251
แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 2565) เทศบาลตาบลสบบง อาเภอภูซาง จังหวัดพะเยา สานักงานเทศบาลตาบลสบบง เลขที่ 41 หมู่ที่ 12 ตาบลสบบง อาเภอภูซาง จังหวัดพะเยา 56110 โทรศัพท์ 0-5444-5519 20 โทรสาร 0-5444-5521

แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 2565) เทศบาลต าบลสบบง อ …€¦ · ท้องถิ่น พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565) เทศบาลต าบลสบบง

    อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

    ส านักงานเทศบาลต าบลสบบง เลขที่ 41 หมู่ที่ 12 ต าบลสบบง อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา 56110

    โทรศัพท์ 0-5444-5519 – 20 โทรสาร 0-5444-5521

  • ค ำน ำ

    เนื่องด้วยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 มาตรา 50 พระราชบัญญัติก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 หมวด 2 มาตรา 16 (1) ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดท าแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 และที่แก้ไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561 ได้ก าหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอ านาจและหน้าที่ในการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดท างบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และงบประมาณจากเงนิสะสมในช่วงของแผนนั้น

    ดังนั้น เพ่ือให้การด าเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าว เทศบาลต าบลสบบง ต้องด าเนินการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565) ขึ้น เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการบริหารพัฒนาท้องถิ่นให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ก่อให้เกิดประโยชน์และสามารถตอบสนองความต้องการพัฒนาของประชาชนในเขตเทศบาลต าบลสบบง โดยได้ด าเนินการตามข้ันตอน ดังนี้

    1. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น จัดประชุมประชาคมท้องถิ่น ส่วนราชการรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้อง เพ่ือแจ้งแนวทางการพัฒนาท้องถิ่น รับทราบปัญหาความต้องการ ประเด็นการพัฒนา ประเด็นที่เกี่ยวข้อง และแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่เพ่ือน ามาก าหนดแนวทางการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยให้น าข้อมูลพ้ืนฐานในการพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ และข้อมูลในแผนพัฒนาหมู่บ้าน หรือแผนชุมชนมาพิจารณาประกอบการทบทวนแผนพัฒนาท้องถิ่น

    2. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดท าแผนพัฒนาท้องถิ่น รวบรวมแนวทางและข้อมูลน ามาวิเคราะห์เพื่อจัดท าร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นแล้วเสนอคระกรรมการพัฒนาท้องถิ่น

    3. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นเพ่ือส่งเสนอแนะผู้บริหารท้องถิ่น 4. ผู้บริหารท้องถิ่น พิจารณาอนุมัติละประกาศใช้แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565)

    บัดนี้ คณะกรรมการพัฒนาเทศบาลต าบลสบบง ได้พิจารณาเห็นชอบร่างแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2561 – 2565) ของเทศบาลต าบลสบบง เสร็จเรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2562 จึงอนุมัติแผนพัฒนาท้องถิ่นดังกล่าว และด าเนินการประกาศใช้ต่อไป

    (ลงชื่อ) ................................................................ผู้อนุมัติ (นายสมพน พ่ึงพวก)

    นายกเทศมนตรีต าบลสบบง 26 มิถุนายน 2562

  • สำรบัญ

    เร่ือง หน้ำ ส่วนที่ 1 สภำพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐำน 1 ส่วนที่ 2 ยทุธศำสตร์กำรพัฒนำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 16 ส่วนที่ 3 กำรน ำแผนพัฒนำท้องถิ่นไปสูก่ำรปฏิบตัิ 54

    1. บัญชีสรุปโครงการพัฒนา (แบบ ผ. 01) 56 2. รายละเอียดโครงการพัฒนา (แบบ ผ. 02) 58 3. รายละเอียดโครงการท่ีเกินศักยภาพ (แบบ ผ. 02/1) 163 4. บัญชีครุภัณฑ์ (แบบ ผ. 03) 176

    ส่วนที่ 4 กำรติดตำมและประเมินผล 211 ภำคผนวก

    ***********************************

  • ส่วนที่ 1

    สภาทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

  • 1

    ส่วนที่ ส่วนที่ 11 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

    1. ด้านกายภาพ

    1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้าน/ชุมชน/ต าบล เดิมต ำบลสบบงเป็นต ำบลในเขตกำรปกครองของอ ำเภอเชียงค ำ จังหวัดพะเยำ ต่อมำเมื่อวันที่

    26 มิถุนำยน 2539 กระทรวงมหำดไทยได้ออกพระรำชกฤษฎีกำ แบ่งพื้นที่อ ำเภอเชียงค ำเป็น กิ่งอ ำเภอภูซำง ประกอบด้วย 5 ต ำบล คือ ต ำบลสบบง ต ำบลภูซำง ต ำบลเชียงแรง ต ำบลทุ่งกล้วย และต ำบลป่ำสัก โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 15 กรกฎำคม 2539 และเมื่อวันที่ 24 สิงหำคม พ.ศ. 2550 กระทรวงมหำดไทยได้ออกพระรำชกฤษฎีกำยกฐำนะ กิ่งอ ำเภอภูซำง ขึ้นเป็น อ ำเภอภูซำง โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 8 กันยำยน 2550 ปัจจุบันต ำบลสบบงแยกกำรปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้ำน

    เทศบำลต ำบลสบบง เป็นองค์ปกครองส่วนท้องถิ่นในต ำบลสบบง ซึ่งไดเ้ปลี่ยนแปลงฐำนะจำกสุขำภิบำลสบบงเป็นเทศบำลต ำบลสบบง ตำมพระรำชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐำนะของสุขำภิบำล พ.ศ. 2542 ประกำศเมื่อวันที่ 24 กุมภำพันธ์ 2542 โดยมีผลใช้บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภำคม 2542 มีอำณำเขตพื้นที่ อยู่ติดกันท้องถิ่นใกล้เคียง ดังนี ้

    ทิศเหนือ ติด เขตองค์กำรบริหำรส่วนต ำบลเชียงแรง อ ำเภอภูซำง ทิศตะวันออก ติด เขตองค์กำรบริหำรส่วนต ำบลทุ่งกล้วย อ ำเภอภูซำง ทิศใต ้ ติด เขตเทศบำลต ำบลหย่วน อ ำเภอเชียงค ำ ทิศตะวันตก ติด เขตองค์กำรบริหำรส่วนต ำบลอ่ำงทอง อ ำเภอเชียงค ำ

    โดยต ำบลสบบง ตั้งอยู่ทำงทิศตะวันตกเฉียงใต้ของอ ำเภอภูซำง อยู่ในเขตกำรปกครองของอ ำเภอภูซำง ห่ำงจำกตัวอ ำเภอระยะทำง 4.8 กิโลเมตร ต ำบลสบบง มีพื้นที่ประมำณ 33 ตำรำงกิโลเมตร เนื้อที่ 20,625 ไร่ เป็นต ำบลค่อนข้ำงใหญ่ โดยมีพื้นที่แยกเป็นรำยหมู่บ้ำน ดังนี ้

    หมู่ที ่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อก านัน - ผู้ใหญ่บ้าน หมายเหต ุ1. บ้ำนดอนตัน นำยรุ่งโรจน์ แดงมณ ี 2. บ้ำนสบบง นำยโดด สบบง 3. บ้ำนสบบง นำยพร ใจค ำสุข 4. บ้ำนฮ่องลึก นำยกมล ไชยติขะ ก ำนัน 5. บ้ำนหัวขัว นำยสุรพล หอมอ่อน 6. บ้ำนปง นำยทรงสิน บัวติ๊บ 7. บ้ำนปงหลวง นำยจรินทร์ รวมสุข 8. บ้ำนปัว นำยพงศกร แก้วนันทะ

  • 2

    แผนที่เทศบาลต าบลสบบง อ าเภอภูซาง จังหวัดพะเยา

    หมู่ที ่ ชื่อหมู่บ้าน ชื่อก านัน - ผู้ใหญ่บ้าน หมายเหต ุ9. บ้ำนหล่ำย นำยเลื่อน ใชยพรม 10. บ้ำนสบบง นำยจ ำนง รวมสุข 11. บ้ำนใหม่ดอนตัน นำยอดิศักดิ์ ใจค ำลือ 12. บ้ำนดอนศรีชุม นำยทรง แก้วค ำปำ

  • 3

    ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของเทศบาลต าบลสบบง

    คณะผู้บริหารเทศบาลต าบลสบบง

    1. นำยสมพน พึ่งพวก นำยกเทศมนตรีต ำบลสบบง 2. นำยมงคล คนงำน รองนำยกเทศมนตรีต ำบลสบบง 3. นำยบุญพฒัน์ วิชัยเลิศ รองนำยกเทศมนตรีต ำบลสบบง 4. นำยเรืองศักดิ์ รวมสุข เลขำนุกำรนำยกเทศมนตรีต ำบลสบบง

    โครงสร้างคณะผู้บริหาร

    ข้อมูลด้านการศึกษาคณะผู้บริหาร

    คณะผู้บริหาร ระดับการศึกษา นำยกเทศมนตร ี ปริญญำตร ีรองนำยกเทศมนตร ี ปริญญำตร ีรองนำยกเทศมนตร ี ปริญญำตร ีเลขำนุกำรนำยกเทศมนตร ี ปริญญำตร ี

    นายกเทศมนตร ี

    รองนายกเทศมนตร ี

    เลขานุการนายก อบต.

    รองนายกเทศมนตร ี

  • 4

    สมาชิกสภาเทศบาลต าบลสบบง 1. นำยปรำโมทย์ ไชยติขะ ประธำนสภำเทศบำลต ำบลสบบง 2. นำยวิฑูรย์ สำรน้อย รองประธำนสภำเทศบำลต ำบลสบบง 3. นำยประเสริฐ สบบง สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 4. นำยหลั๋น กลำงหมู ่ สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 5. นำยหมุน สุเต็ม สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 6. นำยเนย รวมสุข สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 7. นำยอรรถพงษ์ กลำงหมู ่ สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 8. นำยวำท หน่อหล้ำ สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 9. นำยศรีมลู เวียนรอบ สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 10. นำยขนง บุญประเสริฐ สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง 11. นำยเผด็จ แสงโฮง สมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบง

    1.2 ลักษณะภูมิประเทศ สภำพพื้นที่ทั่วไปของต ำบลสบบงมีลักษณะเป็นพื้นที่รำบ มีแม่น้ ำลำวไหลผ่ำน จำกทิศ

    ตะวันออกไปทิศตะวันตก ท ำให้พื้นที่รำบ มีควำมเหมำะสมแก่กำรท ำกำรเกษตร เพำะปลูก ท ำไร่ และท ำสวน

    1.3 ลักษณะภูมิอากาศ สภำพอำกำศทั่วไปของเขตพื้นที่ต ำบลสบบง อยู่ในเขตอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้

    และลมมรสุมจำกทะเลจีนใต้ จ ำแนกได้ดังนี ้ฤดูร้อน เริ่มต้นระหว่ำงเดือนมีนำคม - เมษำยน อำกำศร้อนจัดและแล้งจัดติดต่อเป็นระยะ

    เวลำนำนควำมชื้นในอำกำศมีน้อย และมีพำยุฤดูร้อนเป็นบำงช่วงที่มีคลื่นควำมร้อนปกคลุม อุณหภูมิสูงสุดประมำณ 35 - 38 องศำเซลเซียส ฤดูฝน เริ่มต้นระหว่ำงเดือนพฤษภำคม - ตุลำคม อำกำศร้อนและมีพำยุลมฝนฟ้ำคะนอง ลมแรง และมีภำวะฝนทิ้งช่วงในบำงช่วง

    ฤดูหนาว เริ่มต้นระหว่ำงเดือนพฤศจิกำยน - กุมภำพันธ์ อุณหภูมิต่ ำสุดประมำณ 15 องศำเซลเซียส

    1.4 ลักษณะของดิน สภำพดินในเขตต ำบลสบบงจ ำนวน ร้อยละ 90 มีลักษณะส่วนใหญ่เป็นดินร่วน เหมำะส ำหรับ

    ท ำนำ ท ำไร่ ท ำสวน แต่บำงพ้ืนที่เป็นดินร่วนปนทรำย ซึ่งจะเหมำะสมส ำหรับกำรปลูกอ้อย ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจของต ำบลสบบง

  • 5

    1.5 ลักษณะของแหล่งน้ า มีแหล่งน้ ำธรรมชำติที่ส ำคัญ 5 สำย คือ 1. ล ำน้ ำลำว เกิดจำกกำรรวมตัวของล ำน้ ำหลำยสำย เช่น ล ำน้ ำแวน ล ำน้ ำ ยวน ล ำน้ ำลำว

    เดิม จำกทิศใต้ของเทศบำลเป็นแหล่งน้ ำธรรมชำติที่ส ำคัญที่สุดของเทศบำล มีควำมกว้ำง 20 เมตร ยำว 3,000 เมตร ลึกเฉลี่ย 5 เมตร ใช้ประโยชน์ในกำรเพำะปลูกได้ทุกฤดูกำล หมู่บ้ำนที่ได้รับประโยชน์จำกล ำน้ ำลำว จ ำนวน 8 หมู่บ้ำน

    2. ล ำน้ ำยวน เป็นแหล่งน้ ำธรรมชำติที่ส ำคัญรองลงมำจำกล ำน้ ำลำว เกิดจำกกำรรวมตัวของล ำน้ ำสำยต่ำง ๆ จำกเทือกเขำทำงด้ำนตะวันออกของเทศบำลต ำบลสบบง ไหลลงสู่ล ำน้ ำลำว มีควำมกว้ำง 10 เมตร ยำว 500 เมตร ลึกเฉลี่ย 5 เมตร ใช้ประโยชน์ในกำรเพำะปลูกได้ทุกฤดูกำล และเป็นแหล่งน้ ำดิบ ในกำรผลิตน้ ำประปำหมู่บ้ำน หมู่บ้ำนที่ได้รับประโยชน์จำกล ำน้ ำยวน จ ำนวน 3 หมู่บ้ำน

    3. ล ำน้ ำบง เกิดจำกล ำห้วยเล็ก ๆ หลำยสำยไหลมำรวมกันทำงด้ำนทิศ ตะวันออกของเทศบำลต ำบลสบบง แล้วไหลลงสู่ล ำน้ ำลำวทำงทิศเหนือของเทศบำล มีควำมกว้ำงประมำณ 6 เมตร ยำว 1,500 เมตร ลึกเฉลี่ย 2 เมตร ใช้ประโยชน์ในกำรเพำะปลูกเป็นบำงฤดู หมู่บ้ำนที่ได้รับประโยชน์จำก ล ำน้ ำบง มี 3 หมู่บ้ำน

    4. ล ำน้ ำฮ่องลึก เกิดจำกล ำห้วยเล็ก ๆ หลำยสำยไหลมำรวมกันทำงด้ำนทิศตะวันออกของเทศบำลต ำบลสบบง มีควำมกว้ำงประมำณ 4 เมตร ยำว 1,000 เมตร ลึกเฉลี่ย 1 เมตร ใช้ประโยชน์ในกำรเพำะปลูกเป็นบำงฤดู หมู่บ้ำนที่ได้รับประโยชน์ 2 หมู่บ้ำน

    5. ล ำน้ ำฮ่องน้อย เกิดจำกล ำห้วยเล็ก ๆ หลำยสำยไหลมำรวมกันทำงด้ำนทิศตะวันออก ของเทศบำลต ำบลสบบง มีควำมกว้ำงประมำณ 5 เมตร ยำว 1,000 เมตร ลึกเฉลี่ย 1 เมตร ใช้ประโยชน์ ในกำรเพำะปลูกเป็นบำงฤดู หมู่บ้ำนที่ได้รับประโยชน์ 2 หมู่บ้ำน

    1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้ ลักษณะของไม้และป่ำไม้ในพื้นที่ต ำบลสบบง จัดอยู่ในประเภทป่ำดิบเขำ ป่ำเต็งรัง และป่ำ

    เบญจพรรณ

  • 6

    2. ด้านการเมือง/การปกครอง 2.1 เขตการปกครอง เทศบำลต ำบลสบบง อ ำเภอภูซำง จังหวัดพะเยำ มีจ ำนวน 12 หมู่บ้ำน ประกอบด้วย

    2.2 การเลือกตั้ง เทศบำลต ำบลสบบง มีทั้งหมด 12 หมู่บ้ำน ประชำชนให้ควำมร่วมมือด้ำนกำรเลือกตั้งเป็น

    อย่ำงดี เช่น กำรเลือกตั้งสมำชิกสภำเทศบำลต ำบลสบบงและผู้บริหำรเทศบำลต ำบลสบบง เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกำยน 2556 ที่ผ่ำนมำ มีประชำชนมำใช้สิทธิ์เลือกตั้ง ดังนี ้

    จ ำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ข้อมูลเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกำยน 2556) - จ ำนวนผูม้ีสิทธิเลือกตั้งนำยกเทศมนตรี 5,635 คน - จ ำนวนผูม้ีสิทธิเลือกตั้งสมำชิกสภำเทศบำล 5,635 คน

    จ ำนวนผู้มำใช้สิทธิเลือกต้ัง - จ ำนวนผู้มำใช้สิทธิเลือกตั้งนำยกเทศมนตรี 4,176 คน จำกผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งสิ้น

    5,635 คน คิดเป็นร้อยละ 74.11 - จ ำนวนผู้มำใช้สิทธิเลือกตั้งสมำชิกสภำเทศบำล 4,176 คน จำกผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

    ทั้งสิ้น 5,635 คน คิดเป็นร้อยละ 74.11

    หมู่ที่ 1 บ้ำนดอนตัน ผู้ปกครอง นำยรุ่งโรจน์ แดงมณี ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 2 บ้ำนสบบง ผู้ปกครอง นำยโดด สบบง ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 3 บ้ำนสบบง ผู้ปกครอง นำยพร ใจค ำสุข ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 4 บ้ำนฮ่องลึก ผู้ปกครอง นำยกมล ไชยติขะ ก ำนัน

    หมู่ที่ 5 บ้ำนหัวขัว ผู้ปกครอง นำยสุรพล หอมอ่อน ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 6 บ้ำนปง ผู้ปกครอง นำยทรงสิน บัวติ๊บ ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 7 บ้ำนปงหลวง ผู้ปกครอง นำยจรินทร์ รวมสุข ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 8 บ้ำนปัว ผู้ปกครอง นำยพงศกร แก้วนันทะ ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 9 บ้ำนหล่ำย ผู้ปกครอง นำยเลื่อน ใชยพรม ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 10 บ้ำนสบบง ผู้ปกครอง นำยจ ำนง รวมสุข ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 11 บ้ำนใหม่ดอนตัน ผู้ปกครอง นำยอดิศักดิ์ ใจค ำลือ ผู้ใหญ่บ้ำน

    หมู่ที่ 12 บ้ำนดอนศรีชุม ผู้ปกครอง นำยทรง แก้วค ำปำ ผู้ใหญ่บ้ำน

  • 7

    3. ประชากร 3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจ านวนประชากร เทศบำลต ำบลสบบง อ ำเภอภูซำง จังหวัดพะเยำ มีจ ำนวนประชำกรทั้งสิ้น 7,699 คน

    แยกเป็นชำย 3,736 คน หญิง 3,963 คน สถำนภำพกำรอยู่อำศัย ครัวเรือน จ ำนวน 3,142 ครัวเรือน (ข้อมูลจำกส ำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบำลต ำบลสบบง รวมทุกสัญชำติ) ประกอบด้วย

    หมู่บ้าน จ านวนครัวเรือน จ านวนประชากร

    หญิง ชาย รวม หมู่ที่ ๑ บ้ำนดอนตัน หมู่ที่ ๒ บ้ำนสบบง หมู่ที่ ๓ บ้ำนสบบง หมู่ที่ ๔ บ้ำนฮ่องลึก หมู่ที่ ๕ บ้ำนหัวขัว หมู่ที่ ๖ บ้ำนปง หมู่ที่ ๗ บ้ำนปงหลวง หมู่ที่ ๘ บ้ำนปัว หมู่ที่ ๙ บ้ำนหล่ำย หมู่ที่ ๑๐ บ้ำนสบบง หมู่ที่ ๑๑ บ้ำนใหม่ดอนตัน หมู่ที่ ๑๒ บ้ำนดอนศรีชุม

    487 329 265 281 333 108 176 129 364 255 173 229

    568 382 341 275 437 146 208 160 684 346 163 192

    510 342 348 237 373 154 225 164 684 346 163 192

    1,078 724 689 512 810 300 433 324

    1,388 704 340 409

    รวม 3,229 3,972 3,738 7,711 3.2 ช่วงอายุและจ านวนประชากร จ ำนวนประชำกร แยกตำมช่วงอำยุ (เฉพำะผู้มีสัญชำติไทย)

    หมำยเหตุ : ขอ้มูลจำกส ำนักทะเบียนเทศบำลต ำบลสบบง ณ เดือน พฤษภำคม 2562

    ช่วงอาย ุ หญิง ชาย หมายเหต ุจ ำนวนประชำกร เยำวชน จ ำนวนประชำกร จ ำนวนประชำกรผู้สูงอำยุ

    751 2573 600

    742 2,447 519

    อำยุต่ ำว่ำ 18 ป ีอำยุ 18 – 60 ปี อำยุ 60 ปีขึ้นไป

    รวม 3,924 3,708 7,632

  • 8

    4. สภาพทางสังคม 4.1 การศึกษา ด้ำนกำรศึกษำในเขตเทศบำลต ำบลสบบง มีกำรจัดกำรด้ำนกำรศึกษำ โดยมีศูนย์พัฒนำเด็กเล็ก

    ของเทศบำลต ำบลสบบง จ ำนวน 2 แห่ง มีโรงเรียนสังกัด ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน (สพฐ.) จ ำนวน 3 แห่ง ตำมข้อมูล ดังนี้

    ศูนย์พัฒนาเดก็เล็กก่อนวัยเรียน ประจ าปกีารศึกษา พ.ศ. 2562

    ที ่ ชื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่ตั้ง

    พ.ศ. 2562 จ านวนนักเรียน

    หมู่ที ่ ชาย หญิง รวม 1 ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กดอนตัน 4 27 18 45 2 ศูนย์พัฒนำเด็กเทสบำลต ำบลสบบง 12 35 37 72

    รวม 62 55 117 หมำยเหตุ : ข้อมูลจำกศูนยพ์ัฒนำเด็กเล็กในสังกัดเทศบำล ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2562

    ➔ ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กดอนตัน - มีครูผู้ดแูลเด็ก จ ำนวน 2 คน - มีผู้ช่วยครูผูดู้แลเด็ก จ ำนวน 2 คน

    ➔ ศูนย์พัฒนำเด็กเล็กเทศบำลต ำบลสบบง - มีครูผู้ดแูลเด็ก จ ำนวน 2 คน - มีผู้ช่วยครูผูดู้แลเด็ก จ ำนวน 4 คน

    โรงเรียนในสังกัดเทศบาลต าบลสบบง ประจ าปีการศึกษา พ.ศ. 2562

    ที ่ ชื่อโรงเรียน ระดับชั้น พ.ศ. 2562

    จ านวนนักเรียน ชาย หญิง รวม

    1 โรงเรียนเทศบำลสบบง อนุบำล 1 19 12 31 อนุบำล 2 20 16 36

    รวม 39 28 67 หมำยเหตุ : ข้อมูลจำกโรงเรียนเทศบำลสบบง ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2562

    ➔ โรงเรียนเทศบำลสบบง - มีคร ู จ ำนวน 2 คน - มีผู้ช่วยคร ู จ ำนวน 2 คน

  • 9

    ข้อมูลโรงเรียนสังกดั ส านักงานคณะกรรมการการศกึษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

    ชื่อสถานศกึษา จ านวนนกัเรียน

    อนบุาล ประถมศึกษา รวม

    อนุบาล 1 อนุบาล 2 อนุบาล 3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

    1. โรงเรียนอนุบำลภูซำง 0 30 26 44 40 40 30 59 35 304

    2. โรงเรียนบำ้นสบบง 0 0 0 19 11 12 8 10 8 68

    3. โรงเรียนบำ้นโนนทองหลำง 0 9 18 23 17 18 13 17 25 140 รวมทั้งสิ้น 0 39 44 86 67 70 51 86 68 512

    หมำยเหตุ : ข้อมูลจำกส ำนกังำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ณ วันที่ 10 มิถุนำยน 2562

    4.2 สาธารณสุข เทศบำลต ำบลสบบง มีโรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพต ำบลจ ำนวน 1 แห่ง คือ โรงพยำบำลส่งเสริม

    สุขภำพต ำบลสบบง ตั้งอยู่ที่บ้ำนสบบง หมู่ที่ 10 ต ำบลสบบง ซึ่งสำมำรถให้บริกำรประชำชนได้สะดวกและทั่วถึง มีเจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขปฏิบัติหน้ำที่อยู่ จ ำนวน 7 คน ลูกจ้ำง จ ำนวน 3 คน มีอำสำสมัครสำธำรณสุขประจ ำหมู่บ้ำน (อสม.) จ ำนวน 210 คน

    เนื่องจำกพื้นที่ต ำบลสบบงเป็นที่รำบเชิงเขำ อีกทั้งอยู่ติดกับป่ำไม้และมีน้ ำท่วมขังเวลำฝนตก ท ำให้เสี่ยงต่อกำรเกิดโรคไข้เลือดออกอยู่เสมอ โดยจัดให้มีกำรฉีดพ่นหมอกควันระหว่ำงเดือนพฤษภำคมถึงเดือนมิถุนำยนของทุกปี และแจกจ่ำยทรำยอะเบทให้ประชำชนได้น ำไปใส่ภำชนะ เพื่อป้องกันกำรวำงไข่ของยุงซึ่งเป็นสำเหตุของไข้เลือดออก

    ป้องกันและระงับโรคติดต่อ โดยมุ่งเน้นลดอัตรำผู้ติดเชื้อเอดส์ให้ได้ อีกทั้ง 12 หมู่บ้ำนเป็นหมู่บ้ำนปลอดจำกโรคไข้เลือดออก และส่งเสริมสุขภำพอนำมัยโดยประชำชนทั้ง 12 หมู่บ้ำน ได้รับควำมรู้และกำรคุ้มครองบริโภค ด้ำนยำรวมทั้งมีสุขภำพจิตและกำยที่ดี มุ่งให้ 12 หมู่บ้ำน มีอนำมัยสิ่งแวดล้อมที่ดี จำกกำรมีส่วนร่วมของประชำชน

    4.3 อาชญากรรม เทศบำลต ำบลสบบง อ ำเภอภูซำง จังหวัดพะเยำ ที่ผ่ำนมำไม่มีอำชญำกรรมเกิดขึ้นในพื้นที่ เป็นชุมชนน่ำอยู่ เอื้ออิงพิงอำศัยกันและกัน

    การด าเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินและสวัสดิการของประชาชน เทศบำลต ำบลสบบง มีรถดับเพลิงชนิดถังน้ ำในตัว ขนำดควำมจุ 10,000 ลิตร จ ำนวน 1 คัน

    และรถดับเพลิงชนิดถังน้ ำในตัว ขนำดควำมจุ 5,000 ลิตร จ ำนวน 1 คัน ส ำหรับใช้ในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ เพื่อช่วยเหลือแก่ประชำชนในชีวิตและทรัพย์สินในเขตเทศบำล

    บุคลกรที่ปฏิบัติหน้ำที่ป้องกันและบรรเทำสำธำรภัย ดังนี ้1. ผู้บังคับบัญชำตำมล ำดับชั้น จ ำนวน 5 คน 2. เจ้ำพนักงำนป้องกันและบรรเทำสำธำรณะภัย จ ำนวน 1 คน 3. พนักงำนขับรถดับเพลิง จ ำนวน 2 คน 4. พนักงำนดับเพลง จ ำนวน 4 คน

  • 10

    5. สมำชิกอำสำสมัครป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือน (อปพร.) จ ำนวน 100 คน 6. มีที่พักสำยตรวจ (ตู้กำญจนำภิเษก) จ ำนวน 1 แห่ง มีหน่วยกู้ชีพโรงพยำบำล จ ำนวน

    1 หน่วย

    4.4 ยาเสพตดิ จำกกำรที่รัฐบำลมีนโยบำยเร่งด่วนด้ำนกำรแก้ปัญหำยำเสพติดโดยให้ทุกภำคส่วนมีบทบำท และตระหนักในปัญหำยำเสพติด เทศบำลต ำบลสบบง ได้มีส่วนร่วมในกำรแก้ปัญหำปัญหำดังกล่ำวอย่ำงต่อเนื่อง ทั้งด ำเนินกำรเอง และให้กำรสนับสนุนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง โดยมีกำรตั้งงบประมำณ ให้กำรสนับสนุนงบประมำณ ก ำลังคน และวัสดุอุปกรณ์ที่จ ำเป็น อีกทั้งได้มีกำรจัดตั้งศูนย์ต่อสู้เพื่อเอำชนะยำเสพติดระดับต ำบลขึ้น โดยประสำนควำมร่วมมือจำกทุกภำคส่วน โดยเฉพำะกลุ่มพลังงำนมวลชนจัดตั้งในต ำบลมำเป็นแนวร่วมแก้ไขปัญหำดังกล่ำว

    4.5 การสังคมสงเคราะห ์ เทศบำลต ำบลสบบงได้ด ำเนินกำรด้ำนสงคมสังเครำะห์ ดังนี้

    1. ด ำเนินกำรจ่ำยเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอำยุ ผู้พกิำร และผู้ป่วยเอดส์ 1. ผู้สูงอำย ุ จ ำนวน 1,100 คน 2. ผู้พิกำร จ ำนวน 303 คน 3. ผู้ป่วยเอดส ์ จ ำนวน 33 คน

    2. รับลงทะเบยีนและประสำนโครงกำรเงินอุดหนุนเพื่อกำรเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 3. ประสำนกำรท ำบัตรผู้พิกำร 4. ด ำเนินโครงกำรกำรจ้ำงนักเรียน/นักศึกษำท ำงำนช่วงปิดภำคเรียน 5. ด ำเนินกำรโครงกำรฝึกอบรมทักษะอำชีพให้กับประชำชนทั่วไป 6. ด ำเนินโครงกำรสงเครำะห์ครองครัวผู้ยำกไร้ที่ตกเกณฑ ์จปฐ. 7. ด ำเนินโครงกำรสร้ำงและซ่อมที่อยู่อำศัยให้กับผู้ยำกไร้ รำยได้น้อย ผู้ด้อยโอกำสไร้ที่พึ่ง 8. อุดหนุนกองทุนสวัสดิกำรชุมชน 9. ประสำนกำรให้ควำมช่วยเหลือของจังหวัด อ ำเภอ หน่วยงำนต่ำงๆ ที่ให้กำรสนับสนนุ

    5. ระบบบริการพื้นฐาน 5.1 การคมนาคมขนส่ง

    เส้นทำงคมนำคมที่ใช้ติดต่อในเขตเทศบำลและพื้นที่ใกล้เคียงมีดังนี้ 1. ทำงหลวงแผ่นดิน

    - หมำยเลข 2021 สำยเชียงค ำ - เทิง 2. สะพำนคอนกรีต จ ำนวน 23 สะพำน 3. กำรจัดกำรขนส่งมวลชน ประกอบด้วย - รถโดยสำรประจ ำทำง สำยเชียงค ำ – เชียงรำย - รถโดยสำรประจ ำทำง สำยเชียงของ – เชียงใหม ่

  • 11

    4. ถนน ถนนในควำมรับผิดชอบของเทศบำลต ำบลสบบง ประกอบด้วย - ถนนคอนกรตี จ ำนวน 99 สำย - ถนนลำดยำง จ ำนวน 15 สำย - ถนนลกูรัง จ ำนวน 55 สำย

    5.2 ไฟฟ้า กำรให้บริกำรในพื้นที่ต ำบลสบบง ด ำเนินกำรโดยกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคอ ำเภอภูซำง จำกจ ำนวน

    ครัวเรือน 3,142 ครัวเรือน มีไฟฟ้ำใช้ทุกครัวเรือน และจะท ำกำรติดตั้งไฟฟ้ำสำธำรณะบริเวณทำงร่วม ทำงแยก เพื่อป้องกันกำรเกิดอุบัติเหตุในแหล่งชุมชนทั้ง 12 หมู่บ้ำน

    5.3 การประปา จ ำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ ำประปำ 3,142 หลังคำเรือน

    1. หน่วยงำนเจ้ำของกิจกำรประปำ ประปำภูมิภำค จ ำนวน - แห่ง ประปำหมู่บ้ำน จ ำนวน 10 แห่ง

    2. ปริมำณกำรใช้น้ ำประปำเฉลี่ย 500 ลบ.ม. ต่อวัน 3. แหล่งน้ ำดิบที่ใช้ผลิตน้ ำประปำได้จำกแม่น้ ำลำว แม่น้ ำบง แม่น้ ำฮ่องลึก แหล่งน้ ำผิว

    ดิน และแหล่งน้ ำใต้ดิน

    5.4 โทรศัพท ์ในเขตเทศบำลต ำบลสบบง มีโทรศัพท์บ้ำนเข้ำถึงทุกหมู่บ้ำน และมีโทรศัพท์มือถือใช้เกือบ

    ทุกครัวเรือน หรือเกือบมีโทรศัพท์มือถือใชทุ้กคน โดยมีจ ำนวนชุมสำยโทรศัพท์จ ำนวน จ ำนวน 1 ชุมสำย

    5.5 ไปรษณยี์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวสัดุ ครุภัณฑ์ ในเขตเทศบำลต ำบลสบบง มีที่ท ำกำรไปรษณีย์โทรเลข จ ำนวน 1 แห่ง และมีหอกระจำยข่ำวใน

    พื้นที่ให้บริกำรได้ครอบคลุมร้อยละ 100 ของพ้ืนที่ มีบริกำรให้ใชอ้ินเตอร์เน็ตฟรี ที่ส ำนักงำนเทศบำลต ำบลสบบง เทศบำลต ำบลสบบง มีวัสดุ ครุภัณฑ์ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ แต่ก็มีบำงรำยกำรที่ยังคำลดแคลน

    เนื่องจำกมีงบประมำณไม่เพียงพอ วัสดุ ครุภัณฑ์ต่ำงๆ นั้นมีไว้ส ำหรับกำรปฏิบัติหน้ำที่ของเจ้ำหน้ำที่เทสบำลต ำบลสบบง ในกำรด ำเนินภำรกิจบริกำรสำธำรณะเพื่อประโยชน์ของประชำชนเท่ำนั้น แต่หำกประชำชนเดือดร้อน หรือหน่วยงำนอ่ืนเดือนร้อน ก็สำมำรถมำยืมใช้ได ้

  • 12

    6. ระบบเศรษฐกิจ 6.1 การเกษตร ประชำชนส่วนใหญ่ยังประกอบอำชีพเกษตรกรรมโดยเฉพำะกำรท ำนำและกำรท ำไร่ เช่น ไร่อ้อย ไร่ข้ำวโพด ถั่วเหลือง เป็นต้น นอกจำกนั้นมีกำรเลี้ยงสัตว์โดยเฉพำะกำรเลี้ยงวัว และสุกร อีกทั้งมีกำรท ำสวน คือ สวนล ำไย ยำงพำรำ มะม่วง สวนหอมแดง และกระเทียม และมีกำรท ำประมง โดยเลี้ยงลักษณะไร่นำสวนผสมนิยมเลี้ยงปลำนิล ปลำดุก และกบ

    6.2 การประมง ในเขตเทศบำลต ำบลสบบงไม่มีกำรประมง เป็นกำรจับปลำตำมธรรมชำติในบริโภคในครัวเรือนตำมฤดูกำลเท่ำนั้น

    6.3 การปศุสัตว์ ลักษณะกำรปศุสัตว์ในเขตเทศบำลต ำบลสบบง ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อกำรบริโภคและใช้งำนส ำหรับกำรเลี้ยงสัตว์เพื่อกำรค้ำยังมีน้อย สัตว์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ กระบือ โคสุกร ไก่ เป็ด ปลำ

    6.4 การบริการ รีสอร์ด จ ำนวน 8 แห่ง ร้ำนอำหำร จ ำนวน 10 แห่ง

    6.5 การท่องเที่ยว ในเขตพื้นที่เทศบำลต ำบลสบบงไม่มีแหล่งท่องเที่ยว แต่ได้ส่งเสริมกำรท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในพื้นที่ เช่น กำรจัดงำนประเพณีต่ำง ๆ และส่งเสริมกิจกรรมของวัด

    6.6 อุตสาหกรรม ในเขตเทศบำลต ำบลสบบงมีจ ำนวนกิจกำรอุตสำหกรรมขนำดเล็ก (โรงสีขนำดเล็ก) จ ำนวน 11

    แห่ง (มีคนงำนต่ ำกว่ำ 10 คน หรือมีทรัพยส์ินถำวรที่เกิน 1 ล้ำนบำท)

    6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ ในเขตเทศบำลต ำบลสบบง มีหน่วยงำนกำรพำณิชย์และกลุ่มอำชีพ ดังนี ้ กำรพำณิชย์ ประกอบด้วย

    ธนำคำร 1 แห่ง สถำนีบริกำรน้ ำมัน 1 แห่ง บริษัท 9 แห่ง ศูนย์กำรค้ำ/ห้ำงสรรพสินค้ำ - แห่ง ห้ำงหุ้นส่วนจ ำกัด 1 แห่ง ตลำดสด 2 แห่ง ร้ำนค้ำต่ำง ๆ 55 แห่ง โรงฆ่ำสัตว์ 1 แห่ง ซุปเปอร์มำเก็ต 2 แห่ง ปัม๊น้ ำมันหยอดเหรียญ 5 แห่ง

  • 13

    สถำนบริกำร ประกอบด้วย โรงแรม 11 แห่ง ร้ำนอำหำร 2 แห่ง โรงภำพยนตร์ - แห่ง สถำนีขนส่ง - แห่ง (ท่ำรถ 1 แห่ง) ร้ำนเกมส ์ 4 แห่ง

    กลุ่มอำชีพ ประกอบด้วย กลุ่มเตำผลิตเตำอั้งโล่ หมู่ที่ 2,3,10 กลุ่มจักสำนผู้สูงอำยุ หมู่ที่ 2,4 กลุ่มท๊อฟฟี่โบรำณ หมู่ที่ 2,3,10

    6.8 แรงงาน จำกกำรส ำรวจข้อมูลพื้นฐำนพบว่ำ ประชำกรที่มีอำยุ ๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในก ำลังแรงงำน ร้อยละ

    ๙๕ เมื่อเทียบกับอัตรำส่วนกับจังหวัด ร้อยละ ๗๓.๙๙ ซึ่งสูงกว่ำมำก แต่ค่ำแรงในพื้นที่ต่ ำกว่ำระดับจังหวัด โดยเฉพำะแรงงำนด้ำนกำรเกษตร ประชำกรอำยุระหว่ำง ๒๕ – ๕๐ ปี บำงส่วน ไปรับจ้ำงท ำงำนนอกพื้นที่ รวมทั้งแรงงำนที่ไปท ำงำนต่ำงประเทศ ปัญหำที่พบคือ ประชำกรต้องไปท ำงำนนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงำนอุตสำหกรรม บริษัท ห้ำงร้ำนใหญ่ๆ เพรำะในพื้นที่ไม่มีโรงงำนอุตสำหกรรมที่มีกำรจ้ำงแรงงำนเยอะ เพรำะพื้นที่ส่วนมำกเป็นที่อยู่อำศัย ปัญหำนี้ยังไม่สำมำรถแก้ไขได้

    7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 7.1 การนับถือศาสนา

    ประชำชนในต ำบลสบบง จะนับถือศำสนำพุทธ โดยมีศำสนสถำน 6 แห่ง ดังนี ้

    ที ่ ชื่อศาสนสถาน สถานทีต่ั้ง จ านวนพระสงฆ์

    บ้าน หมู่ที ่ พระ เณร ชี รวม 1 วัดดอนตัน ดอนตัน 1 1 - - 3 2 วัดสบบง สบบง 2 2 2 - 4 3 วัดปง ปง 7 2 - - 8 4 วัดปัว ปัว 8 2 - - 3 5 วัดหล่ำย หล่ำย 9 1 - - 1 6 ส ำนักสงฆ ์ สบบง 10 1 - - 1

    รวม 21 - - 21

  • 14

    7.2 ประเพณีและงานประจ าป ี

    เดือนที่มีการละเลน่ เทศกาล กิจกรรม

    เดือนธันวำคม – มกรำคม วันขึ้นปีใหม ่ - ท ำบุญตักบำตร เดือนกุมภำพันธ์ – มีนำคม 1. วันมำฆบูชำ

    2. วันน้ ำอ้อยหวำนและของดีต ำบลสบบง

    - ท ำบุญตักบำตรและเวียนเทียน - ประกวดผลิตภัณฑ์ของแต่ละหมู่บ้ำน

    เดือนเมษำยน วันสงกรำนต์ - ท ำบุญตักบำตร - สรงน้ ำพระ - รดน้ ำด ำหัวผู้สูงอำย ุ

    เดือนพฤษภำคม – มิถุนำยน วันวิสำฃบูชำ - ท ำบุญตักบำตร เดือนกรกฎำคม – สิงหำคม วันเข้ำพรรษำ - ท ำบุญตักบำตร

    - ถวำยผ้ำอำบน้ ำฝน เดือนตุลำคม – พฤศจิกำยน 1. วันออกพรรษำ

    2. วันลอยกระทง

    - ท ำบุญตักบำตร - ตักบำตรเทโวฯ - ขอขมำแม่น้ ำ - ลอยกระทง

    7.3 ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภาษาถิ่น ประชำกรในพื้นที่เทศบำลต ำบลสบบง มีจ ำนวน 12 หมู่บ้ำน เป็นคนเมือง จ ำนวน 9 หมู่บ้ำน คน

    ไทลื้อ จ ำนวน 3 หมู่บ้ำน คนม้ง จ ำนวน 1 หมู่บ้ำน (รวมกับหมู่ที่ 9) ท ำให้มีควำมแตกต่ำงวัฒนธรรม ทำงภำษำ อำหำรกำรกิน และกำรด ำรงชีวิตประจ ำวัน แม้วันเวลำผ่ำนไป จะท ำให้วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลงไปบ้ำง แต่ยังคงเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละเผ่ำพันธุ์ไว้ ขณะเดียวกันก็ได้มีกำรอนุรักษ์และสืบต่อมำจนถึงปัจจุบัน โดยประชนชน องค์กร สถำบันต่ำง ๆ และชุมชนเข้ำร่วมในกำรอนุรักษ์ บ ำรุงรักษำศิลปะ จำรีตประเพณี ภูมิปัญญำท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น รวมทั้งจัดตั้งสภำวัฒนธรรมต ำบลสบบง ส่งเสริมกำรศึกษำจำกรุ่นสู่รุ่น

    7.4 สินค้าพืน้เมืองและของท่ีระลึก เทศบำลต ำบลสบบง มีพืชเศรษฐกิจที่ส ำคัญคือ อ้อย โดยจะมีผลิตภัณฑ์ที่ท ำมำจำกอ้อย ได้แก่

    น้ ำอ้อยสด อ้อยก้อน อ้อยกะทิ อ้อยควั่น รวมถึงกำละแมน้ ำอ้อย นอกจำกนี้ยังมีเครื่องจักสำนของผู้สูงอำยุ เช่น สุ่มไก่ ตระกร้ำ ไม้กวำด ฯลฯ

  • 15

    8. ทรัพยากรธรรมชาติ 8.1 น้ า ลักษณะของแหล่งน้ ำในต ำบลสบบง อ ำเภอภูซำง จังหวัดพะเยำ ส่วนใหญ่จะเป็นแหล่งน้ ำตำม

    ธรรมชำติ จำกล ำน้ ำแม่ลำวแตกแขนงเป็นแม่น้ ำสำยเล็ก ๆ ไปยังพื้นที่ในเขตต ำบลสบบง นอกจำกนี้ยังมีหนองน้ ำ ล ำห้วย เหมำะกับกำรท ำกำรเกษตร นอกจำกนี้ก็จะมีน้ ำที่จะได้จำกกำรสร้ำงเอง ได้แก่ กำรขุดสระกักเก็บน้ ำในพื้นที่กำรเกษตร ตลอดจนกำรขุดเจำะบ่อบำดำล และประปำหมู่บ้ำน

    8.2 ป่าไม้ ลักษณะของไม้และป่ำไม้ในต ำบลสบบง อ ำเภอภูซำง จังหวัดพะเยำ จัดอยู่ในประเภทป่ำดิบเขำ

    ป่ำเต็งรังและป่ำเบญจพรรณ ซึ่งมีปัจจุบันมจี ำนวนน้อยลง

    8.3 ภูเขา ในเขตพื้นทีเ่ทศบำลต ำบลสบบงไม่มีภูเขำ

    8.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยำกรธรรมชำติในเขตต ำบลสบบง เนื่องจำกประชำชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ประกอบอำชีพ

    เกษตรกรรม อำศัยธรรมชำติในกำรเพำะปลูก แต่ด้วยต้องกำรผลผลิตที่เพิ่มจ ำนวน จึงใช้สำรเคมีในกำร ท ำกำรเกษตร ท ำให้ทรัพยำกรดินเสื่อมคุณภำพ น้ ำมีกำรปนเปื้อน นอกจำกนี้ ยังมีกำรเผำป่ำ ท ำให้เกิด หมอกควัน ทัศนวิสัยในอำกำศไม่ดี เป็นเพียงบำงพื้นที่เท่ำน้ัน โดยรวมแล้วทรัพยำกรธรรมชำติ ยังถือว่ำยังมีคุณภำพ

    ************************************

  • ส่วนที่ 2 ยุทธศาสตร์การพัฒนา

    องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  • 16

    ส่วนที่ ส่วนที่ 22 ยุทธศาสตร์การพัฒนาองคก์รปกครองส่วนท้องถิ่นยุทธศาสตร์การพัฒนาองคก์รปกครองส่วนท้องถิ่น

    1. ความสัมพันธ์ระหว่างแผนพัฒนาระดับมหภาค 1.1 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

    โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 ก าหนดให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดท าแผนต่างๆให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว โดยให้เป็นไปตามที่ก าหนดในกฎหมายว่าด้วยการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ และต่อมาได้มีการตราพระราชบัญญัติการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2560 โดยก าหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อรับผิดชอบในการจัดท าร่างยุทธศาสตร์ชาติ ก าหนดวิธีการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดท าร่างยุทธศาสตร์ชาติ ในการติดตาม การตรวจสอบ และการประเมินผล รวมทั้งก าหนดมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนทุกภาคส่วนด าเนินการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ

    เพื่อให้เป็นไปตามที่ก าหนดในพระราชบัญญัติการจัดท า ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านต่างๆ รวม 6 คณะอันประกอบด้วย คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม คณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และคณะกรรมการจัดท ายุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อรับผิดชอบในการด าเนินการจัดท าร่างยุทธศาสตร์ชาติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ก าหนด ตลอดจนได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องอย่างกว้างขวางเพื่อประกอบการพิจารณาจัดท าร่างยุทธศาสตร์ชาติตามที่กฎหมายก าหนดแล้ว

    ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของประเทศไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งจะต้องน าไปสู่การปฏิบัติเพ่ือให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ภายในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อความสุขของคนไทยทุกคน

    สถานการณ์ แนวโน้ม วิสัยทศัน ์และเปา้หมายในการพฒันาประเทศ 1. บทน า การพัฒนาประเทศไทยนับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 เป็น

    ต้นมาได้ส่งผลให้ประเทศมีการพัฒนาในทุกมิติ ทั้งในด้านเศรษฐกิจที่ประเทศไทยได้รับการยกระดับเป็นประเทศในกลุ่มบนของกลุ่มประเทศระดับรายได้ปานกลาง ในด้านสังคมที่มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนส่งผลให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากการเป็นประเทศยากจน และในด้านสิ่งแวดล้อมที่ประเทศ

  • 17

    ไทยมีข้อได้เปรียบในความหลากหลายเชิงนิเวศ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีความท้าทายต่อการพัฒนาที่ส าคัญ อาทิ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2560 ที่ร้อยละ 3.9 ถือว่าอยู่ในระดับต่ ากว่าศักยภาพ เมื่อเทียบกับร้อยละ 6.0 ต่อปีในช่วงเวลาเกือบ 6 ทศวรรษที่ผ่านมา โดยมีสาเหตุหลักจากการชะลอตัวของการลงทุนภายในประเทศและสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่ยังไม่ฟื้นตัวได้เต็มที่โครงสร้างเศรษฐกิจไทยที่ยังไม่สามารถขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมได้อย่างเต็มประสิทธิภาพภาคบริการและภาคเกษตรมีผลิตภาพการผลิตในระดับต่ า ขาดการน าเทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ประกอบกับแรงงานไทยยังมีปัญหาเรื่องคุณภาพและสมรรถนะที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการในการขับเคลื่อนการพัฒนาของประเทศ

    นอกจากนั้น ศักยภาพและคุณภาพของประชากรไทยทุกช่วงวัยยังคงเป็นปัจจัยท้าทายส าคัญต่อการพัฒนาประเทศ แม้ว่าการเข้าถึงระบบบริการสาธารณะ การศึกษา บริการสาธารณสุข โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ และการคุ้มครองทางสังคมอื่น ๆ ของคนไทยมีความครอบคลุมเพิ่มมากขึ้น แต่ยังคงมีปัญหาเรื่องคุณภาพการให้บริการที่มีมาตรฐานแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ท าให้ประเทศไทยยังคงมีปัญหาความเหลื่อมล้ าในหลายมิติ ขณะที่ปัญหาด้านความยากจนยังคงเป็นประเด็นท้าทายในการยกระดับการพัฒนาประเทศให้ประชาชนมีรายได้สูงขึ้นและแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ าอย่างยั่งยืน ขณะเดียวกันการวางกลยุทธ์ระยะยาวในการฟื้นฟู การใช้ และการรักษาทรัพยากรอย่างบูรณาการเพื่อการพัฒนาประเทศที่ผ่านมายังขาดความชัดเจน ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศยังมีปัญหาการใช้อย่างสิ้นเปลืองและเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว

    ทั้งนี้ ปัญหาดังกล่าวข้างต้นมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาประเทศขาดความต่อเนื่องและความยืดหยุ่นในการตอบสนองต่อความต้องการและปัญหาของประชาชน ขณะที่ความมั่นคงภายในประเทศยังมีหลายประเด็นที่ต้องเสริมสร้างให้เกิดความเข้มแข็ง ลดความขัดแย้งทางความคิดและอุดมการณ์ที่มีรากฐานมาจากความเหลื่อมล้ า ความไม่เสมอภาค การขาดความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม และปัญหาการขาดเสถียรภาพทางการเมืองตลอดจนส่งเสริมคนในชาติให้ยึดมั่นสถาบันหลักเป็นศูนย์รวมจิตใจให้เกิดความรักและความสามัคคี

    ในขณะเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีสัดส่วนประชากรวัยแรงงานและวัยเด็กที่ลดลงและประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะเป็นปัจจัยเสี่ยงส าคัญที่จะท าให้การพัฒนาประเทศในมิติต่าง ๆ มีความท้าทายมากขึ้น ทั้งในส่วนของเสถียรภาพทางการเงินการคลังของประเทศในการจัดสวัสดิการเพื่อดูแลผู้สูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น การลงทุนและการออม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ความมั่นคงทางสังคม การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนซึ่งจะเป็นประเด็นท้าทายต่อการขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้ว

    2. ปัจจัยและแนวโน้มที่คาดวา่จะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ แม้ว่าประเทศไทยจะมีต าแหน่งที่ตั้งที่สามารถเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงในภูมิภาคและ

    เป็นประตูสู่เอเชีย แต่การที่มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศ ท าให้ปัญหาด้านเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้านยังคงเป็นความท้าทายด้านความมั่นคงในอนาคต นอกจากนี้ ประเทศไทยยังคงต้องให้

  • 18

    ความส าคัญกับปัญหาด้านความมั่นคงอื่น ๆ ที่มีความซับซ้อน ละเอียดอ่อน และมีความเช่ือมโยงกันหลายมิติ ที่อาจเป็นประเด็นท้าทายต่อการสร้างบรรยากาศความไว้วางใจระหว่างรัฐกับประชาชนและระหว่างประชาชนกับประชาชน ซึ่งรวมถึงการสร้างความสามัคคีของคนในชาติที่จะน าไปสู่การแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่มประชากรไทยที่มีแนวคิดและความเชื่อที่แตกต่างกันอย่างยั่งยืนนอกจากนี้ การขยายอิทธิพลและการเพิ่มบทบาทของประเทศมหาอ านาจ ที่อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบหลายขั้วอ านาจ หรือเกิดการย้ายขั้วอ านาจทางเศรษฐกิจ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต ขณะที่องค์กรที่ไม่ใช่รัฐ อาทิ องค์การระหว่างประเทศ และบรรษัทข้ามชาติ จะมีบทบาทมากขึ้นในการก าหนดกฎ ระเบียบ ทิศทางความสัมพันธ์และมาตรฐานสากลต่างๆ ทั้งในด้านความมั่นคง และเศรษฐกิจ รวมทั้งการรวมกลุ่มเศรษฐกิจและการเปิดเสรีในภูมิภาคที่น าไปสู่ความเชื่อมโยงในทุกระบบ อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงด้านอาชญากรรมข้ามชาติและเศรษฐกิจนอกระบบ รวมทั้งปัญหายาเสพติด การค้ามนุษย ์และการลักลอบเข้าเมือง

    ในทางกลับกัน ความเปลี่ยนแปลงจากโลกาภิวัตน์และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ ได้รับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดจะก่อให้เกิดนวัตกรรมอย่างพลิกผัน อาทิ เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ หุ่นยนต์และโดรน เทคโนโลยีพันธุกรรมสมัยใหม่ และเทคโนโลยีทางการเงิน ซึ่งตัวอย่างแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดดเหล่านี้ คาดว่าจะเป็นปัจจัยสนับสนุนหลักที่ช่วยท าให้เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มที่จะกลับมาขยายตัวได้เข้มแข็งขึ้น แนวโน้มส าคัญที่จ าเป็นต้องมีการติดตามอย่างใกล้ชิด อาทิการรวมกลุ่มทางการค้าและการลงทุนที่จะมีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น การแข่งขันที่คาดว่าจะรุนแรงขึ้นในการเพิ่มผลิตภาพและสร้างความหลากหลายของสินค้าและบริการที่ตอบโจทย์รูปแบบชีวิตใหม่ๆ

    นอกจากนั้น ประเทศไทยคาดว่าจะเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอดในปี ๒๕๗๔จะก่อให้เกิดโอกาสใหม่ๆ ในการตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคสูงอายุที่จะมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการคาดการณ์ว่าครอบครัวไทยจะมีขนาดเล็กลงและมีรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้นประชากรในประเทศไทยจะมีช่วงอายุที่แตกต่างกันและจะมีกลุ่มคนช่วงอายุใหม่ๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อทัศนคติและพฤติกรรมที่แตกต่างกัน ดังนั้น การเตรียมความพร้อมของประชากรให้มีคุณภาพและการน าเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการผลิตและการบริการของประเทศจะเป็นความท้าทายส าคัญในระยะต่อไป

    ในขณะเดียวกัน โครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาจท าให้เกิดความต้องการแรงงานต่างชาติเพิ่มมากขึ้นเพื่อทดแทนจ านวนแรงงานไทยที่ลดลง ซึ่งปัจจัยด้านการเปิดเสรีในภูมิภาคและความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งในภูมิภาคจะท าให้การเคลื่อนย้ายแรงงานและการย้ายถิ่นมีความสะดวกมากขึ้น และเป็นปัจจัยส าคัญที่จะท าให้เกิดการเคลื่อนย้ายประชากรเข้าออกประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มประชากรที่มีศักยภาพซึ่งมีแนวโน้มในการเคลื่อนย้ายไปเรียนหรือท างานในทั่วทุกมุมโลกสูงขึ้น ทั้งนี้ การย้ายถิ่นส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น จึงอาจจะเป็นไปได้ที่ประเทศไทยจะยังคงเป็นประเทศผู้รับของประชากรจากประเทศเพื่อนบ้านขณะที่ประชากรไทยโดยเฉพาะแรงงานทักษะอาจมีแรงจูงใจในการย้ายถิ่นไปยังประเทศที่มีระดับการพัฒนาที่ดีกว่า อาจท าให้การแย่งชิงแรงงานมีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งจะยิ่งท าให้เกิดความเสี่ยงต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคมไทย

  • 19

    นอกจากนี ้ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคาดว่าจะมีความรุนแรงมากขึ้นทั้งในเชิงความผันผวน ความถี่ และขอบเขตที่กว้างขวางมากขึ้น ซึ่งจะสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่จ าเป็น ตลอดจนระบบผลิตทางการเกษตรที่สัมพันธ์ต่อเนื่องกับความมั่นคงด้านอาหารและน้ า ขณะที่ระบบนิเวศต่างๆ มีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างสูงในการสูญเสียความสามารถในการรองรับความต้องการของมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างไรก็ดี ระดับความรุนแรงของผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศต่าง ๆ ดังกล่าวที่แต่ละประเทศจะต้องเผชิญจะมีความแตกต่างกัน ท าให้การเป็นสังคมสีเขียวการรักษาและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างบูรณาการจะได้รับความส าคัญและความสนใจจากนานาประเทศรวมทั้งประเทศไทยเพิ่มมากขึ้น พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกรวมถึงการสร้างสมดุลความมั่นคงด้านพลังงานและอาหารมีแนวโน้มที่จะมีความส าคัญเพิ่มมากขึ้นกฎระเบียบและข้อตกลงด้านสิ่งแวดล้อมจะมีความเข้มข้นและเข้มงวดขึ้น โดยกรอบการพัฒนาตามข้อตกลงระหว่างประเทศต่างๆ ที่ส าคัญ เช่น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และบันทึกความตกลงปารีสจะได้รับการน าไปปฏิบัติอย่างจริงจังมากยิ่งขึ้น

    แนวโน้มเหล่านี้จะก่อให้เกิดความท้าทายต่อการพัฒนาประเทศในหลายมิติ ทั้งในส่วนของการจ้างงานและอาชีพ สาขาการผลิตและบริการใหม่ๆ ความมั่นคงของประเทศอันเกิดจากภัยคุกคามและความเสี่ยงด้านอื่นๆ ที่ซับซ้อนขึ้น อาชญากรรมไซเบอร์ รูปแบบการก่อสงครามที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเ�