28
แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืด เขต 9 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืด เขต 9 (ชัยนาท) ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืดอุทัยธานี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืดสระบุรี ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าจืดสิงห์บุรี

แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืด เขต 9 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืด เขต 9 (ชัยนาท)

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดอุทัยธานี

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดสระบุรี

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดสิงห์บุรี

Page 2: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดภายในเขต ชนิดสัตว์น้้าที่มีการเพาะเลี้ยงในเชิงเศรษฐกิจ

ชนิดปริมาณผลผลิตสัตว์น้้า (ตัน)

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

ปลานิล 1 st 3,841.03 3,177.14 8,096.85 7,493.13 10,620.27

ปลาดุก 2 nd 1,938.61 1,636.02 3,389.59 4,391.89 5,659.17

ปลาสวาย - 1,240.59 1,745.72 - 1,500.19

ปลาตะเพียน 830.13 631.61 653.25 1,147.64 951.42

ปลาแรด 928.35 - 1,202.72 - 204.64

Page 3: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดภายในเขต ชนิดสัตว์น้้าที่มีการเพาะเลี้ยงในเชิงเศรษฐกิจ

0.00

5,000.00

10,000.00

15,000.00

ปลานิล ปลาดุก ปลาสวาย ปลาตะเพียน ปลาแรด

ปริมาณผลผลิตสัตว์น้้าภายในเขต (ตัน)

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

Page 4: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดภายในเขต

พื้นที่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าภายในเขต

ชนิดพื้นที่การเลี้ยง (ไร่)

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

ปลานิล 3,073.51 3,214.74 3,260.09 - -

ปลาดุก 625.03 722.52 830.77 - 1,500.17

ปลาตะเพียน

1,013.45 1,170.59 1,185.13 1,185.13 1,185.13

ปลาแรด 184.42 - 155.94 - 179.60

Page 5: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดภายในเขต พื้นที่การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าภายในเขต

0

1000

2000

3000

4000

ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาแรด

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

Page 6: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดภายในเขต

จ้านวนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าภายในเขต

ชนิดจ้านวนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้้า (ราย)

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

ปลานิล 3,127 3,205 3,229 - 2,452

ปลาดุก 1,003 1,088 1,109 - 1,176

ปลาตะเพียน 851 807 818 818 826

ปลาแรด 333 - 337 - 297

Page 7: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดภายในเขต จ้านวนเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าภายในเขต

0500

100015002000250030003500

ปลานิล ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาแรด

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561

Page 8: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

ประชากรในเขตและการบริโภคสัตว์น้้าจืด

ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

จ้านวนประชากรภายในเขต(ราย)

1,502,0271,504,21

11,508,080 1,511,660 1,524,120

ผลผลิตสัตว์น้้าภายในเขต (ตัน)

24,022 23,151 21,760 22,102 22,930

ปริมาณการบริโภคสัตว์น้้าเฉลี่ย

(กิโลกรัม/คน/ปี)16.00 15.39 14.43 14.62 15.04

Page 9: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

ประชากรในเขตและการบริโภคสัตว์น้้าจืด

0

5

10

15

20

25

จ้านวนประชากรภานในเขต (แสนราย)

ผลผลิตสัตว์น้้าภายในเขต (พันตัน)

ปริมาณการบริโภคสัตว์น้้าเฉลี่ย (กิโลกรัม/คน/ปี)

ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

Page 10: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร ที่รองรับผลผลิตสัตว์น้้าจังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเป็นจังหวัดหลักที่มีการเลี้ยงปลาแรดเป็นจ้านวนมาก กลุ่มผู้

เลี้ยงปลาจะเลี้ยงปลาจนได้ขนาดที่ตลาดต้องการ และน้าไปจ้าหน่ายในรูปแบบปลาสดและแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ โดยการรวมกลุ่มของเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาแรด และจากข้อมูลการเพาะเลี้ยงปลาแรดในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี มีผลผลิตไม่มากพอที่จะส่งเข้าโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป เนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมมีความต้องการผลผลิตปลาแรดเป็นจ้านวนมาก และมีข้อก้าหนดสัญญาที่จ้ากัด ท้าให้เกษตรกรกลุ่มผู้เลี้ยงปลาแรดไม่สามารถท่ีจะส่งผลผลผลิตปลาสดให้กับโรงงานแปรรูปตามความต้องการได้

Page 11: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·
Page 12: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์บริโภคสัตว์น้้าและความต้องการใช้สัตว์น้้าเป็นอาหารในช่วง 3-5 ปี ข้างหน้า

แนวโน้มการบริโภคสัตว์น้้าภายในเขตมีปริมาณที่ค่อนข้างจะคงที่ แต่ปัจจุบันจากการส้ารวจในพื้นที่พบว่า ความต้องการสัตว์น้้าโดยเฉพาะปลาแรด ยังเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในรูปแบบปลาเนื้อ และผลิตภัณฑ์แปรรูป โดยผลผลิตเฉพาะของจังหวัดอุทัยธานี ร้อยละ 74.60 จะถูกระบายออกสู่ต่างจังหวัด

ทั้งนี้คาดการณ์ได้ว่าในระยะ 3-5 ปี ข้างหน้า หากสามารถเพิ่มปริมาณการผลิตลูกพันธุ์ปลาแรดและลดระยะเวลาการเลี้ยงให้สั้นลง แนวโน้มการบริโภคสัตว์น้้าภายในเขต จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีตลาดรองรับผลผลิตปลาแรด และตัวปลาแรดเองยังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค

Page 13: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

สถานการณ์บริโภคสัตว์น้้าและความต้องการใช้สัตว์น้้าเป็นอาหารในช่วง 3-5 ปี ข้างหน้า

0

5

10

15

20

25

ผลผลิตสัตว์น้้าภายในเขต (พันตัน)

ปริมาณการบริโภคสัตว์น้้าเฉลี่ย (กิโลกรัม/คน/ป)ี

ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559

Page 14: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การก้าหนดเป้าหมายของการผลิตสัตว์น้้าภายในเขต SWOT Analysis (ปลาแรด)

ผลทางบวก ผลทางลบ

ปัจจัยภายใน

จุดแข็ง1. กรมประมงให้ความส้าคัญเนื่องจากเป็น

ปลาที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ2. กรมประมงมีเทคโนโลยีในการเพาะพันธ์

และการเลี้ยงได้3. บุคลากรของกรมประมงมีความรู้สามารถ

เพาะพันธุ์และอนุบาลลูกปลาได้4. ปลาแรดเป็นปลาที่พบได้ในแหล่งน้้า

ธรรมชาติทั่วประเทศ5. ปลาแรดเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย กินอาหาร

แทบทุกชนิด6. รสชาติดีและเป็นที่นิยมของผู้บริโภค

จุดอ่อน1. เป็นปลาที่เพาะพันธุ์ได้ในปริมาณน้อย

(ปริมาณเฉลี่ยต่้า และอัตราการรอดในช่วงเลี้ยงต่้า)

2. เป็นปลาที่ค่อนข้างโตช้า ใช้เวลาเลี้ยงค่อนข้างนานโดยเฉพาะการเลี้ยงในกระชัง

3. ต้นทุนการเลี้ยงค่อนข้างสูง4. ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม5. ก้าลังการผลิตน้อย ไม่เพียงพอต่อความ

ต้องการของเกษตรกร

Page 15: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การก้าหนดเป้าหมายของการผลิตสัตว์น้้าภายในเขต SWOT Analysis (ปลาแรด)

โอกาส อุปสรรค

ปัจจัยภายนอก 1. ปลาแรดเป็นปลาทีเ่ลี้ยงเพื่อบริโภคและเลี้ยงเป็นปลาสวยงามได้2. เกษตรกรสามารถเพาะพันธุ์และอนุบาลได้3. การเลี้ยงปลาแรดในกระชัง เป็นสินค้า GI (จุดบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ประเภทสิ่งแวดล้อม) ของจังหวัดอุทัยธานี สามารถส่งเสริมแก่จังหวัดอื่นได้4. หน่วยงานรัฐบาลให้การสนบัสนุนและส่งเสริมให้เป็นสัตว์น้้าเศรษฐกิจ5. ภูมิอากาศเหมาะสมตอ่การเจริญเติบโต6. เกษตรกรมีการรวมกลุ่มเพื่อแปรรูปสนิค้า (เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ)์7. มีตลาดรองรับผลผลิต8. กรมประมงให้ความส้าคญัในการปรับปรุงสายพันธุ์ และอาหาร9. เป็นหนึ่งในตวัเลือกใหแ้ก่ผู้บริโภค

1. ราคาปลาไมส่มดุลกบัต้นทุนการเลี้ยงในแต่ละครั้ง 2. เกษตรกรไม่มอี้านาจต่อรองราคากับพ่อคา้คนกลาง3. ไม่สามารถระบุว่าเป็นปลาแรดจากที่ไหนท้าให้มีปัญหาในดา้นราคา4. เกษตรกรบางรายยังขาดความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยง5. ภัยธรรมชาติและภาวะโลกร้อนทา้ให้มผีลต่อการเพาะพันธุ์ การอนุบาล และการเลี้ยง6. สภาพแหล่งน้้าเส่ือมโทรม ท้าใหจ้้านวนปลาแรดในธรรมชาติลดลง7. กระบวนการแปรรูปยังไมส่ามารถท้าไดด้ี

Page 16: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การขับเคลื่อนแผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดในเขต การวิเคราะห์สัตว์น้้าที่จะเป็น Star/Cash Cow/Problem Child/Dogs

Indu

stry

gro

wth High

1. ปลานิล2. ปลาแรด

1. ปลาตะเพียน

Low 1. ปลาแรด -

High Low

Market share

Page 17: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การก้าหนดเป้าหมายของการผลิตสัตว์น้้าภายในเขต BCG Matrix

Page 18: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การก้าหนดเป้าหมายของการผลิตสัตว์น้้าภายในเขต BCG Matrix

Page 19: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การก้าหนดแผนงาน/โครงการภายใต้กลยุทธ์เนื่องจากเขต 9 ได้เล็งเห็นโอกาส และจุดอ่อนของปลาแรด จึงมีความต้องการที่จะ

พัฒนาปลาแรดเป็นสัตว์น้้าชนิดเด่นของทางเขต โดยมีประเด็นเร่งด่วนที่ต้องท้าการแก้ไข ดังนี้

แก้ไขปัญหาการขาดแคลนลูกพันธุ์

แก้ไขปัญหาการเลี้ยงที่ใช้เวลานาน

แก้ไขปัญหาอาหารที่เหมาะส้าหรับปลาแรด

โดยศึกษาวิจัยวิธีการหรือปัจจัยที่เหมาะสมในการเพาะพันธุ์ปลาแรด เพื่อเพิ่มปริมาณลูกพันธุ์ออกสู่ท้องตลาด

โดยศึกษาวิจัยและปรับใช้เทคนิควิธีการเลี้ยงรูปแบบต่างๆ เพื่อย่นระยะเวลาการเลี้ยงปลาแรดให้สั้นลง และลดต้นทุนการผลิต เช่น เทคนิคการย้ายพันธุ์ปลาจากบ่อ ลงสู่ประชังเพื่อเลี้ยงให้ได้ขนาดตลาด

โดยศึกษาวิจัยผลิตภัณฑ์อาหารที่เหมาะสมแก่ชนิดพันธุ์ปลาแรด ทั้งในด้านคุณค่าทางโภชนาการและราคาที่ไม่สูงจนเกินไป รวมถึงอาหารที่เหมาะต่อการบ้ารุงพ่อแม่พันธุ์ปลาแรด เพื่อผลิตลูกพันธุ์

Page 20: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การขับเคลื่อนแผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดในเขต วิเคราะห์สถานการณ์การเลี้ยงสัตว์น้้าเศรษฐกิจที่ส้าคัญ

* ผลผลิตปลาแรดของจังหวัดอุทัยธานี ปี 2561 มีมูลค่าเป็นอันดับสองรองจากปลานิล

ข้อมูลสถิติปลาแรด อุทัยธานี

ปี 2557 ปี 2559 ปี 2561

พื้นที่การเลี้ยง (ไร่) 184.42 155.94 179.60

เกษตรกรผู้เลี้ยง(ราย)

333 337 297

ผลผลิต (กิโลกรัม) 931.98 1,202.76 204.64

Page 21: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การขับเคลื่อนแผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดในเขต

0

500

1000

1500

พื้นที่การเลี้ยง (ไร่) เกษตรกรผู้เลี้ยง (ราย)

ผลผลิต (กิโลกรัม)

ข้อมูลสถิติปลาแรด อุทัยธานี

ปี 2557 ปี 2559 ปี 2561

Page 22: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การขับเคลื่อนแผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดในเขต วิเคราะห์สถานการณ์การเลี้ยงสัตว์น้้าเศรษฐกิจที่ส้าคัญ

ข้อมูลสถิติปลาแรด อุทัยธานี

ราคาจ้าหน่ายปากบ่อเฉลี่ย 60 – 80 บาท/กิโลกรัม

ราคาจ้าหน่ายในตลาดเฉลี่ย

100 – 130 บาท/กิโลกรัม

ปริมาณความต้องการต่อวัน

ปริมาณสัตว์น้้ารวมที่บริโภคประมาณ 500 กิโลกรัม/วันปริมาณสัตว์น้้าที่น้าเข้าจากเขตอื่น ประมาณ 1,000-1,500 กิโลกรัม/วัน

Page 23: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

ก้าหนดเป้าหมายกับการพัฒนาในช่วง 3 ปี

เป้าหมายรายปีมิติผลผลิต

(ตัน)มิติพื้นที่

(ไร)่มิติจ้านวนเกษตรกร

(ราย)มิติราคา

ข้อมูลสถิติปลาแรดปี 2561

246 179.60 297

- ราคาจ้าหน่ายปากบ่อ 80 บาท/กก.- ราคาจ้าหน่ายในตลาด 100-130 บาท/กก.

เป้าหมายปีที่ 1เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จากปี 2561

เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จากปี 2561

เพิ่มขึ้นร้อยละ 3 จากปี 2561

คงที่

เป้าหมายปีที่ 2เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 จากปี 2561

เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 จากปี 2561

เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 จากปี 2561

คงที่

เป้าหมายปีที่ 3เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปี 2561

เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปี 2561

เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปี 2561

คงที่

Page 24: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

ก้าหนดกลยุทธ์กลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เชิงแก้ไข

ด้านการส่งเสริมการบริโภค: เนื่องจากปลาแรดมีรสชาติดี สามารถแปรรูปได้ และเป็นที่ต้องการของตลาด จึงเหมาะแก่การส่งเสริมให้ผู้บริโภครู้จักเป็นวงกว้าง

ด้านการพัฒนาระบบการเพาะพันธุ์: น าความรู้และเทคโนโลยีที่ ได้จากงานวิจัยของภาครัฐ มาสนับสนุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตลูกพันธุ์ให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด

ด้านส่งเสริมการเพาะพันธุ์: เนื่องจากลูกพันธุ์ปลาแรดเป็นที่ต้องการของตลาด ประกอบกับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถเพาะพันธุ์ได้

ด้านพัฒนารูปแบบการเลี้ยงเพ่ือย่นระยะเวลา และลดต้นทุน: พัฒนางานวิจัยด้านระบบการเลี้ยง หรือปัจจัยการผลิตต่างๆ และเผยแพร่แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงปลาแรด เพื่อช่วยแก้ปัญหาด้านต้นทุนการผลิต

Page 25: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

ก้าหนดกลยุทธ์กลยุทธ์เชิงป้องกัน กลยุทธ์เชิงตั้งรับ

ด้านส่งเสริมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ และการตลาดแบบพึ่งพาตนเอง: จากอุปสรรคด้านราคาไม่สมดุลกับต้นทุนการเลี้ยง การส่งเสริมให้เกษตรกรท าการตลาดแบบพึ่งพาตนเองและแปรรูปผลิตภัณฑ์ ท าให้เกษตรกรสามารถก าหนดราคาสินค้าที่เหมาะสมได้

ด้านการส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกร: เนื่องจากผลผลิตปลาแรดที่ออกสู่ตลาดมีปริมาณน้อย และราคาผลผลิตไม่สมดุลกับต้นทุนการเลี้ยง การส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มสหกรณ์ผู้เลี้ยงปลาแรด จะเป็นการเพิ่มอ านาจต่อรองให้แก่เกษตรกร และควบคุมปริมาณผลผลิตที่ออกสู่ท้องตลาด

ด้านการพัฒนากระบวนการแปรรูปสินค้า ให้ได้มาตรฐาน: จากการที่กรมประมง มีบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ จึงเป็นโอกาสที่จะช่วยพัฒนาและแก้ไขอุปสรรคด้านการแปรรูปสินค้าที่เกษตรกรเผชิญอยู่ให้ลุล่วงไปได้

ด้านการเพิ่มจ้านวนเกษตรกรผู้เลี้ยง: การที่กรมประมงส่งเสริมให้มีการเพาะเลี้ยงปลาแรดมากขึ้น รวมทั้งสนับสนุนความรู้ทางวิชาการให้แก่เกษตรกร จะเป็นการช่วยเพิ่มผลผลิตปลาแรดออกสู่ท้องตลาดได้อีกทางหนึ่ง

Page 26: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การคิดแผนงาน/โครงการกลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เชิงรับ กลยุทธ์เชิงปรับตัว

1. ศึกษาและวิจัยการเพาะและอนุบาลลูกปลาแรดให้มีอัตรารอดสูง

2. ศึกษาและพัฒนาอาหารที่เหมาะสมส าหรับการเลี้ยงปลาแรด

3. ศึกษาและพัฒนาเทคนิคการเลี้ยง เพื่อย่นระยะเวลาการเลี้ยงปลาแรด

4. ศึกษาและพัฒนาการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากปลาแรด เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า

1. ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มสหกรณ์ผู้เลี้ยงปลาแรด เพื่อเพิ่มอ านาจในการต่อรองร า ค า ร ว ม ทั้ ง ค ว บ คุ มปริ ม าณผลผลิ ตที่ ออกสู่ท้องตลาด

2. ส นั บ ส นุ น ก า ร แ ป ร รู ปผลิตภัณฑ์จากปลาแรด เพื่อยืดระยะเวลาการเก็บรักษาผลผลิต

1. ส่งเสริมการจัดท าฟาร์มผลิตสัตว์น้ าให้ได้มาตรฐาน

2. ยกระดับสินค้าปลาแรดให้เป็นสินค้าปลอดภัย

Page 27: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

การขับเคลื่อนแผน

• โดยให้คณะท้างานภายในเขต เสนอของบประมาณเพื่อด้าเนินการวิจัย ติดตามผลการวิจัย และเผยแพร่ผลงาน

เ สนอขอ งบปร ะม าณ เพื่ อด้าเนินการวิจัย และติดตามผล

• โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มผลผลิตออกสู่ตลาด โดยคาดการณ์ว่าผลผลิต ควรมีปริมาณเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 ถึง 5 จากปี 2561

วางแผนการผลิต เพื่ อ เพิ่ มผ ล ผ ลิ ต ใ ห้ เ พี ย ง กั บ ค ว า มต้องการ

• จัดกิจกรรมอบรมให้กับกลุ่มเกษตรกร และผู้ที่สนใจ รวมทั้งน้าความรู้จากงานวิจัยมาพัฒนาสินค้าให้ได้มาตรฐาน ถูกสุขลักษณะ และรวมถึงการตรวจรับรองมาตรฐานฟาร์มปลาแรด

ส่งเสริมการอบรมการแปรรูป แ ล ะ พั ฒ น า สิ น ค้ า ใ ห้ ไ ด้มาตรฐาน

Page 28: แผน (แม่บท) การพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด เขต 9 (ร่าง) แผนแม่บท... ·

จบการน้าเสนอ