47
ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม โดย นายพัฒน์ดนู เตมีกุล ศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์(จิตรกรรม) ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2558

ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม

โดย

นายพฒัน์ดนู เตมีกุล

ศิลปนิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศลิปบณัฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์(จิตรกรรม)

ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศลิปากร

ปีการศึกษา 2558

Page 2: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม

โดย

นายพฒัน์ดนู เตมีกุล

ศิลปนิพนธ์นีเ้ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศลิปบณัฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์(จิตรกรรม)

ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศลิปากร

ปีการศึกษา 2558

Page 3: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

Image of Brutality in Materialism

By

Mr. Patdanu Taemekul

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Bachelor of Fine Arts (B.F.A.), Program in Visual Arts

Department of Painting The Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts

Silpakorn University Academic Year 2015

Page 4: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติให้ศิลปนิพนธ์ เรื่อง“ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม” เสนอโดย นายพัฒน์ดนู เตมีกุล เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ กลุ่มวิชาเอกจิตรกรรม

....................................................... (อาจารย์อ ามฤทธิ์ ชูสุวรรณ)

คณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ .............../....................../.................

ผู้ควบคุมศิลปนิพนธ์

อาจารย์ฑีฆวุฒิ บญุวิจิตร คณะกรรมการตรวจศิลปนิพนธ์ ...................................................... ประธานกรรมการ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์นาวิน เบียดกลาง) ................../...................../............

....................................................... กรรมการ

(ศาสตราจารย์วิโชค มุกดามณี) ................../...................../............ ...................................................... กรรมการ

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธณฤษภ์ ทิพย์วารี) ................../...................../........... ...................................................... กรรมการ

(อาจารย์ฑฆีวุฒิ บุญวิจิตร) ................../...................../............ ...................................................... กรรมการและเลขานุการ

(อาจารย์พรรษา พุทธรักษา) ................../...................../...........

Page 5: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

หัวข้อศิลปนิพนธ์ ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม ชื่อนักศึกษา นายพัฒน์ดนู เตมีกุล สาขาวิชา ทัศนศิลป์ ภาควิชา จิตรกรรม ปีการศึกษา 2558

บทคัดย่อ

อดีตมนุษย์เคยต่อสู้ ท าสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เพื่อให้ได้มาซึ่งอ านาจ ปัจจุบันมนุษย์ก็ยังคงเป็นเช่นนั้น หากแต่เป็นการฆ่ากันทางความคิด ค่านิยม ความเชื่อในมายาคติแห่งสังคมบริโภคนิยม ท าให้เกิดวงจรความรุนแรง การแก่งแย่ง แข่งขันกัน ของคนในสังคม อันแฝงตัวผ่านวัตถุนิยมต่างๆ ถึงแม้มนุษย์เองจะไม่ได้ยอมรับออกมาอย่างตรงไปตรงมา แต่สิ่งที่ปลูกฝังกันมาด้วยความเชื่อเชิงอุปทานได้ก่อให้เกิดแรงขับทางความรุนแรงโหดเหี้ยมซึ่งซุกซ่อนอยู่ภายในผลิตผลต่างๆมากมายที่ใช้กันในชีวิตประจ าวัน ข้าพเจ้าจึงได้น าเน้ือหาการแสดงออกของพฤติกรรมมนุษย์ที่เกี่ยวกับความรุนแรงความปรารถนามาสะท้อนโดยมุ่งเน้นไปที่การน าเสนอด้วยภาพลักษณ์ของหุ่นนิ่งวัตถุผสมผสานกับชิ้นส่วนอวัยวะของสิ่งมีชีวิต เพื่อถ่ายทอดความโหดร้ายที่ซ่อนอยู่ภายในสู่ภายนอกด้วยการอุปมา แสดงออกถึงวัตถุนิยมของมนุษย์ในสังคมปัจจุบัน

Page 6: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

Thesis Title Image of Brutality in Materialism Name Mr. Patdanu Taemekul Concentration Visual Arts Department Painting Academic Year 2015

Abstract

In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still do nowadays, but instead, we fight with ideas, popularity, and consumerism. The illusion of commercialism creates the abusive cycle. The struggle and the competition in the society are hidden in all kinds of materialism. People don’t admit it truthfully, but this has been cultivated by mass cultures. The cruelty is hiding in all sorts of products we use in our daily lives. I present this subject about human behavior of desire, through the still lives mixed with organs flesh. In order to reflect the brutality, inside out, in a metaphoric manner.Showing the true human materialism.

Page 7: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

กิตติกรรมประกาศ

ข้าพเจ้าขอน้อมร าลึกในพระคุณบิดามารดาผู้ให้ก าเนิด ประกอบกับทั้งอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์ อาจารย์ฑีฆวุฒิ บุญวิจิตร และคณาจารย์ภาควิชาจิตรกรรมทุกท่าน รวมถึงสถาบันการศึกษา ที่เข้าใจในความเป็นตัวตนของข้าพเจ้าเสมอมาที่ได้ให้ความรู ้อบรมสั่งสอนตลอดจนเป็นก าลังใจทั้งในการด าเนินชีวิต และการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ท้ายนี้ขอขอบพระคุณผู้ซึ่งมีส่วนร่วมในความช่วยเหลือทุกๆด้าน ทุกๆกระบวนการของการด าเนินงานสร้างสรรค์ตราบจนผลงานในชุดศิลปนิพนธ์นี้ส าเร็จลุล่วงไปด้วยดีทุกประการ ข้าพเจ้าขอมอบจิตเจตจ านงแห่งความบริสุทธิ์ใจที่ดีงาม และคุณค่าของงานศิลปะที่สร้างสรรค์โดยผ่านผลงานตามโครงการศิลปนิพนธ์ ประกอบกับหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานศิลปะชุดนี้จะสามารถเป็นเสมือนภาพสะท้อนแห่งจิต และวิถีความคิดจากการกระท าที่สร้างสรรค์อันน าไปสู่การสร้างโอกาส ความหวัง ความสุขและความปรองดองที่กลมกลืน ก่อเกิดประโยชน์ต่อสังคมและเพื่อนมนุษย์ในการด ารงอยู่ร่วมกันด้วยความสุขชีวิตที่แท้จริงและยั่งยืนสืบไป

Page 8: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

ค าน า

เอกสารฉบับนี้เป็นการประกอบผลงานศิลปนิพนธ์ สาขาวิชาทัศนศิลป์ กลุ่มวิชาเอกจิตรกรรมปีการศึกษา 2558 ของคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการน าเสนอบทสรุปความคิดรวบยอดของกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปนิพนธ์อันประกอบไปด้วย ขั้นตอนการอธิบายถึงล าดับการด าเนินงานและการสร้างสรรค์ภายใต้หัวข้อเรื่อง “ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม” อย่างเป็นระบบที่เริ่มตั้งแต่วิธีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเรื่องราวอันเป็นแหล่งที่มาของแรงบันดาลใจที่ส่งผลต่อการสร้างความคิด จัดการวิเคราะห์ สังเคราะห์และตีความเพื่อการสร้างสรรค์งานจนก่อเกิดเป็นผลสัมฤทธิ์ของผลงานศิลปะ ประกอบกับเอกสารนี้ยังได้อธิบายถึงกระบวนการในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ภายใต้เนื้อหา เรื่องราว รูปแบบเทคนิควิธีการอันจะสื่อความหมายและความรู้สึกในผลงานที่ ครอบคลุมถึงการด าเนินงานในทุกขั้นตอน ทั้งนี้ก็เพื่อสะท้อนถึงบริบทของการแสดงออกในผลงานศิลปะที่ได้ผ่ านกระบวนการพัฒนาการแก้ไขปัญหา และการพัฒนาคลี่คลายอย่างเป็นระบบในแต่ละห้วงเวลา ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบผลงานโครงการศิลปนิพนธ์ฉบับนี้จะเป็นแหล่งข้อมูลที่สามารถเอื้อประโยชน์แก่ผู้สนใจศึกษาศิลปะทุกๆท่านต่อไป

หากมีความผิดพลาดประการใดก็ตามที่เกิดขึ้นภายในเอกสารนี้ข้าพเจ้าขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย

Page 9: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

สารบญั หน้า

บทคัดย่อภาษาไทย ............................................................................................................... ง บทคัดย่อภาษาอังกฤษ .......................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ ................................................................................................................ ฉ ค าน า ..................................................................................................................................... ช สารบัญภาพ ......................................................................................................................... ญ บทที ่

1 บทน า ................................................................................................................... 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ......................................................... 1 วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค์ ...................................................................... 2 ขอบเขตของโครงการ ...................................................................................... 2 แหล่งข้อมูลทีน่ ามาใช้ในการสร้างสรรค ์.......................................................... 3 อุปกรณ์ที่ใช้ในการสร้างสรรค์ ......................................................................... 3

2 อิทธิพลที่มีต่อแนวคิดในการสร้างสรรค ์................................................................ 4 ที่มาของแนวความคิดและแรงบันดาลใจ ......................................................... 4 ทฤษฎีการต่อสู้ทางชนชั้น ................................................................................ 4 วัตถุนิยมประวัติศาสตร์ ................................................................................... 5 อิทธิพลของปรัชญาจิตนิยม และวัตถุนิยม ...................................................... 6 แนวคิดแบบดาดา ............................................................................................ 8 อิทธิพลจากศิลปกรรมเซอร์เรยีลลิส ................................................................ 9

3 การก าหนดรูปแบบและวิธีการในการสร้างสรรค์ ................................................ 10 รูปทรงและเนือ้หาในการสร้างสรรค์ .............................................................. 10 ทัศนธาตุในการสร้างสรรค ์............................................................................ 11 ขั้นตอนในการวิเคราะห์องค์ประกอบศิลป ์.................................................... 13 ขั้นตอนการสร้างสรรค์และเทคนิควิธีการ ..................................................... 13 ภาพร่าง ......................................................................................................... 13

4 การด าเนินการสร้างสรรค์ผลงาน ....................................................................... 20 การสร้างสรรค์และพัฒนาผลงานในระยะแรก .............................................. 20 การสร้างสรรคผ์ลงาน และพฒันาผลงานระยะก่อนศิลปนิพนธ์ .................... 23

Page 10: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

บทที่ หน้า การสร้างสรรคผ์ลงาน และพฒันาผลงานระยะศิลปนิพนธ์ ........................... 26

5 บทสรุป ............................................................................................................... 33 รายช่ือผลงานศิลปนิพนธ์ .............................................................................. 34 บรรณานุกรม ................................................................................................ 35 ประวัตผิู้วิจัย.................................................................................................. 36

Page 11: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

สารบัญภาพ ภาพที ่ หน้า

1 คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx 1818 – 1883) ............................................................ 8 2 "The Great Masturbator" โดย Salvador Dali ................................................ 9 3 ภาพแหล่งข้อมูลในการท างาน ภาพที่ 1 .............................................................. 14 4 ภาพแหล่งข้อมูลในการท างาน ภาพที่ 2 .............................................................. 14 5 ภาพแหล่งข้อมูลในการท างาน ภาพที่ 3 .............................................................. 15 6 ภาพแหล่งข้อมูลในการท างาน ภาพที่ 4 .............................................................. 15 7 ขั้นตอนเบื้องต้นของการท าแบบจ าลอง ภาพที่ 1 ................................................ 16 8 ขั้นตอนเบื้องต้นของการท าแบบจ าลอง ภาพที่ 2 ................................................ 16 9 ผลสรุปขั้นตอนการบันทึกภาพ ภาพที่ 1 ............................................................. 17 10 ผลสรุปขั้นตอนการบันทึกภาพ ภาพที่ 2 ............................................................. 17 11 ขั้นตอนการร่างภาพ ชิ้นที่ 1 ขั้นที่ 1 ................................................................... 18 12 ขั้นตอนการร่างภาพ ชิ้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ................................................................... 18 13 ขั้นตอนการร่างภาพ ชิ้นที่ 1 ขั้นที่ 3 ................................................................... 19 14 ภาพผลงานทดลองก่อนขยาย (sketch) .............................................................. 20 15 ภาพผลงานจริงระยะเริ่มต้น ชิ้นที่ 1 .................................................................... 21 16 ภาพผลงานจริงระยะเริ่มต้น ชิ้นที่ 2 .................................................................... 22 17 ภาพผลงานจริงระยะที่ 2 ชิ้นที่ 1 ........................................................................ 23 18 ภาพผลงานจริงระยะที่ 2 ชิ้นที่ 2 ........................................................................ 24 19 ภาพผลงานจริงระยะที่ 2 ชิ้นที่ 3 ........................................................................ 25 20 ภาพผลงานทดลองเทคนิค (sketch) ................................................................... 26 21 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 1 ........................................................................ 27 22 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 2 ........................................................................ 28 23 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 3 ........................................................................ 29 24 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 4 ........................................................................ 30 25 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 5 ........................................................................ 31 26 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 6 ........................................................................ 32

Page 12: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

1

บทที ่1

บทน า เมื่อสังคมของกระแสโลก โลกก้าวสู่ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะของการแข่งขัน ที่มีความซับซ้อน และการเชื่อมโยงของประเทศต่างๆ เข้าสู่ระบบเดียวกัน ระบบดังกล่าวได้กลายเป็นทั้งโอกาส และในขณะเดียวกันก็เป็นภัยคุกคาม สืบเนื่องมาจากโลกแห่งธุรกรรมสมัยใหม่ มีการปรับระเบียบเศรษฐกิจใหม่ มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี และอุตสาหกรรม การย้ายฐานการผลิตตามกลไกการค้าเสรีเพื่อความได้เปรียบในเวทีการค้าโลก เมื่อประเทศก าลังพัฒนาไปตามระบบโลก เช่น ไทยได้เปิดประตูเศรษฐกิจสู่สังคมโลกในฐานะฐานการผลิต และรองรับการขยายตัวของแหล่งทุนจากต่างชาติ ซึ่งเป็นภาพรวมของระบบเศรษฐกิจไทยในปัจจุบั น ได้มีผลกระทบต่อทุนชาติ ท้องถิ่น ตลอดจนทรัพยากร อาจกล่าวได้ว่าสถานการณ์ของโลกปัจจุบันก าลังตกอยู่ในกฏแห่งกรรมร่วม ซึ่งสะท้อนนัยยะของการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยไปในทางมายาภาพ ในรูปของการครอบง าของทุนจากต่างชาติ ท าให้ระบบนิเวศได้ถูกท าลายอย่างรวดเร็ว การอพยพแรงงานจากชนบทสู่เมือง ปัญหาเหล่านี้ได้ถูกขับเคลื่อนด้วยระบบเศรษฐกิจของโลก อยู่ในรูปแบบของวัตถุนิยม และก่อเกิดชนชั้นวาระทางสังคมดั่งปัจจุบัน1

ความเป็นมาและความส าคญัของปัญหา

มนุษย์เราในปัจจุบันใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางสังคมวัตถุนิยม การพัฒนาของเทคโนโลยีที่ก้าวล้ าเพื่อตอบสนองความสะดวกสบายของชีวิต ท าให้เกิดการแข่งขันกันทั้งในระดับบุคคลระดับองค์กร และขยายวงกว้างไปในสังคมระดับชาติ ผลผลิตของแบรนด์(Brand) สังคมได้เกิดวงจรความรุนแรงที่แฝงตัวผ่านวัตถุนิยมต่างๆ ถึงแม้มนุษย์เองจะไม่ได้ยอมรับออกมาอย่างตรงไปตรงมา แต่สิ่งที่ปลูกฝังกันมานี้ ก่อให้เกิดแรงขับด้านความรุนแรงโหดเหี้ยมซึ่งซุกซ่อนอยู่ภายในค่านิยมที่มีต่อผลิตผลต่างๆมากมายที่ใช้กันในชีวิตประจ าวนัทั่วไปจนมา ณ ปัจจุบัน

1เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช .การกระจายทรัพยากรที่ไม่เท่าเทียมกันและการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ

เกินขอบเขต.เข้าถึงเมื่อ 6 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จาก http://human.cmu.ac.th

Page 13: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

2

วัตถุประสงค์ของการสร้างสรรค ์

ข้าพเจ้าสร้างสรรค์ผลงานเพื่อแสดงออกในแง่มุมทางความรู้สึกถึงสภาวะความดิ้นรนของมนุษย์เพื่อให้ได้มาซึ่งความสะดวกสบาย กระแสค่านิยมแห่งสังคม วัตถุแวดล้อมที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็นถึงความดุร้าย แรงปรารถนาแห่งความต้องการของมายาคติในโลกแห่งวัตถุ อันสะท้อนความต้องการอันไม่สิ้นสุดของมนุษย์ โดยถ่ายทอดผ่านความรู้สึกนึกคิด และจินตนาการของข้าพเจ้า ออกมาเป็นผลงานเทคนิคจิตรกรรมสองมิติ

แนวความคิดในการสร้างสรรค ์

อดีตมนุษย์เคยต่อสู้ ท าสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เพื่อให้ได้มาซึ่งอ านาจ ปัจจุบันมนุษย์ก็ยังคงเป็นเช่นนั้น หากแต่เป็นการฆ่ากันทางความคิด ค่านิยม ความเชื่อในมายาคติแห่งสังคมบริโภคนิยม ท าให้เกิดวงจรความรุนแรง การแก่งแย่ง แข่งขันกัน ของคนในสังคม อันแฝงตัวผ่านค่านิยมที่มีต่อวัตถุต่างๆ ถึงแม้มนุษย์เองจะไม่ได้ยอมรับออกมาอย่างตรงไปตรงมา แต่สิ่งที่ปลูกฝังกันมาด้วยความเชื่อเชิงอุปทานได้ก่อให้เกิดแรงขับทางความรุนแรงโหดเหี้ยมซึ่งซุกซ่อนอยู่ภายในผลิตผลต่างๆมากมายที่ใช้กันในชีวิตประจ าวัน

ข้าพเจ้าจึงได้น าเนื้อหาการแสดงออกของพฤติกรรมมนุษย์ที่เกี่ยวกับความรุนแรงของความปรารถนาอันไม่สิ้นสุดมาสะท้อนโดยมุ่งเน้นไปที่การน าเสนอด้วยภาพลักษณ์ของหุ่นนิ่งผสมผสานกับชิ้นส่วนอวัยวะของสิ่งมีชีวิต เพื่อถ่ายทอดความโหดร้ายที่ซ่อนอยู่จากภายในสู่ภายนอกด้วยการอุปมาอุปมัย แสดงออกถึงแรงปรารถนา ความด้ินรน เพื่อให้ได้มาซึ่งมายาภาพแห่งการบริโภคนิยม

ขอบเขตของโครงการ

ด้านเนื้อหา ข้าพเจ้าน าเนื้อหาการแสดงออกของพฤติกรรมมนุษย์ที่เกี่ยวกับความรุนแรง ความปรารถนา สะท้อนความโหดเหี้ยมของมนุษย์ในสังคมปัจจุบันมาน าเสนอ โดยมุ่งเน้นไปที่การน าเสนอเรื่องราวของหุ่นนิง่และถ่ายทอดความโหดร้ายที่ซ่อนอยู่ภายในสู่ภายนอกด้วยการอุปมาอุปมัย แสดงออกถึงค่านิยมของความต้องการในวัตถุนิยมของมนุษย์ในสังคมปัจจุบัน

ด้านรูปแบบ รูปทรงที่น ามาประกอบกันระหว่างชิ้นส่วนอวัยวะมนุษย์และรูปทรงหุ่นนิ่งที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน สร้างความสัมพันธ์ในองค์ประกอบ รูปทรงที่แสดงกายวิภาคต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหา โดยใช้เทคนิคการเขียนสีน้ ามันบนผ้าใบและผสมผสานกับรูปแบบในจินตนาการส่วนตัวของข้าพเจ้า โดยขับเน้นไปที่รูปแบบเหมือนจริง (Realistic)

Page 14: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

3

วิธีการศึกษาของศิลปนพินธ ์

ข้าพเจ้าใช้วิธีการ เฝ้าสังเกตและจับลักษณะของรูปทรงต่างๆ หาความสัมพันธ์ระหว่างรูปทรงของอวัยวะภายในสิ่งมีชีวิตต่างๆประกอบให้เกิดเป็นรูปทรงของหุ่นนิ่ง(Still life) ที่มีนัยยะความเป็นวัตถุนิยม ที่หรูหรา ราคาแพง ข้าวของเครื่องใช้ต่างๆในชีวิตประจ าวัน การแสดงออกของสี การก าหนดแสงเงาและพื้นผิวที่แทนความรู้สึกของข้าพเจ้าผ่านรูปทรงวัตถุนิยม สร้างภาพร่างจากแบบจริงประกอบกับการเก็บข้อมูลภาพถ่าย แล้วแปลค่าการเสียดสีในสังคมบริโภคนิยมของคนปัจจุบัน

- ศึกษากายวิภาคจากแบบจริง ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับศิลปนิพนธ์ - ถ่ายภาพข้อมูลทั้งหุ่นนิ่งและอวัยวะภายในของมนุษย์ที่พบเห็นจากสถานที่จริงและน ามา

ตรวจสอบความสัมพันธ์ของรูปทรง น ามาถ่ายทอดผ่านภาพร่าง - สังเกตลักษณะของอวัยวะภายในมนุษย์กับหุ่นนิ่งรอบตัวและน ามาประกอบเกิดเป็นรูปทรง

จากจินตนาการเบื้องต้น

แหล่งข้อมูล

- ภาพถ่ายอวยัวะต่างๆของบุคคล โดยหาข้อมูลจากสถานพยาบาล เป็นต้น - หนังสือกายวิภาค และ ทฤษฎีกายวิภาค - ข้อมูลบทความต่างๆ เพลง ภาพยนตร์และสื่อออนไลน์ ที่น าเสนอแง่มุมความโหดร้าย

อารมณ์ที่แอบซ่อนอยู่ภายในวัตถุที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน

อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาวจิัยศิลปนิพนธ ์

1. เฟรมผ้าใบ 2. สีน้ ามัน 3. ดินสอสสี าหรับร่างแบบ 4. ภาพถ่ายข้อมูลต้นแบบ 5. พู่กัน 6. ผ้าส าหรับเช็ดสี 7. คอมพิวเตอร ์

Page 15: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

4

บทที่ 2

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์และอิทธิพลจากผลงานศิลปกรรม

ด้วยอิทธิพลในกระแสสังคมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันสืบเนื่องมาจนกลายเป็นดั่งวัฒนธรรมในสังคมโลก ความงาม และการเป็นที่ยอมรับจากสังคมภายนอก กระแสของการบริโภควัตถุนิยมต่างๆ ข้าวของเครื่องใช้ที่มีราคา มีระดับ ดูหรูหรา มนุษย์มีความเชื่อว่าสามารถช่วยยกระดับมาตรฐานของชีวิตในสังคมให้กับตนเอง สิ่งเหล่านี้กลายเป็นหลักฐานการเป็นอยู่ในการใช้ชีวิตประจ าวัน สังคมโลกจึงเกิดการแบ่งชนชั้นกัน เกิดความไม่เท่าเทียมกันถูกจัดกลุ่มสังคมตามกระแสแห่งวัตถุอาทิเช่น กลุ่มคนรวย ใช้เสื้อผ้ามีระดับ ใช้แบรนด์ ที่ค่อนข้างมีชื่อเสียง รถหรูราคาแพง วัตถุนิยมต่างๆซึ่งสรรค์สร้างมาเพื่อยกระดับตัวตนในสังคม ในทางตรงกันข้าม คนจนถูกเหยียดหยามถูกรังเกียจจากกลุ่มสังคมที่สูงกว่า ความเป็นอยู่ในสังคมจึงตัดสินชั้นวรรณะ จากรูปภายนอก รวมไปถึงการเหยียบย่ า ต่อสู้กันของฝ่ายผู้ผลิตซึ่งนั่นคือสงครามทางเศรษฐกิจ สงครามแห่งวัตถุนิยม การเข่นฆ่ากดขี่กันทางอ้อม โดยมีเหล่ากลุ่มผู้บริโภคเป็นคนตัดสิน แบรนด์ไหนที่มีความนิยมในสังคมมากกว่ามีชื่อเสียงมากกว่า หรือ มีราคาที่แพง ก็มีผลต่อการยกระดับฐานะของผู้บริโภคนั้นๆให้ดูมีระดับในหมวดหมู่แวดวงสังคมดังกล่าว

ทฤษฎีการต่อสู้ทางชนชั้น

ทฤษฎีวัตถุนิยมวิภาษและวัตถุนิยมประวัติศาสตร์ คือความขัดแย้งในผลประโยชน์ระหว่างชนชั้นที่ด ารงอยู่ในสังคม การผลิตที่มีระบอบกรรมสิทธิ์ ซึ่งได้พัฒนาไปสู่การต่อสู้ที่ไม่สามารถประนีประนอมกันได้และซึมซ่านอยู่ทั่วไปในประวัติศาสตร์ของสังคม และประวัติศาสตร์ของมนุษย์ก็คือการต่อสู้ทางชนชั้นเป็นกระบวนการที่ด ารงอยู่ในสังคม ไม่มีใครสร้างมันขึ้นมา การเป็นปรปักษ์ทางชนชั้น บ่อยครั้งจะเชื่อมโยงไปถึงสงครามทางชนชั้นหรือการต่อสู้ทางชนชั้น ซึ่งก็คือความตึงเครียดหรือความเป็นศัตรูทางชนชั้นที่ด ารงอยู่ในสังคมอันเนื่องมาจากการแข่งขันช่วงชิงกันในด้านผลประโยชน์และความต้องการทางสังคมระหว่างประชาชนที่มีฐานะแตกต่างกัน ในทัศนะของการต่อสู้ถือได้ว่าเป็นการตระเตรียมไปสู่การเปลี่ยนแปลงรากฐานทางสังคมอย่างถึงที่สุด ในอดีตที่ผ่านมา นักสังคมนิยมเกือบจะทั้งหมดได้อธิบายชนชั้นและความเป็นปฏิปักษ์ทางชนชั้นจากการ

Page 16: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

5

ที่ชนชั้นหนึ่งในสังคมเป็นผู้ครอบครองปัจจัยการผลิตไว้ เช่นโรงงาน ที่ดิน และเครื่องจักรกล กับความสัมพันธ์ ถึงการต่อสู้ระหว่างชนชั้นซึ่งเป็นเรื่องที่ยากจะหลีกเลี่ยงได้ การกระทบกระทั่งกันในด้านผลประโยชน์ระดับธรรมดาได้ขยายตัวออกไปเป็นความขัดแย้งหลัก บางกรณีได้น าไปสู่ชัยชนะของชนชั้นหนึ่งต่ออีกชนชั้นหนึ่ง ยุคสมัยนี้ได้มีรูปการอื่นๆผสมผสานเข้ามาอีกมากมายในประเทศต่างๆที่สังคมทุนนิยมได้พัฒนาไปแบบตะวันตก

ในยุคปัจจุบัน ความเป็นปฏิปักษ์ทางชนชั้น อาจแสดงออกในรูปแบบต่างๆ โดยการใช้ความรุนแรงโดยตรงเช่นการท าสงครามแย่งชิงแหล่งทรัพยากร และแรงงานราคาถูก หรือการใช้ความรุนแรงทาง อ้อมเช่นการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ท าให้มีการเสียชีวิตจากความยากจน ความอดอยาก โรคภัยไข้เจ็บ ความไม่ปลอดภัยในการท างาน การขู่เข็ญบังคับ การคุกคามให้สูญเสียต าแหน่งงานโดยการถอนการลงทุน หรือการยัดเยียด ระบบความคิดที่เป็นการกระท าอย่างมีเจตนาด้วยการใช้หนังสือและปัจจัยที่สนับสนุนระบอบทุนนิยม หรือจากการกระท าที่ไม่ส่อเจตนาเช่นการชักชวนให้ผู้คนบริโภคสินค้าที่ด้อยคุณภาพโดยผ่านการโฆษณาที่เกินจริง รวมไปถึงความขัดแย้งทางการเมืองในรูปแบบต่างๆทั้งที่ถูกและผิดกฎหมาย เช่นการโน้มน้าว(lobby)และติดสินบนผู้น ารัฐบาลโดยผ่านลิ่วล้อตัวแทน เพื่อออกกฎหมายที่เอื้อประโยชน์และให้เป็นไปตามความต้องการของตน เช่นกฎหมายแรงงาน(ที่เป็นประโยชน์แก่นายจ้าง) กฎหมายเกี่ยวกับภาษี(ปกป้องผลประโยชน์ของนายทุน) กฎ หมายผู้บริโภค โดยใช้มาตรการลงโทษ ค าสั่งศาล หรือค่าธรรมเนียมต่างๆเป็นต้น ความเป็นปฏิปักษ์อย่างเปิดเผยเช่นการปิดกิจการโดยมีเป้าหมายในการท าลายสหภาพแรงงาน หรือด้วยเจตนาซ่อนเร้นเช่นการลดก าลังการผลิต หรือลดค่าจ้างอย่างไม่เป็นธรรม ฯลฯ2

วัตถุนิยมประวัติศาสตร์

วัตถุนิยมประวัติศาสตร์ คือ การน าหลักการวิภาษวิธีมาใช้ เพื่อศึกษาค้นคว้า และท าความเข้าใจชีวิตทางสังคม หรืออีกนัยหนึ่ง เป็นการประยุกต์หลักการ หรือมองชีวิตทางสังคมแบบวิภาษวิธี แนวคิดของมาร์กซ์นั้นเห็นว่ามนุษย์ และชีวิตทางสังคมเป็นวัตถุอย่างหนึ่งย่อมมีการเคลื่อนไหว จึงต้องยึดหลักการวัตถุนิยมประวัติศาสตร์ มาร์กซ์เห็นว่า มนุษย์ในสังคมแต่ละยุคต่างท าการผลิต จากนั้นความสัมพันธ์ทางการผลิตที่เหมาะกับสังคมยุคนั้นจึงอุบัติขึ้นเป็นที่มาของรากฐานทางเศรษฐกิจในสังคมซึ่งเป็นสิ่งที่ก าหนดสภาวะทางสังคม เป็นสิ่งที่เข้าใจด้วยกระบวนการวิภาษวิธี มาร์กซ์ได้แบ่งสังคมมนุษย์ออกเป็น 3 ยุค คือยุคทาส เกิดการต่อสู้ทางชนชั้นในสังคมระหว่างทาสกับนายทาส

ยุคศักดินา เกิดการล้มล้างระบบศักดินาหรือมูลนายเจ้าของที่ดิน จากนั้นเป็นระบบทุนนิยมได้เกิดขึ้นยุคนายทุน นายทุนเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ผู้ใช้แรงงานเป็นอิสระที่จริง แต่การด ารงชีวิตขึ้นอยู่กับนายทุน เพราะต้องขายแรงงานของคนแก่นายทุน เปิดโอกาสให้นายทุนกดขี่ขูดรีด

2การต่อสู้ทางชนชั้น – จิตส านึกทางชนชั้น. เข้าถึงเมื่อ Friday July 10 2015.เข้าถึงได้จาก

http://45article.blogspot.com/2015/07/blog-post.html

Page 17: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

6

อิทธิพลของปรัชญาจิตนิยม และวัตถุนิยมต่อมาร์กซ์ในระยะแรกเริ่ม

ทรรศนะของมาร์กซ์มองวัตถุนิยมว่าเป็นทรรศนะที่ถูกต้อง เพราะไม่อธิบายว่าโลกถูกสร้างขึ้นด้วยอ านาจเหนือธรรมชาติ ส่วนปรัชญาจิตนิยมในความเห็นของมาร์กซ์นั้นเป็นปรัชญาที่ไม่ให้ความส าคัญแก่ชีวิตจริง ในทรรศนะของมาร์กซ์มองปรัชญาวัตถุนิยมของกรีก และโรมันว่าเป็นขั้นปฐมเท่านั้น มาถึงสมัยกลาง ปรัชญาที่เคยเป็นวิชาการอิสระได้ถูกน าไปรับใช้ศาสนจักร จนมาถึงสมัยใหม่ มาร์กซ์ได้ยกย่องนักปรัชญาวัตถุนิยม เช่น สปิโนซ่าเห็นว่าสสารเป็นพื้นฐานของเอกภพ เป็นต้น และนักปรัชญาวัตถุนิยม ให้ทรรศนะในเรื่องสสารที่ส าคัญ เช่น บอกว่ามนุษย์เป็นสสารซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของสสาร และในด้านทฤษฎีความรู้ และอภิปรัชญายังคงให้ความส าคัญแก่สสาร อาจเป็นเพราะเขาไม่ชอบระบบศักดินา ศาสนาคริสต์ และปรัชญาจิตนิยม ซึ่งสิ่งนี้คือแรงบันดาลใจวาทะของมาร์กซ์ที่กล่าวว่า “ศาสนา คือ ยาเสพติดของประชาชน” ศาสนาเป็นเครื่องมือของชนชั้นสูง เพื่อรักษาสถานภาพทางสังคม

ระบบทุนนิยม

มาร์กซ์ได้เขียนหนังสือทุนซึ่งมีสาระส าคัญคือ ระบบนายทุนเหมือนกับระบบเศรษฐกิจอื่นๆในประวัติศาสตร์ สังคมมนุษย์มีผู้ได้ประโยชน์และผู้เสียประโยชน์ ผู้ได้ประโยชน์จากระบบนี้ คือ นายทุน เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ส่วนผู้เสียผลประโยชน์ คือ กรรมกร ที่ท างานแลกค่าจ้างจากนายทุน ซึ่งมาร์กซ์วางหลักการใหญ่ไว้ 2 หลักการ คือ

ทฤษฎีมูลค่าจากก าลังงาน มาร์กซ์ได้เน้นว่า ปัจจัยอื่นนอกจากแรงงานไม่สามารถท าให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ได้ แรงงานยังเป็นที่มาของราคาผลผลิต เช่น ถ้าใช้ก าลังงานจากแรงงานของกรรมกร 10 หน่วย ก็จะท าให้เกิดค่า 10 หน่วยตามมาด้วย ทฤษฎีมูลค่าส่วนเกิน คือ ทฤษฎีที่ว่าด้วยก าไรที่พวกนายทุนเบียดบังจากผู้ใช้แรงงานเช่น สมมติว่าใน 7 ปอนด์ กรรมกรได้ค่าจ้าง 2 ปอนด์ ความจริงนั้นเงิน 2 ปอนด์ ที่กรรมกรได้รับน้อยกว่ามูลค่าของก าลังแรงงานที่กรรมกรควรจะได้ มาร์กซ์เรียกมูลค่าที่ไม่ได้จ่ายกับกรรมกรนั้นว่ามูลค่าส่วนเกิน

มาร์กซ์เห็นว่า ในที่สุดกรรมกรจะร่วมมือกันก าจัดนายทุน และระบบทุนนิยม ซึ่งเป็นที่มาแห่งความทุกข์ยากของเขาไป และกรรมกรจะช่วยจัดระบบสังคมใหม่ คือ สังคมนิยม คือรัฐจะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตทั้งหมด แต่ละคนจะท างานให้รัฐ และได้รับผลตอบแทนตามก าลังงานของตน มาร์กซ์เรียกการปกครองนี้ว่า “เผด็จการชนชั้นกรรมาชีพ” และระบบนี้จะปูทางไปสู่ระบบคอมมิวนิสต์ต่อไป

เรื่องระบบนายทุน มาร์กซ์ให้ความเห็นว่ามนุษย์ในระบบนายทุนไม่มีความรู้สึกที่ต้องการเห็น ฟัง คิด รักษา จุดประสงค์อย่างเดียว คือ ต้องการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ของตนเหนือวัตถุทั้งหลาย ในที่สุดสิ่งที่มนุษย์ต้องการเป็นเจ้าของกลับกลายเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือความเป็นอยู่ของมนุษย์ อันเป็นการน าไปสู่ปรากฎการณ์ของปัจจัยลดคุณค่าของมนุษย์

Page 18: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

7

ปัจจัยลดคุณค่าของมนุษย์ มีดังนี้

มนุษย์ในระบบทุนนิยมจะห่างเหินจากผลงานที่มนุษย์สร้างขึ้นเอง มนุษย์ในสังคมทุนนิยมถูกแยกออก และห่างเหินจากผลผลิตของตัว โดยที่ตัวมนุษย์เองหาได้มีคุณค่า แต่สิ่งที่มนุษย์ผลิตกลับมีคุณค่าขึ้นมาแทนที่มนุษย์จะถูกแยกออกจากเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เนื่องมาจากการแข่งขัน และความขัดแย้งระหว่างมนุษย์ตามทฤษฎีของมาร์กซ์ ได้บรรยายถึงความสัมพันธ์ทางการผลิต ซึ่งแสดงถึงการต่อสู้ทางชนชั้นของสังคมแต่ละยุค

ยุคดั้งเดิม มนุษย์ในยุคนั้นมีจ านวนน้อย แต่ทรัพยากรธรรมชาติมีมาก ไม่จ าเป็นต้องมีการแก่งแย่งกัน สังคมในยุคดั้งเดิมจึงเป็นสังคมขนาดเล็ก ไม่มีชนชั้น และมนุษย์ยังไม่มีความส านึกในเรื่องกรรมสิทธิ์ อาจเรียกได้ว่าเป็น “สังคมคอมมิวนิสต์บุพกาล” ก็ได้

ยุคทาส เมื่อพลังการผลิตพัฒนาขึ้น เกิดการเลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรรมขนาดใหญ่ จึงมักมีผลิตผลเหลือเฟือ ท าให้บุคคลกลุ่มหนึ่งที่แข็งแรงกว่ายึดเอาแรงงานของผู้อื่นมาเป็นของตน โดยให้แรงงานเหล่านั้นส่งผลผลิตให้แก่ตน ซึ่งในตอนเริ่มแรกได้มีการบังคับเอาเชลยศึกมาเป็นทาส ต่อมาก็ได้มีการน าเอาคนในสังคมเดียวกันมาเป็นทาส จึงท าให้เกิดระบบกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลและชนชั้น ตลอดจนการขูดรีด

ยุคศักดินา สืบต่อมาจากการพัฒนาการผลิตของแรงงานน าไปสู่การขัดแย้งความสัมพันธ์ทางการผลิตของระบบทาส กล่าวคือ การกดขี่ทาสท าให้ทาสไม่สนใจในการผลิต ฉะนั้นการผลิตขนาดเล็ก โดยผู้เช่าที่ดินเริ่มมีประสิทธิภาพ ทาสได้รับการปลดปล่อยและการได้เช่าที่ดินท ามาหากิน โดยผู้เช่า และผู้สืบสายโลหิตต้องติดอยู่กับที่ดินนั้น ท าให้เกิดเป็นระบบศักดินา คือ เจ้าของที่ดินเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตกึ่งเป็นเจ้าของผู้ท ากินในที่ดิน ซึ่งเรียกว่าทาสติดที่ดิน หรือไพร่

ยุคนายทุน เป็นยุคสืบต่อจากยุคศักดินา คือ เมื่อพลังการผลิตได้พัฒนามาถึงระดับการผลิตเพื่อการขยายผลิตผลเป็นสินค้า และเป็นการผลิตอุตสาหกรรมขนาดใหญ่โดยใช้เครื่องจักร จึงเกิดระบบนายทุนแทนระบบศักดินา ไพร่ได้รับการปลดปล่อย ส่วนผู้ท างานในโรงงาน หรือกรรมกร ไม่มีปัจจัยการผลิต คงมีแต่แรงงานขายเลี้ยงชีวิต ขณะเดียวกันนายทุนกลับร่ ารวย และสะสมก าไรไว้ในมือ การขูดรีดได้เปลี่ยนสภาพจากการเป็นเจ้าของที่ดินกับไพร่ มาเป็นการขูดรีดระหว่างนายทุนกับผู้ใช้แรงงาน โดยนายทุนกดค่าจ้างแรงงาน และเอาค่าส่วนเกินของแรงงานเป็นของนายทุน (surplus value) คือมูลค่าของสินค้าแรงงานผลิตที่ได้เกินไปกว่าค่าจ้าง”3

3จักวัน แก้วจันดา ,กนิษฐา หอมกลิ่น ,ประภัสสรา คงศรีวรกุลชัย.สงัคมนิยมและคอมมิวนิสม์. เข้าถึงเมื่อ

10 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จากhttp://www.baanjomyut.com/library_2/socialist_and_communist_zionist/02.html

Page 19: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

8

ภาพที่ 1 คารล์ มาร์กซ์ (Karl Marx 1818 – 1883)

ที่มา : วัตถุนิยมประวัติศาสตร์.เข้าถึงเมื่อ 10 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จาก http://www.baanjomyut.com/library_2/socialist_and_communist_zionist/02.html

แนวคิดแบบดาดา

ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิสม์ (อังกฤษ: Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดรเบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการท าลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมท ากิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิสม์ ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งท าลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม่

Page 20: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

9

อิทธิพลจากศิลปกรรมเซอร์เรียลลิส

ซัลวาดอร์ ดาลี (Salvador Dali) พ.ศ. 2447-2532 จิตรกรชาวฝรั่งเศส เข้าร่วมกลุ่มเซอร์เรียลลิสม์ในปี พ.ศ. 2472 และกลายเป็นสมาชิกที่มีบทบาทส าคัญในกลุ่ม ในช่วงพ.ศ. 2473 ดาลีกระตุ้นให้กลุ่มเน้นความสัมพันธ์กับโลกภายนอกโดยปรับให้เข้ากับแรงปรารถนาหรือจินตนาการของศิลปิน ท าให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างงานศิลปะกับชีวิตระหว่างผลงานกับพฤติกรรมผู้สร้าง ดาลีสนใจพัฒนาการทางวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะแขนงจิตวิเคราะห์และชีววิทยา และได้น ามาประยุกต์ในภาพวาดของเขา เขาชอบเล่นกับ ความขัดแย้ง ทั้งในผลงานและในพฤติกรรมของตนเองเพื่อย่ัวยุและเรียกร้องความสนใจ4

ภาพที่ 2 Salvador DalíThe Great Masturbatorค.ศ.1929 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 110 x 150 ซม. ที่มา : ลัทธิเหนือจริง.เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จากhttps://th.m.wikipedia.org/wiki

ข้าพเจ้ามีความสนใจในรูปแบบความเหนือจริง (Surreal) ที่มีการแสดงออกโดยใช้รูปแบบเหนือจริงมาสร้างสรรค์ผลงาน แต่ไม่ได้มีแนวความคิดและหลักการแบบ ศิลปะเหนือจริง(Surrealism) ซึ่งการน ามาใช้นั้นเพียงแค่อิทธิพลทางด้านรูปแบบเพียงเท่านั้น

4ลัทธิเหนือจริง.เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จากhttps://th.m.wikipedia.org/wiki

Page 21: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

10

บทที่ 3

การก าหนดรูปแบบและวิธีการในการสร้างสรรค ์

ในการสร้างสรรค์ผลงานนั้นข้าพเจ้าเน้นเลือกตัววัตถุที่ผู้คนในสังคมใช้กันในชีวิตประจ าวัน เช่น เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่มต่างๆหรือของใช้ที่มอบความสะดวกสบายซึ่งเป็นสิ่งส าคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับบริบททางสังคมของมนุษย์ และจึงน ามาแสดงภาพแทน หรือมุมมองที่ต่างไปจากความคุ้นชินเดิม แสดงนัยยะของวัตถุเหล่านั้นในอีกแง่มุมหนึ่งที่ข้าพเจ้าพึงมองเห็น ด้วยการใช้วัตถุดิบจากเนื้อหนังของสิ่งมีชีวิตที่ผู้คนนิยมบริโภคทั่วไปมาจัดวางก่อเกิดรูปทรงในลักษณะรูปแบบของเครื่องแต่งกาย เครื่องนุ่งห่มต่างๆ แสดงถึงความรุนแรง ป่าเถื่อน ที่แฝงมาในรูปแบบผลิตผล สิ่งของที่น ามาก่อเกิดรูปทรงนั้นจะเน้นไปในตัววัตถุที่อ านวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์ ความหรูหราจากตัววัตถุเหล่านั้นได้แสดงความหมายของการก่อเกิดค่านิยมการแบ่งชนชั้นด้วยวัตถุ การแก่งแย่งให้ได้มาซึ่งวัตถุของมนุษย์ในกระแสโลกปัจจุบัน

รูปทรงและเนื้อหาในการสรา้งสรรค์

เรื่อง (Subject)

ข้าพเจ้าใช้รูปทรงของ หุ่นนิ่ง(Stil llife) เป็นสื่อในการแสดงออกเป็นรูปทรงของวัตถุที่มีความสัมพันธ์กับตัวเนื้อหา แสดงออกด้วยการจัดแต่งพื้นผิวภายนอกของวัตถุด้วยชิ้นส่วนเนื้อหนังจากสิ่งมีชีวิตที่บริโภคกันในชีวิตประจ าวัน น ามาจัดวางก่อเกิดรูปทรงโดยรวมของวัตถุนั้นๆและขับเน้นทางด้านของอารมณ์ด้วยแสงเงา บรรยากาศที่แสดงให้เห็นความรู้สึกแบบโรแมนติกโดยใช้แสงจัดเงาจัดแฝงด้วยบรรยากาศของสีที่ดูอบอุ่นคลอบคลุมเคร่งขรึมอยู่ภายในภาพ แสดงออกในลักษณะรูปแบบเหมือนจริงผสมผสานฝีแปรงซึ่งแสดงอารมณ์การขับเน้นความรู้สึก ก่อให้เกิดความหมายของความขัดแย้งระหว่างบรรยากาศที่แสดงถึงความเคร่งเครียดในภาพลักษณ์ของวัตถุภายในภาพให้ดูรุนแรง โหดร้าย

Page 22: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

11

เนื้อหา (Content)

เนื้อหาโดยรวมเป็นการแสดงออกในอีกแง่มุมหนึ่งทางสังคมโดยสื่อสารผ่านตัววัตถุนิยมหรือวัตถุบริโภคนิยมต่างๆที่ผู้คนล้วนมองข้ามหรือเพิกเฉยต่อสิ่งเหล่านั้น การมองและตัดสินคนในสังคมจากรูปลักษณ์ภายนอก การแข่งขันกันระหว่างฝ่ายของผู้ผลิต เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ตนต้องการ ความสะดวกสบายในชีวิตความเป็นอยู่ ภาพลักษณ์หน้าตาในสังคมที่ตนด ารงอยู่ ทั้งหมดนั้นข้าพเจ้ามองว่ามันคือความรุนแรง ป่าเถื่อน โหดร้าย ที่แฝงตัวผ่านมาในรูปแบบของผลิตผลต่างๆโดยที่สิ่งเหล่านี้ได้หล่อหลอมผู้คนในสังคมมาเป็นเวลานานจนปัจจุบัน เปรียบเป็นเหมือนกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งไม่สามารถปรับเปลี่ยน แก้ไข หรือกั้นขวางวิถีแห่งสังคมโลกได้

ทัศนธาตุในการสร้างสรรค์

ในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรมของข้าพเจ้าจะพบว่าทัศนธาตุต่างๆซึ่งปรากฏในผลงานแฝงตัวอยู่ภายในวัตถุที่น ามาแสดงออกอยู่แล้ว จุด เส้น สี น้ าหนัก พื้นผิว ที่ว่าง รูปทรง ล้วนมีคุณลักษณะเฉพาะซึ่งข้าพเจ้าน ามาจัดวางจนเกิดความลงตัวและสร้างเป็นมิติภายในผลงาน

รูปทรง (Form)

รูปทรงในงานศิลปกรรมเป็นรูปทรงของหุ่นนิ่งผสมผสานวัตถุสองชนิดเข้าด้วยกัน คือตัววัตถุที่แสดงความหมายอย่างชัดเจนด้วยตัวของมันเองอยู่แล้ว โดยข้าพเจ้าน าเอาข้าวของเครื่องใช้ในชีวิตประจ าวัน สิ่งซึ่งอ านวยความสะดวกต่อมนุษย์ต่างๆมาแสดงออกโดยผสมผสานเอารูปทรงของชิ้นเนื้อจากสิ่งมีชีวิตมาท าหน้าที่แสดงคุณลักษณะทางความรู้สึกไปในแง่ของความรุนแรง โหดร้าย ท าให้เกิดความขัดแย้งกับตัววัตถุหรูหรา หรือ สิ่งอ านวยความสะดวกที่ผู้คนคุ้นชินกับภาพลักษณ์เบื้องต้นที่เคยมองเห็น

Page 23: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

12

พื้นที่ว่าง(Space)

พื้นที่ว่างในงานเป็นส่วนของพื้นหลังซึ่งแสดงบรรยากาศสภาพแวดล้อมของห้อง หรือ พื้นที่โล่งทางความรู้สึก ปล่อยให้เกิดจินตนาการถึงพื้นที่จริง ขับเน้นตัวรูปทรงให้เด่นชัดมากยิ่งขึ้นในชีวิตความเป็นอยู่ ภาพลักษณ์หน้าตาในสังคมที่ตนด ารงอยู่ ทั้งหมดนั้นข้าพเจ้ามองว่ามันคือความรุนแรง ป่าเถื่อน โหดร้าย ที่แฝงตัวผ่านมาในรูปแบบของผลิตผลต่างๆโดยที่สิ่งเหล่านี้ได้หล่อหลอมผู้คนในสังคมมาเป็นเวลานานจนปัจจุบัน เปรียบเป็นเหมือนกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งไม่สามารถปรับเปลี่ยน แก้ไข หรือกั้นขวางวิถีแห่งสังคมโลกได้

พื้นผิว(Texture)

พื้นผิวที่ปรากฏในผลงานเป็นพื้นผิวที่เกิดในส่วนของรูปทรงหลัก จากการปาดป้ายสีที่มีลักษณะหนาด้านหน้าแต่ไม่มากจนเกินไปเพื่อแสดงระยะหน้าและขับเน้นในส่วนของรูปทรงให้เกิดมิติของความเหมือนจริงผสมผสานกับการเขียนด้วยสีที่บางในส่วนของพื้นที่ด้านหลังเพื่อแสดงบรรยากาศภาพรวมให้ดูเหมือนอยู่ในพื้นที่ห้องเล็กๆสัมพันธ์กับแสงเงาและพื้นหลังที่มีสีบรรยากาศเข็มกับแสงที่สาดลงมายังจุดเดียวเพื่อช่วยส่งเสริมให้ตัวรูปทรงของวัตถุระยะหน้าแสดงปฏิกริยาทางอารมณ์อย่างชัดเจนมากยิ่งขึ้น

ทีแปรง (Brush)

ทีแปรงแสดงออกในลักษณะทั้งสองแบบ มีการเกลี่ยเรียบและปล่อยให้เกิดบรรยากาศภายในภาพ ส่วนระยะหน้าปัดป้ายเป็นทีแปรงเพื่อขับเน้นในเรื่องของความเหมือนจริงแสดงอารมณ์ ความหยดเยิ้มและมันวาวในส่วนของตัววัตถุชิ้นเนื้อท าให้แสดงอารมณ์ความรู้สึกขยะแขยง น่ากลัว เพื่อเพิ่มความรุนแรงลงในภาพผลงานศิลปกรรม

Page 24: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

13

ขั้นตอนในการวิเคราะห์องค์ประกอบศิลป์

ผลงานศิลปนิพนธ์ของข้าพเจ้าประกอบไปด้วยเนื้อหาที่มีการแสดงแง่มุมทางความคิดที่แตกต่างทางทัศนคติจากมุมมองของผู้คนทั่วไป การจัดวางองค์ประกอบโดยรวมอย่างเรียบง่ายขับเน้นไปยังวัตถุ วัตถุเดียว มุ่งเน้นแอบแฝงด้วยความงามของบรรยากาศแสงเงาแล้วคุณลักษณะของพื้นผิวที่มีความแตกต่างกันระหว่างสองวัตถุแต่น ามาประกอบกันโดยผ่านการจัดวางจนเกิดความลงตัวตามความพึงพอใจของข้าพเจ้า และเน้นการตอบสนองทางความรู้สึกจากการกลั่นกรองทางความคิดและมุมมองซึ่งได้สัมผัสจากประสบการณ์โดยตรง

ขั้นตอนการสร้างสรรค์และเทคนิควิธีการ

- เมื่อได้เนื้อหาที่ต้องการแล้วจึงน ามาตีความหมายของตัววัตถุนั้นๆ และวิเคราะห์เรื่องของความ สัมพันธ์ระหว่างรูปทรงของวัตถุสองชนิด

- สร้างวัตถุเบื้องต้นที่ต้องการน าเสนอในลักษณะของรูปแบบจ าลอง - น าเอาช้ินเนือ้มาจัดวางให้เกิดจังหวะและความสัมพันธ์ที่ลงตัวกับวัตถุจ าลองนั้นๆ - จัดวางองค์ประกอบจัดแสงเงาที่พอเหมาะเพื่อบันทึกภาพเบ้ืองต้น - ขยายผลงานจริงจากแบบร่างและน าเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อวิเคราะห์ถึงปัญหา - น าเสนอผลงานและสรุป

ภาพร่าง(Sketch)

การค้นคว้าข้อมูลจ าเป็นที่จะต้องสร้างให้เกิดความลงตัวและสรุปในทันทีก่อนบันทึกภาพเพราะเป็นการแสดงออกถึงสิ่งที่เหมือนจริงจึงจ าเป็นที่จะต้องมีการคิดวิเคราะห์อย่างละเอียดอ่อนก่อนที่จะหาบทสรุปรวมและเมื่อภาพรวมออกมาลงตัวแล้วจึงน ามาขยายเป็นผลงานจริง

Page 25: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

14

ภาพที่ 3 แหล่งข้อมูลในการท างาน

ที่มา : เนื้อวัว.เข้าถึงเมื่อ3 กุมพาพันธ์ 2558.เข้าถึงได้จากhttp://topicstock.pantip.com/food/topicstock/2012/07/D12367442/D12367442.html

ภาพที่ 4 แหล่งข้อมูลในการท างาน

ที่มา :ห้องดับจิต.เข้าถึงเมื่อ5 กุมพาพันธ์ 2558.เข้าถึงได้จาก http://www.documentingreality.com/forum/f10/mortuary-magic-44009/

Page 26: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

15

ภาพที่ 5 แหล่งข้อมูลในการท างาน

ที่มา : ห้องดับจิต.เข้าถึงเมื่อ5 กุมภาพันธ์ 2558.เข้าถึงได้จากhttp://www.documentingreality.com/forum/f10/mortuary-magic-44009/

ภาพที่ 6 แหล่งข้อมูลในการท างาน

ที่มา : ห้องดับจิต.เข้าถึงเมื่อ5 กุมภาพันธ์ 2558.เข้าถึงได้จากhttp://mamamcloud.tk/detail/wiXycST4xYc/fb8e0dc6496815cf1e386a8f2b6320e6.audio

Page 27: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

16

ภาพที่ 7 ขั้นตอนเบื้องต้นของการท าแบบจ าลอง

ภาพที่ 8 ขั้นตอนเบื้องต้นของการท าแบบจ าลอง

Page 28: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

17

ภาพที่ 9 ผลสรุปขั้นตอนการบันทึกภาพ

ภาพที่ 10 ผลสรุปขั้นตอนการบันทึกภาพ

Page 29: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

18

ภาพที่ 11 ขั้นตอนการร่างภาพ ชิ้นที ่1 ขั้นที่ 1

ภาพที่ 12 ขั้นตอนการร่างภาพ ชิ้นที่ 1 ขั้นที่ 2

Page 30: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

19

ภาพที่ 13 ขั้นตอนการร่างภาพ ชิ้นที ่1 ขั้นที่ 3

Page 31: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

20

บทที่ 4

การด าเนินการสรา้งสรรค์ผลงาน

การพัฒนาผลงานเกิดจากการศึกษาค้นคว้าทดลองเรียนรู้ในเทคนิค ทั้งในด้านความคิดและจินตนาการเพื่อค้นหารูปแบบมุ่งสู่การพัฒนาอย่างเป็นล าดับขั้นตอน ข้าพเจ้าเรียบเรียงขั้นตอนของการพัฒนาผลงานเป็น 3 ระยะ ดังต่อไปน้ี

ระยะที่ 1 การสร้างสรรค์และพัฒนาผลงานในระยะแรก

เบื้องต้นนั้นข้าพเจ้าใส่ใจในเรื่องของระบบ กายวิภาค รวมไปถึงลักษณะของพื้นผิวภายในทั้งของมนุษย์และของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ข้าพเจ้ามักจะตั้งสมมุติฐานและจินตนาการถึงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพโดยรวมของพื้นผิวสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการสลับสับเปลี่ยนระหว่างพื้นผิวภายนอกกับภายในหรือน าเอาวัตถุต่างๆเข้ามาดัดแปลง ปรับเปลี่ยนกับอวัยวะและกล้ามเนื้อเดิมของสิ่งมีชีวิต โดยยังคงอ้างอิงความจริงเป็นส่วนประกอบหลัก จากผลงานชุดนี้ข้าพเจ้าได้ให้ความสนใจในส่วนของการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค จากเนื้อหนังจริงถูกทดแทนด้วยวัสดุ หรือวัตถุทางเทคโนโลยีต่างๆซึ่งก็ยังคงมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับสังคมดั่งเนื้อหาในผลงานปัจจุบัน

ภาพที่ 14 ภาพผลงานทดลองก่อนขยาย (sketch)

Page 32: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

21

ภาพที่ 15 ภาพผลงานจริงระยะเริ่มต้น ชิ้นที่ 1 ชื่อภาพ “Human of Future” No.3 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 180 x 170 ซม.

Page 33: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

22

ภาพที่ 16 ภาพผลงานจริงระยะเริ่มต้นชิ้นที่ 2 ชื่อภาพ “Human of Future” No.4 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 160 x 180 ซม.

Page 34: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

23

ระยะที่ 2 การสร้างสรรคผ์ลงาน และพัฒนาผลงานระยะก่อนศิลปนิพนธ์

ในการสร้างสรรค์ผลงานระยะที่ 2 นี้ ข้าพเจ้าเกิดความใส่ใจในเรื่องของหุ่นนิ่งที่เป็นวัตถุนิยม จึงเกิดความคิดที่จะน าเอาพื้นผิวของสิ่งมีชีวิต กล้ามเนื้อ อวัยวะต่างๆจากร่างกายมนุษย์มาเป็นส่วนประกอบทดแทน สิ่งของเครื่องใช้รวมถึงคิดวิเคราะห์ถึงระบบการท างานต่างๆที่มีความสัมพันธ์กับตัววัตถุนั้นๆด้วยเช่นกัน

ภาพที่ 17 ภาพผลงานจริงระยะที่ 2 ชิ้นที่ 1 ชื่อภาพ “Human Work” No.2 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 180 x 200 ซม.

Page 35: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

24

ภาพที่ 18 ภาพผลงานจริงระยะที่ 2 ชิ้นที่ 2 ชื่อภาพ “Human Work” No.3 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 180 x 200 ซม.

Page 36: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

25

ภาพที่ 19 ภาพผลงานจริงระยะที่ 2 ชิ้นที่ 3

ชื่อภาพ “Harley human” เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 300 x 160 ซม.

Page 37: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

26

ระยะที่ 3 การสร้างสรรคผ์ลงาน และพัฒนาผลงานระยะศิลปนิพนธ ์

ในระยะที่ 3 ซึ่งเป็นระยะสุดท้ายจนถึงการสร้างผลงานศิลปนิพนธ์ ในส่วนของผลงานเริ่มเกิดความลงตัวพอสมควร ข้าพเจ้าจึงพัฒนาต่อในด้านของฐานข้อมูลโดยค้นหาข้อมูลโดยรวมจากสถานที่จริงมากขึ้น เริ่มใส่ใจในเรื่องของบรรยากาศ ความสมจริงภายในภาพ ทดลองพื้นผิว ฝีแปรงและองค์ประกอบของแสงเงาต่างๆมากยิ่งขึ้นรวมไปถึงเพิ่มวัตถุอื่นๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาสนับสนุนรูปทรงที่จะน าเสนอเพื่อขับเน้นให้ดูสวยงาม มีการสร้างแบบจ าลองขึ้นมาเพื่อเน้นในเรื่องของโครงสร้าง ใช้ชิ้นเนื้อ อวัยวะต่างๆของสิ่งมีชีวิตเข้ามาจัดองค์ประกอบเพื่อเป็นฐานข้อมูลสรุปแบบเป็นรูปธรรมชัดเจน ลงรายละเอียดใส่ใจในตัววัตถุที่น ามาใช้เป็นสื่อกลาง ตราบจนมาเป็นผลงาน ณ ปัจจุบัน

ภาพที่ 20 ภาพผลงานทดลองเทคนิค ( sketch )

Page 38: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

27

ภาพที่ 21 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 1 ชื่อภาพ “Human work”No.6 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 180 x 160 ซม.

Page 39: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

28

ภาพที่ 22 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 2

ชื่อภาพ “Human work”No.8 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 200 x 180 ซม.

Page 40: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

29

ภาพที่ 23 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 3 ชื่อภาพ “Human work”No.9 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 100 x 150 ซม.

Page 41: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

30

ภาพที่ 24 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 4 ชื่อภาพ “Human work”No.19 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 200 x 180 ซม.

Page 42: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

31

ภาพที่ 25 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 5 ชื่อภาพ “Human work”No.20 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 180 x 160 ซม.

Page 43: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

32

ภาพที่ 26 ภาพผลงานจริงระยะที่ 3 ชิ้นที่ 6 ชื่อภาพ “Human work”No.21 เทคนิค สีน้ ามันบนผ้าใบ ขนาด 170 x 160 ซม.

Page 44: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

33

บทที ่5

บทสรปุ

ในศิลปนิพนธ์ชุด“ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม”แสดงให้เห็นถึงทุกห้วงเวลา ทุกๆย่างก้าวจากการใช้ชีวิตอันก่อเกิดการสรรค์สร้างแรงบันดาลใจให้สังคม ให้ผู้คนทั่วไปไม่ว่าจะเป็นในทางดีหรือร้าย สังคมจะเป็นผู้ตัดสิน ข้าพเจ้าเป็นเพียงบุคคลที่ตีแผ่ถึงมุมมองหนึ่งซึ่งหลบซ่อนอยู่ภายใต้วัตถุแห่งมายา โดยไม่สามารถปรับเปลี่ยนหรือแก้ไขยุคสมัยแห่งโลกาภิวัตน์นี้ได้ เราเป็นเพียงผู้ซึ่งมีทางเลือก ทางเดินแต่เพียงเท่านั้น ทั้งอารยะทั้งหลาย ที่ก่อเกิดสืบมาจากอดีตก้าวผ่านกาลเวลาจวบจนถึงปัจจุบันผู้คนรุ่นก่อนเก่าได้ฟูมฟักการมีอยู่ของวัฒนธรรม สร้างสิ่งซึ่งเรียกว่าแนวทาง การมีชีวิต ทิ้งชื่อและประวัติศาสตร์สืบเรื่อยมา ปัจจุบันเป็นยุคของผู้คนหลากหลาย ต่างอารยะ ต่างวัฒนธรรม วัตถุนิยมที่น าสมัย สะดวกสบายต่อการด ารงอยู่ สิ่งที่เรียกได้ว่าเป็นความสุขแต่ส่วนตัว อันจะเป็นผลพวงไปสู่คนรุ่นหลังสืบต่อไป สิ่งซึ่งเรียกว่ามุมมองแห่งมายาภาพได้ให้แรงบันดาลใจแก่ข้าพเจ้า การแสดงออกทางความคิดที่มีสองด้าน วัตถุบริโภคที่แฝงไปด้วยความหมายแห่งมายาคติ ท าให้ข้าพเจ้าได้มีตัวตนและยืนยันการแสดงออกถึงจิตเจตจ านงของข้าพเจ้าได้อย่างชัดเจน ไม่มีใครปิดกั้น ไม่มีใครอคติต่อความคิดที่ผู้คนริเริ่มสร้างสรรค์ ความรู้สึกนึกคิดที่เป็นอิสระ เสรี กระบวนการความคิดที่ถูกเรียงร้อยจากความจริงในสมดุลชีวิต เส้นใยแห่งแรงบันดาลใจที่บรรทุกน าสิ่งที่ก่อเกิดเป็นอารยะทั้งดีและเลว เปรียบดังขบวนรถไฟที่วิ่งด้วยความเร็วสูงผ่านเวลาจากตัวเราไปสู่ยุคของลูกหลาน แม้แรงสั่นสะเทือนทางด้านใดด้านหนึ่งเกิดขึ้นกับเส้นใยนี้ ก็จะส่งผลกระทบมากมายต่อเจตจ านงของคนรุ่นหลังสืบต่อไป

ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลงานการสร้างสรรค์ศิลปนิพนธ์ชุดนี้ของข้าพเจ้าจะเป็นผลงานการสร้างสรรค์ที่สามารถส่งต่อสาระส าคัญ กระตุ้นการรับรู้ของมนุษย์ในปัจจุบัน สามารถสร้างค่านิยมที่ดีต่อความเป็นมนุษย์และการด ารงอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

Page 45: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

34

รายชื่อผลงานศิลปนิพนธ ์

ผลงานช่วงก่อนศิลปนิพนธ์ ปี พ.ศ.2557 “Human of Future” No.3 ขนาด 180 x 170 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Human of Future” No.4 ขนาด 160 x 180 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ

ผลงานช่วงก่อนศิลปนิพนธ์ ปี พ.ศ. 2557 “Human Work” No.2 ขนาด 180 x 200 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Human Work” No.3 ขนาด 180 x 200 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Harley human” ขนาด 300 x 160 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ

ผลงานช่วงศิลปนิพนธ์ ปี พ.ศ. 2558 “Human work”No.6 ขนาด 180 x 160 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Human work”No.8 ขนาด 200 x 180 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Human work”No.9 ขนาด 100 x 150 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Human work”No.19 ขนาด 200 x 180 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Human work”No.20 ขนาด 180 x 160 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ “Human work”No.21 ขนาด 170 x 160 ซม. สีน้ ามันบนผ้าใบ

Page 46: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

35

บรรณานุกรม

ภาษาไทย

โรล็องด์บาร์ตส์.มายาคต.ิพิมพ์ครั้งที่5.กรุงเทพฯ.มูลนิธิเพื่อการศึกษาประชาธิปไตยและพัฒนาโครงการจัดพิมพ์คบไฟ

เว็บไซต ์

เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช .การกระจายทรัพยากรที่ไมเ่ท่าเทียมกนัและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินขอบเขต.เข้าถึงเมื่อ 6 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จาก(human.cmu.ac.th)

จักวัน แก้วจันดา ,กนิษฐา หอมกลิ่น ,ประภัสสรา คงศรีวรกุลชัย.สังคมนิยมและคอมมิวนิสม.์ เข้าถึงเมื่อ 10 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จากhttp://www.baanjomyut.com/library_2/socialist_and_communist_zionist/02.html

การต่อสู้ทางชนชั้น – จิตส านึกทางชนชั้น.เข้าถึงเมื่อFridayJuly102015.เข้าถึงได้จากhttp://45article.blogspot.com/2015/07/blog-post.html

ลัทธเิหนือจริง.เข้าถึงเมื่อ 12 ตุลาคม 2558.เข้าถึงได้จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki

Page 47: ภาพลักษณ์ของความรุนแรงในวัตถุนิยม · In the past, human has been going on genocide war to gain the power. We still

36

ประวัติผู้วิจยั

ชื่อ-สกุล นายพัฒน์ดนู เตมีกุล วันเดือนปีเกิด 20 กมุภาพันธ์ 2534 ที่อยู ่ 120/503 หมูบ่้าน มณียาวิลล์ ซ.วชิรธรรมสาธิต 12 ถ.สุขุมวิท 101/1

แขวง/เขต บางนา กทม.10260 โทรศัพท ์ 086-608-9608 E-mail [email protected] ประวัติการศึกษา - ประถมศึกษา โรงเรียนอัสสัมชัญ เซ็นหลยุส์ Assumption College school

- มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก Assumption College school

- ปวช. ช่างศิลป ลาดกระบัง College of fine arts - การศึกษานอกโรงเรียน เขตบางนา Non-Formal Education Centre

- สาขาวิชาทัศนศิลป์กลุ่มวิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการแสดงผลงาน - ประกวดศิลปกรรมนานาชาติ รางวัลที่ 3 ปี 2552

- วิทยาลัยช่างศิลป ลาดกระบัง รางวัลที่ 3 วาดเส้นหุ่นนิ่ง,ร่วมแสดง ภาพหุ่นนิ่งสีน้ ามัน ปี 2553

- ผลงานร่วมแสดงในหนังสือ Drawingมหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2556 - ร่วมแสดงศิลปกรรมวาดเส้น หอศิลป มหาลัยศิลปากร ปี 2556 - Transformation exhibition 2015 at bridge art space

- ร่วมแสดง ศลิปกรรมโตชิบ้า ปี 2558 - ร่วมแสดงศิลปกรรม UOB ปี 2558