2
18 MU Newsletter 2012, Vol.10 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้นเพื่อความยั่งยืนของ ทรัพยากรป่าไม้ น�าโดยอาจารย์กรวิศฎ์ ณ ถลาง และคณาจารย์ ภาควิชาชีววิทยา ภาควิชา พฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และคณาจารย์ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา และยังได้รับความ ร่วมมือต่างสถาบันกับคณาจารย์ในภาควิชา เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซึ่งการ รวมกลุ่มวิจัยนี้เป็นเพื่อเน้นการวิจัยในลักษณะ R&D ในไม้ยืนต้นอนุรักษ์ที่หายากใกล้สูญพันธ์หรือไม้ยืนต้นที่มีคุณค่าสูงทางเศรษฐกิจ เช่น กุหลาบพันปี สนสองใบ สักทอง พยุง ชิงชัน มะเกลือ เป็นต้น ส�าหรับพยุงที่ก�าลังเป็นข่าวการลักลอบตัด แปรรูปเพื่อน�าส่งต่างประเทศในขณะนี้นั้น ทาง กลุ่มวิจัยได้ตระหนักถึงสภาพที่วิกฤตและเป็น อันตรายต่อพยุง จึงได้ริเริ่มวิจัยโดยแสวงหาแมไม้พยุงคุณภาพที่มีลักษณะดีเด่น (Elite Tree) เช่น ล�าต้นเปลาตรง กิ่งก้านน้อย เส้นรอบวง ใหญ่ โรคน้อย อายุยืนหลายปี ผ่านการคัดสรร จากธรรมชาติ และด�ารงชีวิตอยู่รอดได้เป็น อย่างดี เพื่อหาวิธีท�าให้มีอัตราการเจริญเติบโต ที่เร็วขึ้นกว่าเดิม และใช้เทคโนโลยีชีวภาพใน การผลิตต้นกล้าพยุงให้มีปริมาณมากเพียงพอ เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อการน�ากลับคืนสู ่ธรรมชาติ ที่ถูกท�าลาย ทั้งในถิ่นก�าเนิดและนอกถิ่นก�าเนิด ที่มีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อ การเจริญเติบโตต่อไป ดังนั้นในโอกาสที่คณะวิทยาศาสตร์ฯ ครบ Research Excellence อาจารย์กรวิศฎ์ ณ ถลาง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์< เพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรป ่าไม้ รอบ ๕๔ ปี (วันท่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๕) กลุ่ม วิจัยไม้ยืนต้นเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากร ป่าไม้ไทย ด�าเนินการผลิตกล้าพยุง เพื่อแจก จ่ายประชาชนจ�านวน ๓๕๐ ต้น ตามโครงการ ปลูกต้นไม้ถวาย ๘๐ ล้านต้น เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ๘๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ เพื่อร่วม กันท�าความดีถวายแด่แม่ของแผ่นดิน รณรงค์ ปลูกจิตส�านึก สร้างความตระหนักให้ประชาชน ทุกหมู่เหล่าได้มีส่วนร่วมในการฟื ้นฟูอนุรักษ์ และด�ารงรักษาทรัพยากรป่าไม้และสิ่งแวดล้อม ส�าหรับพยุงเป็นไม้ยืนต้น พระราชทาน แก่จังหวัดหนองบัวล�าภู มี ชื่อวิทยาศาสตร์ Dalbergia cochinchinensis Pierre ชื่อ สากล Siamese Rosewood, Thailand Rosewood, Tracwood วงศ์ Fabaceae มี ถิ่นก�าเนิดเดิมอยู ่ในคาบสมุทรอินโดจีน ได้แก่ พม่า ไทย ลาว เขมร และเวียดนาม โดย เฉพาะที่ “มณฑลโคชินจีน” ทางตอนใต้ของ เวียดนาม จึงเป็นที่มาของ specific epithet ว่า “cochinchinensis” จัดเป็นไม้เศรษฐกิจ ที่ราคาแพงมากที่สุดชนิดหนึ่งของตลาดโลก ในไทยจัดอยู่ในกลุ่ม “ไม้กระยาเลย” ซึ่งเป็น ไม้หวงห้ามประเภท ก. ตามพ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔ แต่หลังจากมีพ.ร.บ.สวนป่า พ.ศ.๒๕๓๕ ท�าให้ประชาชนทั่วไปสามารถปลูกได้ แต่ต้อง ขึ้นทะเบียนสวนป่าต่อเจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ เมื่อ ครบรอบการตัดฟันคือ ๒๐ ปีขึ้นไป ต้องขอ อนุญาตต่อเจ้าหน้าที่กรมป่าไม้จึงจะน�าไปขาย หรือใช้ประโยชน์ได้ พยุงยังจัดเป็นไม้มงคล ๑ ใน ๙ ชนิด ที่ใช้ในพิธีวางศิลาฤกษ์และปลูก เป็นสิริมงคลภายในบริเวณบ้าน เชื่อว่าช่วยพยุง ฐานะของครอบครัวให้รุ่งเรืองมั่นคงไม่ประสบ สภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ ลักษณะทั่วไป พยุงเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว มี ความสูงถึง ๒๕ เมตร เปลือกสีเทาเรียบลอก เป็นแผ่นบางๆ เปลือกในสีน�้าตาลแกมเหลือง เรือนยอดกว้างทรงกลมหรือรูปไข่ ใบประกอบ แบบขนนกออกเป็นช่อ ยาว ๑๐-๑๕ เซนติเมตร ใบย่อยเรียงสลับกันจ�านวน ๗-๙ ใบ รูปไข่ กว้าง ๓-๔ เซนติเมตร ยาว ๔-๗ เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ผิวใบด้านบนสี เขียวเข้ม ท้องใบสีจาง ออกดอกเป็นช่อเกิด ตามปลายกิ่ง ออกดอกในเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม ดอกย่อยสีขาวมีขนาดเล็กเกิดบน ช่อดอกเชิงประกอบ กลิ่นหอมอ่อน ผลแบบ ผลแห้งลักษณะเป็นฝักรูปขอบขนานแบนบาง กว้าง ๑.๒ เซนติเมตร ยาว ๔-๖ เซนติเมตร มี เมล็ด ๑-๔ เมล็ด ฝักแก่ในราวเดือนกรกฎาคม – กันยายน ระบบรากค่อนข้างลึกเป็นรากแก้ว และรากแขนง รากฝอยมีปมรากถั่วภายในมี แบคทีเรียที่สามารถตรึงไนโตรเจน ได้ จึงมีส่วน ช่วยในการบ�ารุงดินโดยปริยาย นิเวศวิทยา พยุงมีอัตราการเจริญเติบโต ค่อนข้างช้า พบตามธรรมชาติทั่วไปในป่าดิบ แล้ง และป่าเบญจพรรณในคาบสมุทรอินโด จีน ความสูงพื้นที่จากระดับน�้าทะเลประมาณ ๑๐๐-๒๐๐ เมตร ภูมิอากาศร้อนชื้นสลับแห้ง แล้ง ได้แก่ ภาคอิสานตอนล่าง ภาคตะวันออก ของไทย เขมรตอนเหนือ ลาวตอนใต้ เวียดนาม ตอนกลางและตอนใต้ ภูมิภาคดังกล่าวมี คณะวิทย์ มหิดล รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้น

คณะวิทย์ มหิดล รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้น เพื่อความยั่งยืนของ ...รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้นเพื่อความยั่งยืนของ

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คณะวิทย์ มหิดล รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้น เพื่อความยั่งยืนของ ...รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้นเพื่อความยั่งยืนของ

18 MU Newsletter 2012, Vol.10

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รวมกลุ ่มวิจัยไม้ยืนต้นเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรป่าไม้ น�าโดยอาจารย์กรวิศฎ์ ณ ถลาง และคณาจารย์ ภาควชิาชวีวทิยา ภาควชิาพฤกษศาสตร์ คณะวทิยาศาสตร์ และคณาจารย์คณะสิ่ งแวดล ้อมและทรัพยากรศาสตร ์ มหาวทิยาลยัมหดิล ศาลายา และยงัได้รบัความร่วมมือต่างสถาบันกับคณาจารย์ในภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพีระจอมเกล้าพระนครเหนอื ซึง่การรวมกลุ่มวิจัยนี้เป็นเพื่อเน้นการวิจัยในลักษณะ R&D ในไม้ยืนต้นอนุรักษ์ที่หายากใกล้สูญพันธ์ุ หรือไม้ยืนต้นที่มีคุณค่าสูงทางเศรษฐกิจ เช่น กุหลาบพันปี สนสองใบ สักทอง พยุง ชิงชัน มะเกลือ เป็นต้น

ส�าหรับพยุงที่ก�าลังเป็นข่าวการลักลอบตัดแปรรปูเพือ่น�าส่งต่างประเทศในขณะนีน้ัน้ ทางกลุ่มวิจัยได้ตระหนักถึงสภาพที่วิกฤตและเป็นอนัตรายต่อพยงุ จงึได้รเิริม่วจิยัโดยแสวงหาแม่ไม้พยุงคุณภาพที่มีลักษณะดีเด่น (Elite Tree) เช่น ล�าต้นเปลาตรง กิ่งก้านน้อย เส้นรอบวงใหญ่ โรคน้อย อายุยืนหลายปี ผ่านการคัดสรรจากธรรมชาติ และด�ารงชีวิตอยู่รอดได้เป็นอย่างด ี เพือ่หาวธิที�าให้มอีตัราการเจรญิเตบิโตที่เร็วขึ้นกว่าเดิม และใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการผลิตต้นกล้าพยุงให้มีปริมาณมากเพียงพอเพือ่เอือ้ประโยชน์ต่อการน�ากลบัคนืสูธ่รรมชาติทีถ่กูท�าลาย ทัง้ในถิน่ก�าเนดิและนอกถิน่ก�าเนดิที่มีภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตต่อไป

ดังนั้นในโอกาสที่คณะวิทยาศาสตร์ฯ ครบ

Research Excellenceอาจารย์กรวิศฎ์ ณ ถลาง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์<

เพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรป่าไม้รอบ ๕๔ ปี (วันที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๕) กลุ่มวิจัยไม้ยืนต้นเพื่อความยั่งยืนของทรัพยากรป่าไม้ไทย ด�าเนินการผลิตกล้าพยุง เพื่อแจกจ่ายประชาชนจ�านวน ๓๕๐ ต้น ตามโครงการปลูกต้นไม้ถวาย ๘๐ ล้านต้น เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ๘๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ เพื่อร่วมกันท�าความดีถวายแด่แม่ของแผ่นดิน รณรงค์ปลกูจติส�านกึ สร้างความตระหนกัให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าได้มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูอนุรักษ์ และด�ารงรกัษาทรพัยากรป่าไม้และสิง่แวดล้อม

ส�าหรับพยุงเป็นไม้ยืนต้น พระราชทานแก่จังหวัดหนองบัวล�าภู มีชื่อวิทยาศาสตร ์Dalbergia cochinchinensis Pierre ชื่อสากล Siamese Rosewood, Thailand Rosewood, Tracwood วงศ์ Fabaceae มีถิ่นก�าเนิดเดิมอยู่ในคาบสมุทรอินโดจีน ได้แก่ พม่า ไทย ลาว เขมร และเวียดนาม โดยเฉพาะที่ “มณฑลโคชินจีน” ทางตอนใต้ของเวียดนาม จึงเป็นที่มาของ specific epithet ว่า “cochinchinensis” จัดเป็นไม้เศรษฐกิจที่ราคาแพงมากที่สุดชนิดหนึ่งของตลาดโลก ในไทยจัดอยู่ในกลุ่ม “ไม้กระยาเลย” ซึ่งเป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. ตามพ.ร.บ.ป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๘๔ แต่หลงัจากมพี.ร.บ.สวนป่า พ.ศ.๒๕๓๕ ท�าให้ประชาชนทั่วไปสามารถปลูกได้ แต่ต้องขึน้ทะเบยีนสวนป่าต่อเจ้าหน้าทีก่รมป่าไม้ เมือ่ครบรอบการตัดฟันคือ ๒๐ ปีขึ้นไป ต้องขออนุญาตต่อเจ้าหน้าที่กรมป่าไม้จึงจะน�าไปขายหรือใช้ประโยชน์ได้ พยุงยังจัดเป็นไม้มงคล ๑ ใน ๙ ชนิด ที่ใช้ในพิธีวางศิลาฤกษ์และปลูก

เป็นสริมิงคลภายในบรเิวณบ้าน เชือ่ว่าช่วยพยงุฐานะของครอบครัวให้รุ่งเรืองมั่นคงไม่ประสบสภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ

ลักษณะทั่วไป พยุงเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว มีความสูงถึง ๒๕ เมตร เปลือกสีเทาเรียบลอกเป็นแผ่นบางๆ เปลือกในสีน�้าตาลแกมเหลือง เรอืนยอดกว้างทรงกลมหรอืรปูไข่ ใบประกอบแบบขนนกออกเป็นช่อ ยาว ๑๐-๑๕ เซนตเิมตร ใบย่อยเรียงสลับกันจ�านวน ๗-๙ ใบ รูปไข่กว้าง ๓-๔ เซนติเมตร ยาว ๔-๗ เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ท้องใบสีจาง ออกดอกเป็นช่อเกิดตามปลายกิ่ง ออกดอกในเดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม ดอกย่อยสีขาวมีขนาดเล็กเกิดบนช่อดอกเชิงประกอบ กลิ่นหอมอ่อน ผลแบบผลแห้งลักษณะเป็นฝักรูปขอบขนานแบนบาง กว้าง ๑.๒ เซนติเมตร ยาว ๔-๖ เซนติเมตร มีเมล็ด ๑-๔ เมล็ด ฝักแก่ในราวเดือนกรกฎาคม – กันยายน ระบบรากค่อนข้างลึกเป็นรากแก้วและรากแขนง รากฝอยมีปมรากถั่วภายในมีแบคทเีรยีทีส่ามารถตรงึไนโตรเจน ได้ จงึมส่ีวนช่วยในการบ�ารุงดินโดยปริยาย

นิเวศวิทยา พยุงมีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างช้า พบตามธรรมชาติทั่วไปในป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณในคาบสมุทรอินโดจีน ความสูงพื้นที่จากระดับน�้าทะเลประมาณ ๑๐๐-๒๐๐ เมตร ภูมิอากาศร้อนชื้นสลับแห้งแล้ง ได้แก่ ภาคอสิานตอนล่าง ภาคตะวนัออกของไทย เขมรตอนเหนอื ลาวตอนใต้ เวยีดนามตอนกลางและตอนใต้ ภูมิภาคดังกล่าวมี

คณะวิทย์ มหิดล รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้น

Page 2: คณะวิทย์ มหิดล รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้น เพื่อความยั่งยืนของ ...รวมกลุ่มวิจัยไม้ยืนต้นเพื่อความยั่งยืนของ

มหิดลสาร ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ •19

ยนืต้นเพือ่ความยัง่ยนืของทรัพยากรป่าไม้ อาคารวิทยาศาสตร์ ๒ ชั้น ๓ ม.มหิดลศาลายา โทร.๐๒-๔๔๑๙๘๑๖-๒๐ ต่อ ๑๑๙๖ โทรสาร ๐๒-๔๔๑-๕๐๘๑ MU

อ้างอิง๑. กลุ ่มวิจัยไม้ยืนต้น

เพื่อความความยั่งยืนของทรัพยากรป่าไม้ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา ๒๕๕๕.

๒. ชัยสิทธิ์ เลี้ยงศิริ, ประเสริฐ ติยานนท์, อาภรณ์ สืบค้า. ๒๕๓๖. ไม้พยุง (หน้า ๑๒๕ – ๑๓) การปลูกไม้ป่า. โครงการพัฒนาป่าชุมชน, ส่วนวนวัฒนวิจัย ส�านักวิชาการป่าไม้. ส่วนป่าชมุชน ส�านกัส่งเสรมิการปลกูป่า. กรมป่าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ส.มงคลการพิมพ์ ๓๘๕ หน้า

๓. พระราชบัญญัติสวนป่า พ.ศ. ๒๕๓๕

ม.มหิดล ขอเชิญเสนอชื่อนักศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน ปีการศึกษา ๒๕๕๕

รับแขก เช่น โต๊ะ เก้าอี้ โซฟา เครื่องแกะสลัก เช่น ตุ๊กตา ด้ามปืน ของช�าร่วย เครื่องดนตรี ได้แก่ กีตาร์ ซอ ฟลูต ขลุ่ย กลอง ระนาด เป็นต้น

สถานการณ์ในปัจจุบันของพยุงนั้น อยู่ในสภาพที่วิกฤตต่อการสูญสิ้นเพราะถูกลักลอบตัดจากป่าสงวนแห่งชาติจนเหลือไม่มาก มีราคาสูงถึงลูกบาศก์เมตรละ ๕๐,๐๐๐ – ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งเป็นราคาลักลอบชักลากออกจากป่า ถ้าสามารถน�าออกไปต่างประเทศได้โดยเฉพาะจีน ราคาจะเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวถึงลูกบาศก์เมตรละ ๕๐๐,๐๐๐- ๙๐๐,๐๐๐ บาทถ้าคุณภาพของเนื้อไม้ดีมาก และคาดว่าราคาจะแพงขึ้นเรื่อยๆ ติดต่อกันหลายปีตามอุปสงค์-อุปทาน

ปัจจุบันงานวิจัยเรื่องพยุงอยู่ระหว่างการริเริ่มซึ่งมีระยะเวลาการวิจัยประมาณ ๓ ปี ผู้ที่สนใจข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อกลุ่มวิจัยไม้

มหาวทิยาลยัมหดิล ขอเชญิ คณะ/วทิยาลยั เสนอชือ่นกัศกึษา (ระดบัปรญิญาตร)ี ทีก่�าลงัศกึษาอยูช่ัน้ปีที ่๒ ขึน้ไป ผลการเรยีนในปีการศึกษาที่ผ่านมาไม่ต�า่กว่า ๒.๗๕ และมีคุณสมบัติดีเด่น เพื่อเข้ารับการคัดเลือกเพื่อรับรางวัลพระราชทาน ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับอุดมศึกษา เขตภาคกลาง

รางวลัพระราชทานนีเ้กดิขึน้จากน�า้พระทยัอนัเป่ียมด้วยพระเมตตาขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ที่

ฤดูกาลชัดเจนทั้ง ๓ ฤดู อันจะมีผล

ต ่ อคุณภาพและลวดลายของ ไม ้ พยุ ง

สามารถน�าไปปลกูนอกถิน่ก�าเนดิ

ได้แต่อาจมีคุณภาพเนื้อไม้ไม่ดีเท่าต้นที่ขึ้นในบริเวณถิ่นก�าเนิดเดิม

เนื้อไม้พยุงมีสีสันลวดลายที่สวยงามคล้ายเนื้อไม้สักทองแต่สวยงามกว่า มีสีโอ๊คแดงอมม่วงถงึโอ๊คแดงเลอืดหม ูมคีวามแขง็แรงทนทาน เนื้อเหนียวมีความละเอียดสูง เนื้อไม้ไม่มีเสี้ยน สามารถขดัและชกัเงาได้ด ีใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย อาทิเช่น ส่วนประกอบของบ้าน ได้แก่ ฝาบ้าน บานประตู กรอบหน้าต่าง เครื่องเรือน ได้แก่ เตียง ราวตากผ้า ตู้เสื้อผ้า ตู้โชว์ เครื่องครัว ได้แก่ ช้อน ส้อม ตะเกียบ ถ้วย ชาม ชุด

ทรงมีพระราชปรารภ จะพระราชทานรางวัลให้เป็นของขวัญก�าลังใจแก่นักเรียน นักศึกษาที่มีความประพฤติดี มีผลการเรียนดีและเป็นผู้บ�าเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม

เสนอชื่อได้ที่ กองกิจการนักศึกษา ชั้น ๓ อาคารศูนย์การเรียนรู้มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ภายในวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.orsa.mahidol.ac.th

กองกิจการนักศึกษา<