486
กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่งอ่าวไทย โทรศัพท์ : ๐-๗๗๒๘-๕๔๖๐ E-mail : [email protected] 17 ธันวาคม ๒๕๖กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่งอ่าวไทย (ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา) แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่งอ่าวไทย (พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๕๖๕) ฉบับทบทวน

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ ...แผนพ ฒนากล มจ งหว ดภาคใต ฝ งอ าวไทย พ.ศ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย โทรศัพท์ : ๐-๗๗๒๘-๕๔๖๐ E-mail : [email protected]

    17 ธันวาคม ๒๕๖๑

    กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา)

    แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ังอ่าวไทย (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕)

    ฉบับทบทวน

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑

    ค ำน ำ

    การทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕) ฉบับทบทวนฉบับนี้จัดท าขึ้นเพ่ือน าเสนอผลการทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ฉบับเดิม ซึ่งการปรับปรุงที่ส าคัญ ได้แก่ การปรับปรุงข้อมูลพ้ืนฐาน ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มจังหวัดให้มีความทันสมัยเป็นปัจจุบัน การวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนพัฒนาฯ กับ แผนยุทธศาสตร์เชิงพ้ืนที่ระดับต่างๆ เช่น ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ทิศทางการพัฒนา และแผนพัฒนาภาคใต้ และท าการทบทวนโดยยึดแนวทางการจัดท าแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ตามนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธิการจัดท าแผนต่างๆ ภายใต้คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค ( ก.บ.ภ.) ก าหนด ซึ่งการปรับปรุงดังกล่าวได้ผ่านการพิจารณาจากที่ประชุมประชาคมของกลุ่มจังหวัด ที่ได้ร่วมกันพิจารณาทบทวนประเด็นต่าง ๆ เรียบร้อยแล้ว และคณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยได้พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๒

    สำรบัญ หน้า ส่วนที่ ๑ ข้อมูลเพื่อกำรพัฒนำ

    ๑.๑ สภาพทั่วไปและสถานการณ์การพัฒนากลุ่มจังหวัด ๑) ความเป็นมา ๕

    ๒) ลักษณะทางกายภาพ ๕ ๓) การปกครอง ประชากร ๘ ๔) ข้อมูลเศรษฐกิจ ๙ ๕) ลักษณะทางสังคม ๑๗ ๖) โครงสร้างพื้นฐาน ๑๘ ๗) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒๑ ๘) ข้อมูลสถิติที่ส าคัญเชิงพ้ืนที่ ๒๗ ๙) วิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ๒๘

    ๑.๒ ประเด็นปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ ๕๖ ๑.๓ ผลการพัฒนาและแก้ไขปัญหากลุ่มจังหวัดในช่วงที่ผ่านมา ๖๑ ๑) ผลการด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดปี พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐

    ส่วนที่ ๒ ประเด็นกำรพัฒนำ ๒.๑ บทวิเคราะห ์

    ๑) นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ ๘๒ ๒) การวิเคราะห์ความต้องการและศักยภาพ ๙๖ ๓) สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจโลกท่ีมีผลกระทบต่อประเทศไทย และในการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ๑๐๔ ๔) SWOT Analysis ๑๐๙ ๒.๒ เป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด ๑) เป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ๑๓๕ ๒) ต าแหน่งจุดยืนทางยุทธศาสตร์(positioning) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ๑๓๖ ๒.๓ ตัวชีว้ัดความส าเร็จตามเป้าหมายการพัฒนากลุ่มจังหวัด ๑๔๑

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๓

    สำรบัญ (ต่อ) หน้า ๒.๔ ประเด็นการพัฒนาของกลุ่มจังหวัด ๑) ประเด็นการพัฒนา วัตถุประสงค์ ๑๔๐ ๒) ตัวชี้วัดและแนวทางการพัฒนา ๑๔๑ ๓) ความเชื่อมโยงของนโยบายของรัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ ๒๐ ปี แผนเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ กับ แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔ ๑๔๔ ๔) แผนงานโครงการอย่างย่อ (Project Idea) ๑๘๒ ส่วนที่ ๓ แบบ จ.๑/กจ.๑ ๔๕๕ ภาคผนวก ก รายการตรวจสอบการด าเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัด ๕๗๗ และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ภาคผนวก ข สรุปผลการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ๕๗๘ ภาคผนวก ค ภาพถ่ายกิจกรรม ๕๘๕

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๔

    ส่วนที่ ๑

    ข้อมูลเพื่อกำรพัฒนำ

    สภาพทั่วไปและสถานการณ์การพัฒนากลุ่มจังหวัด ประเด็นปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที ่ ผลการพัฒนาด าเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด

    ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๐

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๕

    ๑.๑ สภำพทั่วไปและสถำนกำรณ์พัฒนำกลุ่มจังหวัด ๑) ควำมเป็นมำ

    กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (East Coast Southern Sub region ) ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก ของภาคใต้ฝั่งทะเลอ่าวไทย ประกอบด้วยจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา ท าเลที่ตั้ง มีความเก่ียวข้องกับศูนย์กลางของความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรโบราณในอดีตของคาบสมุทรมลายู คือ อาณาจักรตามพรลงิค์ และอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งมีความส าคัญเป็นเสน้ทางการเชื่อมโยงทางการค้า และการเผยแผ่ศาสนาจากอินเดีย อาหรับ เปอร์เซีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของความเจริญรุ่งเรืองในอดีตมากมาย ได้แก่ โบราณสถานเขาคา โบราณสถานโมคลาน และ วัดพระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช วัดพระบรมธาตุไชยา อ าเภอไชยา แหล่งโบราณคดี เขาศรีวิชัย อ าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี วัดเขียน จังหวัดพัทลุง สุสานสุลต่านสลัยมานชาห์ ต าบลหัวเขา อ าเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เมืองโบราณสถาน สทิงพระ อ าเภอสทิงพระ ซากสถูปบนเขาน้อย อ าเภอ สทิงพระ และวัดพะโค๊ะ อ าเภอสทิงพระ เป็นต้น ส่งผลให้มีการสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมประจ าท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดมาจนถึงปัจจบุัน ได้แก่ จังหวัดชุมพร เช่น ประเพณีงานเทิดพระเกียรติเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และงานกาชาด งานประเพณีแห่พระแข่งเรือ งานเปิดโลกทะเลชุมพร งานแข่งขันเรือยาวขึ้นโขนชิงธง ชิงถ้วยพระราชทานคลองในหลวง (หัววัง –พนังตัก) งานวันผลไม้หลังสวน ลอ่งแพอ าเภอ พะโต๊ะ งานสง่เสริมประเพณีขึ้นเบญจา งานขึ้นถ้ ารบัร่อ จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี เช่น ประเพณชีักพระหรือลากพระ กีฬาชนควายงานวันเงาะโรงเรียน จังหวัดนครศรีธรรมรำช เช่น ประเพณีสารทเดือนสิบ แห่ผา้ขึ้นธาตุ ลากพระ จงัหวัดพัทลุง เช่น งานประเพณีแข่งโพนลากพระ (ชักพระ) การละเล่นซัดต้ม ประเพณีชิงเปรต งานวนัอนุรักษ์มรดกไทย และงานมหกรรมชิงแชมป์หนงัตะลุงและโนรานาฏศิลป์เมืองใต้ จังหวัดสงขลำ เช่น ประเพณีลากพระจังหวัดสงขลา ตักบาตรเทโว ตักบาตรเดือนสิบ เทศกาลโคมไฟ ไหว้พระจันทร์ เป็นต้น

    ๒) ลักษณะทำงกำยภำพ ๒.๑) อำณำเขต

    กลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทยมีอำณำเขตติดต่อกับกลุ่มจังหวัด ๓ กลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ดังนี้

    ด้ำนทิศเหนือ ติดต่อกับกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่างที่อ าเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

    ด้ำนทิศตะวันออก ติดต่อกับทะเลอ่าวไทย ด้ำนทิศตะวันตก ติดต่อกับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ตั้งแต่อ าเภอกระบุรี

    http://www.hoteldirect.in.th/เทศกาล/สุราษฎร์ธานี/ประเพณีชักพระหรือลากพระ.htmlhttp://www.hoteldirect.in.th/เทศกาล/สุราษฎร์ธานี/ประเพณีชักพระหรือลากพระ.htmlhttp://www.hoteldirect.in.th/เทศกาล/สุราษฎร์ธานี/กีฬาชนควาย.htmlhttp://www.hoteldirect.in.th/เทศกาล/สุราษฎร์ธานี/กีฬาชนควาย.html

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๖

    จังหวัดระนอง ถึงอ าเภอควนโดน จังหวัดสตูล และติดกับเขตตะนาวศรี (Tanintharyi) สาธารณรัฐแห่ง สหภาพเมียนมา ที่อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

    ด้ำนทิศใต้ ติดต่อกับกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนที่อ าเภอหนองจิก และอ าเภอโคกโพธิ์ จั งหวัดปัตตานี อ าเภอยะหา และอ าเภอกาบั ง จังหวัดยะลา และ บูกิตกายู- ฮีตัม รัฐเคดะห์ ประเทศมาเลเซียและ เมืองปาดังเบซาร์ รัฐปะลิศประเทศมาเลเซีย ที่อ าเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

    ๒.๒) ลักษณะภูมิประเทศ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีพ้ืนที่รวมมากที่สุดของภาคใต้ คือ ๓๙,๖๖๒,๗๑๓ ตารางกิโลเมตร หรือ ๒๔,๗๘๕,๕๓๙ ไร่ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ ๕๖.๐๙ ของพ้ืนที่ภาคใต้ โดยจังหวัด สุราษฎร์ธานี มีพ้ืนที่มากที่สุด คือ ๑๒,๘๙๑,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร หรือ ๘.๐๖ ล้านไร่ รองลงมาคือ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา ชุมพร และพัทลุง ตามล าดับ จ าแนกเป็นรายจังหวัดได้ ดังนี้ ตำรำงที่ ๑ : พื้นที่กลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทย

    ที่มา : ศูนย์สารสนเทศเพ่ือการบริหารและงานปกครอง , กรมการปกครอง , กระทรวงมหาดไทย กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบชายทะเล และพ้ืนที่เชิงเขาตอนกลางของคาบสมุทร ได้แก่ เทือกเขานครศรีธรรมราช เทือกเขาตะนาวศรี และเทือกเขาภูเก็ต โดยมีชายฝั่งทะเล ยาวประมาณ ๘๑๗ กิโลเมตร บางส่วนเป็นพ้ืนที่ชุ่มน้ าส าคัญของประเทศ ได้แก่ ทะเลน้อย ทะเลสาบสงขลา จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา ป่าชายเลนทุ่งคา- สวี จังหวัดชุมพร หมู่เกาะอ่างทอง

    จังหวัด พื้นที่ อันดับระดับภำค

    (ภำคใต้) อันดับระดับกลุ่มจังหวัด ตำรำงกิโลเมตร ไร ่

    ชมุพร ๖,๐๑๐,๘๔๙ ๓,๗๕๐,๐๐๐ ๔ ๔

    สุราษฎร์ธานี ๑๒,๘๙๑,๐๐๐ ๘,๐๖๐,๐๐๐ ๑ ๑

    นครศรีธรรมราช ๙,๙๔๒,๕๐๒ ๖,๒๑๔,๐๖๔ ๒ ๒

    พัทลุง ๓,๔๒๔,๔๗๓ ๒,๑๔๐,๒๙๕ ๑๐ ๕ สงขลา ๗,๓๙๓,๘๘๙ ๔,๖๒๑,๑๘๐ ๓ ๓

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๗

    และในบางคลองร้อยสาย จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งพ้ืนที่เหล่านี้นอกจากจะมีคุณค่าในเชิงนิเวศน์แล้ว ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ท่ีส าคัญของกลุ่มจังหวัดอีกด้วย

    ๒.๓) สภำพภูมิอำกำศ พ้ืนที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่าน

    อ่าวไทย และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากคาบสมุทรอินเดีย ภูมิประเทศโดยรวมจึงเป็นแบบร้อนชื้น มีฝนตกยาวนานระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึง มกราคมของทุกปี จ าแนกฤดูกาลได้ ๒ ฤดู ดังนี้

    ฤดูร้อน ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน มีอากาศร้อนตลอดฤดู อุณหภูมิเฉลี่ย ประมาณ ๒๘ องศาเซลเซียส

    ฤดูฝน ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนมกราคม โดยในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีฝนตกปาน กลางส่วนฝนตกหนักจะเกิดในช่วงที่ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออก เฉียงเหนือประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม

    ๒.๔) แหล่งน้ ำส ำคัญ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีลุ่มน้ าส าคัญ ดังนี้

    ลุ่ มน้ ำตำปี ครอบคลุ ม พ้ืนที่ ๕ จั งหวั ด คื อ จั งหวั ดสุ ร าษฎร์ ธานี นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา และระนอง โดยพ้ืนที่ส่วนใหญ่ของลุ่มน้ าอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีพ้ืนที่ทั้งหมด ๑๓,๔๕๔ ตารางกิโลเมตร ลุ่มน้ าตาปีมีปริมาณน้ าท่าตามธรรมชาติในลุ่มน้ ามากเพียงพอกับความต้องการใช้น้ าในกิจกรรมต่าง ๆ ในพ้ืนที่ลุ่มน้ าทั้งในสภาพปัจจุบันและสภาพในอนาคตเมื่อมีการพัฒนาพ้ืนที่ชลประทานจนเต็มศักยภาพของพ้ืนที่ และยังมีปริมาตรความจุเก็บกักมากเพียงพอกับปริมาณความต้องการใช้น้ าทั้งลุ่ มน้ า แต่เนื่องจากปริมาตรความจุใช้งานส่วนใหญ่เป็นปริมาตรความจุของเขื่อนรัชชประภา ซึ่งอยู่ในลุ่มน้ าย่อยคลองพระแสงเป็นล าน้ าสาขาของแม่น้ าพุมดวงและไหลมาบรรจบกับแม่น้ าตาปีบริเวณอ าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นตอนล่างของแม่น้ าตาปี จึงไม่สามารถใช้ประโยชน์จากความจุใช้งานนี้กับพ้ืนที่ลุ่มน้ าตาปีที่อยู่เหนือจุดบรรจบขึ้นมาได้ ส่งผลให้ยังคงเกิดปัญหาการขาดแคลนน้ าในบางพ้ืนที่ที่ระบบเก็บกักน้ าและระบบกระจายน้ าส่งไปไม่ทั่วถึง แต่สภาพปัญหาไม่รุนแรงมากนัก เนื่องจากปริมาณฝนที่ตกชุกในพ้ืนที่ลุ่มน้ า

    ลุ่มน้ ำทะเลสำบสงขลำ ตั้งอยู่บนชายฝั่งด้านตะวันออกของภาคใต้ มีเนื้อที่ ๙,๘๐๗ ตารางกิโลเมตร (๖,๑๒๙,๓๗๕ไร่) แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นพ้ืนดินมีเนื้อที่ประมาณ ๘,๗๖๑ ตารางกิโลเมตร และส่วนที่เป็นพ้ืนน้ า มีพ้ืนที่ประมาณ ๑,๐๔๖ ตารางกิโลเมตร มีความกว้างจากทิศตะวันตก ไปทิศตะวันออกประมาณ ๒๐ กิโลเมตร ส่วนความยาวจากทิศเหนือไปทิศใต้ประมาณ ๗๕ กิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนที่ ๓ จังหวัด ได้แก ่จังหวัดสงขลา จังหวัดพัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๘

    ลุ่มน้ ำปำกพนัง ต้นน้ าเกิดจากเทือกเขาบรรทัด ในเขตต าบลวัง อ่าง อ าเภอชะอวด ไหลผ่านอ าเภอชะอวด อ าเภอเชียรใหญ่ และมีสาขาจากอ าเภอหัวไทรไหลมารวมกันที่บ้านปากแพรก กลายเป็นแม่น้ าปากพนังไหลลงสู่อ่าวนครศรีธรรมราช นับเป็นแม่น้ าที่ส าคัญทางเศรษฐกิจของจังหวัดมาก โดยเฉพาะทางการเกษตรกรรมบริ เวณลุ่มน้ าปากพนังและสาขาเป็นบริ เวณพ้ืนที่ ราบ มี พ้ืนที่นา กว่า ๕๐๐,๐๐๐ ไร่ มีโครงการพัฒนาพ้ืนที่ลุ่มน้ าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชด าริ ด าเนินการโดย กรมชลประทาน และแม่น้ าปากพนังเป็นที่ตั้งของท่าเทียบเรือประมงจังหวัดนครศรีธรรมราช และตลาดกลางกุ้งกุลาด านครศรีธรรมราช

    แม่น้ ำชุมพร เกิดจากเทือกเขาในต าบลปากจั่น อ าเภอกระบุรี จังหวัดระนอง ไหลไปทางตะวันออกถึงบ้านดอนสมอ แล้วไหลผ่านต าบลวังไผ่บ้านขุนกระทิง ต าบลตากแดด อ าเภอเมืองชุมพร ไหลออกทะเลบริเวณตอนเหนือของอ่าวสวีที่ต าบลทุ่งคาอ าเภอเมืองชุมพรมีความยาว ๕๐ กิโลเมตร มีน้ าตลอดทั้งปี สภาพทางภูมิศาสตร์ของภาคใต้ไม่มีลักษณะพ้ืนที่ราบลุ่มน้ าขนาดใหญ่ที่ชัดเจน แหล่งน้ า ตามธรรมชาติของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยจึงมาจากแม่น้ า ล าคลอง ซึ่งสภาพพ้ืนที่เป็นเพียงลุ่มน้ าแคบ ๆ แม่น้ าและคลองในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยจึงเป็นแม่น้ าสายสั้น อัตราการไหลค่อนข้างแรง และมีการตกตะกอนในล าน้ าน้อย แม่น้ าจะไหลลงสู่ชายฝั่งทะเลอ่าวไทย โดยกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีล าน้ าสายที่ส าคัญ ได้แก่ คลองท่าตะเภา คลองหลังสวน คลองกลาย คลองจันดี แม่น้ าตาปี คลองสินปุน คลองอิปัน คลองสก คลองแสง และคลองพุมดวง

    ๓) กำรปกครอง/ประชำกร ๓.๑) กำรปกครอง

    กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีอาณาเขตการปกครองครอบคลุม ๕ จังหวัด ประกอบด้วย ๗๗ อ าเภอ ๕๖๒ ต าบล ๕,๐๔๖ หมู่บ้าน และ ๖๒๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดังนี้ ตำรำงท่ี ๒ : เขตกำรปกครอง

    จังหวัด อ ำเภอ ต ำบล หมู่บ้ำน อบจ. เทศบำล อบต. ชุมพร ๘ ๗๐ ๗๓๖ ๑ ๒๕ ๕๓ สุราษฎร์ธาน ี ๑๙ ๑๓๑ ๑,๐๖๖ ๑ ๓๒ ๑๐๕ นครศรีธรรมราช ๒๓ ๑๖๙ ๑,๕๕๑ ๑ ๓๐ ๑๕๗ พัทลุง ๑๑ ๖๕ ๖๗๐ ๑ ๔๓ ๓๐ สงขลา ๑๖ ๑๒๗ ๑,๐๒๓ ๑ ๔๘ ๙๒

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๙

    จังหวัด อ ำเภอ ต ำบล หมู่บ้ำน อบจ. เทศบำล อบต.

    รวมทั้งหมด ๗๗ ๕๖๒ ๕,๐๔๖ ๕ ๑๗๘ ๔๓๗ ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

    ๓.๒) ประชำกร กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีประชากรในปี พ.ศ.๒๕๖๐ จ านวน ๕.๐๗ ล้านคน

    คิดเป็นร้อยละ ๗.๖๗ ของประเทศและร้อยละ ๕๓.๙๘ ของภาคใต้ โดยจังหวัดนครศรีธรรมราช มีประชากรมากที่สุด ๑.๕๕ ล้านคน รองลงมา คือจังหวัดสงขลา ๑.๔๒ ล้านคน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๑.๐๕ ล้านคน จังหวัดพัทลุง ๐.๕๒ ล้านคน และจังหวัดชุมพร จ านวน ๐.๕๑ ล้านคน

    ตำรำงที่ ๓ : จ ำนวนประชำกรของกลุ่มจังหวัดเปรียบเทียบกับภำคใต้ และประเทศ (หน่วย : คน)

    จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ.

    ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

    ประเทศ ๖๔,๗๘๕,๙๐๙ ๖๕,๑๒๔,๗๑๖ ๖๕,๗๒๙,๐๙๘ ๖๕,๙๓๑,๕๕๐ ๖๖,๑๘๘,๕๐๓

    ภำคใต้ ๙,๑๓๑,๔๒๕ ๙,๒๐๘,๕๐๔ ๙,๒๙๐,๗๐๘ ๙,๓๔๑,๑๖๒ ๙,๓๙๙,๕๗๘

    กลุ่มภำคใต้ฝ่ังอ่ำวไทย ๔,๙๗๙,๘๖๐ ๕,๐๑๐,๕๕๕ ๕,๐๓๘,๔๓๒ ๕,๐๕๔,๑๑๒ ๕,๐๗๓,๘๐๐

    (คิดเป็นร้อยละของประเทศ) ๗.๖๙ ๗.๖๙ ๗.๖๗ ๗.๖๗ ๗.๖๗

    (คิดเป็นร้อยละของภำคใต้) ๕๔.๕๔ ๕๔.๔๑ ๕๔.๒๓ ๕๔.๑๑ ๕๓.๙๘

    (ร้อยละที่เพ่ิมขึ้น/ลดลง) ๐.๖๗ ๐.๖๑ ๐.๕๕ ๐.๓๑ ๐.๓๙

    ชุมพร ๔๙๘,๒๙๔ ๕๐๐,๕๗๕ ๕๐๕,๘๓๐ ๕๐๗,๖๐๔ ๕๐๙,๖๕๐

    สุราษฎร์ธาน ี ๑,๐๓๑,๘๑๒ ๑,๐๔๐,๒๓๐ ๑,๐๔๖,๗๗๒ ๑,๐๕๐,๙๑๓ ๑,๐๕๗,๕๘๑

    นครศรีธรรมราช ๑,๕๔๑,๘๔๓ ๑,๕๔๘,๐๒๘ ๑,๕๕๒,๕๓๐ ๑,๕๕๔,๔๓๒ ๑,๕๕๗,๔๘๒

    พัทลุง ๕๑๘,๐๒๑ ๕๒๐,๔๑๙ ๕๒๒,๗๒๓ ๕๒๓,๗๒๓ ๕๒๔,๘๕๗

    สงขลา ๑,๓๘๙,๘๙๐ ๑,๔๐๑,๓๐๓ ๑,๔๑๐,๕๗๗ ๑,๔๑๗,๔๔๐ ๑,๔๒๔,๒๓๐

    กลุม่ภำคใต้ฝ่ังอันดำมนั ๒,๒๐๐,๔๔๔ ๒,๒๒๕,๐๕๓ ๒,๒๕๗,๐๓๒ ๒,๒๗๔,๑๒๙ ๒,๒๙๒,๔๔๘

    กลุ่มภำคใต้ชำยแดน ๑,๙๕๑,๑๒๑ ๑,๙๗๒,๘๙๖ ๑,๙๙๕,๒๔๔ ๒,๐๑๒,๙๒๑ ๒,๐๓๓,๓๓๐

    ๔) ข้อมูลเศรษฐกิจ ๔.๑) เศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทยมีขนำดใหญ่ที่สุดในภำคใต้ โดยในปี ๒๕๕๙ มีผลิตภัณฑ์มวลรวม ณ ราคาประจ าปี จ านวน ๗๑๐,๕๗๑ ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๗ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคใต้ กลุ่มจังหวัดที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมรองลงมา ได้แก่ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน และ

    ที่มา : ส านักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๐

    กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวม ๔๗๑,๑๑๐ ล้านบาท และ ๑๔๐,๓๕๘ ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ ๓๕.๖ และ ๑๐.๖ ตามล าดับ ด้านอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ในปี ๒๕๕๙ มีอัตราการขยายตัวร้อยละ ๑.๙๓ ซึ่งชะลอตัวลงจากปี ๒๕๕๘ ที่มีอัตราการขยายตัวร้อยละ ๓.๑๖ ซ่ึงต่ ากวา่ระดับภาค และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ที่ร้อยละ ๓.๖๘ ๖.๔๒ และ ๓.๙๗ ตามล าดับ โดยจังหวัดที่มีอัตราการขยายตัวสูงสุด ได้แก่ จังหวัดชุมพร ขยายตัวร้อยละ ๖.๙๐ รองลงมาคือ จังหวัดพัทลุง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา คือ ร้อยละ ๕.๖๑ ๒.๔๒ ๑.๗๘ และ ๐.๑๐ ตามล าดับ

    ตำรำงท่ี ๔ : ผลิตภัณฑ์ภำคและจังหวัด ณ รำคำประจ ำปี (จ ำแนกรำยจังหวัด) (หน่วย : ล้านบาท) ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙

    ภำคใต้ ๘๗๕,๙๗๐ ๑,๐๖๙,๐๖๗ ๑,๑๘๕,๒๔๘ ๑,๑๖๓,๓๕๘ ๑,๑๗๔,๐๒๒ ๑,๑๕๔,๐๐๘ ๑,๒๑๔,๔๑๒ ๑,๓๒๒,๐๔๐

    กลุ่มจังหวัดภำคใต้ ฝั่งอ่ำวไทย

    ๔๙๒,๑๖๒ ๖๐๒,๗๙๗ ๖๕๕,๐๓๓ ๖๕๒,๖๘๙ ๖๖๘,๓๕๘ ๖๓๘,๔๖๒ ๖๖๔,๓๖๒ ๗๑๐,๕๗๑

    ชุมพร ๕๖,๔๖๔ ๖๒,๘๒๘ ๖๗,๐๖๖ ๖๖,๕๕๗ ๖๙,๔๕๖ ๖๙,๒๙๔ ๗๑,๒๔๓ ๘๒,๒๕๐

    สุราษฎร์ธาน ี ๑๒๒,๑๑๐ ๑๕๓,๖๕๐ ๑๗๖,๘๕๒ ๑๗๗,๗๗๐ ๑๘๐,๖๙๕ ๑๗๐,๑๓๖ ๑๘๔,๐๗๑ ๒๐๐,๙๙๗

    นครศรธีรรมราช ๑๑๘,๖๘๑ ๑๔๙,๒๓๙ ๑๔๘,๖๓๕ ๑๔๗,๖๑๗ ๑๔๙,๒๒๘ ๑๔๑,๕๐๙ ๑๔๐,๗๕๘ ๑๕๐,๕๑๕

    พัทลุง ๒๗,๙๖๙ ๓๓,๙๑๙ ๓๘,๓๕๐ ๓๖,๑๘๕ ๓๔,๗๖๗ ๓๒,๙๐๒ ๓๑,๔๔๒ ๓๕,๑๐๘

    สงขลา ๑๖๖,๙๓๘ ๒๐๓,๑๖๑ ๒๒๔,๑๓๑ ๒๒๔,๕๖๑ ๒๓๔,๒๑๔ ๒๒๔,๖๒๒ ๒๓๖,๘๔๙ ๒๔๑,๗๐๑

    กลุ่มจังหวัดภำคใต้ ฝั่งอันดำมัน

    ๒๗๒,๒๓๓ ๓๒๐,๖๕๖ ๓๖๖,๕๔๔ ๓๖๙,๒๓๗ ๓๗๓,๙๕๔ ๓๘๗,๒๔๒ ๔๒๑,๒๙๖ ๔๗๑,๑๑๐

    กลุ่มจังหวัดภำคใต้ชำยแดน

    ๑๑๑,๕๗๕ ๑๔๕,๖๑๔ ๑๖๓,๖๗๑ ๑๔๑,๔๓๒ ๑๓๑,๗๐๙ ๑๒๘,๓๐๔ ๑๒๘,๗๕๕ ๑๔๐,๓๕๘

    ทีม่า: ส านักบัญชีประชาชาติ สศช. ประมวลโดย: ส านักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้

    ตำรำงท่ี ๕ : ผลิตภัณฑ์ภำคและจังหวัด ณ รำคำคงท่ี (จ ำแนกรำยจังหวัด) (หน่วย : ล้านบาท) ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ประเทศ ๗,๖๕๗,๐๘๘ ๘,๒๓๒,๓๙๔ ๘,๓๐๑,๕๕๙ ๘,๙๐๒,๘๒๓ ๙,๑๔๒,๐๗๕ ๙,๒๓๒,๐๘๕ ๙,๕๑๐,๙๐๗ ๙,๘๒๓,๑๒๑

    ภำคใต ้ ๖๕๕,๐๒๕ ๖๘๙,๙๑๑ ๖๙๖,๖๐๐ ๗๒๖,๐๘๔ ๗๕๔,๗๑๙ ๗๕๕,๗๗๐ ๗๘๕,๗๔๗ ๘๑๔,๖๖๒

    กลุ่มจังหวัดภำคใต ้ ฝ่ังอ่ำวไทย

    ๓๖๑,๒๗๙ ๓๘๓,๙๙๑ ๓๗๘,๔๐๖ ๔๐๑,๖๓๑ ๔๒๔,๕๕๗ ๔๑๔,๕๓๓ ๔๒๗,๖๒๐ ๔๓๕,๘๗๖

    ชุมพร ๓๙,๒๔๗ ๓๗,๔๗๐ ๓๕,๗๗๗ ๓๖,๘๘๘ ๔๐,๔๓๐ ๓๙,๙๙๒ ๓๘,๔๐๓ ๔๑,๐๕๕

    สุราษฎร์ธาน ี ๘๖,๖๒๒ ๙๑,๗๑๔ ๙๔,๘๓๐ ๑๐๔,๕๘๖ ๑๑๓,๐๕๙ ๑๑๐,๔๗๔ ๑๑๗,๔๒๒ ๑๒๐,๒๖๖

    นครศรีธรรมราช ๘๖,๒๕๑ ๙๔,๘๘๓ ๘๖,๗๐๐ ๙๐,๖๒๔ ๙๓,๒๔๒ ๙๐,๗๓๕ ๘๙,๕๒๙ ๙๑,๑๒๖

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๑

    ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ พัทลุง ๑๗,๕๔๙ ๑๗,๔๖๒ ๑๗,๖๒๘ ๑๘,๕๔๘ ๑๘,๑๗๘ ๑๘,๔๑๕ ๑๗,๗๖๕ ๑๘,๗๖๒

    สงขลา ๑๓๑,๖๑๐ ๑๔๒,๔๖๓ ๑๔๓,๔๗๒ ๑๕๐,๙๘๔ ๑๕๙,๖๔๙ ๑๕๔,๙๑๗ ๑๖๔,๕๐๐ ๑๖๔,๖๖๘

    กลุ่มจังหวัดภำคใต ้ ฝ่ังอันดำมัน

    ๒๑๓,๕๖๙ ๒๒๒,๗๘๑ ๒๓๕,๔๕๕ ๒๕๐,๘๙๗ ๒๖๒,๐๗๘ ๒๗๒,๘๙๖ ๒๙๑,๕๙๕ ๓๑๐,๓๓๐

    กลุ่มจังหวัดภำคใต้ชำยแดน

    ๘๑,๒๐๓ ๘๕,๕๑๙ ๘๖,๕๕๕ ๘๒,๗๑๔ ๗๙,๙๒๐ ๘๐,๑๔๘ ๘๐,๙๕๙ ๘๔,๑๗๖

    ที่มา: ส านักบัญชีประชาชาติ สศช. ประมวลโดย: ส านักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคใต้

    ตำรำงท่ี ๖ : โครงสร้ำงผลิตภัณฑ์ภำคและอัตรำกำรขยำยตัว (ร้อยละ)

    ภำค/ กลุ่มจังหวัด / จังหวัด โครงสร้ำงผลิตภัณฑ์ภำค

    ณ รำคำประจ ำปี อัตรำกำรขยำยตัว

    ณ รำคำคงท่ี ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙

    ภำคใต้ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๓.๙๗ ๓.๖๘ กลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝ่ังอ่ำวไทย ๕๔.๗๐ ๕๓.๗๐ ๓.๑๖ ๑.๙๓ ชุมพร ๕.๙๐ ๖.๒๐ -๓.๙๗ ๖.๙๐ สุราษฎร์ธาน ี ๑๕.๒๐ ๑๕.๒๐ ๖.๒๙ ๒.๔๒ นครศรีธรรมราช ๑๑.๖๐ ๑๑.๔๐ -๑.๓๓ ๑.๗๘ พัทลุง ๒.๖๐ ๒.๗๐ -๓.๕๓ ๕.๖๑ สงขลา ๑๙.๕๐ ๑๘.๓๐ ๖.๑๙ ๐.๑๐ กลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝ่ังอันดำมัน ๓๔.๗๐ ๓๕.๖๐ ๖.๘๕ ๖.๔๒ กลุ่มจังหวัดภำคใต้ชำยแดน ๑๐.๖๐ ๑๐.๖๐ ๑.๐๑ ๓.๙๗

    ๔.๒) ผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจั งหวัดภำคใต้ฝั่ ง อ่ำวไทยเฉลี่ ยต่อหัว (GRP Per Capita)

    มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แต่ยังคงต่ ำกว่ำระดับภำคและประเทศ โดยในปี ๒๕๕๙ ผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยเฉลี่ยต่อหัว มีค่าเฉลี่ย ๑๓๙,๐๙๗ บาท เพ่ิมขึ้นจากปี ๒๕๕๘ ที่มีค่าเฉลี่ย ๑๓๐,๙๔๓ บาท ซึ่งต่ ากว่าระดับภาค และระดับประเทศ ที่มีค่าเฉลี่ย ๑๔๓,๕๔๔ ๒๑๕,๔๕๕ บาท ตามล าดับ และต่ ากว่ากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ที่มีค่าเฉลี่ย ๒๐๑,๓๘๔ บาท แต่สูงกว่ากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดนที่มีค่าเฉลี่ย ๗๙,๖๕๑ บาท โดยจังหวัดในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยที่มีค่าเฉลี่ยต่อหัวสูงที่สุด คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีค่าเฉลี่ยต่อหัว ๑๙๑,๙๒๗ บาท ซึ่งสูงเป็นอันดับ ๔ ของภาคใต้ (รองจากจังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา และจังหวัดกระบี่ ที่มีค่าเฉลี่ยต่อหัว ๓๕๗,๔๙๘ บาท และ ๒๓๗,๙๗๑ ๒๓๔,๔๓๖ บาท ตามล าดับ) รองลงมา คือ จังหวัดชุมพร มีค่าเฉลี่ย ๑๖๘,๔๖๐ บาท จังหวัดสงขลา มีค่าเฉลี่ย ๑๕๗,๐๒๙ บาท จังหวัด

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๒

    นครศรีธรรมราช มีค่าเฉลี่ย ๙๘,๖๒๗ บาท และจังหวัดในกลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยต่ าสุด คือ จังหวัดพัทลุง มีค่าเฉลี่ย ๖๙,๑๕๙ บาทต่อหัว

    ๔.๓) โครงสร้ำงเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทย โครงสร้างเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยยังคงพ่ึงพาภาคเกษตรกรรม โดยกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีสัดส่วนโครงสร้างภาคการเกษตรสูงที่สุดเมื่อเทียบกับสาขาการผลิตอ่ืน ๆ ในปี ๒๕๕๙ มีสัดส่วนภาคการเกษตร ร้อยละ ๒๙.๓๖ เพ่ิมขึ้นจากปี ๒๕๕๘ ที่มีสัดส่วนร้อยละ ๒๘.๕๗ โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยมีมูลค่า ๙๐,๗๐๗ ล้านบาท ซึ่งมูลค่าการผลิตส่วนใหญ่มาจากพืชเศรษฐกิจหลัก คือ ยางพารา (อันดับ ๑ ของภาคใต้ ผลิตมากที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา และนครศรีธรรมราช) ปาล์มน้ ามัน (อันดับ ๑ ของประเทศ ผลิตมากที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี และชุมพร) ไม้ผล เช่น เงาะ ทุเรียน มังคุด (อันดับ ๑ ของภาคใต้) ที่เหลือเป็นประมง มีมูลค่า ๑๑,๗๔๒ ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๕๖ ส่วนภาคที่มีความส าคัญรองลงมา คือ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้า คิดเป็นร้อยละ ๑๕ .๓๖ ๑๒.๖๕ นอกจากนี้ เป็นภาคการบริการและอ่ืน ๆ รวมร้อยละ ๔๒.๖๓

    ตำรำงท่ี ๗ : โครงสร้ำงเศรษฐกิจของกลุ่มภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทย ณ รำคำประจ ำปี (หน่วย : ล้านบาท)

    สำขำกำรผลิต ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕r ๒๕๕๖r ๒๕๕๗r ๒๕๕๘r ๒๕๕๙p ภำคกำรเกษตร ๑๓๔,๗๓๗ ๑๘๕,๘๓๙ ๒๑๑,๓๓๑ ๑๙๓,๔๕๑ ๑๙๑,๔๙๗ ๑๖๔,๘๗๖ ๑๕๔,๕๑๖ ๑๗๓,๐๑๗ เกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง ๑๓๔,๗๓๗ ๑๘๕,๘๓๙ ๒๑๑,๓๓๑ ๑๙๓,๔๕๑ ๑๙๑,๔๙๗ ๑๖๔,๘๗๖ ๑๕๔,๕๑๖ ๑๗๓,๐๑๗ ภำคนอกกำรเกษตร ๓๕๗,๔๒๔ ๔๑๖,๙๕๘ ๔๔๓,๗๐๒ ๔๕๙,๒๓๘ ๔๗๖,๘๖๑ ๔๗๓,๕๘๖ ๕๐๙,๘๔๖ ๕๓๗,๕๕๕ การท าเหมืองแร่และเหมืองหิน ๓๒,๑๓๕ ๔๔,๕๑๓ ๓๘,๕๖๕ ๔๐,๔๑๑ ๔๘,๖๙๖ ๕๐,๔๙๐ ๕๓,๖๒๕ ๔๓,๘๘๕ การผลิต ๗๗,๒๐๔ ๙๖,๓๙๑ ๑๑๑,๔๐๕ ๑๐๒,๕๔๐ ๑๐๓,๔๔๖ ๙๙,๔๔๕ ๑๐๖,๐๙๔ ๑๐๖,๙๑๐ ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ า และระบบปรับอากาศ ๑๕,๐๒๕ ๑๕,๘๘๑ ๑๖,๐๖๒ ๑๖,๗๗๘ ๑๗,๑๘๒ ๑๘,๓๙๓ ๑๗,๑๖๙ ๒๐,๕๑๑ การจัดหาน้ า การจัดการ และการบ าบัด น้ าเสีย ของเสีย และสิ่งปฏกิูล

    ๑,๐๓๗ ๑,๐๓๗ ๑,๑๓๖ ๑,๓๐๘ ๑,๕๔๕ ๑,๕๘๐ ๑,๘๕๓ ๒,๔๐๔

    การก่อสร้าง ๑๖,๓๘๑ ๒๑,๖๖๘ ๒๑,๙๔๘ ๒๔,๓๘๘ ๒๕,๒๙๙ ๒๒,๔๒๔ ๒๓,๔๘๗ ๒๕,๑๙๕ การขายส่งและการขายปลีก การซ่อมยานยนตแ์ละจักรยานยนต ์

    ๖๐,๔๗๒ ๗๒,๑๒๗ ๗๕,๗๐๘ ๗๑,๒๗๙ ๖๙,๕๙๔ ๗๐,๙๒๔ ๗๔,๕๕๖ ๘๗,๑๔๒

    การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า ๑๖,๗๖๙ ๑๗,๙๙๗ ๑๘,๐๕๑ ๑๘,๓๕๒ ๑๖,๙๑๐ ๑๙,๘๑๒ ๒๒,๓๑๒ ๒๒,๙๙๑ ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ๑๓,๔๑๘ ๑๖,๐๑๖ ๑๘,๖๘๙ ๒๒,๒๗๔ ๒๘,๘๒๒ ๓๑,๔๑๑ ๓๘,๙๖๓ ๔๕,๘๖๑ ข้อมูลขา่วสารและการสื่อสาร ๓,๘๔๖ ๔,๓๓๖ ๔,๙๑๑ ๕,๑๔๔ ๔,๘๔๖ ๔,๖๔๘ ๔,๗๕๖ ๓,๘๔๘ กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย ๑๙,๖๕๘ ๒๐,๙๒๐ ๒๓,๕๖๐ ๒๖,๖๑๐ ๓๑,๗๒๔ ๓๔,๔๖๖ ๓๕,๓๙๑ ๓๙,๒๗๒ กิจกรรมอสังหาริมทรัพย ์ ๒๐,๔๓๓ ๑๙,๙๙๓ ๒๐,๖๐๙ ๒๒,๗๗๘ ๒๔,๓๓๒ ๒๐,๐๑๒ ๒๑,๔๔๔ ๒๓,๑๑๔ กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค

    ๖๗๑ ๖๕๗ ๗๖๒ ๘๒๐ ๘๕๖ ๘๖๒ ๘๘๕ ๙๒๖

    กิจกรรมการบริหารและการบริการ ๓,๕๕๒ ๓,๓๕๙ ๓,๖๒๔ ๓,๑๓๖ ๓,๖๘๒ ๔,๑๕๒ ๔,๔๒๒ ๔,๓๘๗

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๓

    สำขำกำรผลิต ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕r ๒๕๕๖r ๒๕๕๗r ๒๕๕๘r ๒๕๕๙p สนับสนุน การบริหารราชการ การป้องกัน ประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ

    ๓๐,๐๒๑ ๓๒,๗๒๒ ๓๕,๖๙๗ ๔๕,๓๖๒ ๔๑,๒๙๐ ๓๒,๓๔๖ ๓๕,๔๔๒ ๓๘,๙๗๖

    การศึกษา ๓๑,๑๖๙ ๓๒,๙๗๕ ๓๕,๘๔๗ ๓๘,๙๖๘ ๓๘,๖๖๕ ๔๑,๖๘๙ ๔๗,๐๘๒ ๔๘,๓๑๒ กิจกรรมด้านสุขภาพและงานสังคม สงเคราะห ์

    ๑๒,๔๘๔ ๑๓,๓๐๔ ๑๓,๗๐๙ ๑๔,๘๗๒ ๑๕,๖๖๗ ๑๖,๕๔๔ ๑๗,๖๗๖ ๑๘,๙๙๘

    ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ ๔๒๘ ๕๕๔ ๖๕๖ ๖๙๘ ๗๒๖ ๗๑๒ ๗๖๒ ๙๓๓ กิจกรรมบริการด้านอื่นๆ ๒,๗๒๑ ๒,๕๐๙ ๒,๗๖๓ ๓,๕๒๐ ๓,๕๘๐ ๓,๖๗๖ ๓,๙๒๘ ๓,๘๙๒

    ผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัด ๔๙๒,๑๖๒ ๖๐๒,๗๙๗ ๖๕๕,๐๓๓ ๖๕๒,๖๘๙ ๖๖๘,๓๕๘ ๖๓๘,๔๖๒ ๖๖๔,๓๖๒ ๗๑๐,๕๗๑

    ผลิตภัณฑ์มวลรวมกลุ่มจังหวัดตอ่หัว (บาท) ๑๐๐,๙๘๓ ๑๒๓,๓๗๓ ๑๓๒,๙๖๐ ๑๓๑,๔๖๗ ๑๓๓,๖๐๑ ๑๒๖,๗๑๕ ๑๓๐,๙๔๓ ๑๓๙,๐๙๗ ประชากร (๑,๐๐๐ คน) ๔,๘๗๔ ๔,๘๘๖ ๔,๙๒๗ ๔,๙๖๕ ๕,๐๐๓ ๕,๐๓๙ ๕,๐๗๔ ๕,๑๐๘

    ที่มา : ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

    ตำรำงท่ี ๘ : สัดส่วนโครงสร้ำงกำรผลิตของกลุ่มภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทย (ร้อยละ)

    โครงสร้ำงกำรผลิต (สัดส่วน)

    ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕r ๒๕๕๖r ๒๕๕๗r ๒๕๕๘r ๒๕๕๙p

    ภำคเกษตรกรรม ๓๒.๑๒ ๓๖.๒๘ ๓๗.๗๐ ๓๔.๓๙ ๓๔.๓๒ ๓๑.๓๑ ๒๘.๕๗ ๒๙.๓๖ ภำคอุตสำหกรรม ๑๗.๔๒ ๑๘.๕๘ ๑๗.๗๕ ๑๖.๗๗ ๑๖.๔๑ ๑๖.๗๘ ๑๗.๕๔ ๑๕.๓๖ - เหมืองแร่ ๔.๗๒ ๕.๓๗ ๓.๗๔ ๓.๘๐ ๓.๑๗ ๓.๕๔ ๓.๗๐ ๒.๘๘ - อุตสาหกรรม ๑๒.๖๙ ๑๓.๒๑ ๑๔.๐๑ ๑๒.๙๗ ๑๓.๒๓ ๑๓.๒๓ ๑๓.๘๔ ๑๒.๔๙ ภำคกำรค้ำ ๑๒.๑๔ ๑๑.๘๔ ๑๑.๔๙ ๑๑.๐๑ ๑๐.๗๕ ๑๑.๔๘ ๑๑.๖๘ ๑๒.๖๕ ภำคบริกำรและอื่น ๆ ๓๘.๓๓ ๓๓.๒๙ ๓๓.๐๖ ๓๗.๘๔ ๓๘.๕๑ ๔๐.๔๔ ๔๒.๒๑ ๔๒.๖๓ รวม ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐

    ที่มา : ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

    ตำรำงท่ี ๙ : อัตรำกำรขยำยตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมของกลุ่มภำคใต้ฝั่งอ่ำวไทย (ร้อยละ)

    อัตรำกำรขยำยตัว ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕r ๒๕๕๖r ๒๕๕๗r ๒๕๕๘r ๒๕๕๙p ภำคเกษตรกรรม ๒.๑๖ -๕.๕๘ -๘.๕๒ ๑๐.๓๒ ๑๖.๗๐ -๑.๓๐ -๕.๗๙ -๐.๒๐ ภำคอุตสำหกรรม ๑๔.๔๙ ๑๗.๙๑ -๗.๕๙ ๐.๔๗ -๐.๔๐ -๐.๒๑ ๑.๘๓ -๗.๘๒ - เหมืองแร่ ๗๐.๒๔ ๔๓.๕๐ -๒๔.๒๘ -๗.๕๗ -๑๘.๖๒ ๑.๒๒ ๑.๐๖ -๑๕.๕๓ - อุตสาหกรรม ๑.๐๗ ๗.๕๔ ๑.๔๔ ๓.๗๒ ๖.๑๖ -๐.๖๐ ๒.๐๕ -๕.๖๘ ภำคกำรค้ำ -๗.๔๙ ๑๔.๒๙ ๑.๘๑ -๑๑.๕๐ -๑.๓๑ -๖.๑๘ ๔.๙๕ ๑๒.๖๐

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๔

    อัตรำกำรขยำยตัว ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕r ๒๕๕๖r ๒๕๕๗r ๒๕๕๘r ๒๕๕๙p ภำคบริกำรและอื่น ๆ ๕.๐๑ ๕.๕๖ ๔.๖๗ ๑๒.๓๓ ๑.๑๗ -๒.๒๒ ๕.๙๑ ๗.๕๕ ภำพรวม ๓.๖๑ ๕.๐๓ -๒.๕๔ ๖.๗๓ ๕.๖๘ -๑.๙๔ ๑.๑๙ ๓.๑๙

    ที่มา : ส านักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกจิและสังคมแห่งชาติ ตำรำงท่ี ๑๐ : ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัวประชำกร ปี ค.ศ. ๒๐๑๖

    จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวม

    (ล้ำนบำท) ประชำกร

    (๑,๐๐๐ คน) ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อหัว

    (บำท) ประเทศ ๑๔,๕๓๓,๔๖๖ ๖๗,๔๕๕ ๒๑๕,๔๕๕ ภำคใต้ ๑,๓๒๒,๐๔๐ ๙,๒๑๐ ๑๔๓,๕๔๔ กลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝ่ังอ่ำวไทย ๗๑๐,๕๗๑ ๕,๑๐๘ ๑๓๙,๐๙๗ ชุมพร ๘๒,๒๕๐ ๔๘๘ ๑๖๘,๔๖๐ สุราษฎร์ธาน ี ๒๐๐,๙๙๗ ๑,๐๔๗ ๑๙๑,๙๒๗ นครศรีธรรมราช ๑๕๐,๕๑๕ ๑,๕๒๖ ๙๘,๖๒๗ พัทลุง ๓๕,๑๐๘ ๕๐๘ ๖๙,๑๕๙ สงขลา ๒๔๑,๗๐๑ ๑,๕๓๙ ๑๕๗,๐๒๙ กลุ่มจังหวัดภำคใต้ฝ่ังอันดำมัน ๔๓๖,๑๗๒ ๒,๐๕๙ ๒๑๑,๘๘๗ ภูเก็ต ๑๙๑,๖๙๕ ๕๓๖ ๓๕๗,๔๙๘ ระนอง ๒๕,๗๐๗ ๒๕๕ ๑๐๐,๗๒๐ พังงา ๖๓,๘๙๙ ๒๖๙ ๒๓๗,๙๗๑ กระบี ่ ๘๗,๕๒๔ ๓๗๓ ๒๓๔,๔๓๖ สตูล ๓๔,๙๓๘ ๒๘๑ ๑๒๔,๔๐๐ ตรัง ๖๗,๓๔๘ ๖๒๕ ๑๐๗,๗๒๐ กลุ่มจังหวัดภำคใต้ชำยแดน ๔๑๖,๙๙๗ ๓,๕๘๒ ๑๑๖,๔๐๗ ยะลา ๔๓,๙๔๑ ๔๔๖ ๙๘,๕๖๒ นราธิวาส ๔๒,๑๑๐ ๖๘๙ ๖๑,๑๑๕ ปัตตาน ี ๕๔,๓๐๘ ๖๒๗ ๘๖,๕๗๑

    ที่มา : ส านักงานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกจิและสังคมแห่งชาติ

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๕

    ๔.๔) อุตสำหกรรม ณ ปี ๒๕๕๙ สถิติโรงงานอุตสาหกรรมที่จดทะเบียนกับกระทรวงอุตสาหกรรมและได้รับ

    อนุญาตให้ประกอบกิจการใหม่ (ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย จ านวน ๓๑๑โรงงาน เงินทุนจดทะเบียน ๑๑,๒๑๐ ล้านบาท มีแรงงานรวมทั้งสิ้น ๕,๙๑๗ คน

    ตำรำงที่ ๑๑ : สถิติโรงงำนอุตสำหกรรม ที่จดทะเบียนไว้กับกระทรวงอุตสำหกรรม และได้รับอนุญำตให้ประกอบกิจกำรใหม่ (ตำมพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. ๒๕๓๕) พ.ศ. ๒๕๕๙

    จังหวัด จ ำนวนโรงงำน เงินทุนจดทะเบียน

    (ล้ำนบำท)

    จ ำนวนคนงำน (คน)

    ชำย หญิง รวม

    นครศรีธรรมราช ๕๗ ๑,๖๘๕ ๔๖๙ ๒๗๓ ๗๔๒ สุราษฎร์ธาน ี ๘๗ ๓,๘๑๐ ๑,๒๔๒ ๕๓๔ ๑,๗๗๖ พัทลุง ๑๙ ๒๑๔ ๑๒๔ ๖๒ ๑๘๖ ชุมพร ๖๙ ๑,๙๔๐ ๗๔๑ ๔๒๙ ๑,๑๗๐ สงขลา ๗๙ ๓,๕๖๑ ๑,๓๖๓ ๖๘๐ ๒,๐๔๓ รวม ๓๑๑ ๑๑,๒๑๐ ๓,๙๓๙ ๑,๙๗๘ ๕,๙๑๗

    ที่มา : ส านักงานสถิติแห่งชาติ

    ๔.๕) ด้ำนแรงงำนและกำรมีงำนท ำ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีก าลังแรงงานโดยรวมในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จ านวน ๒,๘๘๒,๗๘๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๘๒ ของประชากรของกลุ่มจังหวัด และร้อยละ ๕๗.๑๒ ของก าลังแรงงานภาคใต้ ซึ่งถือว่าเป็นก าลังแรงงานที่มากที่สุดในภาคใต้ โดยก าลังแรงงานรวมในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ลดลงจากปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่มีก าลังแรงงาน จ านวน ๒,๙๐๐,๔๖๗ คน คิดเป็นลดลงร้อยละ ๐.๖๑ ตำรำงที่ ๑๒ : แสดงก ำลังแรงงำนรวม

    หน่วย : คน

    จังหวัด / กลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ.

    ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

    ประเทศ ๓๘,๙๐๖,๘๘๙ ๓๘,๐๗๗,๔๒๙ ๓๘,๐๑๖,๑๖๙ ๓๗,๖๙๒,๖๕๑ ๓๗,๔๕๘,๒๕๓ ภำคใต้ ๕,๔๔๖,๕๒๕ ๕,๐๗๙,๖๐๙ ๕,๐๔๓,๐๘๔ ๕,๐๗๗,๕๖๕ ๕,๐๔๗,๐๕๒ กลุ่มภำคใต้อ่ำวไทย ๓,๑๒๘,๐๓๘ ๒,๙๐๓,๖๔๑ ๒,๘๗๗,๑๔๑ ๒,๙๐๐,๔๖๗ ๒,๘๘๒,๗๘๑ ชุมพร ๓๑๐,๘๓๖ ๒๙๐,๐๙๕ ๒๘๓,๘๒๔ ๒๗๙,๕๒๙ ๒๗๗,๕๗๔ สุราษฎร์ธานี ๕๙๖,๕๓๐ ๖๐๖,๙๗๔ ๖๑๐,๗๘๑ ๕๙๙,๕๔๙ ๕๘๑,๓๕๔

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๖

    จังหวัด / กลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ.

    ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

    นครศรีธรรมราช ๑,๐๒๘,๓๕๖ ๘๖๔,๙๕๙ ๘๕๔,๐๑๘ ๘๖๑,๙๙๕ ๘๕๙,๐๙๒ พัทลุง ๓๕๑,๐๕๔ ๒๙๖,๓๘๖ ๒๘๙,๙๐๓ ๒๙๗,๘๐๗ ๒๙๖,๖๘๑ สงขลา ๘๔๑,๒๖๒ ๘๔๕,๒๒๗ ๘๓๘,๖๑๕ ๘๖๑,๕๘๗ ๘๖๘,๐๘๐ กลุ่มภำคใต้อันดำมัน ๑,๒๕๓,๘๐๑ ๑,๓๒๙,๒๐๐ ๑,๓๒๙,๖๙๕ ๑,๓๓๓,๘๑๐ ๑,๓๒๗,๙๑๓ กลุ่มจังหวัดชำยแดนใต้ ๑,๐๖๔,๖๘๕ ๘๔๖,๗๖๗ ๘๓๖,๒๔๙ ๘๔๓,๒๘๘ ๘๓๖,๖๐๘

    ที่มา :ส านักงานสถิติแห่งชาติ

    ๔.๖) อัตรำกำรว่ำงงำนรวม ก าลังแรงงานของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีแนวโน้มอัตราการว่างงานเพ่ิมข้ึน

    อย่างต่อเนื่อง นับแต่ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ คิดเป็นร้อยละ ๐.๗๖ ๐.๙๓ ๐.๘๔ ๑.๒๙ ๑.๖๐ ตามล าดับ ตำรำงที่ ๑๓ : อัตรำกำรว่ำงงำนรวม หน่วย : ร้อยละ

    จังหวัด / กลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ.

    ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

    ประเทศ ๐.๗๒ ๐.๘๔ ๐.๘๘ ๐.๙๙ ๑.๑๘ ภำคใต้ ๐.๙๙ ๑.๑๗ ๑.๑๐ ๑.๓๖ ๑.๖๕ กลุ่มภำคใต้อ่ำวไทย ๐.๗๖ ๐.๙๓ ๐.๘๔ ๑.๒๙ ๑.๖๐ ชุมพร ๐.๔๑ ๐.๓๕ ๐.๖๘ ๐.๖๙ ๐.๖๕ สุราษฎร์ธาน ี ๐.๕๒ ๐.๓๘ ๐.๓๓ ๑.๐๒ ๐.๗๖ นครศรีธรรมราช ๐.๘๘ ๑.๐๐ ๐.๘๕ ๐.๙๐ ๑.๔๘ พัทลุง ๐.๘๙ ๐.๕๑ ๐.๗๓ ๐.๕๖ ๑.๔๐ สงขลา ๐.๘๖ ๑.๖๑ ๑.๓๐ ๒.๓๐ ๒.๖๕ กลุ่มภำคใต้อันดำมัน ๐.๗๒ ๑.๑๖ ๑.๒๔ ๑.๓๕ ๑.๐๙ กลุ่มจังหวัดชำยแดนใต้ ๑.๙๕ ๑.๙๗ ๑.๗๓ ๑.๖๓ ๒.๗๐

    ที่มา :ส านักงานสถิติแห่งชาติ

    ๕) ลักษณะทำงสังคม ๕.๑) กำรศึกษำ ประชากรในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีจ านวนปีการศึกษาเฉลี่ยสูงสุด ในปี ๒๕๕๙

    ที่ ๙.๓๖ ปี ซึ่งสูงกว่าระดับภาค คือ ๙.๓๐ และต่ ากว่าระดับประเทศ คือ ๙.๔๐ ปี โดยจังหวัดที่ประชากร

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๗

    มีปีการศึกษาเฉลี่ยสูงสุด คือ จังหวัดสงขลา ๙.๘๐ ปี รองลงมาคือ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง คือ ๙.๕๐ ปีและจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร คือ ๙.๐๐ ปี ตำรำงท่ี ๑๔ : จ ำนวนปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ ๑๕-๕๙ ปี

    หน่วย : ป ีจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด

    ปี พ.ศ.

    ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ประเทศ ๘.๘๐ ๘.๗๗ ๘.๙๑ ๑๐.๐๖ ๙.๔๐ ภำคใต้ ๘.๘๗ ๙.๐๔ ๙.๒๔ ๑๐.๒๐ ๙.๓๐ กลุ่มจังหวัดฝ่ังอ่ำวไทย ๙.๑๘ ๙.๑๒ ๙.๓๒ ๑๐.๐๒ ๙.๓๖ ชุมพร ๘.๕๙ ๘.๔๐ ๘.๕๐ ๘.๗๒ ๙.๐๐ สุราษฎร์ธานี ๘.๖๙ ๘.๗๐ ๙.๑๐ ๑๑.๓๕ ๙.๐๐ นครศรีธรรมราช ๙.๔๓ ๙.๕๐ ๙.๕๐ ๙.๔๓ ๙.๕๐ พัทลุง ๙.๑๑ ๙.๐๐ ๙.๔๐ ๙.๒๐ ๙.๕๐ สงขลา ๑๐.๐๗ ๑๐.๐๐ ๑๐.๑๐ ๑๑.๓๙ ๙.๘๐ กลุ่มจังหวัดฝ่ังอันดำมัน ๙.๐๐ ๙.๒๐ ๙.๒๘ ๙.๗๘ ๙.๑๓ กลุ่มจังหวัดชำยแดนภำคใต้ ๘.๔๔ ๘.๖๓ ๙.๐๓ ๙.๑๖ ๘.๘๓

    ที่มา : ศูนย์สารสนเทศทางการศึกษา ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

    ๕.๒ สัดส่วนคนจนลดลง และต่ ำกว่ำค่ำเฉลี่ยของภำคและประเทศ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีสัดส่วนคนจน ปี ๒๕๕๙ ร้อยละ ๗ .๑๕ ซึ่งต่ ากว่าสัดส่วนคนจนในระดับภาคและระดับประเทศ ที่ร้อยละ ๑๒.๓๕ ๘.๖๑ ตามล าดับ โดยกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน มีสัดส่วนสูงที่สุด รองลงมาคือกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน และกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย สัดส่วนคนจนที่ร้อยละ ๒๘.๖๘ ๘.๗๓ และ ๗.๑๕ ตามล าดับ

    ตำรำงท่ี ๑๕ : จ ำนวนคนจน และสัดส่วนคนจนของภำคใต้ในช่วง ปี ๒๕๕๖–๒๕๕๙

    จังหวัด สัดส่วนคนจน (ร้อยละ) จ ำนวนคนจน (พันคน) ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙

    ประเทศ ๑๐.๙๔ ๑๐.๕๓ ๗.๒๑ ๘.๖๑ ๗,๓๐๕.๑ ๗,๐๕๗.๔ ๔๘๔๗.๒ ๕๘๑๐.๑

    ภำคใต ้ ๑๑.๐๐ ๑๓.๗๙ ๙.๙๒ ๑๒.๓๕ ๙๙๑.๕๐ ๑,๒๕๔.๘๐ ๙๐๘.๖๐ ๑,๑๓๗.๕๐

    กลุ่มจังหวัดฝ่ังอ่ำวไทย ๕.๕๒ ๘.๐๕ ๖.๕๔ ๗.๑๕ ๒๗๔.๗ ๔๐๓.๑ ๓๒๙.๓ ๓๖๑.๕

    ชุมพร ๓.๑๒ ๔.๙๕ ๕.๘๕ ๕.๓๗ ๑๔.๙ ๒๓.๘ ๒๘.๔ ๒๖.๒

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๘

    จังหวัด สัดส่วนคนจน (ร้อยละ) จ ำนวนคนจน (พันคน) ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙

    สุราษฎร์ธาน ี ๑.๓๙ ๒.๖๕ ๒.๒๓ ๑.๓๕ ๑๔.๓ ๒๗.๔ ๒๓.๒ ๑๔.๒

    นครศรีธรรมราช ๙.๙๑ ๑๑.๕๓ ๑๑.๘๗ ๘.๐๘ ๑๔๗.๕ ๑๗๓.๑ ๑๗๙.๗ ๑๒๓.๔

    พัทลุง ๑๕.๒๔ ๑๗.๗๑ ๑๓.๐๖ ๑๔.๐๒ ๗๕.๔ ๘๘.๔ ๖๕.๗ ๗๑.๑

    สงขลา ๑.๔๙ ๕.๙๔ ๒.๑๑ ๘.๒๒ ๒๒.๖ ๙๐.๔ ๓๒.๓ ๑๒๖.๖

    กลุ่มจังหวัดฝ่ังอันดำมัน ๖.๖๗ ๖.๙๖ ๕.๙๕ ๘.๗๓ ๑๔๖.๘ ๑๕๔.๙ ๑๓๔.๒ ๑๙๘.๕

    กลุ่มจังหวัดชำยแดนภำคใต ้ ๒๙.๒๑ ๓๕.๓๒ ๒๒.๓๑ ๒๘.๖๘ ๕๗๐.๐ ๖๙๖.๘ ๔๔๕.๒ ๕๗๗.๔

    ที่มา : ข้อมูลจากการส ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ส านักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดย ส านักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวช้ีวัดภาวะสังคม, สศช.

    ๖) โครงสร้ำงพื้นฐำน

    ๖.๑) ระบบไฟฟ้ำ โครงข่ายระบบไฟฟ้าของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย รับผิดชอบโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ ไทยใช้ระบบสายส่งไฟฟ้าขนาด ๒๓๐ กิโลโวลท์ ๔ วงจร มีโครงข่ายเชื่อมโยงจากภาคกลาง สู่จังหวัดชุมพร และสุราษฎร์ธานี เชื่อมต่อกับสายส่งไฟฟ้าขนาด ๒๓๐ กิโลโวลท์ ๒ วงจรเชื่อมโยงจังหวัดนครศรีธรรมราช และพัทลุง ต่อเนื่องไปยังภาคใต้ตอนล่าง ระบบสายส่งไฟฟ้าหลักดังกล่าวเชื่อมโยงแหล่งไฟฟ้าส าคัญในพ้ืนที่ ได้แก่ โรงไฟฟ้าขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงไฟฟ้าพลั งน้ าเขื่อนรัชประภา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โรงไฟฟ้าจะนะ จังหวัดสงขลา โรงำนผลิตไฟฟ้ำ

    - โรงไฟฟ้าบริษัทผลิตไฟฟ้าขนอมจ ากัด ก าลังการผลิต/ ปริมาณการขายไฟฟ้าเข้าระบบ ๘๑๘.๑ MW เชื่อเพลิงหลัก/ส ารอง ก๊าซธรรมชาติ น้ ามันเตา น้ ามันดีเซล

    - โรงไฟฟ้าเขื่อนรัชชประภา ก าลังการผลิต/ปริมาณการขายไฟฟ้าเข้าระบบ ๒๔๐ MW เชื้อเพลิงหลัก/ส ารอง พลังงานน้ า

    - โรงไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี ก าลังการผลิต/ปริมาณการขายไฟฟ้าเข้าระบบ ๒๔๔ MW เชื้อเพลิงหลัก/ส ารอง น้ ามันดีเซล น้ ามันเตา

    - โรงไฟฟ้าจะนะ อ าเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ขนาดก าลังการผลิตประมาณ ๗๓๐ MW ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ประมาณวันละ ๑๓๐ ล้านลูกบาศก์ฟุต มีกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ประมาณ ๕๐ ล้านบาทต่อปี

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๑๙

    - โรงไฟฟ้าจะนะ ระยะที่ ๒ ก าลังการผลิต ๘๐๐ MW ใช้เชื้อเพลิงประมาณ ๑๕๐ ล้านลูกบาศก์ฟุต เริ่มก่อสร้างปี ๒๕๕๕ ปัจจุบันด าเนินการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์เรียบร้อยแล้ว มีกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ประมาณ ๖๐ ล้านบาทต่อปี

    ในด้านการให้บริการระบบจ าหน่ายไฟฟ้าจะอยู่ในความรับผิดชอบของการไฟฟ้าเขต ๑ (ภาคใต้) ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ณ ปี ๒๕๖๐ มีจ านวนผู้ใช้ไฟฟ้าในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ๑,๗๗๖,๖๔๔ ราย และมีการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นจ านวน ๙,๓๒๔,๑๑๑,๙๗๐ กิโลวัตต์-ชั่วโมง เมื่อพิจารณารายจังหวัด พบว่าจังหวัดสงขลา มีการใช้ไฟฟ้าสูงสุด รองลงมาได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช ชุมพร และพัทลุง ตามล าดับ ขณะที่จังหวัดนครศรีธรรมราชมีจ านวนผู้ใช้ไฟฟ้ามากที่สุด รองลงมาได้แก่ จังหวัดสงขลา จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร และจังหวัดพัทลุง ตามล าดับ ตำรำงท่ี ๑๖: ผู้ใช้ไฟฟ้ำและกำรจ ำหน่ำยพลังงำนไฟฟ้ำของกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐

    ภำค/ จงัหวัด

    ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

    จ ำนวนผู้ใช้ไฟฟ้ำ (รำย)

    พลังงำนไฟฟ้ำที่จ ำหน่ำยและใช ้(กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

    จ ำนวนผู้ใช้ไฟฟ้ำ (รำย)

    พลังงำนไฟฟ้ำที่จ ำหน่ำยและใช ้(กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

    จ ำนวนผู้ใช้ไฟฟ้ำ (รำย)

    พลังงำนไฟฟ้ำที่จ ำหน่ำยและใช ้(กิโลวัตต์-ชั่วโมง)

    ประเทศ ๑๘,๑๗๑,๓๕๓ ๑๒๐,๙๓๕,๔๒๗,๕๔๗ ๑๘,๖๖๙,๑๖๙ ๑๒๗,๒๑๙,๖๑๗,๒๒๑ ๑๙,๑๒๔,๐๖๑ ๑๓๐,๑๓๓,๕๗๗,๖๕๐

    ภำคใต ้ ๒,๙๗๐,๑๙๙ ๑๕,๐๔๓,๘๙๒,๑๔๐ ๓,๐๔๓,๔๔๐ ๑๖,๑๒๓,๔๑๓,๑๐๖ ๓,๐๙๙,๒๕๘ ๑๖,๓๖๑,๓๒๗,๑๐๐

    กลุ่มจังหวัด ภำคใต้ฝ่ังอ่ำวไทย

    ๑,๗๐๕,๓๑๔ ๘,๕๕๗,๔๖๑,๙๘๙ ๑,๗๔๗,๒๙๓ ๙,๑๘๒,๓๐๖,๐๒๐ ๑,๗๗๖,๖๔๔ ๙,๓๒๔,๑๑๑,๙๗๐

    นครศรีธรรมราช ๔๗๕,๙๔๑ ๑,๕๒๕,๓๖๕,๓๓๖ ๔๘๘,๐๘๒ ๑,๖๔๓,๕๘๙,๑๕๑ ๔๙๔,๔๐๔ ๑,๖๘๐,๖๖๐,๓๕๗

    สุราษฎร์ธาน ี ๔๐๐,๖๓๔ ๒,๖๓๕,๐๑๙,๐๒๓ ๔๑๑,๐๙๖ ๒,๘๒๙,๒๗๗,๕๗๕ ๔๑๗,๒๑๕ ๒,๙๑๕,๐๕๖,๙๓๔

    ชุมพร ๑๘๖,๗๙๖ ๗๖๙,๐๗๒,๒๕๒ ๑๙๑,๗๗๗ ๘๐๕,๘๙๓,๕๐๔ ๑๙๖,๑๙๘ ๘๑๕,๗๙๘,๘๓๘

    สงขลา ๔๗๐,๘๙๓ ๓,๑๙๙,๗๖๕,๘๖๕ ๔๘๑,๓๔๒ ๓,๔๓๗,๐๖๓,๗๐๙ ๔๘๙,๘๑๖ ๓,๔๓๗,๕๔๗,๓๔๗

    พัทลุง ๑๗๑,๐๕๐ ๔๒๘,๒๓๙,๕๑๓ ๑๗๔,๙๙๖ ๔๖๖,๔๘๒,๐๘๑ ๑๗๙,๐๑๑ ๔๗๕,๐๔๘,๔๙๔

    ที่มา : ส านักงานสถิติแห่งชาติ

    ๖.๒) ระบบประปำ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีระบบประปาที่ให้บริการทั้งจากการประปาส่วนภูมิภาค การประปาส่วนท้องถิ่น และการประปาหมู่บ้าน ส าหรับความสามารถในการผลิตน้ าประปาของการประปาส่วนภูมิภาค มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น อย่างต่อเนื่อง นับแต่แต่ปี ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ คือ ๑๖๗.๙ ๑๗๐.๕ และ ๑๗๔.๕ ล้านลูกบาศก์เมตร ตามล าดับโดยในปี ๒๕๖๐ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย มีจ านวนผู้ใช้น้ า ๔๑๓,๑๔๓ ราย ปริมาณ

  • แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ ฉบับทบทวน ๒๐

    การผลิต ๑๗๔.๕ ล้านลูกบาศก์เมตร ปริมาณการจ าหน่าย ๑๐๗.๒ ล้านลูกบาศก์เมตร และข้อมูลเฉลี่ยการใช้น้ าประปา ๒๐.๕ ลูกบาศก์เมตรต่อรายต่อเดือน ณ ปี ๒๕๕๘ จังหวัดที่มีครัวเรือนมีน้ าประปาใช้สูงสุด คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร้อยละ ๓๕.๗๗ ของจ านวนครัวเรือนทั้งหมด รองลงมาคือ จังหวัดชุมพร จังหวัดสงขลา จังหวัดพัทลุง และจังหวัดนครศรีธรรมราช ๓๑.๕๙ ๒๙.๔๖ ๑๒.๖๓ และ ๑๒.๓๘ ของจ านวนครัวเรือนทั้งหมด ตามล าดับ ตำรำงท่ี ๑๗ : อัตรำกำรมีน้ ำประปำใช้ หน่วย : ร้อยละ

    ภำค/ จั