสพติด

ตัวแปร X S.D. ระดับความพึงพอใจ ลําดับ 1. การเรงรัดปราบปรามยาเสพติด 3.35 .99 ปานกลาง 2 2. การเผยแพรขอมูลขาวสารและความรู รูเร่ืองยาเสพติด และการปองกันตัวเอง 3.52 1.01 มาก 1

3. จํานวนผูติดยาเสพติดลดลง 3.02 .87 ปานกลาง 3 รวม 3.29 .71 ปานกลาง

จากตารางที่ 14 พบวา ประชาชนมีความพึงพอใจตอการเผยแพรขอมลูขาวสารและความรู

เร่ืองยาเสพติดและการปองกนัตนเองมากเปนอับดับหนึง่ และมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก รองลงมาคือ การเรงรัดปราบปรามยาเสพตดิและจํานวนผูติดยาเสพตดิลดลง มีความพงึพอใจอยูในระดับปานกลาง

สวนที่ 3 การทดสอบสมมติฐาน

สมมติฐานที่ 1 ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามเพศ ตารางที่ 15 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามเพศ

ชาย (n = 76) หญิง (n = 24) ตัวแปร X S.D. X S.D.

t p

การปฏิบัติตัวของเจาหนาทีต่ํารวจ 3.28 .70 3.15 .62 .82 .41 การพัฒนาระบบสายตรวจ 3.33 .72 3.40 .68 -.41 .68 การสืบสวนปราบปราม 3.11 .66 2.93 .63 1.15 .25 การปราบปรามยาเสพติด 3.28 .72 3.34 .67 -.40 .69

รวม 3.24 .56 3.19 .52 .35 .72

จากการทดสอบความพึงพอใจของประชาชนจําแนกตามเพศตามตารางที่ 15 พบวา ความพึงพอใจของประชาชนไมแตกตางกนัตามเพศ และเมื่อพิจารณาในแตละดานพบวาความพึงพอใจของประชาชนไมแตกตางกันตามเพศเชนเดยีวกัน

Page 52: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

43

สมมติฐานที่ 2 ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามอาย ุ ตารางที่ 16 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามอาย ุ

ดานอาย ุ n = 8 ต่ํากวา 20 ป

n = 56 20-35 ป

n = 36 มากกวา 35 ป

การปฏิบัติตัวของเจาหนาทีต่ํารวจ 3.29 3.19 3.34 การพัฒนาระบบสายตรวจ 3.27 3.25 3.52 การสืบสวนปราบปราม 2.92 3.04 3.14 การปราบปรามยาเสพติด 3.29 3.26 3.35

รวม 3.17 3.17 3.34 จากตารางที่ 16 พบวา กลุมตัวอยาง อายุมากกวา 35 ป มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจ สถานตีํารวจภูธรอําเภอบานบึงมากที่สุด รองลงมาซึ่งมีความพึงพอใจเทากัน คือ ผูที่มีอายุต่ํากวา 20 ป และ 20-35 ป โดยทัง้ 3 กลุม มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง

ดังนั้น หากตองการทราบวากลุมตัวอยางทัง้ 3 กลุมมีความพึงพอใจตางกันหรือไม จึงทําการทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไวตามตารางที่ 17

ตารางที่ 17 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จาํแนกตามอาย ุ

แหลงความแปรปรวน df SS MS F p ภายในกลุม 97 29.92 .30 1.01 .36 ระหวางกลุม 2 .62 .31

รวม 99 30.54 จากการทดสอบความพึงพอใจของประชาชนจําแนกตามอายุ พบวา ความพึงพอใจของ

ประชาชนไมแตกตางกนัตามอายุ

Page 53: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

44

สมมติฐานที่ 3 ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามสถานภาพสมรส ตารางที่ 18 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามสถานภาพสมรส

ดานสถานภาพสมรส n = 26 โสด

n = 71 สมรส

n = 3 หยาราง, หมาย

การปฏิบัติตัวของเจาหนาทีต่ํารวจ 3.09 3.34 2.67 การพัฒนาระบบสายตรวจ 3.01 3.48 3.20 การสืบสวนปราบปราม 2.94 3.12 2.87 การปราบปรามยาเสพติด 3.01 3.41 3.11

รวม 3.00 3.32 2.97

จากตารางที่ 18 พบวา กลุมตัวอยางที่มีสถานภาพสมรสแลว มีความพงึพอใจตอการปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ สถานตีํารวจภูธรบานบึงมากที่สุด รองลงมาคือ ผูที่มีสถานภาพโสดและหยาราง ตามลําดับ โดยทั้ง 3 กลุม มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง

ดังนั้น หากตองการทราบวากลุมตัวอยางทัง้ 3 กลุม มีความพึงพอใจตางกันหรือไม จึงทําการทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งไวตามตารางที่ 19

ตารางที่ 19 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามสถานภาพการสมรส

แหลงความแปรปรวน df SS MS F p ภายในกลุม 97 28.33 .29 3.80* .02 ระหวางกลุม 2 2.22 1.11

รวม 99 30.55 * p <.05

จากการทดสอบความพึงพอใจของประชาชนจําแนกตามสถานภาพสมรส พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกนัตามสถานภาพสมรส อยางมีนัยสําคัญที่ระดบั .05 ซ่ึงสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว

Page 54: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

45

เพื่อใหทราบวาคูในแตกตางกัน จึงตองทําการทดสอบเปนรายคูดวยวิธีของนิวแมน-คูลสตามตารางที่ 20

ตารางที่ 20 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามสถานภาพสมรสเปนรายคู

แตงงาน โสด หมาย, หยา สถานภาพสมรส X 3.32 3.00 2.97 แตงงาน 3.32 - .32* .35 โสด 3.00 - .03 หมาย, หยา 2.97 - - * p <.05

จากการทดสอบความพึงพอใจรายคู พบวา ประชาชนที่มสีถานภาพสมรส แตงงานมีความ

พึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตาํรวจ สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง มากกวาประชาชนที่มีสถานภาพโสด อยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐานที ่4 ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามอาชพี ตารางที่ 21 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามอาชพี

ดานอาชีพ n = 19 ขาราชการ

n = 9 พนังงาน รัฐวิสาหกิจ

n = 36 รับจาง

หนวยงานเอกชน

n = 30 อาชีพอิสระ

n = 6 อื่น ๆ

การปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ 3.58 3.56 3.06 3.31 3.50 การพัฒนาระบบสายตรวจ 3.65 3.58 3.09 3.44 3.10 การสืบสวนปราบปราม 3.41 3.00 2.83 3.17 3.03 การปราบปรามยาเสพติด 3.42 3.70 3.11 3.37 3.06

รวม 3.52 3.42 3.01 3.28 3.51 จากตารางที่ 21 พบวา กลุมตัวอยางที่มีอาชีพรับราชการ มีความพึงพอใจตอการปฏิบตัิงาน

ของเจาหนาทีต่ํารวจ สถานตีํารวจภูธรอําเภอบานบึงมากที่สุด โดยมีความพึงพอใจในระดับมาก ผูที่มีความพึงพอใจอันดับรองลงมาคือ ผูที่มีอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกจิ อาชีพอิสระ อาชีพอ่ืน ๆ และรับจางหนวยงานเอกชนโดยมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง

Page 55: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

46

ดังนั้น หากตองการทราบวากลุมกลุมตัวอยางทั้ง 3 กลุม มีความพึงพอใจตางกันหรือไม จึงทําการทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไวตามตารางที่ 22

ตารางที่ 22 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามอาชพี

แหลงความแปรปรวน df SS MS F p ภายในกลุม 95 26.75 .28 3.3* .01 ระหวางกลุม 4 3.79 .94

รวม * p <.05

จากการทดสอบความพึงพอใจของประชาชนจําแนกตามอาชีพ พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามอาชีพอยางมีนยัสําคัญที่ระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับสมมุติฐานที่ตั้งไว เพื่อใหทราบวาคูใดแตกตางกัน จึงตองทําการทดสอบเปนรายคูดวยวิธีของนิวแมน-คูลสตามตารางที่ 23 ตารางที่ 23 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามอาชพีเปนรายคู

รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ อาชีพอิสระ อื่น ๆ

รับจางหนวยงานเอกชน อาชีพ X

3.51 3.41 3.28 3.14 3.00 รับราชการ 3.51 - .10 .23 .37- .51* พนักงานรัฐวิสาหกิจ 3.41 - - .13 .27 .41 อาชีพอิสระ 3.28 - - - .14 .28 อื่น ๆ 3.14 - - - - .14 รับจางหนวยงานเอกชน 3.00 - - - - -

*p<.05

จากการทดสอบความพึงพอใจรายคู พบวา ประชาชนที่ประกอบอาชีพรับราชการ มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตาํรวจสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง มากกวาประชาชนที่ประกอบอาชพีรับจางหนวยงานอิสระ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 56: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

47

สมมติฐานที ่5 ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามรายได ตารางที่ 24 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามรายได

ดานรายได

n = 19 ไมเกิน

10,000 บาท

n = 9 10,001 บาท - 20,000 บาท

n = 36 20,001 บาท – 30,000 บาท

n = 30 30,001 ขึ้น

ไป การปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ 3.25 3.34 3.44 4.00 การพัฒนาระบบสายตรวจ 3.25 3.45 3.89 2.50 การสืบสวนปราบปราม 3.08 2.83 2.78 2.50 การปราบปรามยาเสพติด 2.93 3.10 3.44 3.50

รวม 3.12 3.18 3.38 3.12 จากตารางที่ 24 พบวา กลุมตัวอยางที่มีรายได 20,001-30,000 บาท มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึงมากที่สุด ผูที่มีความพงึพอใจอันดับรองลงมาคือ ผูที่มีรายได 10,001-20,000 บาท และผูที่มีรายไดไมเกิน 10,000 บาท และผูที่มีรายไดเกิน 30,000 บาท ตามลําดับ

ดังนั้น หากตองการทราบวากลุมกลุมตัวอยางทั้ง 3 กลุม มีความพึงพอใจตางกนัหรือไมจึงทําการทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไวตามตารางที่ 25

ตารางที่ 25 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามรายได

แหลงความแปรปรวน df SS MS F p ภายในกลุม 95 26.75 .28 3.3* .01 ระหวางกลุม 4 3.79 .94

รวม * p <.05

จากการทดสอบความพึงพอใจของประชาชนจําแนกตามรายได พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามรายได อยางมีนยัสําคัญที่ระดบั .05 ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว เพื่อใหทราบวาคูใดแตกตางกัน จึงตองทําการทดสอบเปนรายคูดวยวิธีของนิวแมน-คูลสตามตารางที่ 26

Page 57: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

48

ตารางที่ 26 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามรายไดเปนรายคู

ไมเกิน 10,000 บาท

10,000-20,000 บาท

20,001-30,000 บาท 30,000 ขึ้นไป รายได

3.12 3.18 3.38 3.12 ไมเกิน 10,000 บาท 3.12 - .10 .23 .37- 10,000-20,000 บาท 3.18 - - .13 .27 20,001-30,000 บาท 3.38 - - - .14 30,000 ขึ้นไป 3.12 - - - -

*p<.05

จากการทดสอบความพึงพอใจรายคู พบวา ประชาชนที่มรีายได 20,001-30,000 บาท มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจสถานีตํารวจภธูรอําเภอบานบึง มากกวาประชาชนที่มรีายได ไมเกิน 10,000 บาท และ 10,001-20,000 บาท ตามลําดับ อยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐานที ่6 ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามพื้นท่ีอยูอาศัย ตารางที่ 27 คาเฉลี่ยของความพึงพอใจ จําแนกตามพื้นทีอ่ยูอาศัย

ดานพื้นที่อยูอาศัย n = 19 เขตพื้นที่หางไกล/ชาวเขา

n = 9 เขตชนบท/ชานเมอืง

n = 36 เขตชุมชน/เมอืง

การปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ 3.00 3.29 3.37 การพัฒนาระบบสายตรวจ 3.00 3.37 3.38 การสืบสวนปราบปราม 2.17 2.96 3.08 การปราบปรามยาเสพติด 2.89 3.17 3.17

รวม 2.76 3.19 3.25 จากตารางที่ 24 พบวา กลุมตัวอยางที่มีพืน้ที่อยูอาศัยเขตชุมชนเขตเมอืง มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบงึมากที่สุด ผูที่มีความพึงพอใจอันดับรองลงมาคือ ผูที่มีพื้นที่อยูอาศัยเขตชนบทชานเมือง และผูที่มีพื้นที่อยูอาศยัในเขตพื้นที่หางไกลชาวเขา ตามลําดับ ดังนั้น หากตองการทราบวากลุมกลุมตัวอยางทั้ง 3 กลุม มีความพึงพอใจตางกันหรือไม จึงทําการทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไวตามตารางที่ 28

Page 58: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

49

ตารางที่ 28 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จาํแนกตามพื้นที่อยูอาศัย

แหลงความแปรปรวน df SS MS F p ภายในกลุม 95 26.75 .28 3.3* .01 ระหวางกลุม 4 3.79 .94

รวม * p <.05

จากการทดสอบความพึงพอใจของประชาชนจําแนกตามพืน้ที่อยูอาศัย พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกนัตามพื้นที่อยูอาศยั อยางมีนยัสําคัญที่ระดับ .05 ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว เพื่อใหทราบวาคูใดแตกตางกัน จึงตองทําการทดสอบเปนรายคูดวยวิธีของนิวแมน-คูลสตามตารางที่ 29 ตารางที่ 29 เปรียบเทียบความพึงพอใจของประชาชน จําแนกตามรายไดเปนรายคู

เขตชนบท/ชานเมือง เขตชุมชน/เมือง เขตพื้นที่หางไกล/ชาวเขา พ้ืนที่อยูอาศัย 2.76 3.25 3.19

เขตชนบท/ชานเมือง 2.76 - .10 .23 เขตชุมชน/เมือง 3.25 - - .13 เขตพื้นที่หางไกล ชาวเขา 3.19 - - -

*p<.05

จากการทดสอบความพึงพอใจรายคู พบวา ประชาชนที่มพีื้นที่อยูอาศยัเขตเมืองมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง มากกวาประชาชนที่มีพื้นที่ เขตชนบท และพื้นทีห่างไกล ตามลําดับ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 59: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

50

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง “ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน : ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง” เปนการวิจัยเชงิสํารวจ โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางของประชากร ประชากรคือ ประชาชนที่พกัอาศัยอยูในเขตอําเภอบานบึง จํานวน 97,296 คน การสุมตัวอยางใชวธีิการสุมตัวอยาง โดยคํานึงถึงความนาจะเปน โดยใชวิธี systematic sampling กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา จํานวน 100 คน ตัวแปรที่ใชในการศึกษา ไดแก ตวัแปรอสิระ จํานวน 6 ตัวแปรคือ เพศ อายุ สถานภาพ สมรส อาชีพ รายได และพืน้ที่อยูอาศัย ตวัแปรตามคือ ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ใน 4 ดาน คือ การปฏิบัติตัวของเจาหนาที่ตํารวจ การพัฒนาระบบสายตรวจการสืบสวนปราบปราม และการปราบปรามยาเสพติด เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ แบบสอบถาม โดยแบบสอบถามแบงเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป เปนแบบสอบถามแบบปลายปด (closed ended) สวนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจ เปนแบบสอบถามชนิดมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ สถิติที่ใชวิเคราะหขอมูล ประกอบดวย สถิติเชิงพรรณนา ไดแก รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ไดแก t-test และ One-way ANOVA ซ่ึงใชในการทดลองสมมติฐาน

สรุปผลการศึกษา

1. สรุปผลการศึกษาโดยทัว่ไป ลักษณะขอมูลโดยทั่วไปของกลุมตัวอยาง 100 คน พบวา สวนใหญเปนเพศชายคิดเปนรอยละ 76.00 สวนใหญมีอายุระหวาง 20-35 ป คิดเปนรอยละ 56.00 สวนใหญสมรสแลวคิดเปนรอยละ 71.00 และสวนใหญประกอบอาชีพรับจางหนวยงานเอกชนคิดเปนรอยละ 36.00 รองลงมาคือ ประกอบอาชพีอิสระคิดเปนรอยละ 30.00 และรับราชการคิดเปนรอยละ 19.00 2. สรุปผลการศึกษาความพงึพอใจของประชาชน จากการศึกษาความพงึพอใจของประชาชนตอการปฏบิัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจ สถานตีํารวจภูธรอําเภอบานบึง พบวาประชาชนมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจในดานการปฏิบตัิตัวของเจาหนาที่ตํารวจดาน

Page 60: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

51

การพัฒนาระบบสายตรวจ ดานการสืบสวนปราบปราม และดานการปราบปรามยาเสพติด ในระดบัปานกลาง 3. สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน 3.1 สมมติฐานที่ 1 ความพงึพอใจของประชาชนแตกตางกันตามเพศ ผลการทดสอบ พบวาความพึงพอใจของประชาชนไมแตกตางกันตามเพศ 3.2 สมมติฐานที่ 2 ความพงึพอใจของประชาชนแตกตางตามอายุ ผลการทดสอบ พบวา ความพงึพอใจของประชาชนไมแตกตางกันตามอาย ุ 3.3 สมมติฐานที่ 3 ความพงึพอใจของประชาชนแตกตางกันตามสถานภาพสมรส ผลการทดสอบ พบวาความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามสถานภาพสมรส โดยประชาชนที่มีสถานภาพแตงงานแลวมคีวามพึงพอใจมากกวาประชาชนที่มีสถานภาพโสด อยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.4 สมมติฐานที่ 4 ความพงึพอใจของประชาชนแตกตางกันตามอาชีพผลการทดสอบ พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามอาชีพ โดยประชาชนที่ประกอบอาชพีรับราชการ มีความพึงพอใจมากกวาประชาชนที่ประกอบอาชีพรับจางหนวยงานเอกชนอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.5 สมมติฐานที่ 5 ความพงึพอใจของประชาชนแตกตางกันตามอาชีพผลการทดสอบ พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกันตามรายได โดยประชาชนที่มีรายได ไมเกิน 10,000 บาท มีความพึงพอใจมากกวาประชาชนที่มีรายไดมาก มีนยัสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05

3.6 สมมติฐานที่ 6 ความพงึพอใจของประชาชนแตกตางกันตามพื้นทีอ่ยูอาศัย ผลการทดสอบ พบวา ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกนัตามพื้นที่อยูอาศัย ในเขตชมุชนเขตเมือง มีความพึงพอใจมากกวาเขตชนบทและเขตพื้นที่หางไกล มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 61: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

52

อภิปรายผลการศึกษา

1. เจาหนาที่ตาํรวจ เปนผูพทิักษสันติราษฎรมีหนาที่ในการบําบัดทุกขบํารุงสุขใหกบัประชาชน ปราบปรามโจรผูรายและผูประกอบมิจฉาชีพตาง ๆ จึงทําใหเจาหนาที่ตํารวจตองเปนบุคคลที่เขมแข็งทั้งรางกาย จิตใจ รวมถึงกิริยาวาจา ในบางครั้งตองใชความแข็งแกรงเด็ดเดีย่ว เพือ่ทําใหเหลามิจฉาชีพเกรงกลวั จนทําใหมีความคุนเคยกับกิริยาดังกลาว และนําไปใชกบัประชาชนทั่วไปในบางครั้ง ทําใหประชาชนมีความพึงพอใจในกิริยามารยาทของเจาหนาที่ตํารวจในระดับปานกลาง สวนในดานความซื่อสัตยสุจริตปฏิบัติหนาที่อยางตรงไปตรงมาของเจาหนาที่ตํารวจเนื่องจากประชาชนตั้งความหวังวาเจาหนาที่ตํารวจจะตองเปนผูพิทักษสันติราษฎรที่จะตองปฏิบัติหนาที่อยางซื่อสัตย สุจริต แตในความเปนจริงมักปรากฏเปนขาวทางสื่อมวลชนวา การปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาทีต่ํารวจระดับลางมีการใชอํานาจหนาที่ไปในทางที่ไมถูกตอง เชน กรณีสวยการเรียกรองเงินในการทําคดี เปนตน จึงทําใหประชาชนมีความพึงพอใจตอการปฏบิัติหนาที่ของเจาหนาที่ตํารวจในระดบัปานกลาง 2. สถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง ไดมีการเพิ่มจุดตรวจคนตามพื้นที่ตาง ๆ ใหครอบคลุมพื้นที่ความรับผิดชอบ ทําใหประชาชนมีความพึงพอใจในระดับมาก แตการพัฒนาระบบสายตรวจในดานการพบปะเยีย่มเยียนประชาชน รถยนตและรถจกัรยานยนตสายตรวจ และการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาทีต่ํารวจประจําตูยาม ไมสามารถกระทําไดอยางเต็มที่ เนื่องจากงบประมาณมีจํากดั จึงทําใหประชาชนมีความพึงพอใจในเรื่องดังกลาวในระดับปานกลาง 3. จากการที่ชุมชนมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น มีจํานวนประชากรมากขึ้น และเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ จึงทําใหเปนแหลงอบายมุขยากตอการปราบปราม รวมทั้งการคมนาคมที่มีความหนาแนน การจราจรติดขัด ทําใหการเดินทางไปยังสถานที่เกิดเหตลุาชา และในปจจุบันคนรายไดมกีารพัฒนาวิธีการในการประกอบอาชญากรรม ทําใหการดําเนินการสืบสวนจับกุมคนรายกระทําไดยากขึ้น ตองใชความรูความสามารถของเจาหนาทีต่ํารวจเพื่อการดําเนินการอยางละเอียดรอบคอบปจจัยทั้งหลายเหลานี้ทําใหประชาชนมีความพึงพอใจการปฏบิัติหนาที่ของตํารวจในการสืบสวนปราบปรามในระดับปานกลาง 4. ในปจจุบนัยาเสพติด เชน ยาบา ยาอี ยาเค ไดแพรกระจายไปในหมูเยาวชน โดยเฉพาะในสถานศึกษา ประกอบกับในปจจุบนัเยาวชนหลงผิดวาสิ่งเสพติดเหลานี้สามารถแกไขปญหาที่ตนกําลังประสบอยูได ทําใหจํานวนผูติดยาเสพติดไมลดจํานวนลง ดังนั้นประชาชนจึงมคีวามพึงพอใจการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจในดานการปราบปรามยาเสพติดในระดับปานกลาง

Page 62: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

53

5. ความพึงพอใจของประชาชนแตกตางกนั ตามสถานภาพสมรส โดยประชาชนที่แตงงานแลว มีความพึงพอใจมากกวาประชาชนที่อยูในสถานภาพโสด ทั้งนี้เนื่องจากผูที่แตงงานแลว จะคอนขางมีความสุขจากชีวิตสมรส และมีความสมหวังในชีวติครอบครัวจึงมักจะมองโลกในแงดี และจากการที่มีความรูสึกวามีความสุขและไดรับการคุมครองจากคูสมรสแลวจึงมีความคาดหวัง ในความปลอดภัยจากเจาหนาที่ตํารวจเพยีงเล็กนอย จึงทําใหรูสึกมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจมากกวาคนโสดที่มีความคาดหวัง การไดรับความคุมครองจากเจาหนาที่ตํารวจคอนขางสูง ทําใหมีความพึงพอใจนอยกวา

ขอเสนอแนะ

จากการที่ไดศกึษาวจิัยคนพบวา ผูที่มีอาชีพรับราชการและสมรสแลว มีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาทีต่ํารวจ ดานการพัฒนาสายตรวจ ดานการปราบปรามยาเสพติดและการสืบสวนปราบปราม มากกวาผูที่มีอาชีพอิสระอ่ืน ๆ และรับจางหนวยงานเอกชนตามลาํดับจึงเหน็ควรเสนอแนะดังนี ้ 1. ปรับปรุงพัฒนาระบบสายตรวจใหเหมาะสมกับสภาพและสถานการณในพืน้ที ่ 2. อบรมเพิ่มพูนความรูความสามารถและตรวจสอบความพรอมของเจาหนาที่สายตรวจกอนออกปฏิบตัิการ เพื่อใหเกิดความชดัเจนในภารกิจการปฏิบัติ และหนาที่ความรับผิดชอบ 3. ใหเจาหนาที่สายตรวจออกพบปะเยีย่มเยียนประชาชนอยางสม่ําเสมอ เพื่อเสริมสรางความสัมพันธที่ดีระหวางตํารวจกับประชาชน 4. ปรับปรุงการติดตอส่ือสาร ควบคุมสั่งการเจาหนาทีส่ายตรวจใหไปถึงที่เกิดเหตุโดยเร็วที่สุด และสามารถควบคุมที่เกิดเหตไุดอยางมีประสิทธิภาพกอนที่พนักงานสอบสวนที่เดินทางไปถึง 5. ปรับปรุงระบบตูยามและที่พักสายตรวจใหมีความพรอมที่จะสกัดจบักุมคนราย 6. ตั้งจุดตรวจคนบุคคลและยานพาหนะทกุวัน 7. ระดมปองกันปราบปรามอาชญากรรมทุกเดือน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม 8. ขยายงานตาํรวจชุมชนสมัพันธใหครอบคลุมทั่วพื้นที่ เพื่อแสวงหาความรวมมือและการมีสวนรวมของประชาชน ในการปองกนัและปราบปรามอาชญากรรม 9. พัฒนาระบบตํารวจชุมชนโดยกระจายกําลังตํารวจไปสูการปฏิบัติในรูปแบบตาง ๆ 10. เรงรัดการสืบสวนจับกุมคนรายคดีสําคัญและคดีที่มีผลกระทบตอการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชน 11. เรงรัดการสืบสวนจับกุมผูตองหาคดีคางเกา เพื่อจับกมุและกดดันผูกระทําความผดิ

Page 63: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

54

12. ควบคุมปราบปรามแหลงอบายมุขอยางจริงจังและตอเนื่อง เพื่อขจดัแหลงเพาะเพิ่มอาชญากรรม 13. ปรับปรุงระบบการจัดทาํและเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐานของสถานีตํารวจใหถูกตองเปนปจจุบนั 14. จัดทําและซักซอมแผนเผชิญเหตุอยูเสมอ เพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาที่ไดทันทีเมื่อเกิดเหตุ

Page 64: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

55

บรรณานุกรม

บรรณานุกรม

Page 65: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

56

กรมตํารวจ. (2525). ประมวลระเบียบการตํารวจไมเกี่ยวกับคดี เลม 1. กรุงเทพฯ: กองวิชาการ กรมตํารวจ.

________ . (2541). คูมือการปฏิบัติงานตามโครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชน (โรงพัก เพื่อประชาชน) สําหรับสถานีตํารวจ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพตํารวจ. ________ . (2541). โครงการพัฒนาสถานีตํารวจเพื่อประชาชน (โรงพักเพื่อประชาชน).

กรุงเทพฯ: โรงพิมพตํารวจ. กองบัญชาการตํารวจนครบาล. (2530). เอกสารวิจัยความคิดเห็นของประชาชนผูพกัอาศัยใน กรุงเทพมหานครที่มีตอการปฏิบัติงานของตํารวจนครบาล. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ

กรมตํารวจ. กุลธน ธนพงศธร. (2530). ประโยชนและการบริหาร ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงาน

บุคคล. (พิมพคร้ังที่ 7). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานสถานีตํารวจนครบาลทดลอง. (2527). รายงานการวจิัย

ประเมินผลโครงการสถานีตํารวจทดลอง. ม.ป.ท. ดนัยศกัดิ์ เกตบุุญลือ. (2541). ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ

ตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ, บณัฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยบูรพา.

จีราพร วีระหงส. (2538). ความพึงพอใจของประชาชนตอระบบและกระบวนการใหบริการของกรุงเทพมหานคร : ศึกษากรณีสํานักงานเขตตลิ่งชัน. วิทยานิพนธพัฒนบริหารศาสตร มหาบัณฑิต, สาขานโยบายสาธารณะ, คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ทศพร ศิริสัมพันธ. (2538). ยกเครื่องรัฐบาลกรณีศึกษาการสรางสรรครัฐบาลใหมของ สหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร, คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย. เทพศักดิ์ บุญยรัตพันธ. (2536). ปจจยัที่สงผลตอการสรางประสิทธิผลของการนํานโยบายการ

ใหบริการแกประชาชนไปปฏิบัติ : กรณีศกึษาสํานักงานเขตของกรุงเทพมหานคร. วิทยานพินธพฒันบริหารศาสตรดุษฎีบัณฑิตทางการบริหารการพัฒนา สาขา นโยบายสาธารณะ, คณะรัฐประศาสนศาตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ประยูร กาญจนดุล. (2491). กฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ปุระชัย เปยมสมบูรณ. (2524). สมรรถภาพของตาํรวจในการควบคุมอาชญากรรม. กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยมหิดล.

Page 66: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

57

มณีวรรณ ตั๊นไทย. (2533). พฤติกรรมการใหบริการของเจาหนาทีก่องควบคุมยา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาตอประชาชนที่มาติดตอ. สารนิพนธรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ราชัน โสตถิทัต. (2541). ทัศนคติของประชาชนผูมาตดิตอราชการที่สถานีตํารวจภธูรตําบลบางขนาก. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขานโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยับูรพา.

วัลลภา ชายหาด. (2532). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอบริการสาธารณะดานรักษาความสะอาดของกรงุเทพมหานคร. วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควชิา รัฐประศาสนศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย.

เศกสรรค บัวเรือง. (2541). ความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของสถานีตํารวจ ศึกษาเฉพาะกรณี สถานีตํารวจภูธรตําบลสําโรงใต. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา.

ศุภัคชัย เอมออน. (2541). ความพึงพอใจในการปฏิบัตหินาที่ของขาราชการตํารวจในสังกัดกองกํากับการสืบสวนตํารวจภูธร ภาค 2. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ, บณัฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยบูรพา.

สํานักนโยบายและแผน กรุงเทพมหานคร (2537). ความพงึพอใจของประชาชนตอระบบและกระบวนการใหบริการของกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: แม็ค.

แสวง รัตนมงคลมาศ. (2514). การตั้งขอสมมติฐานในการวิจยั. ม.ป.ท. สุเทพ บุญค้ํา. (2541). ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติหนาที่ตํารวจจราจร ศึกษากรณี

สถานีตํารวจอาํเภอเมืองจนัทบุรี. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโยบายสาธารณะ, บณัฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยบูรพา.

สุริยะ วิริยะสวัสดิ์. (2530). พฤติกรรมการใหบริการของเจาหนาที่ องคการราชการกับปจจยัสภาพแวดลอมในเขตเทศบาลเมืองกาฬสนิธุ. วิทยานิพนธรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารรัฐกิจ, บณัฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยธรรมศาสตร.

โสณกลุ ทรัพยสมบัติ. (2541). ทัศนคติของประชาชนที่มีตอการใหบริการของตํารวจ ศึกษากรณี สถานีตํารวจภธูรอําเภอกบินทรบุรี. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขานโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรูพา.

อมร รักษาสัตย. (2522, 10 เมษายน). บทบาทจากผูบังคับบัญชาในการสงเสริมประสิทธิภาพของ ขาราชการ. วารสารรัฐประศาสนศาสตร, 1 (ฉบับพิเศษ), หนา 13.

Cox, X. M. & Wade, J. E. (1985). The Criminal Justice Network and Introduction Duberque. Iowa: Wn.C.Brown.

Page 67: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

58

Frederickson, G. H. (1980). New Public Administration. Alabama: The University of Alabama Press.

Gundlach, J. H. & Ried, N. P. (1983). A Scale for the Measurement of Consumer Satisfaction with Social Services. Journal of Service Research, 7 (2), pp. 56-80.

Katz, Danet & Branda. (1973). Bureaucracy and the Public. New York: Basic Book Inc. Millett, D. (1954). Management in the Public Service : The Quest for Effective Performance.

New York: McGraw-Hill Book Company, Inc. Osforrne, David & Gaebler. (1992). Reinuenting Government How the Enterneurial Spirit in

Tranforming the Public Sector. Wesley: Reading Ma Addison. Rehfuss, J. (1973). Public Administration as Political Process. New York: Charles Scribner’s

Sons. Simon, H. A. (1960). Administrative Behavior. (3rd ed). New York: The free Press. Suchitra Punyaratabandhu. (1986). Delivery of Public Service in Asian Countries : Cases in

Development Administration. Bangkok: Thammasart University Press. Weber, Max. (1966). The Theory of Social and Economic Organization. (Handerson & Parson

Trans) Handerson and Tallcott Parson, (4th ed). New York: The free Press. Wang, In-Jung. (1986). Delivery of Public Services in Asian Countries : Cases in Development

Administration. Bangkok: Thammasart University Press.

Page 68: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

59

ภาคผนวก

Page 69: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

60

แบบสอบถาม

เรื่อง ความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน

ศึกษากรณีสถานีตํารวจภูธรอําเภอบานบึง (สําหรับประชาชนทั่วไป)

สวนท่ี 1 แบบสอบถามขอมูลทั่วไป กรุณาทําเครื่องหมาย / ลงในชอง ที่ตรงกับความเปนจริงของทาน ชองนี้สําหรับผูศึกษา ID 1-3 1. เพศ ชาย SEX 4 หญิง 2. อาย ุ ต่ํากวา 20 ป AGE 5 21 – 35 ป มากกวา 35 ป3. สถานภาพสมรส โสด STA 6 สมรส หยาราง, หมาย 4. อาชีพ รับราชการ CAREER 7 พนักงานรัฐวสิาหกิจ รับจาง อาชีพอิสระ อ่ืน ๆ

Page 70: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

61

5. รายได INCOME 8 ไมเกิน 10,000 บาท 10,001 บาท - 20,000 บาท 20,001 บาท - 30,000 บาท 30,001 ขึ้นไป 6. พื้นที่ที่อยูอาศัย AREA 9 เขตชุมชน/เขตเมือง เขตชนบท /ชานเมือง เขตพื้นที่หางไกล/ ชาวเขา สวนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจตาม โครงการโรงพักเพื่อประชาชน กรุณาทําเครื่องหมาย / ลงในชอง ที่ตรงกับความรูสึกของทาน การปฏิบตัิตัวของเจาหนาท่ีตํารวจ ชองนี้สาํหรับผูศึกษา 1. การแตงกายของเจาหนาที่ตํารวจของ สภ.อ.บานบึง A1 10 เปนระเบยีบเรียบรอย เพยีงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 2. กิริยาวาจาของเจาหนาทีต่ํารวจ สภ.อ.บานบึง สุภาพ A2 11 เรียบรอยเพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 3. เจาหนาที่ตาํรวจของ สภ.อ.บานบึง มีความซื่อสัตยสุจริต A3 12 ปฏิบัติหนาที่อยางตรงไปตรงมาเพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 71: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

62

การพัฒนาระบบสายตรวจ 4. ทานพึงพอใจการพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนและผูนําชุมชน A4 12 ของเจาหนาที่ตํารวจเพยีงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 5. ผูนําชุมชนออกพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนสม่ําเสมอ A5 14 มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 6. ผูนําชุมชนใหความสนิทสนมกับประชาชนมากนอยเพียงใด A6 15 มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 7. ผูนําชุมชนมีอัธยาศัยไมตรีกับประชาชนมากนอยเพยีงใด A7 16 มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 8. ทานพึงพอใจการออกปฏบิัติหนาที่ของรถยนตสายตรวจ A8 17 ตามพื้นที่ตาง ๆ เพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 9. ทานพึงพอใจการออกปฏบิัติหนาที่ของรถจักรยานยนต A9 18 สายตรวจตามพื้นที่ตาง ๆ เพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 10. ทานพึงพอใจการจดัตั้งจุดตรวจคนบคุคลและยานพาหนะของ A10 19 เจาหนาทีต่ํารวจและการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตาํรวจ ณ จุดตรวจคนเพยีงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 72: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

63

11. การแสดงออก คําพูด ความซื่อสัตย ของเจาหนาที่ตํารวจ A11 20 ณ บริเวณจุดตรวจ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 12. คุณลักษณะความเอาใจใสในหนาทีข่องเจาหนาทีต่ํารวจ A12 21 ณ บริเวณจุดตรวจ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 13. ทานพงึพอใจการเอาใจใสและอัธยาศยัการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ A13 22 ตํารวจประจําตูยามในการรับแจงเหตแุละระงับเหตุเพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 14. ทานพึงพอใจการจดัระบบการปฏิบัติงานสายตรวจ A14 23 (ตูแดง, ตูยาม, จุดตรวจ) ตามพื้นที่ตาง ๆ เพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด การสืบสวนปราบปราม 15. ทานพึงพอใจการออกปราบปรามแหลงอบายมุขของเจาหนาที ่ A15 24 ตํารวจเพยีงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 16. เจาหนาทีต่ํารวจสามารถเดินทางไปถงึสถานที่เกิดเหต ุ A16 25 เพื่อระงับเหตุไดอยางรวดเร็วอยางที่ทานพึงพอใจเพยีงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 17. ทานพึงพอใจการปฏิบัตงิานในการสืบสวนจับกุมคนรายใน A17 26 คดีสําคัญ ๆ เพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 73: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

64

18. ทานคิดวาในปจจุบนัทานพึงพอใจการลดลงของอาชญากรรม A18 27 ในเขตทองที่ของทานเพยีงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 19. ในปจจุบนัทานมีความพอใจเกี่ยวกับความปลอดภยัในชวีิตและ A19 28 ทรัพยสินของทานเพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด การปราบปรามยาเสพติด 20. ทานพอใจการเรงรัดปราบปรามยาเสพติดของเจาหนาที่ตํารวจ A20 29 เพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 21. ทานพึงพอใจการเผยแพรขอมูลขาวสารและความรูเร่ืองยาเสพติด A21 30 และการปองกนัตนเองใหแกประชาชนของเจาหนาที่ตาํรวจเพียงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 22. ทานคิดวาในปจจุบนัในเขตทองที่ของทานจํานวนผูติดยาเสพตดิ A22 31 ลดลงอยางที่ทานพึงพอใจเพยีงใด มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด

Page 74: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

65

โครงการสถานีตํารวจเพื่อประชาชน แบงเปน 5 สายงาน

ศึกษาเฉพาะกรณีงานปองกันปราบปราม กรณีการปฏิบตัิตัวของตาํรวจ และการปฏิบัติหนาท่ี

ฝอ. - ฝายอํานวยการ ป. - ฝายปองกัน และปราบปราม ส. - ฝายสืบสวน สส. - ฝายสอบสวน จร. - ฝายจราจร

ขอเสนอแนะตอเจาหนาที่ตํารวจตามโครงการโรงพักเพื่อประชาชน

1. ขอเสนอแนะตอตวัเจาหนาที่ตํารวจ.............................................................................. ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................

2. ขอเสนอแนะตอทักษะสายตรวจ................................................................................... ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................

ผกก.

รอง ผกก.ป รอง ผกก. สส.

ฝอ. ป. ส. สส. จร.

Page 75: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

66

3. ขอเสนอแนะตอทักษะสบืสวนปราบปราม .................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................

4. การปราบปรามยาเสพติด................................................................................................. ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................

Page 76: ความพึงพอใจของประชาชนต อการปฏ ...ความพ งพอใจของประชาชนต อการปฏ บ ต

67

ประวัติยอของผูเขียนปญหาพิเศษ

ชื่อ – สกุล พ.ต.ต. ธนกฤต เนืองพุด วัน เดือน ปเกิด 28 กุมภาพนัธ 2505 สถานที่เกิด จังหวดัปราจีนบุรี สถานที่อยูปจจุบัน 39/13-14 หมูที่ 3 ถนนสุขประยูร ตําบลดอนหวัฬอ อําเภอเมือง จงัหวัดชลบุรี 20000

ตําแหนงและประวัติการทํางาน

พ.ศ. 2548-ปจจุบัน สวป. สภ.ต. วงัตะเคียน จังหวัดปราจีนบรีุ

วุฒิการศึกษา

พ.ศ. 2537 นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549 รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (สาขานโยบายสาธารณะ)

วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา