9
บทที 1 ประวัติการถายภาพโดยสังเขป (ที ่มา : Cohen. 1984 : 20)

chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

บทท่ี 1ประวัติการถายภาพโดยสังเขป

(ท่ีมา : Cohen. 1984 : 20)

Page 2: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

2

1.1 ประวัติการถายภาพ

การถายภาพนั้นเริ่มมีมานานหลายพันปแลว แตเทาท่ีพอจะมีหลักฐานอยูในสมัยของพวกชาลดีน (chaldean) และชาวอียิปต ซ่ึงตองเดินทางในทะเลทรายท่ีรอนระอุ เม่ือถึงเวลาบายแดดรอนจัด ก็จะหยุดพักโดยการกางเต็นท (กระโจมที่พัก) เพ่ือใหคนและอูฐไดพักผอน กินอาหาร น้ํ า กอนท่ีจะเดินทางตอไป เมื่อเขาไปภายในเต็นทที่พัก ซ่ึงมีความสวางนอยกวาดานนอก ไดสังเกตเห็นลํ าแสงของดวงอาทิตย สองลอดผานรูเต็นทเขามาภายใน เขามากระทบกับผาเต็นทอีกดานหน่ึง ซ่ึงเปนดานตรงขามทํ าใหเห็นรูปรางของวัตถุส่ิงของข้ึน เชน สัมภาระ สัตวเลี้ยง ตนไม โดยเงาท่ีปรากฏจะเปนเงาหัวกลับ ปรากฏการณน่ีเองเปนหลักเบ้ืองตนของการถายภาพ

การถายภาพตรงกับภาษาอังกฤษวา Photography มีรากศัพทมาจากคํ าในภาษากรีกโบราณสองคํ า คือ โฟโตส (Photos) และกราโฟ (Grapho)

โฟโตส แปลวา แสงสวางกราโฟ แปลวา ฉันเขียน

ดังน้ัน เมือ่รวมคํ าสองคํ าเขาดวยกัน จึงมีความหมายวา "ฉันเขียนดวยแสงสวาง"(To Draw with Light) ปจจุบันไดใหความหมายท่ีเขาใจกันโดยท่ัวไปวา วิธีการทํ าใหเกิดภาพโดยอาศัยแสงไปกระทบวัสดุไวแสง จากความหมายดังกลาว วิชาการถายภาพจึงเปนวิชาที่วาดวยการนํ าศิลปะและศาสตร มาเขียนภาพโดยใชแสงนั่นเอง

ประวัติการถายภาพเริ่มตนกันอยางจริงจัง เมื่อประมาณ พ.ศ. 1643 โดยชนชาติกรีกไดรูจักกลองชนิดหน่ึง เรียกวากลองออบสคิวรา (Obscura Camera) ซ่ึงสรางข้ึนจากหลักการของแสง สองผานรูขนาดเล็กเขาไปในหองที่มืด ทํ าใหเกิดภาพขึ้น โดยภาพของวัตถุท่ีอยูภายนอกกลอง จะสะทอนแสงแลวสองผานรูของกลอง เขาไปปรากฏเปนภาพที่ผนังกลอง ตรงขามกับดานที่เปนรูเล็ก ๆ นั้นและเปนภาพหัวกลับ

มีอีกคํ าที่ควรรูจัก คือ คํ าวาคาเมรา (Camera) แปลวา “การถายภาพ” มาจากภาษาลาติน แปลวา หองมืด

ลีโอนาโด ดาวินซี (Leonardo Da Vinci) เปนท้ังนักวิทยาศาสตรและศิลปนชาวอิตาเลียน (พ.ศ.1995-2062) ไดทํ าการศึกษากลองออบสคิวรา พรอมทั้งปรับปรุงแกไข ทานไดบันทึกหลักการทํ างานของกลองออบสคิวรา ตลอดจนวิธีสรางและวิธีใชกลองออบสคิวราไวอยางสมบูรณในป พ.ศ. 2033 งานเขียนชิ้นนี้เปนที่แพรหลายไปสูผูสนใจมากมาย (กรมการฝกหัดครู.2525 : 1-2)

Page 3: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

3

ภาพท่ี 1.1 แสดงลักษณะกลองออบสคิวรา แบบกระโจม ในชวงตนคริสต ศตวรรษที่ 19 (ราว พ.ศ. 2443)

(ที่มา : รังสรรค ศิริชู. 2530 : 9)

ในป พ.ศ. 2093 จีโรลาโม คารดาโน (Gerolamo Cardano) นักคณิตศาสตรชาวอิตาเลียน ไดทดลองผลิตเลนสนูนข้ึนใช โดยนํ าไปใสไวแทนท่ีรูรับแสงของกลอง ผลปรากฏวาไดภาพที่สวางขึ้น แตมีขอเสียที่ยังไดภาพไมชัด

แดนีล บารบาโร (Daniel Barbaro) ชาวอิตาเลียน ไดประดิษฐมานบังคับรูรับแสง(Diaphragm) ข้ึนใชในป พ.ศ. 2111 เพ่ิมเติมในกลองออบสคิวรา ผลคือไดภาพท่ีคมชัดข้ึนกวาเดิม สามารถบังคับแสงใหเขากลองไดมากนอยตามตองการ เนื่องจากภาพที่ไดยังเปนภาพหัวกลับ แดนติ (Danti) ไดนํ ากระจกเวนมาใชกับกลอง (พ.ศ. 2116) เพื่อใหไดภาพหัวตั้ง

ตอมาในป พ.ศ. 2219 โยฮัน สเตอรม (Johann Sturm) ไดประดิษฐกลองรีเฟล็กซ(Reflex Camera) เปนกลองแรกของโลก โดยนํ าเอากระจกเงามาทํ ามุม 45 องศา เพื่อรับแสงแลวสะทอนเขาจอรับภาพ จะไดภาพหัวตั้ง (สมาน เฉตระการ. 2532:11)

พ.ศ. 2320 คารล ซีล (Carl Scheele) เภสัชกรชาวสวีเดน ไดคนพบน้ํ ายาซิลเวอรคลอไรด (Silver chloride) และซิลเวอรไนเตรท (Silver nitrate) ซ่ึงมีคุณสมบัติท่ีไวตอแสงโดยจะทํ าปฏิกริยาเมื่อถูกแสงแดด เปล่ียนสีเปนสีดํ าและยังพบตอไปอีกวา น้ํ ายาแอมโมเนีย(Ammonia) สามารถทํ าใหเกิดการคงสภาพของภาพไดอีกดวย แตเปนการคงสภาพช่ัวคราวเทาน้ัน

วารสารชื่อ Journal of the Royal Institution ซ่ึงออกในป พ.ศ. 2345 ไดตีพิมพผลงานของโทมัส เวดจวูด (Thomas Wedgwood) โดยกลาวถึงผลการทดลองถายภาพโดยอาศัยแสงสวาง และใชกระดาษหรือหนังสัตวชนิดออน แชลงในซิลเวอรไนเตรท แลวนํ าภาพที่วาดลงบนกระจก ทับลงบนกระดาษท่ีจุมซิลเวอรไนเตรท แลวนํ ามาถูกแสงสวางจนไดภาพปรากฏขึ้นมาอยางไรก็ตาม ยังไมสามารถทํ าใหภาพคงสภาพอยางถาวรได

Page 4: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

4

ภาพท่ี 1.2 แสดงภาพทิวทัศนที่ประสบผลสํ าเร็จเปนภาพแรกโดย นิคโปร เนียพฃ(ท่ีมา :สมาน เฉตระการ. 2532 :11)

อีก 14 ปตอมา ไดมีชาวฝรั่งเศส ชื่อ โจเซฟ นิคโปร เนียพซ (Joseph NicephoreNiepce) ทํ าการศึกษาวิธีการอาบน้ํ ายาบนผิวกระจก และถายภาพดวยกลองท่ีเขาประดิษฐข้ึนซ่ึงมีเลนสนูนติดอยูกับกลองดวย ผลปรากฏวา ไดภาพออกมาเปนเนกาตีฟ (Negative) ผลท่ีไดยังไมเปนท่ีพอใจนัก เน่ืองจากข้ันตอนการถายภาพ ตองใชเวลาถึงกวา 3 ชั่วโมง อยางไรก็ตามเนียพซยังคงพยายามตอไป และทํ าภาพโพสิตีฟ (Positive) เปนผลสํ าเร็จ พรอมกันนี้ยังคนพบวิธีคงสภาพอีกดวย จากการคนพบน้ีเองจึงถือไดวาโจเซฟ นิคโปร เนียพซ เปนชางภาพคนแรกของโลก

ป พ.ศ. 2382 หลุยส จาคเกอร แมนเด ดาแกร (Louis Jacques Mande Daguerre)ชาวฝรั่งเศส เดิมมีอาชีพเปนชางทาสี แตไดหันมาสนใจการถายภาพ เขาไดทํ าการคันควาจนสํ าเร็จอยางงดงาม ดาแกรไดรายงานถึงความสํ าเร็จของเขาที่ Academic des Sciences andAcedemic des Beaux Arts เม่ือวันท่ี 18 สิงหาคม พ.ศ. 2382 กระบวนการน้ีเรียกวา “ดาแกรโรไทพ” (Daguerreotype)

ดารแกรไดเขียนหนังสือคูมือการใชดาแกรโรไทพ มีชื่อภาษาฝรั่งเศสวา “Histoireetdescriptiona du procede nomme le Daguerreotype” เม่ือเขียนเปนภาษาอังกฤษวา “TheHistory and Description of the Process Named the Daguerreotype” หนังสือเลมนี้กลาวถึงวิธีการใชกลองถายภาพ วิธีการทํ าวัสดุไวแสง หลักการถายภาพและกระบวนการลาง

Page 5: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

5

ภาพโดยละเอียด ไดมีการนํ าหนังสือเลมน้ีไปแปลเปนภาษาตาง ๆ อยางแพรหลาย ดังน้ัน ดาแกรจึงไดรับการยกยองวาเปน บิดาแหงการถายภาพสมัยใหม

กลองดาแกรโรไทพ มีลักษณะเปนกลองสองใบซอนกัน สามารถยึดเขาออกได ตอมาไดปรับปรุงใหดีข้ึน โดยใชเบลโล (Bellow) แทนแบบเดิม

ในเวลาใกลเคียงกันน้ัน วิลเลียม เฮนรี ฟอกซ ทัลบอท (William Henry Fox Talbot)ชาวอังกฤษ ไดทํ าการศึกษาคนควาเร่ืองเดียวกันน้ีเชนกัน โดยเขาไดผลิตกลองคาโลไทป(Calotype Camera) โดยใชรวมกับกระดาษไวแสงซิลเวอรคลอไรด เม่ือทํ าการถายภาพเสร็จแลวนํ าไปลางในนํ้ ายาคอมมอนซอลท (Common Salt) และซิลเวอรไนเตรท จะไดภาพเนกาตีฟที่คงสภาพ จากน้ันทัลบอทนํ าภาพเนกาตีฟท่ีไดมาวางลงบนกระดาษไวแสงแผนใหม ทํ าใหอัดขยายภาพไดเปนจํ านวนมาก กรรมวิธีน้ีเรียกวา “คาโลไทพ” (Calotype)

พ.ศ. 2394 เฟรดเดอริก สกอต อารเชอร (Frederich Scott Archer) ชาวอังกฤษ ไดเสนอกรรมวิธีการถายภาพแบบใหม กลาวคืออารเชอรใชกระจกเปยก (Wet plate) แทนการใชกระดาษ โดยใชสารละลายคอลโลเดียน (Collodion) มีลักษณะเปนของเหลวขนและเหนียว ทํ าจากยางฝายผสมกับแอลกอฮอล (Alcohol) อีเทอร (Ether) และไอโอดีน (Iodine) แลวเทใสบนกระจก จากนั้นจุมแผนกระจกลงในสารละลายซิลเวอรไนเตรท นํ าแผนกระจกท่ีได บรรจุเขากลองถายภาพทันทีกอนที่สารละลายคอลโลเดียนจะแหง แลวถายภาพทันที จากน้ันนํ าไปลางในกรดไพโรแกลลิก (Pyrogallic Acid) แลวทํ าใหคงสภาพดวยน้ํ ายาไฮโป (Hypo) ก็จะไดเนกาตีฟท่ีพรอมใหนํ าไปอัดขยายตอไป ขอเสียของการถายภาพแบบน้ี จะตองนํ าเครื่องมือและหองมืดไปดวยทุกคร้ัง

ภาพท่ี 1.3 (ก) แสดงลักษณะการถายภาพยุคแรก

Page 6: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

6

ตอมาในป พ.ศ. 2414 ไดมีผูคิดประดิษฐเนกาตีฟ โดยใชแผนกระจกฉาบดวยเจลาตินผสมซิลเวอรคลอไรด ช่ือวาริชารด ลีช แมดดอกซ (Richard Leach Maddox) นํ าเนกาตีฟท่ีฉาบเสร็จแลวมาทํ าใหแหง เนกาตีฟแบบน้ีมีความไวแสงสูงกวาแบบกระจกเปยกถึง 60 เทา เรียกกระบวนการทํ าเนกาตีฟน้ีวากระจกแหง (Dry Plate) และไดมีการปรับปรุงคุณภาพเรื่อยมา อาทิชารล เบนเนต (Charles Bennet) ไดเพิ่มความไวแสงใหกับกระจกแหง

ภาพท่ี 1.3 (ข) แสดงการเตรียมอุปกรณและตองลางในทันทีท่ีถายภาพเสร็จ (ที่มา : รังสรรค ศิริชู. 2530 : 10)

ป พ.ศ. 2431 ยอรช อิสทแมน (George Eastman) ไดผลิตกลองบอกซ โกดัก(Kodak Box Camera) ออกจํ าหนายท่ัวโลก ซึ่งกลองบอกซนี้ถายดวยฟลมมวน ซึ่งทํ าดวยพลาสติกโปรงใส ฉาบดวยสารละลายซิลเวอรแฮไลด (Silver halide) เมื่อถายภาพจนหมดมวนแลว จะตองสงฟลมไปลางและอัดขยายท่ีบริษัท ซ่ึงรูจักดีในนาม บริษัทอีสตแมนโกดัก น่ันเอง(สมาน เฉตระการ, 2532 : 11-15)

1.2 ประวัติการถายภาพในเมืองไทย

ในป ค.ศ. 1839 ซึ่งตรงกับ พ.ศ. 2382 ในประเทศไทยตรงกับสมัยรัชกาลท่ี 3 (พ.ศ.2367-2394) วิชาการถายภาพไดแพรหลายไปยังประเทศตาง ๆ รวมท้ังประเทศไทยดวย โดยมีหลักฐานบันทึกไวในหนังสือ 2 เลม คือ กุมารวิทยาและสยามประเภท

หนังสือกุมารวิทยา ฉบับท่ี 22 พ.ศ. 2439 ซึ่งเปนพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 5 เร่ือง“เรื่องถายรูปเมืองไทย” ทรงกลาววา การถายรูปเขามาเมืองไทย “ยังไมถึง 50 ป” เม่ือคํ านวณดูแลว พอที่จะประมาณไดวา การถายภาพเขามาครั้งแรกในเมืองไทย ในสมัยรัชกาลที่ 3

Page 7: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

7

ในหนังสือสยามประเภทของ ก.ศ.ร. กุหลาบ เขียนลงฉบับเดือนเมษายน พ.ศ. 2444วา “....พึ่งมามีชางถายรูปครั้งแรกในรัชกาลที่ 3 น้ัน คือทานสังฆราชฝร่ังเศสช่ือปาเลอกัว เปนผูถายรูปแผนเงินในกรุงสยามกอนมนุษยท่ี 1 ภายหลังพระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด) แตยังเปนมหาดเล็กอยูน้ัน ไดถายรูปเปนคร้ังท่ี 2 เปนศิษยสังฆราชดวย พระยากระสาปนกิจโกศล(โหมด) ผูนี้ เปนชางชุบแชเงินทองกอนมนุษยท้ังส้ินในแผนดินสยาม เปนผูรูวิชากะไหลแชชุบเงินทอง กอนชาวสยามท้ังส้ิน ภายหลังพระปรีชากลการ (สํ าอาง) เปนชางถายรูปคร้ังท่ี 3 ภายหลังหลวงอัคนีนรมติร (จิตร) เปนชางถายรูปคร้ังท่ี 4” (เอนก นาวิกมูล. 2529 : 5)

ภาพท่ี 1.4 “สกุณวัน” เกงกรงนกริมพระที่นั่งอมรินทราวินิจฉัย (ท่ีมา : เอนก นาวิกมูล. 2529 : 11)

ภาพถายในสมัยนั้น ถายลงบนแผนโลหะที่ฉาบดวยซิลเวอรแฮไลด ถายภาพไดคร้ังละภาพเทาน้ันและอัดขยายช้ํ าอีกไมได ซ่ึงเปนระบบดาแกโรไทพน่ันเอง แตแมวาจะมีหลักฐานวาการถายภาพไดเขามาเมืองไทยเปนท่ีแนนอน แตจนถึงปจจุบัน ก็ยังไมพบตนฉบับภาพดังกลาวแมแตภาพเดียว คงพบแตภาพซ่ึงเช่ือวากอบปมาจากตนฉบับอีกที และนํ ามาอัดขยายลงบนกระดาษ เชนภาพพระบาทสมเด็กพระปนเกลาเจาอยูหัว เมื่อครั้งยังทรงพระยศกรมขุนอิศเรศ รังสรรค เปนตน

Page 8: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

8

ภาพท่ี 1.5 พระบรมฉายาลักษณพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว เมื่อครั้งยังทรงพระยศ เปนกรมขุนอิศเรศรังสรรค(ที่มา : เอนก นาวิกมูล. 2529 : 9)

ตอจากนั้น ในรัชกาลท่ี 4 (พ.ศ. 2394-2411) การถายภาพก็คอย ๆ เปนที่แพรหลายมากขึ้น มีรานถายภาพของคนไทยเกิดขึ้นแหงแรก เปนของนายจิตรหรือขุนสุนทรสาทิศลักษณเปดเมื่อป พ.ศ. 2406 จากน้ันเปนตนมาการถายภาพไดแพรหลายเปนท่ีรูจักจนปจจุบัน(เอนก นาวิกมูล. 2529 : 5-6)

Page 9: chapter1ประวัติการถ่ายภาพโดยสังเขป

Basic of Photography

Created by Amnuai Ajanatorn

9

ภาพท่ี 1.6 พระราชโอรสและพระราชธิดาในรัชกาลที่ 5 กํ าลังถายภาพรายามุกดาเมืองไทรบุรี ในงานวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม (พ.ศ. 2448)

(ท่ีมา : เอนก นาวิกมูล. 2529 : ปก)

ปจจุบันเทคโนโลยีการถายภาพ ไดรับการพัฒนาไปมากไมวาจะเปนกลองถายภาพฟลม อุปกรณตาง ๆ กลองถายภาพมีหลายแบบหลายขนาด บางแบบยังมีใชอยูในปจจุบัน บางแบบก็เลิกใชไปแลว จะหาดูไดแตเฉพาะในพิพิธภัณฑเทานั้น