68
รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้ําเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด 4 - 1 บทที4 สภาพแวดลอมปจจุบัน 4.1 บทนํา การศึกษาสภาพแวดลอมปจจุบัน เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการศึกษาประเมินผลกระทบ สิ่งแวดลอมและสุขภาพที่คาดวาอาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ โดยไดแบงการศึกษาออกเปน 4 ดาน คือ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย และคุณคาคุณภาพชีวิต 4.2 ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ 4.2.1 แผนดินไหว การศึกษาดานธรณีวิทยาแผนดินไหว (Earthquake Geology) ในประเทศไทยนั้น เทาที่ปรากฎโดย สวนใหญ เปนการศึกษาธรณีวิทยาแผนดินไหวในภาพกวาง เชน Warnitchai and Lisantono, 1996 ได ทําการศึกษาถึงโครงสรางทางธรณีวิทยาและขอมูลที่เกี่ยวของกับแผนดินไหว โดยจัดทําแผนที่แหลงกําเนิด แผนดินไหวในพื้นที่เอเซียตะวันออกเฉียงใต โดยแบงพื้นที่เปน 12 เขต พบวาประเทศไทยจัดอยูใน Zone F (Tenasserim Range) ทางภาคตะวันตกและ Zone G (Northern Thailand) ทางภาคเหนือของประเทศไทย และ จากการรวบรวมขอมูลการเกิดแผนดินไหว ทั้งจากการบันทึกทางประวัติศาสตรยอนหลัง และจากสถานี ตรวจวัดตางๆ ในชวงเวลา . .1910-1983 ในขณะทีChuaviroj (1991) จัดทําแผนที่รอยเลื่อนมีพลังใน ประเทศไทย สามารถแบงได 13 รอยเลื่อน ตอมาปญญา จารุศิริ และคณะ (2543) ไดทําการศึกษาสาเหตุของ แผนดินไหวในประเทศไทยที่มีความสัมพันธกับโครงสรางทางธรณีวิทยาของเอเซียตะวันออกเฉียงใต โดย การแปลความหมายจากภาพถายดาวเทียม Landsat 5 TM ผลการศึกษาการแปรสัณฐานเปลือกโลก จุดกําเนิด แผนดินไหวและผลการหาอายุตะกอนดินที่เกี่ยวเนื่องกับรอยเลื่อน ทําใหทราบวารอยเลื่อนที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยหลายแนวยังมีการเคลื่อนตัวหรือมีพลังอยูที่เรียกวา “Active Fault” (รอยเลื่อนมีพลัง หมายถึง รอยเลื่อนที่จะมีแผนดินไหวเกิดขึ้นอีกในอนาคตอยางนอย 1 ครั้ง ในระยะ 10,000 ) ไดแก รอยเลื่อนเชียง

enviroment

Embed Size (px)

DESCRIPTION

รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหน่ายไฟฟ้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

Citation preview

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 1

บทท่ี 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.1 บทนํา

การศึกษาสภาพแวดลอมปจจุบัน เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการศึกษาประเมินผลกระทบส่ิงแวดลอมและสุขภาพที่คาดวาอาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ โดยไดแบงการศึกษาออกเปน 4 ดาน คือ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย และคุณคาคุณภาพชีวิต 4.2 ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ 4.2.1 แผนดนิไหว การศึกษาดานธรณีวิทยาแผนดินไหว (Earthquake Geology) ในประเทศไทยนั้น เทาที่ปรากฎโดยสวนใหญ เปนการศึกษาธรณีวิทยาแผนดินไหวในภาพกวาง เชน Warnitchai and Lisantono, 1996 ไดทําการศึกษาถึงโครงสรางทางธรณีวิทยาและขอมูลที่เกี่ยวของกับแผนดินไหว โดยจัดทําแผนที่แหลงกําเนิดแผนดินไหวในพื้นที่เอเซียตะวันออกเฉียงใต โดยแบงพื้นที่เปน 12 เขต พบวาประเทศไทยจัดอยูใน Zone F (Tenasserim Range) ทางภาคตะวันตกและ Zone G (Northern Thailand) ทางภาคเหนือของประเทศไทย และจากการรวบรวมขอมูลการเกิดแผนดินไหว ทั้งจากการบันทึกทางประวัติศาสตรยอนหลัง และจากสถานีตรวจวัดตางๆ ในชวงเวลา ค.ศ.1910-1983 ในขณะที่ Chuaviroj (1991) จัดทําแผนที่รอยเล่ือนมีพลังในประเทศไทย สามารถแบงได 13 รอยเล่ือน ตอมาปญญา จารุศิริ และคณะ (2543) ไดทําการศึกษาสาเหตุของแผนดินไหวในประเทศไทยที่มีความสัมพันธกับโครงสรางทางธรณีวิทยาของเอเซียตะวันออกเฉียงใต โดยการแปลความหมายจากภาพถายดาวเทียม Landsat 5 TM ผลการศึกษาการแปรสัณฐานเปลือกโลก จุดกําเนิดแผนดินไหวและผลการหาอายุตะกอนดินที่เกี่ยวเนื่องกับรอยเล่ือน ทําใหทราบวารอยเลื่อนที่เกิดขึ้นในประเทศไทยหลายแนวยังมีการเคลื่อนตัวหรือมีพลังอยูที่เรียกวา “Active Fault” (รอยเล่ือนมีพลัง หมายถึง รอยเล่ือนที่จะมีแผนดินไหวเกิดขึ้นอีกในอนาคตอยางนอย 1 คร้ัง ในระยะ 10,000 ป) ไดแก รอยเล่ือนเชียง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 2

แสน รอยเล่ือนแมทา รอยเล่ือนศรีสวัสดิ์ รอยเล่ือนเถิน รอยเล่ือนแพร รอยเล่ือนเมย-อุทัยธานี รอยเล่ือนดานเจดียสามองค รอยเล่ือนระนอง และรอยเลื่อนคลองมะรุย (รูปท่ี 4.2.1-1) แตมีบางรอยเลื่อนที่หมดพลังแลว การศึกษาขอมูลและสถิติตางๆ จากการเผยแพรของกรมอุตุนิยมวิทยา พบวาแผนดินไหวที่มีขนาด 7 ริคเตอรหรือมากกวามักเกิดอยูนอกประเทศไทย สวนใหญเกิดอยูในเขตพรมแดนจีน-พมา ประเทศพมา ประเทศจีนตอนใต ในทะเลอันดามัน และหมูเกาะสุมาตราตอนเหนือ ซ่ึงก็คือสวนหนึ่งของแนวเกิดแผนดินไหวภูเขาแอลป-หิมาลัย (Alpine-Himalayan Belt) และอยูในเขตแหลงกําเนิดแผนดินไหว (Seismic Source Zone) อ่ืนๆ นอกเหนือจากเขตภาคเหนือและตะวันตกของประเทศไทย และจากสถิติการเกิดแผนดินไหวที่สงผลกระทบถึงพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดตางๆ ในภาคกลางพบวามีสถิตินอยมาก จากขอมูลระหวางป 2542-2550 ในป พ.ศ.2542-2545 และป 2551 ไมมีเหตุการณแผนดินไหวที่สงผลกระทบถึงกรุงเทพมหานคร แตในป 2546 ถึงป 2550 มีเหตุการณแผนดินไหวที่สามารถรูสึกไดที่กรุงเทพมหานครและพื้นที่ใกลเคียง ดังตารางที่ 4.2.1-1 ซ่ึงสวนใหญเปนเพียงการรับรูถึงแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น และสําหรับการเกิดแผนดินไหวที่มีขนาดใหญที่สุดในประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2526 มีศูนยกลางอยูที่อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี วัดขนาดได 5.9 ริคเตอร โดยรูสึกถึงแรงสั่นสะเทือนเปนบริเวณกวาง มีความเสียหายเกิดขึ้นเล็กนอยบริเวณศูนยกลางการเกิดแผนดินไหวและกรุงเทพมหานคร บริเวณพื้นที่โครงการตั้งอยูในพื้นที่เสี่ยงภัยแผนดินไหวในเขต 2ก ของแผนที่บริเวณเสี่ยงภัยแผนดินไหวในประเทศไทย (ฉบับปรุงปรุง คร้ังที่ 2 พ.ศ. 2548) ดังแสดงในรูปท่ี 4.2.1-2 ซ่ึงมีความรุนแรงที่ระดับ V ถึง VII เมอรคัลลี ซ่ึงเปนระดับความรุนแรงที่กอใหเกิดภาวะตกใจและสิ่งกอสรางที่ออกแบบไมดีจะปรากฎความเสียหาย (มีความเสี่ยงในการเกิดความเสียหายในระดับนอยถึงปานกลาง) สําหรับกรณเหตุการณพิบัติภัยคล่ืนสึนามิที่เกิดขึ้นครั้งลาสุด เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 อันเนื่องมาจากปรากฎการณแผนดินไหวบริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียนั้น พบวา พื้นที่ 6 จังหวัดทางภาคใตของประเทศไทย ซ่ึงประกอบดวย จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ สตูล และตรัง เปนพื้นที่ที่ไดรับพิบัติภัยจากคลื่นสึนามิในครั้งนี้ โดยเหตุการณที่เกิดขึ้นกอใหเกิดความเสียหายในระดับรุนแรงทั้งตอชีวิต ทรัพยสิน และอาคารสิ่งปลูกสรางตางๆ จากการรายงานของกรมอุตุนิยมวิทยา (พ.ศ.2548) พบวา ประเทศไทยมีผูเสียชีวิตจากเหตุการณดังกลาว กวา 5,000 คน และสูญหายกวา 3,000 คน

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 3

ท่ีมา : กรมทรัพยากรธรณี

รูปท่ี 4.2.1-1 รอยเล่ือนท่ีมีพลังในประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 4

ตารางที่ 4.2.1-1 สถิติเกิดแผนดินไหวที่รูสึกไดในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ (ป พ.ศ.2546-2550)

วัน/เดือน/ป บริเวณท่ีเกิดแผนดนิไหว/

ตําแหนงท่ีรูสึก บันทึกเหตุการณ ขนาดที่จุศูนยกลาง

(ริคเตอร)

ป พ.ศ.2546 22 ม.ค.2546 10:00 น.

บริเวณทะเลเหนือเกาะ สุมาตราประเทศอินโดนีเซยี หางจากกรุงเทพมหานคร 1,000 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวนัตกเฉยีงใต 5.90N 95.60E

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งหลายจังหวดัทางภาคใต

7.0

22 ก.ย.2546 01:16 น.

บริเวณประเทศพมา 19.40N 96.20E

รูสึกสะเทือนบนอาคารสูงของอําเภอเมือง อําเภอเชียงดาว จงัหวัดเชียงใหม บางแหงของจังหวดัเชียงราย จังหวัดแมฮองสอน และรูสึกสั่นสะเทือนบนอาคารสูงบางแหงของกรุงเทพมหานคร

6.7

ป พ.ศ.2547 17 ก.ย.2547 18:25 น.

ทะเลอันดามัน 14.90N 96.30E

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร

5.8

ป พ.ศ.2548 28 มี.ค.2548 23:10 น.

ชายฝงตะวันตกของเกาะ สุมาตรา 2.0N 97.00E

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งหลายจังหวดัทางภาคใต

8.5

19 พ.ศ.2548 8:55 น.

เกาะสุมาตราในอินโดนีเซยี 2.0N 97.00E

มีความรูสึกสั่นสะเทือนในจังหวดัภาคใตตอน ลางไดแก สงขลา ภูเก็ต พังงา และผูอาศัยบนอาคารสูง กรุงเทพฯ

6.8

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 5

ตารางที่ 4.2.1-1 (ตอ) สถิติเกิดแผนดินไหวที่รูสึกไดในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ (ป พ.ศ.2546-2550)

วัน/เดือน/ป บริเวณท่ีเกิดแผนดนิไหว/

ตําแหนงท่ีรูสึก บันทึกเหตุการณ ขนาดที่จุศูนยกลาง

(ริคเตอร)

ป พ.ศ.2549 28 มี.ค.2548 08:55 น.

ชายฝงตะวันตกเกาะ สุมาตรา 2.0N 97.00E

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ของกรุงเทพ มหานคร รวมทั้งหลายจังหวดัทางภาคใต

8.5

19 พ.ค.2548 08:55 น.

เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย 2.0N 97.00E

มีความรูสึกสั่นสะเทือนในจังหวดัภาคใตตอน ลางไดแก สงขลา ภูเก็ต พังงา และผูอาศัยบนอาคารสูง กรุงเทพฯ

6.8

ป พ.ศ.2550 15 พ.ค.2550 21:35 น.

พรมแดนลาว-พมาหางจากจังหวดัเชยีงราย 97 กม. 20.57N 99.39E

รูสึกสั่นสะเทือนไดในจังหวัดเชียงใหม เชียงราย พะเยา และอาคารสูงในกรุงเทพฯ

5.1

16 พ.ค.2550 17:04-17.16 น.

พรมแดนลาย-พมา 20.00N 100.30E

รูสึกสั่นสะเทือนไดในจังหวัดเชียงใหม เชียงราย พะเยา และอาคารสูงในกรุงเทพฯ

4.7 และ 4.9

12 ก.ย.50 18:10 น.

ตอนใตของเกาะสุมาตรา 4.50S 101.1E

รูสึกไดบนอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร

7.9

13 ก.ย. 2550 10.35 น.

ตอนใตของสุมาตรา 2.65 S 99.87 E

รูสึกสั่นสะเทือนได บนอาคารสูงบางแหง ในกรุงเทพมหานคร

7.1

ป พ.ศ. 2551 20 ก.พ.51 15.05 น.

ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 2.70N 95.90E

รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯและจ.ภูเก็ต อาจเกิดสึนามิขนาดเล็กบริเวณใกลศูนยกลาง

7.5

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 6

ตารางที่ 4.2.1-1 (ตอ) สถิติเกิดแผนดินไหวที่รูสึกไดในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ (ป พ.ศ.2546-2550)

วัน/เดือน/ป บริเวณท่ีเกิดแผนดนิไหว/

ตําแหนงท่ีรูสึก บันทึกเหตุการณ ขนาดที่จุศูนยกลาง

(ริคเตอร) 12 พ.ค.51 13.27 น.

มณฑลเสฉวน ,จีน 31.7 N 102.7 E

รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯหลายแหง ประเทศจีนมีผูเสยีชีวิตประมาณ 20,000 คน

7.8

21 ส.ค.51 19.24 น.

พรมแดนพมา-จีน 25.1 N 97.82 E

รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯหลายแหง ประเทศจีนมีผูเสยีชีวิต 1 คน บาดเจ็บหลายคน

5.7

22 ก.ย.51 20.30 น.

ชายฝงตอนใตของพมา 15.7 N 96.2 E

รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงหลายแหงในกรุงเทพ

5.2

30 ก.ย.52 17.16 น.

ตอนกลางเกาะสุมาตรา 1.1S 99.1E

รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ ประเทศอินโดนีเซียมีผูเสียชีวิตประมาณ 1,000 คน

7.9

ป พ.ศ.2553 9 พ.ค. 2553 19:59

ชายฝงตอนเหนือของเกาะ สุมาตรา อินโดฯ (3.59N,96.04E)

รูสึกสั่นไหวไดบนอาคารสูงบางแหงใน จ.ภูเกต็, จ.พังงา, จ.สุราษฎรธานี, จ.สงขลา และ กทม.

7.3

ท่ีมา : กรมอุตนุิยมวิทยา สํานักแผนดินไหว, 2554 (http://www.seismology.tmd.go.th/earthquakestat.php)

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 7

ท่ีมา : กรมทรัพยากรธรณี

รูปท่ี 4.2.1-2 แผนที่บริเวณเสี่ยงภยัแผนดนิไหวของประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 8

4.2.2 คุณภาพอากาศ จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณพื้นที่โครงการและบริเวณโดยรอบจํานวน 4 สถานี ประกอบดวย บริเวณพื้นที่สํานักงานของบริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด สํานักงานเขตลาดกระบัง วัดกิ่งแกว และวัดปลูกศรัทธา ดังแสดงจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในรูปท่ี 4.2.2-1 ดัชนีที่ทําการตรวจวัด ไดแก ฝุนละอองรวม (TSP) ฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM-10) และกาซไนโตรเจนไดออกไซด ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในชวง ป 2551-2553 แสดงในตารางที่ 4.2.2-1 พบวาทุกดัชนีตรวจวัดในทุกสถานีมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาต ิฉบับที่ 10 พ.ศ.2538 เร่ืองกําหนดคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป และตามประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ.2547 เร่ือง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป จากลักษณะของลมที่พัดผานประเทศไทยในเดือนตางๆ สวนใหญเปนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ดังรูปท่ี 4.2.2-2 และจากสถิติภูมิอากาศของสถานีตรวจวัดกรุงเทพมหานคร ซ่ึงเปนสถานีตรวจวัดอากาศที่อยูใกลที่สุดในชวง พ.ศ. 2514-2543 ดังตารางที่ 4.2.2-2 ในชวงเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม ทิศทางลมมาจากทิศใต (S) และทิศตะวันตกเฉียงใต (SW) และทิศใต (S) ในเดือนกันยายน ลมจะพัดจากทิศตะวันตก (W) ชวงเดือนตุลาคม-ธันวาคม ทิศลมจะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (NE) ในเดือนมกราคม ลมจะพัดมาจากทิศ (E, S) ซ่ึงเปนไปตามทิศทางลมมรสุมและทางเดินพายุที่พัดผานประเทศไทยในเดือนตางๆ ที่พัดผานประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากทิศที่ตั้งโครงการ โดยเฉพาะหนวยผลิตไฟฟาซึ่งตั้งอยูทางทิศเหนือของ Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ดังรูปท่ี 4.2.2-3 เมื่อพิจารณาจากที่ตั้งและทิศทางลมสวนใหญในชวงเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จะอยูเหนือทิศลมหรืออาจกลาวอีกนัยหนึ่งวาโครงการตั้งอยูทิศใตลม ดังนั้นในชวงเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จะอยูใตทิศทางลม ในขณะที่ชวงเดือนมกราคม (ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะมีอิทธิพลตอประเทศไทย) Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จะอยูใตทิศลมซึ่งอาจจะไดรับผลกระทบโดยตรงจากการระบายอากาศทิ้งของโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 9

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปท่ี 4.2.2-1 สถานีตรวจวดัคุณภาพอากาศในบรรยากาศของโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 10

ตารางที่ 4.2.2-1 คุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณพื้นท่ีโครงการและบริเวณใกลเคียง ชวงป 2551-2553

จุดเก็บตวัอยาง ฝุนละอองรวม

(มก./ลบ.ม.) ฝุนละอองขนาดเล็ก กวา 10 ไมครอน

(มก./ลบ.ม.)

กาซไนโตรเจนไดออกไซด (สวนในลานสวน)

บริเวณพืน้ที่สํานักงาน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

0.025-0.139 0.013-0.068 0.0010-0.0994

บริเวณสํานกังานเขต ลาดกระบัง

0.020-0.125 0.007-0.097 0.0010-0.0896

บริเวณวัดกิ่งแกว 0.011-0.293 0.021-0.119 0.0015-0.0837 บริเวณวัดปลกูศรัทธา 0.016-0.182 0.012-0.099 0.0001-0.0682

มาตรฐาน 0.331/ 0.121/ 0.172/ หมายเหตุ : ป 2551 ตรวจวัดเมื่อ 27 เมษายน – 4 พฤษภาคม และเมื่อ 25 ตุลาคม- 1 พฤศจิกายน ป 2552 ตรวจวัดเมื่อ 16 – 23 เมษายน และเมื่อ 8 -15 ธันวาคม ป 2553 ตรวจวัดเมื่อ 19 – 26 เมษายน และเมื่อ 4 -11 ตุลาคม มาตรฐาน: 1/ มาตรฐานคาเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ.2547

เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป 2/ มาตรฐานเฉลี่ย 1 ช่ัวโมง ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2538

เรื่องกําหนดคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 11

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปท่ี 4.2.2-2 แผนที่แสดงทศิทางของลมมรสุมท่ีมีอิทธิพลตอประเทศไทย

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 12

ตารางที่ 4.2.2-2 สถิติภูมิอากาศของสถานตีรวจวัดกรุงเทพมหานครในชวง พ.ศ.2514-2543

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 13

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปท่ี 4.2.2-3 ท่ีตั้งหนวยผลิตไฟฟาของโครงการ และ Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 14

4.2.3 เสียง จากการตรวจวัดระดับเสียงทั่วไปเฉลี่ย 24 ช่ัวโมง (Leq 24 hr.) บริเวณพื้นที่โครงการและบริเวณโดยรอบจํานวน 4 สถานี ประกอบดวย บริเวณพื้นที่โครงการของบริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด บริเวณพื้นที่จัดสรรหมู 3 ชซอยลาดกระบัง 40 บริเวณวัดลาดกระบัง และบริเวณวัดกิ่งแกว ดังแสดงจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในรูปท่ี 4.2.3-1 ป 2551-2553 แสดงในตารางที่ 4.2.3-1 พบวาระดับเสียงมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ.2540 เร่ือง มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป คือมีคาไมเกิน 70 เดซิเบล เอ สําหรับผลการตรวจวัดระดับเสียงบริเวณริมร้ัวรอบโครงการ ในชวงป 2551-2553 สรุปไดดังตารางท่ี 4.2.3-2 พบวาระดับเสียงสวนใหญ มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน คือมีคาไมเกิน 70 เดซิเบล เอ โดยผลการตรวจวัดเมื่อวันที่ 28-29 เมษายน 2551 ที่ริมร้ัวดานทิศตะวันตก มีคาระดับเสียงสูงถึง 84.5 เดซิเบล เอ 4.2.4 คุณภาพน้ํา

(1) คุณภาพน้ําของคลองระบายน้ําดานในรอบทาอากาศยาน

จากการเก็บตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําของคลองระบายน้ําดานในรอบทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จํานวน 2 สถานี ไดแก บริเวณระยะ 500 เหนือที่ตั้งโครงการ และบริเวณ 500 เมตรทายที่ตั้งโครงการ ตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําของโครงการ ในชวงป 2552 -2553 โดยเก็บตัวอยางทุก 1 เดือน สามารถสรุปไดดังตารางที่ 4.2.4-1 และ ตารางที่ 4.2.4-2 ตามลําดับ สรุปไดดังนี้

- คุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําบริเวณ 500 เมตร เหนือที่ตั้งโครงการ ลาสุดในป 2553 สวนใหญมีคาใกลเคียงกับผลการตรวจวัดในครั้งที่ผานมา ยกเวน คาความเปนกรด-ดาง (pH) อุณหภูมิ (Temperature) สารละลายรวม (TDS) และความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD5) มีคาลดลง สวนคาสารแขวนลอยรวม (TSS) และเหล็ก (Total Fe) มีคาเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับผลการตรวจวัดครั้งที่ผานมา

- คุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําบริเวณ 500 เมตร ทายที่ตั้งโครงการ ลาสุดในป 2553 สวนใหญ มีคาใกลเคียงกับผลการตรวจวัดในครั้งที่ผานมา ยกเวน คาความเปนกรด-ดาง (pH) สารละลายรวม (TDS) คาสารแขวนลอยรวม (TSS) มีคาลดลง สําหรับคาทองแดง (Cu) ) มีคาเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับผลการตรวจวัดครั้งที่ผานมา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 15

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปท่ี 4.2.3-1 สถานีตรวจวดัระดับเสียงของโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 16

ตารางที่ 4.2.3-1 ระดับเสียงท่ัวไป บริเวณพื้นท่ีโครงการและบริเวณใกลเคียง ชวงป 2551-2553

ผลการตรวจวดัระดับเสียงทัว่ไป ; Leq 24 hr (เดซิเบล เอ)

วันที่ตรวจวดั บริเวณพืน้ที่โครงการ

บริเวณจัดสรรหมู 3 ซ.ลาดกระบัง 40

บริเวณ วัดลาดกระบัง

บริเวณ วัดกิ่งแกว

27-28 เม.ย. 2551 66.8 51.0 55.2 56.7 28-29 เม.ย. 2551 67.7 58.7 54.4 55.5 29-30 เม.ย. 2551 69.4 56.7 54.7 56.0 25-26 ต.ค. 2551 67.0 58.7 67.8 59.6 26-27 ต.ค. 2551 67.0 55.4 64.8 59.4 27-28 ต.ค. 2551 67.5 58.5 63.9 59.9 17-18 เม.ย. 2552 70.0 58.2 62.9 56.5 18-19 เม.ย. 2552 69.9 60.2 64.5 55.6 19-20 เม.ย. 2552 70.0 57.7 63.0 52.6 9-10 ธ.ค. 2552 71.6 57.8 69.2 55.6 10-11 ธ.ค. 2552 71.9 59.2 68.0 55.4 20-21 เม.ย. 2553 71.5 59.4 68.4 58.8 21-22 g,.p. 2552 67.1 55.3 63.2 53.8 21-22 เม.ย. 2553 66.7 55.0 63.9 53.9 22-23 เม.ย. 2553 65.8 54.3 63.8 55.4 6-7 ก.ย. 2553 67.3 61.0 63.2 54.2 7-8 ก.ย. 2553 66.5 58.8 64.1 54.4 8-9 ก.ย. 2553 66.5 54.8 62.9 55.8

มาตรฐาน* 70 70 70 70 หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ.2540

เรื่องมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 17

ตารางที่ 4.2.3-2 ระดับเสียงท่ัวไป บริเวณริมร้ัวรอบพื้นท่ีโครงการ ชวงป 2551-2553

ผลการตรวจวดัระดับเสียงทัว่ไป ; Leq 24 hr (เดซิเบล เอ)

วันที่ตรวจวดั บริเวณพืน้ที่โครงการ

บริเวณจัดสรรหมู 3 ซ.ลาดกระบัง 40

บริเวณ วัดลาดกระบัง

บริเวณ วัดกิ่งแกว

28-29 เม.ย. 2551 62.1 69.3 71.5 84.5 27-28 ต.ค. 2551 64.9 68.5 72.4 66.3 21-22 เม.ย. 2552 58.2 67.2 69.6 64.8 9-10 เม.ย. 2552 64.0 69.4 71.6 63.5 20-21 เม.ย. 2553 66.7 68.2 67.1 60.5 6-7 ก.ย. 2553 66.6 68.1 67.3 65.6

คามาตฐาน* 70 70 70 70 หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ.2540

เรื่องมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 18

ตารางที่ 4.2.4-1 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําทาอากาศยานฯ บริเวณ 500 เมตร เหนือท่ีตั้งโครงการ

พารามิเตอร หนวย ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ํา คา

ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน* ความเปนกรด-ดาง (pH) - 7.70-8.50 7.60-8.02 7.65-8.14 7.22-7.71 5.5-9.0 อุณหภูมิ (Teperature) ๐C 32.0-36.0 29.4-32.9 29.0-37.6 25.5-30.0 40.0 สารละลายรวม (TDS) มก./ลิตร 1,773-3,412 594-2,605 1,002-3,153 952-2,928 3,000 สารแขวนลอยรวม (TSS)

มก./ลิตร 24.3-55.5 13.8-44.0 13.0-87.0 10.0-57.8 50

คลอรีนตกคาง (Residual Chlorine)

มก./ลิตร <0.25-0.25 <0.1-0.25 <0.25 <0.25 1.0

บีโอดี (BOD5) มก./ลิตร 3.0-24.0 02.0-14.0 2.0-24.0 2.0-6.0 20 น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease)

มก./ลิตร <2.0 <2.0-3.0 <2.0 <2.0-2.0 5.0

ตะกั่ว (Pb) มก./ลิตร <0.005 <0.005 <0.005-0.012

<0.005-0.009

0.2

ทองแดง (Cu) มก./ลิตร <0.003 <0.003 <0.003-0.004

<0.003 2.0

ปรอท (Hg) มก./ลิตร <0.0005 <0.0005 <0.0005 <0.0005 0.005 เหล็ก (Tatal Fe) มก./ลิตร 0.53-1.20 0.45-1.20 0.43-0.94 0.53-1.10 - หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2539 เรื่อง มาตรฐานน้ําทิ้งที่ระบายออกจาก โรงงาน ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 19

ตารางที่ 4.2.4-2 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําทาอากาศยานฯ บริเวณ 500 เมตร ทายท่ีตั้งโครงการ

พารามิเตอร หนวย ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ํา คา

ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน* ความเปนกรด-ดาง (pH) - 8.98-9.30 8.11-8.71 7.64-8.74 7.44-8.52 5.5-9.0 อุณหภูมิ (Teperature) ๐C 33.0-37.0 31.0-37.0 29.0-34.5 25.6-31.0 40.0 สารละลายรวม (TDS) มก./ลิตร 577-924 583-1,111 722-1,228 623-1,004 3,000 สารแขวนลอยรวม (TSS)

มก./ลิตร 11.2-61.5 24.3-61.5 13.8-41.5 9.5-39.2 50

คลอรีนตกคาง (Residual Chlorine)

มก./ลิตร <0.25-0.25 <0.1-0.25 <0.25-0.25 <0.25 1.0

บีโอดี (BOD5) มก./ลิตร 2.0-8.0 1.0-4.0 2.0-4.0 1.0-5.0 20 น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease)

มก./ลิตร <2.0 <2.0-2.0 <2.0 <2.0 5.0

ตะกั่ว (Pb) มก./ลิตร <0.005 <0.005 <0.005-0.007

<0.005-0.005

0.2

ทองแดง (Cu) มก./ลิตร <0.003-0.011

<0.003-0.014

<0.003-0.014

0.006-0.012 2.0

ปรอท (Hg) มก./ลิตร <0.0005 <0.0005 <0.0005 <0.0005 0.005 เหล็ก (Tatal Fe) มก./ลิตร 0.27-1.00 0.12-1.30 0.52-1.10 0.46-0.89 - หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2539 เรื่อง มาตรฐานน้ําทิ้งที่ระบายออกจาก โรงงาน ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 20

(2) คุณภาพน้ําแหลงน้ําผิวดิน

จากการเก็บตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) และคลองลาดกระบัง บริเวณทายสถานีสูบน้ําของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ดังแสดงในรูปท่ี 4.2.4-1 ตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําของโครงการ ในชวงป 2552 -2553 สามารถสรุปไดดังตารางที่ 4.2.4-3 และ ตารางที่ 4.2.4-4 ตามลําดับ สรุปไดดังนี้

- ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) ลาสุด สวนใหญมีคาใกลเคียงกับคาเดิม ยกเวนคา อุณหภูมิ สารละลายรวม สารแขวนลอยรวม และคาความสกปรกในรูปบีโอดี มีคาลดลง สวนคาออกซิเจน มีคาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผลการตรวจวัดที่ผานมา

- ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําของคลองลาดกระบังลาสุด สวนใหญมีคาใกลเคียงกับคาเดิม ยกเวนคา อุณหภูมิ สารละลายรวม สารแขวนลอยรวม และคาความสกปรกในรูปบีโอดี มีคาลดลง สวนคาโคลิฟอรมแบคทีเรียรวม และคาฟคอลโคลิฟอรมแบคทีเรีย มีคาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผลการตรวจวัดที่ผานมา

คุณภาพน้ําของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา)และคลองลาดกระบังลาสุด สวนใหญมีคา

อยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2537 เร่ือง มาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน ยกเวนคาความสกปรกในรูปบีโอดีของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา)และคลองลาดกระบัง มีคาเปนมีคาเปน 5.9 และ 5.3 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลําดับ ซ่ึงเกินจากเกณฑมาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดินประเภทที่ 4 ที่กําหนดไวไมเกิน 4 มิลลิกรัม/ลิตร ทั้งนี้มาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดินประเภทที่ 4 หมายถึงแหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพือ่

- การอุปโภคบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ําเปนพเิศษกอน

- การอุตสาหกรรม

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 21

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปท่ี 4.2.4-1 สถานีเก็บตัวอยางน้ําผิวดิน คลองลาดกระบังและคลองบางโฉลง

จุดเก็บตัวอยางน้ําคลองลาดกระบัง

จุดเก็บตัวอยางน้ําคลองบางโฉลง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 22

ตารางที่ 4.2.4-3 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) บริเวณทายสถานีสบูน้ําของทาอากาศยานฯ

พารามิเตอร หนวย ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองบางโฉลง คา ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน*

ความเปนกรด-ดาง (pH) - 7.15 6.94 7.23 7.43 5.0-9.0 อุณหภูมิ (Teperature) ๐C 31 29.6 31.0 30.4 ธรมชาติ สารละลายรวม (TDS) มก./ลิตร 677 328 635 311 - สารแขวนลอยรวม (TSS)

มก./ลิตร 41 27.5 35.8 20.0 -

ออกซิเจนละลาย (DO)

มก./ลิตร 2.9 5.9 4.1 4.8 2.0

บีโอดี (BOD5) มก./ลิตร 5.4 3.9 7.3 5.9 4.0 น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease)

มก./ลิตร <2.0 <2.0 <2.0 <2.0 -

ตะกั่ว (Pb) มก./ลิตร <0.005 <0.005 0.007 <0.005 0.05 ทองแดง (Cu) มก./ลิตร <0.003 <0.003 <0.003 <0.003 0.1 ปรอท (Hg) มก./ลิตร <0.0005 <0.0005 <0.0005 <0.0005 0.002 แคดเมี่ยม (Cd) มก./ลิตร <0.003 <0.003 <0.003 <0.003 0.005

โคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด (TCB)

MPN/100 ml

≥240,000 46,000 2,400 4,300 -

ฟคอลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB)

MPN/100 ml

110,000 1,500 930 900 -

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2537 เรื่อง มาตรฐานคุณภาพน้ํา ในแหลงน้ําผิวดิน ประเภทที่ 4 ธรรมชาติ หมายถึงอุณหภูมิของน้ําจะตองไมสูงกวาอุณหภูมิตามธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส

ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 23

ตารางที่ 4.2.4-4 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองลาดกระบัง บริเวณทายสถานีสูบน้ําของทาอากาศยานฯ

พารามิเตอร หนวย ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองลาดกระบัง คา

ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน* ความเปนกรด-ดาง (pH) - 7.2 7.93 7.33 7.25 5.0-9.0 อุณหภูมิ (Teperature) ๐C 31.0 29.5 32.0 30.3 ธรมชาติ สารละลายรวม (TDS) มก./ลิตร 474.0 353 649 282 - สารแขวนลอยรวม (TSS)

มก./ลิตร 31.8 36.0 28.0 13.5 -

ออกซิเจนละลาย (DO)

มก./ลิตร 3.6 6.9 4.0 4.0 2.0

บีโอดี (BOD5) มก./ลิตร 4.3 3.2 10.0 5.3 4.0 น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease)

มก./ลิตร <2.0 <2.0 <2.0 <2.0 -

ตะกั่ว (Pb) มก./ลิตร <0.005 <0.005 <0.005 <0.005 0.05 ทองแดง (Cu) มก./ลิตร <0.003 <0.003 0.003 <0.0003 0.1 ปรอท (Hg) มก./ลิตร <0.0005 <0.0005 0.0005 <0.0005 0.002 แคดเมี่ยม (Cd) มก./ลิตร <0.003 <0.003 <0.003 <0.003 0.005

โคลิฟอรมแบคทีเรียทั้งหมด (TCB)

MPN/100 ml

≥240,000 46,000 24,000 46,000 -

ฟคอลโคลิฟอรมแบคทีเรีย (FCB)

MPN/100 ml

≥240,000 24,000 9,300 24,000 -

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2537 เรื่อง มาตรฐานคุณภาพน้ํา ในแหลงน้ําผิวดิน ประเภทที่ 4 ธรรมชาติ หมายถึงอุณหภูมิของน้ําจะตองไมสูงกวาอุณหภูมิตามธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส

ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 24

4.3 ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ 4.3.1 นิเวศวิทยาทางน้ํา

จากการเก็บตัวอยางและวิเคราะหนิเวศวิทยาทางน้ํา ประกอบดวย แพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว และสัตวหนาดิน ของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) และคลองลาดกระบัง บริเวณทายสถานีสูบน้ําของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซ่ึงเปนจุดเก็บตัวอยางเดียวกับการวิเคราะหคุณภาพน้ําผิวดิน ตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําของโครงการ เมื่อเดือนธันวาคม 2553 ดังแสดงในตารางที่ 4.3.1-1 ถึงตารางที่ 4.3.1-3 สรุปไดดังนี้

(1) คลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) - แพลงกตอนพชื พบ 14 ชนิด ความหนาแนนรวม 3,268,905 เซลล/ลบ.ม. ดัชนีความ

หลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 2.11 - แพลงกตอนสตัว พบ 5 ชนิด ความหนาแนนรวม 306,573 เซลล/ลบ.ม. ดัชนีความ

หลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 1.86 - สัตวหนาดินพบ 3 ชนิด ความหนาแนนรวม 217 ตัว/ตารางเมตร ดัชนีความหลากหลาย

(Diversity Indices) เทากับ 1.31

(2) คลองลาดกระบัง - แพลงกตอนพชื พบ 14 ชนิด ความหนาแนนรวม 1,410,709 เซลล/ลบ.ม. ดัชนี

ความหลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 1.93 - แพลงกตอนสตัว พบ 6 ชนิด ความหนาแนนรวม 143,115 เซลล/ลบ.ม. ดัชนีความ

หลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 2.22 - สัตวหนาดินพบ 2 ชนิด ความหนาแนนรวม 184 ตัว/ตารางเมตร ดัชนีความหลากหลาย

(Diversity Indices) เทากับ 0.94

ทั้งนี้ ดัชนีทางชีวภาพของ Wilhm and Dorris (ค.ศ.1986) กําหนดไวดังนี้ Diversity Indices < 1 = แหลงน้ําไมเหมาะสมสําหรับการอยูอาศัยของสิ่งมีชีวติ 1.0 ≤ Diversity Indices ≤ 3.0 = แหลงน้ํานัน้มีคุณสมบัตทิี่ส่ิงมีชีวิตจะอาศัยอยูได Diversity Indices > 1 = ส่ิงแวดลอมเหมาะสมสําหรับการอยูอาศัยของสิ่งมีชีวติ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 25

ตารางที่ 4.3.1-1 ผลการตรวจวเิคราะหแพลงกตอนพืช ของคลองบางโฉลง และคลองลาดกระบัง เม่ือธันวาคม 2553

ไฟลัม/ชนิด ความหนาแนน (เซลล/ลบ.ม.) คลองบางโฉลง คลองลาดกระบัง

Cyanophyta Microcystis aeruginosa 71,296 - Oscillatoria sp. 1,939,241 885,953 Spirulina platensis 363,608 238,526 Coelosphaerium - 6,815 Chlorophyta Actinas trum 28,518 13,630 Closterium ralfsii 103,379 27,260 Euglena acus 384,996 74,965 Euglena cauaata 3,565 - Euglena fusca - 6,815 Euglena oxyuris 3,565 - Euglena subehrenbergii 106,943 - Pediastrum duplex 10,694 - Pediastrum simplex - 6,815 Phacus angulatus - 6,815 Phacus longicauaa - 13,630 Phacus tortus 135,462 - Stauvastrum - 13,630 Strombomonas gibbeerosa - 27,260 Ulothrix variabills 32,083 74,260 Volvox aureus 81,990 13,630 Scenedesmus incvassulatus 3,565 -

รวมแพลงกตอนพืช 3,268,905 1,410,709 หมายเหตุ : - หมายถึงสํารวจไมพบ ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 26

ตารางที่ 4.3.1-2 ผลการตรวจวเิคราะหแพลงกตอนสัตว ของคลองบางโฉลง และคลองลาดกระบัง เม่ือธันวาคม 2553

ไฟลัม/ชนิด ความหนาแนน (เซลล/ลบ.ม.)

คลองบางโฉลง คลองลาดกระบัง Roifera Brachionus calyciflorus 139,027 - Brachionus vubens - 13,630 Rotaria rotaria 3,565 6,815 Polyarthra vulgaris - 54,520 Arthropoda Nauplius 89,120 34,075 Order Cyclopoida 53,472 27,260 Protozoa Tintinnopsis 21,389 6,815

รวมแพลงกตอนสัตว 306,573 143,115 หมายเหตุ : - หมายถึงสํารวจไมพบ ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 27

ตารางที่ 4.3.1-3 ผลการตรวจวเิคราะหสัตวหนาดิน ของคลองบางโฉลง และคลองลาดกระบัง เม่ือธันวาคม 2553

กลุม/ชนิดสัตวหนาดิน ความหนาแนน (ตัว/ตารางเมตร)

คลองบางโฉลง คลองลาดกระบัง ไฟลัม ANNELIDA Class Oligochaeta Family Tubificidae 100 117 ไฟลัม MOLLUSCA Class Gastropada Order Mesogastropada Family Viviparidae Filopaludina sp. 100 67 Family Thiaridari Semisulospira 17 -

รวมสัตวหนาดิน 217 184 หมายเหตุ : - หมายถึงสํารวจไมพบ ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 28

4.4 คุณคาการใชประโยชนของมนุษย 4.4.1 การใชน้ํา แหลงน้ําใชของโครงการ เปนน้ําประปาจากระบบจายน้ําสวนกลางของทาอกาศยานสุวรรณภูมิ ซ่ึงรับน้ํามาจากการประปานครหลวง (กปน.) สาขามีนบุรี กปน. สาขามีนบุรี มีหนาที่รับผิดชอบในการผลิตและจําหนายน้ําประปาใหกับประชาชนครอบคลุมพื้นที่บริการ 248.75 ตร.กม. ดังแสดงในรูปท่ี 4.4.1-1โดยจะรับน้ําจากโรงงานผลิตน้ําบางเขน โดยโรงงานผลิตน้ําบางเขนเปนโรงงานผลิตน้ําแหงที่ 3 ของการประปานครหลวง ตั้งอยู แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร เปนโรงงานผลิตน้ําขนาดใหญ สามารถผลิตน้ําไดวันละประมาณ 3,600,000 ลบ.ม. ใชน้ําดิบจากแมน้ําเจาพระยา เขตพื้นที่จายน้ําใหบริการในพื้นที่สวนใหญของกรุงเทพมหานคร คือตั้งแตเขตดอนเมือง บางเขน นนทบุรี ปากเกร็ด บางซื่อ จตุจักร พญาไท ดินแดง หวยขวาง พระนคร ปอมปราบศัตรูพาย สัมพันธวงศ บางรัก ปทุมวัน สาธร บางคอแหลม ยานนาวา คลองเตย สวนหลวง ลาดพราว บางกะป บึงกุม ลาดกระบัง ประเวศ พระโขนง พระประแดง สมุทรปราการ บางกอกใหญ ราษฏรบูรณะ และจอมเทียน

การประปานครหลวง สาขามีนบุรี มีปริมาณน้ําผลิตจําหนาย 89.43 ลานลบ.ม./ป มีปริมาณน้ําที่จําหนาย 68.88 ลานลบ.ม./ป และมีอัตราการสูญเสียน้ํารอยละ 22.97 การจายน้ําใหทาอากาศยานสุวรรณภูมิจะจายน้ําผานทางอุโมงคสงน้ําใตดินขนาดเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 1.50 เมตร ที่อยูบริเวณทางเขาหลักดานทิศเหนือของทาอากาศยานสุวรรณภูมิเพื่อสงไปยังสถานีสูบจายน้ํา (Water Supply Station) ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งนี้อุโมงคสงน้ําใตดินดังกลาวจะรับน้ํามาจากสถานีสูบจายน้ําลาดกระบัง โดยมีความสามารถในการจายน้ําประมาณ 0.166 ลานลบ.ม./วัน สําหรับสถานีสูบจายน้ําลาดกระบังจะรับน้ําจากโรงผลิตน้ําบางเขนที่มีความสามารถในการผลิตน้ําไดเฉลี่ยประมาณวันละ 3.360 ลานลบ.ม.

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 29

ท่ีมา : การประปานครหลวง (http://www.mwa.co.th/kbr53.html)

รูปท่ี 4.4.1-1 พื้นท่ีใหบริการประปาของสาํนักงานประปาสาขามนีบุรี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 30

4.4.2 การใชประโยชนท่ีดิน จากการสํารวจรูปแบบการใชที่ดินของพื้นที่ใกลเคียงที่ตั้งโครงการรัศมี 5 กิโลเมตร จากที่ตั้งโครงการ เมื่อวันที่ 1-3 กันยายน 2551 ตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียร่ิง แอนด แมเนจเมนท จํากัด ผลจากการสํารวจพื้นที่ในรัศมี 5 กิโลเมตร จากที่ตั้งโครงการ ที่ดิน ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 49,087.39 ไร พบรูปแบบการใชที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ทางการเกษตรและพื้นที่รกรางถูกนํามาใชประโยชนที่ดินเปนพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง ไดแก พื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่ชุมชน พื้นที่สถานศึกษา และพื้นที่ศาสนสถาน มากขึ้น ดังตารางที่ 4.4.2-1 และรูปท่ี 4.4.2-1 สามารถจําแนกประเภทการใชประโยชนที่ดินออกเปน 4 ประเภท สรุปไดดังนี้

• พื้นท่ีชุมชนและสิ่งปลูกสราง : มีพื้นที่ประมาณ 9,725.69 ไร คิดเปนรอยละ 19.81 ของพื้นที่ศึกษา

• พื้นท่ีเกษตรกรรม : มีพื้นที่ประมาณ 13,603.86 ไร คิดเปนรอยละ 27.71 ของพื้นที่ศึกษา สวนใหญเปนพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (บอปลาสลิด จีน นิล ตะเพียน และกุง) รองลงมา เปนที่นาขาว และพ้ืนที่ไมผลผสม ตามลําดับ

• พื้นท่ีอ่ืนๆ : ไดแก สวนสาธารณะ สนามกอลฟ และที่รกรางไมไดทําประโยชน มีพื้นที่ประมาณ 11,642.54 ไร คิดเปนรอยละ 23.72 ของพื้นที่ศึกษา สวนใหญเปนพื้นที่รกรางไมไดทําประโยชน รองลงมา เปนพื้นที่สนามกอลฟเดอะรอยัลกอลฟ แอนด คันทรีคลับ และพื้นที่สวนสาธารณะลาดกระบัง ที่ตั้งอยูในแขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ ตามลําดับ

• พื้นท่ีทาอากาศยานสุวรรณภูมิ : มีพื้นที่มากที่สุดประมาณ 14,115.30 ไร คิดเปนรอยละ 28.76 ของพื้นที่ศึกษา

เนื่องจากพื้นที่โครงการตั้งอยูในพื้นที่ดานเหนือของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซ่ึงเปนเขตจังหวัด

สมุทรปราการ ปจจุบันมีผังเมืองรวมสมุทรปราการ ที่ประกาศใชบังคับ เมื่อ 22 มิถุนายน 2544 เลมที่ 118 และหมดอายุลงวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ตอมาไดมีการปรับปรุง/ขยาย คร้ังที่ 2 เมื่อ 1 พฤษภาคม 2550 หมดอายุเมื่อ 21 มิถุนายน 2551 ตามผังเมืองรวมสมุทรปราการ กําหนดใหพื้นที่บริเวณทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปนพื้นที่สีน้ําเงิน ซ่ึงมีการใชประโยชนเปนที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ดังแสดงในรูปท่ี 4.4.2-2

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 31

ตารางที่ 4.4.2-1 การใชประโยชนท่ีดิน รัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร บริเวณรอบพื้นท่ี โครงการ

ประเภทของการใชท่ีดิน ป 2551 ป 2548 หมายเหตุ

ไร รอยละ ไร รอยละ

U พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง U1 ยานพาณิชยกรรม U2 ชุมชนเมือง U3 ชุมชนชนบท U4 สถานที่ราชการ U5 สถาบันการศึกษา U6 สถานที่สําคัญทางศาสนา U7 โรงพยาบาล U8 โรงงานอุตสาหกรรม

278.45

4,674.96 1,548.80 1,016.82 904.05 99.24 2.65

1,200.72

0.53 9.52 3.16 2.05 1.83 0.2 0.01 2.45

261.77

4,671.66 1,548.80 1,016.82 899.93 98.46 2.65

1,200.72

0.53 9.52 3.16 2.05 1.83 0.20 0.01 2.45

• สถานที่ราชการมี 10 แหง ไดแก 1. สถานีรับสัญญาณดาวเทียมสํารวจทรัพยากรสภาวิจัยแหงชาติ

2. สถานีตํารวจนครบาลลาดกระบัง 3. กองกํากับการตํารวจนครบาล 8 4. สํานักงานเขตลาดกระบัง 5. ชุมสายโทรศัพทลาดกระบัง 6. สถานีไฟฟายอยออนนุช การไฟฟานครหลวง 7. หนวยบํารุงทาง หมวดบางกะป 8. สถานีตํารวจจระเขนอย 9. สถานีตํารวจลาดกระบัง

10. สถานีบรรจุและแยกสินคากลอง (ICD)

รวมพื้นที่ U 9,725.69 19.81 9,700.81 19.76

A พื้นที่เกษตรกรรม A1 นาขาว A2 ไมผลผสม A3 ที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (ปลาสลิด ปลาจีน ปลานิล ปลาตะเพียน และกุง)

1,930.17 121.95

1,1551.74

4.1 0.25

23.37

2,013.47 121.95

11,471.74

4.10 0.25 23.37

• สถาบันการศึกษามี 15 แหง ไดแก 1. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) 2. วิทยาลัยชางศิลปลาดกระบัง 3. โรงเรียนพรตพิทยพยัต 4. โรงเรียนมาเรียลัย 5. โรงเรียนยอดดวงใจ 6. โรงเรียนวัดพลมานีย 7. โรงเรียนวัดหัวคู 8. โรงเรียนวัดปลูกศรัทธา 9. โรงเรียนวัดลาดกระบัง

รวมพื้นที่ A 13,603.86 27.71 13,607.16 27.72 10. โรงเรียนวัดสังฆราชา

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 32

ตารางที่ 4.4.2-1 (ตอ) การใชประโยชนท่ีดิน รัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร บริเวณรอบพื้นท่ี โครงการ

ประเภทของการใชท่ีดิน ป 2551 ป 2548 หมายเหตุ

ไร รอยละ ไร รอยละ

M พื้นที่อ่ืนๆ 11. โรงเรียนชางกอสรางศิริวิทยา M1 สวนสาธารณะ 46.79 0.1 46.79 0.10 12. โรงเรียนวัดเทพศิรินทรรมเกลา M2 สนามกอลฟ 603.46 1.23 603.46 1.23 13. โรงเรียนวัดบํารุงรื่น M3 ที่รกรางไมไดทําประโยชน 9,944.29 20.3 9,965.87 20.30 14. โรงเรียนวัดสุทธาโภชน 15. โรงเรียนพรหมพิกุลทอง M4 ที่จัดสรรของทาอากาศยาน พ้ืนที่ถนน

405.00 643.00

0.83 1.31

405.00 643.00

0.83 1.31

• สถานที่สําคัญทางศาสนามี 8 แหง ไดแก

1. วัดพลมานีย

รวมพื้นที่ M 11,642.54 23.72 11,664.12 23.76 2. วัดคาธอลิคหัวตะเข

พื้นที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ 14,115.30 28.76 14,115.30 28.76 3. วัดหัวคูวราราม

รวมพื้นที่ท้ังสิ้น 49,087.39 100.00 49,087.39 100.00 4. วัดลาดกระบัง 5. วัดปลูกศรัทธา 6. วัดสังฆราชา 7. วัดบํารุงรื่น 8. วัดสุทธาโภชน

• โรงพยาบาล 1 แหง ไดแก 1. โรงพยาบาลชุมชนลาดกระบัง

• สวนสาธารณะ 1 แหง ไดแก 1. สวนลาดกระบัง

• สนามกอลฟ 1 แหง ไดแก 1. เดอะรอยัลกอลฟ แอนด คันทรี

คลับ

ท่ีมา : จากการสํารวจภาคสนาม บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมนจเมนท จํากัด, 1-3 กันยายน 2551 รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 33

ท่ีมา : จากการสํารวจภาคสนาม บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมนจเมนท จํากัด, 1-3 กันยายน 2551

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552

รูปท่ี 4.4.2-1 แผนที่การใชประโยชนท่ีดนิในรัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร รอบท่ีตั้งโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 34

ท่ีมา : กรมโยธาธิการและผังเมือง (http://www.dpt.go.th/lawmap/law_map/Samut_Prakan/result_Samut_Prakan.htm)

รูปท่ี 4.4.2-2 ผังเมืองรวมเมอืงสมุทรปราการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 35

4.4.3 การจัดการขยะมูลฝอย

(1) พื้นท่ีเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร สําหรับพื้นที่ศึกษาของโครงการบางสวนอยูในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้หนาที่ในการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่บริเวณดังกลาวอยูในความรับผิดชอบของฝายรักษาความสะอาด และสวนสาธารณะ ของสํานักงานเขตลาดกระบัง ซ่ึงรับผิดชอบในการจัดเก็บขยะมูลฝอยครอบคลุมพื้นที่ภายในเขตลาดกระบังทั้งหมด มีเนื้อที่ประมาณ 123 ตร.กม. (77,406 ไร) ในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของฝายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สํานักงานเขตลาดกระบัง จะใชเจาหนาที่ปฏิบัติการเก็บขนขยะมูลฝอย ซ่ึงประกอบดวย พนักงานขับรถและเจาหนาที่เก็บขนขยะมูลฝอย จํานวน 140 คน โดยมีวิธีการเก็บขนขยะมูลฝอย ดังนี้ - การจัดเก็บขยะมูลฝอยจากบานเรือนประชาชนทั่วไป ตรอก ซอย ชุมชน หมูบาน ใชรถเก็บขนขยะมูลฝอยแบบอัด ขนาด 12 ตัน จํานวน 3 คัน ขนาด 5 ตัน จํานวน 13 คัน ขนาด 2 ตัน จํานวน 4 คัน รวม 20 คัน โดยวิ่ง 2 รอบ จํานวน 5 คัน วิ่งคาบเกี่ยว 2 ถนน จํานวน 8 คัน วิ่งคาบเกี่ยว 3 ถนน จํานวน 1 คัน เก็บขยะมูลฝอยทุกวัน โดยกําหนดใหประชาชนนําขยะมูลฝอยใสถุงและมัดปากถุงใหแนนวาง ณ จุดพักขยะมูลฝอยบริเวณริมถนนใหญ ตั้งแตเวลา 19.00-03.00 น. และจัดใหมีเจาหนาที่จัดเก็บขยะมูลฝอยตั้งแตเวลา 03.00-06.00 น. ตามถนนสายตางๆ ภายในพื้นที่ - การจัดเก็บขยะมูลฝอยจากตลาด วัด โรงเรียน และสถานประกอบการ จะใชรถเก็บขนขยะมูลฝอยแบบยกภาชนะขนาด 1.5 ตัน และขนาด 4 ตัน รวม 11 คัน เก็บขนขยะมูลฝอยเปนประจํา 2-3 วัน/คร้ัง สํานักงานเขตลาดกระบัง จะมีการตรวจงานเก็บขนขยะมูลฝอยโดยใชรถเปดขาง ขนาด 1.5 ตัน จํานวน 2 คัน วิ่งสํารวจ นอกจากนี้ จะมีชุดปฏิบัติงานเรงดวนซึ่งใชรถดัมพในการออกเก็บขนขยะมูลฝอย โดยชุดปฏิบัติงานนี้จะออกทําการเก็บขนกรณีที่มีขยะมูลฝอยตกคาง ซ่ึงจะออกปฏิบัติงานตั้งแตเวลา 03.00-19.00 น. ของทุกวัน สําหรับขยะมูลฝอยท่ีเก็บขนไดทั้งหมดจากพื้นที่เขตลาดกระบังจะถูกขนสงไปกําจัดที่โรงงานกําจัดมูลฝอยออนนุช ทั้งนี้ปริมาณขยะมูลฝอยที่ทางสํานักงานเขตลาดกระบังรวบรวมเก็บขนไดในป 2553 รวม 50,309 ตัน หรือเฉลี่ยประมาณ 137.8 ตัน/วัน

ปจจุบันศูนยกาํจัดมูลฝอยออนนุชมีระบบการกําจัดมูลฝอย 3 แบบ ดังนี ้

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 36

- การฝงกลบมูลฝอย : การฝงกลบมูลฝอยที่ขนสงมาจากสถานีขนถายมูลฝอยออนนุช โดยกรุงเทพมหานครไดวาจางหางหุนสวนจํากัด ไพโรจนสมพงษพาณิชย ดาํเนินการขนมูลฝอยจากสถานีขนถายมูลฝอยออนนุชวนัละไมนอยกวา 1,800 ตัน โดยการอัดและหอขยะดวยพลาสติก(Wrapping) เพื่อปองกันกลิ่นเหม็นและน้ําชะมูลฝอย จากนั้นขนสงไปฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะที่ตาํบลทาถาน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

- การหมกัทําปุย : กรุงเทพมหานครไดวาจางบริษัท ยูโรเวสทเอ็นจิเนยีร่ิง จํากัด ใหดําเนินการกําจดัมูลฝอยโดยการหมักทําปุย และกากมูลฝอยที่เหลือจะถูกสงไปฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะ ที่อําเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยโรงงานผลิตปุยสามารถรองรับมูลฝอยไดวนัละไมเกนิ 1,200 ตัน/วัน

- การเผามูลฝอยติดเชื้อ : กรุงเทพมหานครไดวาจางบรษิัท กรุงเทพธนาคม จํากัด เปนผูดําเนินการเกบ็ขนมูลฝอยติดเชื้อจากสถานพยาบาลสาธารณสุขทุกประเภท โดยเก็บขนและกําจัดมูลฝอยติดเชื้อโดยการเผาดวยเตาเผาไดเดือนละไมนอยกวา 435 ตัน

(2) พื้นท่ีก่ิงอําเภอบางเสาธง และอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

สําหรับพื้นที่กิ่งอําเภอบางเสาธง และอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ปจจุบันสวนใหญการจัดเก็บขยะมูลฝอยภายในพื้นที่แตละตําบล จะอยูในความรับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ทั้งนี้ ในภาพรวมของการจัดการขยะมูลฝอยโดยองคการบริหารสวนตําบลในแตละพื้นที่ยังพบวา มีปญหาในดานการจัดการไดแก ปญหาในดานความไมพรอมของอุปกรณ เครื่องมือ ยานพาหนะ บุคลากร งบประมาณ รวมถึงพื้นที่กําจัดโดย อบต.ทุกแหงในพื้นที่ศึกษาไดมอบหมายใหหนวยงานเอกชนเขามาดําเนินการแทน โดยมีรายละเอียดการจัดการขยะมูลฝอยของแตละพื้นที่ ดังนี้

1) พื้นท่ีในเขต อบต.ราชาเทวะ อําเภอบางพล ีจังหวัดสมุทรปราการ

อบต.ราชาเทวะ ไดอนุญาตให หจก.ศรีประสิทธิ์ เขามาเปนผูดําเนินการเก็บขนขยะมูล

ฝอยจากครัวเรือน และพื้นที่บริการตางๆ เชน สถานประกอบ ตลาด โรงเรียน อพารทเมนท เปนตน ครอบคลุมทั้งพื้นที่ตําบลราชาเทวะ ทั้งนี้ทางหนวยงานจะจัดเก็บขยะมูลฝอยทุกวันโดยไมใหมีขยะมูลฝอยเหลือตกคาง โดยจัดใหมีรถขยะมูลฝอยแบบอัดทายและแบบเททาย จํานวน 4 และ 1 คัน ตามลําดับ โดยขยะมูลฝอยที่จัดเก็บได หจก.ศรีประสิทธิ์ จะนําไปฝงกลบที่พื้นที่ฝงกลบขยะมูลฝอยของเอกชนที่ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการตอไป

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 37

2) พื้นท่ีในเขต อบต.หนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

การจัดการขยะมูลฝอยภายในพื้นที่ตําบลหนองปรือ ทาง อบต.ไดใหเอกชนเขามาดําเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยจากครัวเรือนและพื้นที่บริการตางๆ ภายในพื้นที่ อบต. ขยะมูลฝอยที่จัดเก็บไดมีปริมาณเฉลี่ย 1-2 ตัน/เดือน ซ่ึงมีปริมาณคอนขางนอย เนื่องจากครัวเรือนสวนใหญจะกําจัดขยะมูลฝอยเอง โดยใชวิธีการฝง และเผา จะมีครัวเรือนเพียงบางสวนที่รอใหเอกชนที่ไดรับอนุญาตจาก อบต.มารับไปกําจัด โดยเอกชนจะใชรถ 6 ลอ แบบเปดขาง จํานวน 2 คัน โดยจัดเก็บ 2 คร้ัง/สัปดาห ขยะมูลฝอยที่จัดเก็บไดจะนําไปทิ้งที่พื้นที่กําจัดขยะมูลฝอยที่ตําบลแพรกษาใหม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

3) พื้นท่ีในเขต อบต.ศีรษะจรเขนอย อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ

ปจจุบัน อบต.ศีรษะจรเขนอย ไดมอบหมายใหเอกชนเขามาดําเนินการเก็บขนขยะมูลฝอยจากครัวเรือนและพื้นที่บริการตางๆ ภายในพื้นที่ อบต. ปริมาณจัดเก็บไดมีประมาณ 1 ตัน/วันโดยเอกชนจะใชรถเก็บขนขยะมูลฝอยขนาด 6 ลอ แบบเททาย 1 คัน ขยะมูลฝอยที่จัดเก็บไดจะขนสงไปกําจัดที่ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 4.4.4 การคมนาคมขนสง ในการศึกษาการคมนาคมทางบก เปนการศึกษาที่ทําการรวบรวมขอมูบปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวัน ตลอดปของเสนทางคมนาคมสายหลักรอบโครงการ จากรายงานปริมาณจราจรบนทางหลวง สํานักอํานวยความปลอดภัย (กองวิศวกรรมจราจร) ระหวางป พ.ศ. 2549-2553 โดยเสนทางที่ใชในการศึกษาขอมูลปริมาณจราจรเปนเสนทางที่อาจจะไดรับผลกระทบจากการดําเนินการโครงการดังนี้

- ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ชวงมีนบุรี-ลาดกระบัง ที่ กม. 1+500 - ทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) ชวงแยกบางปู – ออนนุช (ลาดกระบัง)

ที่ กม.21+570 - ทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) ชวงแยกทางหลวงหมายเลข 3 (บางนา) –

กม.35+600 ที่ กม.3+904 - ทางหลวงพิเศษกรุงเทพฯ-ชลบุรี ดานทิศเหนือ (ทางหลวงหลวงหมายเลข 7)

ถนนศรีนครินทร-กม. 41+500 ที่ กม.25+900

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 38

(1) เสนทางคมนาคมที่สามารถเขา-ออกพื้นท่ีโครงการ เสนทางคมนาคมสายหลัก และเสนทางคมนาคมสายรองที่สามารถเขา-ออกพื้นที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิที่สามารถเขาถึงพื้นที่โครงการ แสดงดังรูปท่ี 4.4.4-1 โดยมีเสนทางคมนาคมรวม 5 เสนทางใน 5 ทิศทางคือ

- ทางหลวงแผนดินหมายเลข 34 (ทางหลวงบางนา-ตราด) โดยใชเสนทางดานทิศใต (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 3) ไดแก ถนนเชื่อมตอทาอากาศยานสุวรรณภูมิกับทางหลวงบางนา-ตราด และทางดานบูรพาวิถี

- ทางหลวงพิเศษระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี ดานทิศเหนือ (ทางหลวงหมายเลข 7) เปนถนนยกระดับจากทางหลวงพิเศษกรุงเทพฯ-ชลบุรี

- ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) สามารถเขา-ออกทาอากาศยานฯทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 2) ไดแก ถนนเชื่อมตอกับสะพานขามทางแยกกิ่งแกว และทางดานทิศตะวันตก (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 5) ไดแก ถนนเชื่อมตอถนนกิ่งแกว

- ถนนลาดกระบัง ทางดานทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 4) ไดแก ถนนเชื่อมตอถนนลาดกระบัง

- ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 2) ไดแก ถนนเชื่อมตอกับทางยกระดับรมเกลา

ทั้งนี้ เสนทางดังกลาวสามารถเดินทางไปยังพื้นที่โครงการไดทั้งสิ้น สําหรับเสนทาง

คมนาคมสายหลักที่สามารถเดินทางไปยังพื้นที่โครงการ คือ ถนนยกระดับจากทางหลวงพิเศษระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี (สายใหม) ซ่ึงจะเปนเสนทางที่อยูใกลกับบริเวณพื้นที่โครงการที่สุด สวนเสนทางที่เหลือเปนเสนทางสายรอง

(2) ปริมาณการจราจรโดยรอบพื้นท่ีโครงการ

จากการรวบรวมขอมูลปริมาณจราจรบนเสนทางคมนาคมสายหลักโดยรอบพื้นที่โครงการ และขอมูลการสํารวจปริมาณจราจรบริเวณถนนเทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ไดดําเนินการมีรายละเอียดดังนี้

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 39

ท่ีมา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลต้ิง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปท่ี 4.4.4-1 เสนทางคมนาคมสายหลัก และเวนทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และพื้นท่ีโครงการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 40

1) จากขอมูลปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปของเสนทางคมนาคมสายหลักรอบโครงการ จากรายงานปริมาณจราจรบนทางหลวง สํานักอํานวยความปลอดภัย ป พ.ศ.2549-2553 สรุปไดดังนี้ - ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ชวงมีนบุรี-ลาดกระบัง ที่ กม.1+500 สภาพถนนเปนพื้นลาดยางแอสฟลท จํานวน 8 ชองจราจร (ไป-กลับ ขางละ 4 ชองจราจรแบบแยกทิศทาง) ปริมาณจราจรตั้งแตป พ.ศ.2549-2553 ดังตารางที่ 4.4.4-1 ปริมาณจราจรของรถทุกประเภทและมีแนวโนมสูงขึ้นในป 2550 เนื่องจากเปนชวงที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปดดําเนินการปแรก และมีสัดสวนลดลงจนถึงป 2553

ตารางที่ 4.4.4-1 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ชวงมีนบุรี-ลาดกระบงั

ระหวาง พ.ศ.2549-2553

ประเภท 2549 2550 2551 2552 2553 รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาด 3 เพลา (10 ลอ)

63.78 2.43 3.40 16.37 5.65 8.38

69.46 1.67 2.98 13.56 5.67 6.67

66.36 2.31 2.34 16.67 6.42 6.09

67.29 2.36 2.70 15.78 6.15 5.72

65.85 5.72 5.80 7.63 5.91 9.09

- ทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) ชวงแยกบางปู-ออนนุช (ลาดกระบัง) บริเวณที่สํารวจหลักกิโลเมตรที่ 21+570 สภาพถนนเปนพื้นลาดยางแอสฟลท จํานวน 8 ชองจราจร (ไป-กลับขางละ 4 ชองจราจร) ปริมาณจราจรตั้งแตป พ.ศ. 2549-2553 ดังตารางที่ 4.4.4-2 จากปริมาณจราจรของรถยนตนั่งสวนบุคคลและรถแท็กซี่มีแนวโนมสูงมากขึ้นตั้งแตป 2550-2553 สวนรถบรรทุกขนาด 6 ลอมีแนวโนมลดลง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 41

ตารางที่ 4.4.4-2 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) ชวงแยกบางป-ูออนนุช

(ลาดกระบัง) ระหวาง พ.ศ.2549-2553

ประเภท 2549 2550 2551 2552 2553 รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง-ใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดมากกวา 6 ลอ

58.75 0.71 2.46 17.90 9.00 11.18

60.45 0.33 3.13 19.62 7.70 8.77

63.15 0.25 3.06 15.50 8.12 9.92

61.27 0.35 3.12 18.02 6.74 10.49

73.04 0.97 2.55 8.61 3.99 10.85

- ทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) ชวงแยกทางหลวงหมายเลข 3 (บางนา)-กิโลเมตรที่ 35+600 (แขวงการทางชลบุรี 1) บริเวณกิโลเมตร 3+904 สภาพถนนเปนพื้นที่ลาดยางแอสฟลท จํานวน 12 ชองจราจร (ไป-กลับ ขางละ 6 ชองจราจร) ปริมาณจราจรตั้งแตป พ.ศ.2549-2553 ดังตารางท่ี 4.4.4-3 ปริมาณจราจรเฉลี่ยโดยรวมมีแนวโนมลดลง ตั้งแตป 2550 ปริมาณจราจรที่เพิ่มขึ้นเปนปริมาณจราจรของรถยนตนั่งสวนบุคคลและรถแท็กซี่

ตารางที่ 4.4.4-3 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) ชวงแยก

ทางหลวงหมายเลข 3 (บางนา) – กิโลเมตรที่ 35+600 ระหวาง พ.ศ.2549-2553

ประเภท 2549 2550 2551 2552 2553 รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง-ใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดมากกวา 6 ลอ

73.77 0.24 3.6

12.47 3.04 6.87

71.30 0.16 2.98 15.17 3.84 6.55

74.06 0.24 3.29 14.83 2.32 5.27

76.21 0.40 3.37 13.04 1.63 5.35

77.90 0.68 3.58 9.68 1.98 6.17

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 42

- ทางหลวงพิเศษระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี (ทางหลวงหมายเลข 7) โดยมีชวงที่ทําการตรวจนับปริมาณจราจรชวงถนนศรีนครินทร-กม.41+500 ที่ กม.25+900 ทางหลวงพิเศษระหวางเมืองสายนี้ อยูดานทิศเหนือ ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และเปนเสนทางหลักในการเขาสูทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพถนนเปนพื้นคอนกรีตลาดยางแอสฟลท จํานวน 4-6 ชองจราจรตอ 1 ทิศทาง ปริมาณจราจรป พ.ศ.2549-2553 ดังตารางที่ 4.4.4-4

ตารางที่ 4.4.4-4 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงพิเศษระหวางเมืองกรุงเทพฯ-ชลบุรี (สายใหม)

ชวงถนนศรีนครินทร-กม. 41+500 (กม.25+900) ระหวาง พ.ศ.2549-2553

ประเภท 2549 2550 2551 2552 2553 รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง-ใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดมากกวา 6 ลอ

70.91 0.18 5.14 2.67 7.62 13.49

59.52 0.11 4.58 17.62 6.22 11.96

60.91 0.71 4.32 18.56 3.57 11.93

54.96 0.57 2.42 26.81 4.23 11.01

62.96 0.55 1.63 22.93 4.16 7.78

เพื่อใหทราบถึงสภาพความคลองตัวตอการใชเสนทางตางๆ ที่อยูโดยรอบในปจจุบัน ซ่ึงพิจารณาดังนี้

- คา PCE Factor ของยานพาหนะแตละประเภท ดังนี ้

ชนิดยานพาหนะ คา Passenger Car Equivalent Factor (PCE Factor) รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก รถบรรทุกขนาดกลาง รถบรรทุกขนาดใหญ รถจักรยานยนต

1.00 1.25 2.00 1.50 1.75 2.00 0.33

ท่ีมา : เผาพงศ นิลจันทรพันธุศรี, 2540

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 43

คา PCE Factor จะใชเปนคาถวงน้ําหนกัในการคํานวณหาคายานพาหนะแตละประเภทตอวนัใหอยูในรูปของ Passenger Car Unit หรือ PCU ซ่ึงสามารถแบงตามประเภทของยานพาหนะ ดังนี ้

- ปริมาณจราจรในป 2553 เฉลี่ยตอปในหนึ่งวัน ของทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) และทางหลวงพิเศษระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี (สายใหม) (ทางหลวงหมายเลข 7) และคา PCU/ชม. ของถนนแตละเสนทางดังนี้

ประเภทยานพาหนะ PCE ทางหลวงสาย 34 ทางหลวงสาย 3119 ทางหลวงสาย 7 ทางหลวงสาย 3256

Factor คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ชม.

รถยนตนั่งรถแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาดกลาง (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดใหญ (6 ลอ) ขึ้นไป รถจักรยานยนต

1.00 1.25 2.00 1.50 1.75 2.00 0.33

4,778 42 219 593 122 379 835

4,778 52 439 890 213 759 276

698 61 61 81 63 96 343

698 76 123 121 110 193 113

1,442 13 37 525 95 178

-

1,442 16 75 788 167 356

-

1,475 20 51 174 81 219 788

1,475 24

103 261 141 438 260

รวม 6,968 7,405 1,403 1,433 2,290 2,843 2,807 2,701

เมื่อพิจารณาถนนหรือทางหลวงที่คาดวาจะใชเปนเสนทางในการขนสงและความสามารถใน

การรองรับปริมาณจราจรในปจจุบัน สรุปไดดังนี ้

ถนน ชวงที่สํารวจ ชวงการจราจร (C)

ความสามารถในการรองรับ (C) * (PCU/ชม.)

ทางหลวงพิเศษระหวางเมืองกรุงเทพฯ-ชลบุรี (ทางหลวงหมายเลข 7)

ถนนศรีนครินทร - กม.ที่ 41+500 (กม. 25+900)

12 ชองจราจร(ไป-กลับขางละ 6 ชองจราจร)

24,000

ทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด)

แยกบางนา – กม.ที่ 46+000 12 ชองทางจราจร (ไป-กลับ ขางละ 6 ชองจราจร)

24,000

ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา)

มีนบุรี – ลาดกระบัง 6 ชองทางจราจร (ไป-กลับ ขางละ 2 ชองจราจร)

12,000

ทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนก่ิงแกว)

หลักกิโลเมตรที่ 22+058 8 ชองทางจราจร (ไป-กลับ ขางละ 4 ชองจราจร)

16,000

หมายเหตุ : * ถนนหลายชองทางจราจรมีเกาะกลาง คา PCU/hr = 2,000/1 ชองจราจร ท่ีมา : เผาพงศ นิลจันทรพันธุศรี, 2540

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 44

สามารถคํานวณหาสัดสวนปริมาณจราจร (V/C Ratio) ไดดังนี ้

ทางหลวงหมายเลข 34 (แยกบางนา-กม.ที่ 46+000), V/C Ratio = 31.0000,24405,7

=

ทางหลวงหมายเลข 3119 (มนีบุรี-ลาดกระบัง, V/C Ratio = 12.0000,12

433,1=

ทางหลวงหมายเลข 7 (ถนนศรีนครินทร-กม.41+500), V/C Ratio = 12.0000,24843,2

=

ทางหลวงหมายเลข 3256 (แยกออนนุช ลาดกระบัง-บางพลี), V/C Ratio = 17.0000,16701,2

=

จากคาสัดสวนปริมาณจราจร (V/C Ratio) ของทางหลวงที่อยูโดยรอบพื้นที่โครงการ มีคาอยูในชวง 0.12-0.31 แสดงวาการจราจรมีความคลองสูงมาก ดังนี้

อัตราสวนของปริมาณจราจร (V/C Ratio) ระดับ 0.88-1.00 0.67-0.88 0.52-0.67 0.36-0.52 0.20-0.36

สภาพการจราจรติดขัดอยางรุนแรง สภาพการจราจรติดขัดมาก การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรพอใช สภาพการจราจรมีความคลองตัว สภาพการจราจรมีความคลองตัวสูงมาก

ท่ีมา : เผาพงศ นิลจันทรพันธุศรี, 2540

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 45

4.5 คุณคาคุณภาพชีวิต 4.5.1 สภาพเศรษฐกิจ สังคม โดยรวม

(1) เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร

1) ประวัติความเปนมา

เดิมเปนอําเภอแสนแสบ จังหวัดมีนบุรี ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนอําเภอลาดกระบัง และเมื่อมีการยุบจังหวัดมีนบุรีไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร อําเภอลาดกระบังจึงไดขึ้นกับจังหวัดพระนคร ตอมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2481 กระทรวงมหาดไทย ไดลดฐานะจากอําเภอลาดกระบังเปนกิ่งอําเภอลาดกระบัง จนเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.2500 จึงมีฐานะเปนอําเภอลาดกระบังอีกครั้งหนึ่ง เมื่อมีการยุบนครหลวงกรุงเทพธนบุรีเปนกรุงเทพมหานคร และมีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 335 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2515 และใหเรียกคําวา อําเภอ เปน เขต จึงเรียก อําเภอลาดกระบัง เปน เขตลาดกระบัง ตั้งแตวันที่ 14 ธันวาคม 2515 เปนตนมา

2) สภาพพื้นท่ี

สภาพภูมิศาสตรโดยทั่วไปเปนทองทุง ประชาชน 2 ใน 3 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยอาศัยคูคลองในพื้นที่ซ่ึงมีอยูทั้ง 46 คลอง เปนเสมือนเสนเลือดใหญ หลอเล้ียงพืชพรรณเรื่อยมา และยังไดอาศัยคูคลองเหลานั้นในการสัญจรไปมาอีกดวย ลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่งของพื้นที่เขตลาดกระบัง คือ เปนเขตรับน้ําฝงตะวันออก เนื่องจากเปนที่ราบลุมคลายแองกระทะ จึงมักเกิดปญหาน้ําทวมเปนประจํา

3) การแบงเขตการปกครองและประชากร

เขตลาดกระบัง มีพื้นที่ 123.859 ตารางกิโลเมตร แบงการปกครองออกเปน 6 แขวง ไดแก แขวงลาดกระบัง แขวงคลองสองตนนุน แขวงคลองสามประเวศ แขวงลําปลาทิว แขวงทับยาว และแขวงขุมทอง เมื่อเดือนธันวาคม 2553 มี จํานวนประชากรรวม 157,477 คน จํานวนบานรวม 69,336 หลัง ดังแสดงในตารางที่ 4.5.1-1

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 46

ตารางที่ 4.5.1-1

พื้นท่ี ประชากร และจํานวนบาน ในพื้นท่ีเขตลาดกระบงั ป 2553

แขวง พื้นที ่ ประชากร (คน) จํานวนบาน (ตร.กม.) ชาย หญิง รวม (หลัง)

แขวงลาดกระบัง 10.823 13,958 15,146 29,104 11,802 แขวงคลองสองตนนุน 14.297 30,321 33,045 63,366 27,655 แขวงคลองสามประเวศ 17.458 7,194 7,870 15,064 7,212 แขวงลําปลาทิว 33.752 9,160 9,750 18,910 8,295 แขวงทับยาว 25.834 11,471 12,262 23,733 12,316 แขวงขุมทอง 21.695 3,559 3,741 7,300 2,056

รวม 123.859 75,663 81,814 157,477 69,336 ท่ีมา : สํานักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร, ธันวาคม 2553

4) การคมนาคม

เสนทางหลักทีใ่ชในการคมนาคม แบงได 2 ประเภท คือ - เสนทางคมนาคมในเขต เดิมประชาชนสวนใหญจะใชเสนทางน้ําเปนหลัก แตใน

ปจจุบัน การคมนาคมไดพัฒนาไปมาก มีการกอสรางถนนสายตาง ๆ เพื่อใหประชาชนสามารถเดินทางติดตอกันไดสะดวกยิ่งขึน้ ดงันั้น ประชาชนจึงหันมาใชการเดินทางโดยรถยนตมากกวาทางเรือ แตยังมีบางทองที่ที่ยังใชการเดินทางเรืออยู เนื่องจากยงัไมมีถนนตัดผาน

- เสนทางคมนาคมระหวางเขตกับภายนอกเขต ประชาชนสวนใหญจะใชเสนทางรถยนตและทางรถไฟในการเดินทางเขาสูใจกลางกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกลเคียง

5) การประกอบอาชีพ

ลักษณะภูมิประเทศของเขตลาดกระบัง เหมาะแกการทําเกษตรกรรม แตเนื่องจากมีการตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นในพื้นที่โดยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ประกอบกับการเขามาลงทุนของภาคเอกชน มีการสรางโรงงานอุตสาหกรรมหลายแหง ประชาชนสวนใหญจึงหันมาประกอบอาชีพรับจาง รองลงมาไดแกอาชีพเกษตรกรรม คาขาย ธุรกิจสวนตัวและอื่นๆ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 47

6) สถานที่สําคัญทางศาสนา

สถานที่สําคัญทางศาสนา มีวัด 14 วัด ไดแก วัดลานบุญ วัดสังฆราชา วดัปลูกศรัทธา วัดลาดกระบัง วัดพลมานยี วดัราชโกษา วัดขุมทอง วัดอุทยัธรรมาราม วัดสุทธาโภชน วัดทิพพาวาส วัดบึงบัว วัดปากบึง วัดบํารุงร่ืน และวัดเฉลิมพระเกยีรต ิ

มีมัสยิด จํานวน 7 แหง ไดแก มัสยิดนาฟอะห (ลํานายโส) แขวงคลองสองตนนุน

มัสยิดดารุลมูฮีบบีน แขวงคลองสองตนนุน มัสยิดอันนูร แขวงคลองสองตนนุนมัสยดิมานารุลฮุดา แขวงขุมทอง มัสยิดมูฮายีรีน แขวงขมุทอง มัสยิดดารุลมุกีม แขวงขุมทอง และมัสยิดซิรอตุลญันนะห แขวงขุมทอง

มีโบสถ จํานวน 1 แหง คือ วัดพระแมประจักษเมืองลูดร และมีศาลเจา 4 แหง ไดแก

ศาลเจาปงเถา ศาลเจาแปะกง โรงเจเฮงตั้ว และโรงเจเทียงปอฮุกติ้ง

7) สถานพยาบาล

ในพื้นที่เขตลาดกระบัง มีสถานพยาบาล จํานวน 11 แหง คือ 1. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร สังกัดสํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร 2. ศูนยบริการสาธารณสุข สังกัดสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร จํานวน 8 แหง

- ศูนยบริการสาธารณสุข 45 รมเกลา ลาดกระบัง - ศูนยบริการสาธารณสุข 45 ศูนยสาขาคลองสองตนนุน - ศูนยบริการสาธารณสุข 45 ศูนยสาขาคลองสามประเวศ - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 กันตารัติอุทิศ เขตลาดกระบงั - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาลําปลาทิว - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาบึงบัว - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาขุมทอง - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาทับยาว

3. โรงพยาบาลเอกชน จํานวน 2 แหง - โรงพยาบาลลาดกระบัง - โรงพยาบาลจุฬารัตน 8

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 48

8) สถาบันการศึกษา

ในพื้นที่เขตลาดกระบัง มีสถาบันการศึกษารวม 37 แหง ประกอบดวย โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 20 แหง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จํานวน 3 แหง โรงเรียนเอกชน จํานวน 8 แหง วิทยาลัย จํานวน 4 แหง และมหาวิทยาลัย จํานวน 1 แหง

นอกจากนี้ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน อยูในความดแูลรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร

อีกจํานวน 16 แหง

(2) องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

1) ประวัติความเปนมา

องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2540 อยูในเขตการปกครองตําบลหนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีพื้นที่ทั้งหมด 23.64 ตารางกิโลกเมตร หรือประมาณ 14,775 ไร โดยพื้นที่ในเขตสนามบินสุวรรณภูมิมี 18.504 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 11,565.664 ไร ตั้งอยูทางทิศ

ตะวันตกเฉียงเหนือของอําเภอบางพลี ระยะหางจากอําเภอประมาณ 20 กิโลเมตร ระยะหางจากจังหวัดสมุทรปราการ ประมาณ 34 กิโลเมตร

2) การแบงเขตการปกครองและประชากร

องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือมีพื้นที่อยูในความรับผิดชอบ ทั้งสิ้น 3 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 บานคลองหนองงูเหา หมูที่ 2 บานคลองทองคุง และหมูที่ 3 บานรวมใจพัฒนา ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2553 องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ มีจํานวนประชากรรวม 2,422 คน แบงเปนชาย 1,180 คน หญิง 1,242 คน จํานวนบาน 1,038 หลัง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 49

3) การคมนาคม

- การคมนาคมทางบก มีถนนสายหลัก คือ ถนนวัดศรีวารีนอย เชื่อมระหวางถนนออนนุช ทางดานทิศเหนือ และบางนา – ตราด ทางดานทิศใต ถนนสายยอยภายในตําบล คือ ถนนหนองปรือรวมใจพัฒนา, ถนนหนองปรือพัฒนา1, ถนนหนองปรือพัฒนา2, ถนนเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา, ถนนหนองปรือเฉลิมพระเกียรติ สวนใหญเปนถนนคอนกรีต มีถนนในซอยติดตอกันทุกหมูบาน มีรถโดยสารประจําทาง จํานวน 1 สาย

- การคมนาคมทางน้ํา ในเขตตําบลหนองปรือ มีแหลงน้ําธรรมชาติ คือ ลําคลอง จํานวน 9 คลอง ไดแก คลองหนองงูเหา คลองชวดทองคุง คลองบางนา คลองควาย คลองหนองโพรง คลองบางน้ําจืด คลองตันแยกคลองชวดทองคุง คลองชวดกํานันพุก คลองตันแยกคลองบางน้ําจืด

4) การใชไฟฟาและประปา

การใชไฟฟา ทุกครัวเรือนไดรับการบริการไฟฟาอยางครอบคลุมทั้ง 3 หมูบาน และไดดําเนินการติดตั้งไฟฟาสาธารณะตามถนนสายหลักและชุมชน สวนการใหบริการประปาในพื้นที่องคการบริหารสวนตําบล เปนระบบประปาหมูบาน (บอบาดาล) จํานวน 13 บอ ครอบคลุมทุกครัวเรือน

5) การประกอบอาชีพ

ที่ดินในเขตตําบลหนองปรือเหมาะแกการเพาะปลูก แตสวนมากถูกเวนคืนเพื่อกอสรางสนามบินสุวรรณภูมิ ประชากรในเขตตําบลหนองปรือ สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน ปลูกผักกระเฉด เล้ียงปลา ทําสวนมะมวง รองลงมาคือ รับจางในโรงงานอุตสาหกรรม และทํางานในสนามบินสุวรรณภูมิ

6) ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม

ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีวัด 1 แหง คือวัดราษฎรนิมิตศรัทธาธรรม (วัดหนองปรือ) อยูในพื้นที่หมูที่ 1 งานประเพณีที่สําคัญ ไดแก ประเพณีสงกรานต และงานประเพณีรับบัว ซ่ึงรวมจัดกับอําเภอบางพลี

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 50

7) การศึกษา

มีศูนยพัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 1 แหง และโรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ อยูในพื้นที่ หมูที่ 2 จํานวน 1 แหง

8) สถานบริการดานสาธารณสุข

มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล อยูในพื้นที่ หมูที่ 3 จํานวน 1 แหง

(3) องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

1) ประวัติความเปนมา

เมื่อประมาณป พ.ศ.2420 สมิงราชาเทวะและครอบครัวไดอพยพมาจากปากเกร็ดมาตั้งบานเรือนที่คลองเทวะคลองตรง โดยประกอบอาชีพทํานา จนสามารถเปนตัวอยางของชาวบานได เปนผูมีมนุษยสัมพันธดีและไดรับการยกยองจากชาวบานใหเปนหัวหนาหมูบาน ตอมาเมื่อทางราชการไดตั้งเขตการปกครองขึ้นเปนตําบล ก็อาศัยนามของสมิงราชาเทวะ มาตั้งชื่อของตําบลวา "ตําบลราชาเทวะ" แบงเขตการปกครองเปน 15 หมูบาน

2) สภาพพื้นท่ี

องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะมีสภาพภูมิประเทศเปนที่ราบ พื้นที่สวนใหญเปนสถานที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมมีถนนสายหลัก คือ ถนนกิ่งแกว – ลาดกระบัง มีคลองสายหลักคือ คลองลาดกระบัง คลองชวดลาดขาว คลองบัวเกาะ และมีคลองสายยอยอีกหลายสาย และในปจจุบันพื้นที่บางสวนของตําบลราชาเทวะ ใชเปนพื้นที่สนามบินสุวรรณภูมิ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 51

3) การแบงเขตการปกครองและประชากร

เขตองคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ มีพื้นที่ทั้งหมด 31 ตารางกิโลเมตร คิดเปน 19,375 ไร (ในจํานวนนี้ใชเปนพื้นที่สนามบินสุวรรณภูมิ จํานวน 9,451 ไร) มีจํานวนหมูบานทั้งหมด 15 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 2 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 3 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 4 บานคลองหนองบอน หมูที่ 5 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 6 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 7 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 8 บานคลองบัวเกราะ หมูที่ 9 บานคลองตาพุก หมูที่ 10 บานเทวะคลองตรง หมูที่ 11 บานคลองขันแตก หมูที่ 12 บานคลองชวดลากขาว หมูที่ 13 บานบานวัดกิ่งแกว หมูที่ 14 บานคลองบัวลอย และหมูที่ 15 บานคลองบัวลอย

ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2553 องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ มีจํานวนประชากร

รวม 24,093 คน แบงเปนชาย 11,485 คน หญิง 12,608 คน จํานวนบาน 13,577 หลัง

4) การประกอบอาชีพ

ราษฎรตําบลราชาเทวะสวนใหญประกอบอาชีพเปนพนักงานตามสถานประกอบการอุตสาหกรรมตางๆ เพราะพื้นที่ตําบลราชาเทวะและพื้นที่ ใกลเคียงเปนพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยูเปนจํานวนมาก ราษฎรจึงไมประสบกับภาวะการวางงาน

5) การศึกษา

ในเขตพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ มีโรงเรียนประถมศึกษา 4 แหง โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตน 1 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 1 แหง

6) สถานที่สําคัญทางศาสนา

ในเขตพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ มีวัด 1 แหง ไดแก วัดกิ่งแกว และมีศาลเจา อีก 1 แหง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 52

7) สถานบริการดานสาธารณสุข

มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล จํานวน 1 แหง สถานพยาบาลเอกชน 3 แหง และรานขายยาแผนปจจุบัน 6 แหง

(4) องคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ

1) ประวัติความเปนมา

เมื่อประมาณ 100 ปที่ผานมา บริเวณพื้นที่ของตําบลศีรษะจรเขนอย โดยเฉพาะลําคลองจรเขที่ผานพื้นที่ตําบลศีรษะจระเขนอยถึงตําบลศีรษะจระเขใหญ จะมีจระเขอาศัยอยูในลําคลองเปนจํานวนมาก เนื่องจากพื้นที่ในสมัยกอนมีน้ําเค็มทวมถึง ผูอาวุโสเลาวามีจระเขซ่ึงเปนซากที่นอนตายอยูในดินลึก ประมาณ 1 เมตร เพราะสาเหตุนี้ จึงไดมีการตั้งชื่อวา "ตําบลศีรษะจรเขนอย"

2) สภาพพื้นท่ี

สภาพพื้นที่ขององคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย เปนที่ราบลุม ไมมีภูเขา ไมมี

ปาไม มีชลประทานทั่วถึง ตั้งหางจากที่วาการอําเภอบางเสาธง ระยะทาง 15 กิโลเมตร เปนพื้นที่ที่อาณาเขตติดตอกับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งจะสามารถพัฒนาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย เพื่อรองรับกับการขยายตัวเมืองและเศรษฐกิจไดเปนอยางดี

3) การแบงเขตการปกครองและประชากร

องคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอยมีเนื้อที่ โดยประมาณ 24.10 ตารางกิโลเมตร หรือ 15,055 ไร มีจํานวนหมูบานเต็มทั้งหมูบานจํานวน 12 หมูบาน ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2553 องคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย มีจํานวนประชากรรวม 7,715 คน แบงเปนชาย 3,768 คน หญิง 3,947 คน จํานวนบาน 3,613 หลัง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 53

4) การประกอบอาชีพ

ราษฎรสวนใหญในเขตองคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย ประกอบอาชีพทางการเกษตร เล้ียงปลา ทําสวนผลไม (มะมวง) ปลูกผักกระเฉด และรับจาง ในโรงงานอุตสาหกรรม

5) การศึกษา

ในเขตองคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย มีศูนยเด็กเล็กกอนเกณฑ 1 แหง และมีโรงเรียนประถมศึกษา จํานวน 2 แหง

6) สถานที่สําคัญทางศาสนา

ในเขตองคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอยมีวัดจํานวน 2 แหง ไดแกวัดใหมปากคลองมอญ หมูที่ 7 และวัดหัวคู หมูที่ 1

7) สถานบริการดานสาธารณสุข

มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล จํานวน 1 แหง

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 54

4.5.2 การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ 4.5.2.1 บทนํา จากการสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และขอมูลสุขภาพรายบุคคล ที่อาศัยอยูในชุมชน รัศมี 5 กิโลเมตร รอบโครงการ โดยใชแบบสอบถามรายบุคคล (ดังภาคผนวกที่ จ) โดยแบบสอบถามแบงเปน สวนที่ 1 ขอมูลผูใหสัมภาษณ สวนที่ 2 ขอมูลเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัว สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ สวนที่ 4 ขอมูลสุขภาพรายบุคลล สวนที่ 5 ชองทางประชาสัมพันธ

หลักการคํานวณจํานวนตัวอยางประชากร ใชวิธี Taro Yamane (อางโดย สําเริง จันทรสุวรรณ และสุวรรณ บัวบาน, 2536)

n =

เมื่อ n = จํานวนตัวอยางหรือขนาดของกลุมประชากร N = จํานวนทั้งหมด หรือขนาดของกลุมประชากร d = คาสัดสวนที่ตองการใหสัดสวนตัวอยางตางไปจากสัดสวนประชากร ความผิดพลาดที่ยอมให เกิดไดเทากับ 0.05

การเก็บขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคม และขอมูลสุขภาพรายบุคคล ดําเนินการสํารวจชุมชนที่อยูในรัศมี 5 กิโลเมตรรอบโครงการ อยูการในปกครองสวนทองถ่ิน ดังนี้

1) สํานักงานเขตลาดกระบัง มี จํานวน 22 ชุมชน 2) องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ ไดแก หมูที่ 6, 7, 8, 9, 11,14 และ15 3) องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ ไดแก หมูที่ 1, 2 และ 3 4) องคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย ไดแก หมูที่ 1, 2, 3, 4, 8, 9 และ 10

N (1+Nd2)

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 55

จากการคํานวณจํานวนตัวอยางดวยวิธี Taro Yamane สามารถสรุปจํานวนแบบสอบถามได ทั้งหมด 608 ชุด ซ่ึง มีรายละเอียด จํานวนแบบสอบถามแบงตามจํานวนประชากรในชุมชนได ดังตารางที่ 4.5.2-1

ตารางที่ 4.5.2-1 จํานวนแบบสอบถามรายบุคคล

ชุมชน จํานวนประชากร (คน) คาท่ีคํานวณได จํานวนแบบสอบถาม ท่ีเก็บ (ชุด)

ชุมชนในสํานกังานเขตลาดกระบัง1/ ชุมชนหมูบานเคหะนคร 2 3000 26.48 30 ชุมชนรวมใจพัฒนา 669 5.90 10 ชุมชนหมูบานสมนึก 199 1.76 10 ชุมชนเทอดศาสนา 390 3.44 10 ชุมชนมิตรปลูกศรัทธา 2455 21.67 23 ชุมชนประชารวมใจ 1276 11.26 15 ชุมชนศิลาภิรัตนอุปถัมภ 635 5.60 10 ชุมชนบํารุงร่ืน 681 6.01 10 ชุมชนวัดสังฆราชา 741 6.54 15 ชุมชนสองฝงคลอง 363 3.20 10 ชุมชนวัดพลมานีย 889 7.85 10 ชุมชนซอยธรรมนูญ 4200 37.07 40 ชุมชนมาเรียลัย 1733 15.29 20 ชุมชนหลวงพรต-ทานเลี่ยม 857 7.56 10 ชุมชนคลองหนึ่ง 1282 11.31 15 ชุมชนรมเกลา 1 594 5.24 10 ชุมชนหลังวัดลานบุญ 789 6.96 10 ชุมชนหมูบานลานบุญ 921 8.13 10 ชุมชนจิตรา 174 1.54 10 ชุมชนรักสามัคคี 408 3.60 10 ชุมชนทวีปญญารักษ 1968 17.37 20 ชุมชนรุงเรืองพัฒนา 337 2.97 10

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 56

ชุมชน จํานวนประชากร (คน) คาท่ีคํานวณได จํานวนแบบสอบถาม ท่ีเก็บ (ชุด)

ชุมชนในองคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย2/ หมูที่ 1 บานหวัคู 2248 19.84 25 หมูที่ 2 บานคลองจรเข 950 8.38 15 หมูที่ 3 บานคลองจรเข 304 2.68 10 หมูที่ 4 บานคลองจรเข 529 4.67 10 หมูที่ 8 บานคลองบางนา 269 2.37 10 หมูที่ 9 บานคลองปากน้ํา 423 3.73 10 หมูที่ 10 บานหนองงูเหา 796 7.02 10

ชุมชนในองคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ3/ หมูที่ 6 บานคลองลาดกระบัง 1359 11.99 13 หมูที่ 7 บานคลองลาดกระบัง 888 7.84 20 หมูที่ 8 บานคลองบัวเกราะ 6058 53.46 65 หมูที่ 9 บานคลองตาพุก 822 7.25 10 หมูที่ 11 บานคลองขันแตก 812 7.17 10 หมูที่ 14 บานคลองบัวลอย 1947 17.18 29 หมูที่ 15 บานคลองบัวลอย 1506 13.29 21

ชุมชนในองคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ4/ หมูที่ 1 บานคลองหนองงูเหา 762 6.72 10 หมูที่ 2 บานคลองทองคุง 965 8.52 12 หมูที่ 3 บานรวมใจพัฒนา 479 4.23 10 รวม 45,678 403.12 608

ที่มา : 1/ สํานักงานเขตลาดกระบัง ขอมูล ณ วันที่ 8 มีนาคม 2554 2/แผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2554-2556) ขององคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย โดย สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2553 3/ สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ขอมูล ณ เดือนตุลาคม 2553 4/แผนพัฒนาสสามป (พ.ศ. 2554-2556) ขององคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ โดย สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2553

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 57

4.5.2.2 ผลการสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และขอมูลสุขภาพรายบุคคลจากแบบสอบถาม ผลการสํารวจขอมูลจากแบบสอบถาม ทั้ง 5 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลผูใหสัมภาษณ สวนที่ 2

ขอมูลเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัว สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ สวนที่ 4 ขอมูลสุขภาพรายบุคลล สวนที่ 5 ชองทางประชาสัมพันธ สามารถ สรุปไดดังนี้ (รายละเอียดในภาคภนวก จ -6)

สวนท่ี 1 ขอมูลผูใหสัมภาษณ ผูใหสัมภาษณ มีจํานวนทั้งหมด 608 คน แบงเปน เพศชาย จํานวน 298 คน หรือรอยละ49.01 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และเพศหญิง จํานวน 310 คน หรือรอยละ 50.99 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ สวนใหญมีอายุอยูระหวาง 31-40 ป มากที่สุด รองลงมา คือ 41 -50 ป เทากับรอยละ 27.47 และรอยละ 20.56 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ ผูใหสัมภาษณสวนใหญมีอาชีพรับจางทั่วไปและธุรกิจสวนตัว เทากับรอยละ20.89 และรอยละ 19.41 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ ทั้งนี้นับถือศาสนพุทธ มากที่สุด และรองมา คือ อิสลาม เทากับรอยละ95.23 และรอยละ 2.63 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ รวมทั้งสวนใหญมีการศึกษาอยูในระดับมัธยมปลาย มากที่สุด และรองลงมา คือ มัธยมตน เทากับรอยละ 31.91 และรอยละ 26.15 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ และมีภูมิลําเนาอยูกรุงเทพฯ มากที่สุด สวนท่ี 2 ขอมูลเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัว ผูใหสัมภาษณสวนใหญเปนหัวหนาครอบครัว รองลงมา คือ บุตรธิดา เทากับรอยละ 26.15 และรอยละ 22.20 ตามลําดับ อาชีพหลักของครอบครัว คือ รับจางทั่วไป และอาชีพหลักรองลงมา คือ พนักงานโรงงาน เทากับรอยละ 34.37 และรอยละ 15.62 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ รายไดหลักของผูใหสัมภาษณ สวนใหญอยูในชวง 5,000-10,000 บาท เทากับรอยละ 44.57 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และรายไดของครอบครัว อยูในชวง 25,001-50,000 บาท เทากับรอยละ 48.36 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ซ่ึงใหญเพียงพอแตไมเหลือเก็บ รอยละ 51.64 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ทั้งนี้สวนใหญไมมีความคิดที่จะยายออกไปอยูที่อ่ืน รอยละ 81.91 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ สวนท่ี 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ ความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ ในระยะกอสราง และดําเนินการ พบวา สวนใหญหวงกังวล รอยละ 58.72 และ 58.06 ของ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 58

จํานวนผูใหสัมภาษณ ซ่ึงหวงกังวลในเรื่องคุณภาพอากาศมากที่สุด รอยละ 59.36 และรอยละ 85.84 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบดานสุขภาพที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ ในระยะกอสราง และดําเนินการ พบวา สวนใหญหวงกังวล รอยละ 56.41 และ 55.59 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ ซ่ึงหวงกังวลในเรื่องอุบัติเหตุและความปลอดภัย มากที่สุด ทั้งในระยะกอสรางและระยะดําเนินการ เทากับรอยละ 42.27 และรอยละ 48.52 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ

ความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบดานสาธารณูปโภคที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ ในระยะกอสราง และดําเนินการ พบวา สวนใหญไมหวงกังวล รอยละ 50.82 และ 50.99 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ สําหรับผูใหสัมภาษณที่หวงกังวล จะหวงในเรื่องการคมนาคมไมสะดวก ทั้งในระยะกอสรางและระยะดําเนินการ

ความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบดานเครือขายสังคมที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ ในระยะกอสราง และดําเนินการ พบวา สวนใหญหวงกังวล รอยละ 67.11 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ (เทากันทั้งสองระยะ) สวนใหญหวงกังวลในเรื่องอาชญากรรม ทั้งในระยะกอสรางและระยะดําเนินการ เทากับรอยละ 54.41 และรอยละ 51.96 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ

สวนท่ี 4 ขอมูลสุขภาพรายบุคลล ขอมูลดานสุขภาพในเรื่องอาการทางกาย ผูใหสัมภาษณสวนใหญ ไมเคยสูบบุหร่ี รอยละ 67.60 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และสวนใหญไมดื่มแอลกอฮอล รอยละ 55.10 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ อาหารที่รับประทานจะเปนการปรุงเอง รอยละ 73.68 ของจํานวผูใหสัมภาษณ หากมีอาการปวยสวนใหญจะพบแพทย รอยละ 62.17 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ สวนใหญผูใหสัมภาษณไมมีโรคประจําตัว รอยละ 72.86 หากเปนโรคประจําตัวพบวาเปนโรคความดันและเบาหวาน นอกจากนี้พบวาสวนใหญผูใหสัมภาษณจะมีอาการปวยดวยโรคระบบทางเดินหายใจ นาน ๆ คร้ัง คิดวาสาเหตุมาจาก ฝุนละออง และมลพิษ ทั้งนี้พบวาผูใหสัมภาษณสวนใหญไมมีการระคายเคืองตา รอยละ 68.26 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 59

ขอมูลดานสุขภาพจิต พบวาสวนใหญอยูในเกณฑดี กลาวคือ - ความพึงพอใจในชีวิต ระดับมาก รอยละ 72.37 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความรูสึกสบายใจ ระดับมาก รอยละ 72.37 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความรูสึกทอแทกับการดําเนินชีวิตประจําวัน ระดับเล็กนอย รอยละ 50.49 ของจํานวนผูให

สัมภาษณ - ความรูสึกผิดหวังกับตนเอง ระดับไมเลย รอยละ 67.27 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความรูสึกวาชีวิตมีแตความทุกข ระดับไมเลย รอยละ 58.88 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความสามารถทําใจยอมรับไดสําหรับปญหาที่ยากจะแกไข ระดับเล็กนอย รอยละ 51.48 ของ

จํานวนผูใหสัมภาษณ - ความมั่นใจวาจะสามารถควบคุมอารามณไดเมื่อมีเหตุการณคับขันหรือรายแรงเกิดขึ้น แกไข

ระดับเล็กนอย รอยละ 48.68 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความมั่นใจวาจะเผชิญเหตุการณรายแรงที่เกิดขึ้นในชีวิต ระดับมาก รอยละ 57.24 ของ

จํานวนผูใหสัมภาษณ - ความรูสึกเห็นใจเมื่อผูอ่ืนมีทุกข ระดับมาก รอยละ 55.76 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความรูสึกเปนสุขในการชวยเหลือผูอ่ืนที่มีปญหา ระดับมาก รอยละ 51.15 ของจํานวนผูให

สัมภาษณ - ใหความชวยเหลือแกผูอ่ืนเมื่อมีโอกาส ระดับมาก รอยละ 48.19 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความรูสึกภูมิใจในตัวเอง ระดับมาก รอยละ 71.38 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - ความมั่นคงปลอดภัยเมื่ออยูในครอบครัว ระดับมาก รอยละ 75.16 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ - หากเจ็บปวยเชื่อวาครอบครัวจะดูแลไดเปนอยางดี ระดับมาก รอยละ 64.97 ของจํานวนผูให

สัมภาษณ - สมาชิกในครอบครัวมีความรรักและผูกพันตอกัน ระดับมาก รอยละ 62.50 ของจํานวนผูให

สัมภาษณ สวนท่ี 5 ชองทางประชาสัมพันธ

ผูใหสัมภาษณสวนใหญไมรูจักโครงการ รอยละ 53.78 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และตองการรับขาวสารจากโครงการ รอยละ 94.90 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ โดยตองการทราบขอมูลผานทางประธานชุมชนหรือผูใหญบาน มากที่สุด รองลงมาคือ สํานักงานเขตหรือ อบต. และชองทางที่คิดวาติดตอกันเจาหนาที่ไดสะดวกที่สุด คือ ผานประธานชุมชนหรือผูใหญบาน รองลงมา คือ ทางโทรศัพทหรือโทรสาร

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 60

4.5.3 การสาธารณสุขและสุขภาพ 4.5.3.1 เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร

(1) สถานพยาบาลและจํานวนเตียง

สถานพยาบาลในเขตลาดกระบังที่สําคัญ ไดแก โรงพยาบาลลาดกระบัง สังกัดสํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร มีจํานวนเตียงรวม 60 เตียง ดังแสดงในตารางที่ 4.5.3-1

ตารางที่ 4.5.3-1 จํานวนเตียงของโรงพยาบาลลาดกระบัง ปงบประมาณ 2553

หอผูปวย จํานวน (เตยีง)

สามัญ พิเศษ รวม อายุรกรรม 23 3 26 ศัลยกรรม 7 2 9 ศัลยกรรมกระดูก 3 - 3 สูตินรีเวชกรรม 9 - 9 กุมารเวชกรรม 13 - 13

รวม 55 - 60 ท่ีมา : ฝายแผนงาน กองวิชาการ สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร

(2) ผูปวยนอก

จํานวนผูปวยนอกแยกตามกลุมงานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ในปงบประมาณ 2551-

2553 สวนใหญเปนผูปวยจากกลุมงานอายุรกรรม และอุบัติเหตุและนิติเวชวิทยา แสดงดังตารางที่ 4.5.3-2

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 61

ตารางที่ 4.5.3-2 จํานวนผูปวยนอกแยกตามกลุมงานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ปงบประมาณ 2551-2553

กลุมงาน จํานวนผูปวยนอก

ป 2551 ป 2552 ป 2553 อายุรกรรม 2,203 2,150 1,804 สูติ-นรีเวชกรรม 565 655 429 กุมารเวชกรรม 979 1,162 627 ศัลยกรรม 398 221 225 ศัลยกรรมกระดูก 248 192 199 ทันตกรรม - 1 - เวชกรรมฟนฟู 21 - - จักษุวิทยา - - 1 จิตเวช 56 15 2 อ่ืน ๆ 191 - -

รวม 4,661 4,396 3,287 ท่ีมา : ฝายแผนงาน กองวิชาการ สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร

(3) ผูปวยใน

จํานวนผูปวยในแยกตามกลุมงานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ในปงบประมาณ 2551-2553 สวนใหญเปนผูปวยจากกลุมงานอายุรกรรม และกุมารเวชกรรม แสดงดังตารางที่ 4.5.3-3

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 62

ตารางที่ 4.5.3-3 จํานวนผูปวยในแยกตามกลุมงานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ปงบประมาณ 2551-2553

กลุมงาน จํานวนผูปวยใน

ป 2551 ป 2552 ป 2553 อายุรกรรม 49,071 51,115 53,226 อุบัติเหตุและนิติเวชวิทยา 43,639 45,247 46,665 สูติ-นรีเวชกรรม 5,860 6,475 5,838 กุมารเวชกรรม 9,592 12,330 11,560 ศัลยกรรม - - 52 ศัลยกรรมกระดูก 3,122 3,526 4,248 ทันตกรรม 5,823 4,616 8,149 เวชกรรมฟนฟู 763 801 587 จักษุวิทยา 681 546 605 อนามัยชุมชน 24,044 15,956 13,071 โสต-ศอ-นาสิก ลาริงซวิทยา 1,622 1,508 714 จิตเวช 203 167 99 อ่ืน ๆ 2,758 2,741 2,598

รวม 147,178 145,028 147,412 ท่ีมา : ฝายแผนงาน กองวิชาการ สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 63

4.5.3.2 อําเภอบางพลี อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ

(1) โรงพยาบาลและจํานวนเตียง

ในพื้นที่อําเภอบางพลี และอําเภอบางเสาธง มีโรงพยาบาลที่สําคัญ ประกอบดวยโรงพยาบาลของรัฐ 1 แหง ไดแก โรงพยาบาลลาดกระบัง และโรงพยาบาลเอกชน จํานวน 9 แหง ดังแสดงในตารางท่ี 4.5.3-4

ตารางที่ 4.5.3-4 โรงพยาบาลและจํานวนเตียง ในพืน้ท่ีอําเภอบางพลี และอําเภอบางเสาธง ป 2552

สถานพยาบาล หนวยงาน จํานวน (เตยีง)

อําเภอบางพล ี 1.โรงพยาบาลบางพลี รัฐบาล 60 2.โรงพยาบาลจุฬารัตน 3 เอกชน 134 3.โรงพยาบาลจุฬารัตน 9 4.โรงพยาบาลเซ็นทรัลปารค

เอกชน เอกชน

100 120

5.โรงพยาบาลปยะมินทร เอกชน 200 6.สถานพยาบาลจุฬารัตน เอกชน 26 7.สถานพยาบาลบางนา 3 เอกชน 10 8.สถานพยาบาลจุฬารัตน สุวรรณภูมิ เอกชน 26 อําเภอบางเสาธง 1.โรงพยาบาลบางนา 2 เอกชน 100 2.สถานพยาบาลจุฬารัตน 5 เอกชน 26

รวม 802

(2) ผูปวยนอก

จากรายงานผูปวยนอกตามกลุมสาเหตุ 21 กลุมโรค (รง.504) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553 พบวาสวนใหญปวยดวยกลุมโรคระบบทางเดินหายใจ และกลุมโรคระบบไหลเวียนเลือด ดังแสดงในตารางที่ 4.5.3-5

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 64

ตารางที่ 4.5.3-5 ผูปวยนอกตามกลุมสาเหตุ 21 กลุมโรค (รง.504) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย)

ปงบประมาณ 2552-2553 กลุมโรค จํานวน (ราย)

ป 2552 ป 2553 1.โรคติดเชื้อและปรสิต 18,675 19,955 2.เนื้องอก (รวมมะเร็ง) 1,187 1,007 3.โรคเลือดและอวยัวะสรางเลือด และความผิดปกติเกีย่วกับภูมิคุมกนั 1,847 4,689 4.โรคเกี่ยวกับตอมไรทอและโภชนาการ และเมตะบอลิสัม 36,550 38,581 5. ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม 2,475 2,461 6.โรคระบบประสาท 2,220 3,650 7.โรคตารวมสวนประกอบของตา 3,531 3,745 8.โรคหูและปุมกกห ู 2,017 2,020 9.โรคระบบไหลเวียนเลือด 44,787 44,856 10.โรคระบบหายใจ 49,718 49,025 11.โรคระบบยอยอาหาร รวมโรคชองปาก 30,378 32,149 12.โรคผิวหนงั และเนื้อเยื่อใตผิวหนัง 5,192 5,855 13.โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงสราง และยึดเสริม 15,282 17,930 14.โรคระบบสืบพันธุรวมกบัปสสาวะ 6,305 8,065 15.ภาวะแทรกในการตั้งครรภ การคลอดฯและระยะหลงัคลอด 1,361 1,725 16.ภาวะผิดปรกติของทารกทีเ่กิดขึ้นในระยะปริกําเนดิ 340 394 17.รูปรางผิดปรกติแตกําเนิด การพิการจนผิดรูปแตกําเนดิและ โครโมโซมผิดปกต ิ

403 245

18.อาการ อาการแสดง และสิ่งผิดปรกตทิี่พบไดจากการตรวจ ทางคลินิคและทางหองปฏิบัติการฯ

35,111 37,816

19.การเปนพิษและผลที่ตามมา 4,812 890 20.อุบัติเหตุจากการขนสงและผลที่ตามมา 313 960 21.สาเหตุภายนอกอื่นๆ ที่ทาํใหปวยหรือตาย 5,318 6,805

รวม 267,822 282,823 ท่ีมา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 65

(3) ผูปวยใน

จากรายงานผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553 พบวาสวนใหญปวยดวยโรคอาการ อาการแสดง และสิ่งผิดปกติที่พบไดจากการตรวจทางคลินิกและหองปฏิบัติการที่มิไดระบุไวที่อ่ืนใด และการคลอดเดี่ยว (คลอดปกติ) ดังแสดงในตารางท่ี 4.5.3-6

ตารางที่ 4.5.3-6 ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553

กลุมโรค จํานวน (ราย)

ป 2552 ป 2553 1.ไขรากสาดนอย ไขรกสาดเทียม และการติดเชื้อซัลโมเนลลา 3 2 2.โรคติดเชื้ออ่ืนๆ ของสําไส 350 446 3.วัณโรค 31 58 4.โรคเร้ือน - - 5.สมองอักเสบจากเชื้อไวรัส 1 - 6.ไขเลือดออกจากเชื้อแดงกี่ และไขเลือดออกจากเชื้อไวรัส 289 292 7.ตับอักเสบจากเชื้อไวรัส 2 4 8.โรคภูมิคุมกันบกพรองจากเชื้อไวรัส (เอชไอวี) 53 47 9.มาลาเรีย 15 16 10.โรคติดเชื้อและปรสิตอื่นๆ 231 226 11.เนื้องอกรายที่ตับ 6 7 12.เนื้องอกรายที่ปอด 23 27 13.เนื้องอกรายที่เตานม 5 11 14.เนื้องอกรายที่มดลูก 4 11 15.โรคเลือดและอวัยวะสรางเลือดและความผิดปกติบางชนิดที่เกีย่วกับ ระบบภูมิคุมกัน

169 182

16.ธาลัสซีเมีย 25 12 17.ความผิดปกติปกติของตอมไทรอยด 3 18 18.โรคเบาหวาน 106 117

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 66

ตารางที่ 4.5.3-6 (ตอ) ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553

กลุมโรค จํานวน (ราย) ป 2552 ป 2553

19.ความผิดปกติเกีย่วกับตอมไรทอ โภชนาการและเมตะบอลิสัมอื่นๆ - 117 20.ความผิดปกติทางจิตใจทีม่ีสาเหตุจากโรคทั้งกลุมอาการของโรค 58 8 21.ความผิดปกติทางจิตใจและพฤติกรรมที่มีสาเหตุจากสารออกฤทธิ์ ทางจิตประสาท

10 8

22.ความผิดปกติทางจิตใจ จติเภทและประสาทหลอน 2 2 23.ความผิดปกติทางอารมณ (สะเทือนอารมณ) 7 2 24.ความผิดปกติจากโรคประสาท ความเครียด และอาการ ทางกายที่หาสาเหตุไมได

6 6

25.โรคปญญาออน 1 7 26.โรคลมบาหมู 36 30 27.โรคของประสาทอื่นๆ 24 34 28.โรคตาและสวนผนวก 2 3 29.โรคหูและปุมกกห ู 2 3 30.ไขรูหมาตกิเฉียบพลัน - - 31.โรคหัวใจรหูมาติกเรื้อรัง - 2 32.โรคความดันโลหิตสูง 108 93 33.โรคหัวใจขาดเลือด 35 36 34.โรคหัวใจและโรคของการไหลเวยีนเลือดผานปอดอื่นๆ 170 157 35.โรคหลอดเลือดสมองใหญ 51 84 36.โรคอื่นๆ ของระบบไหลเวียนเลือด 8 44 37.ระบบการหายใจสวนบนติดเชื้อเฉยีบพลัน และโรคอื่นของระบบ หายใจสวนบน

44 53

38.ไขหวดัใหญ 15 39 39.ปอดอักเสบ 414 572 40.โรคเร้ือรังของระบบหายใจสวนลาง 118 144

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 67

ตารางที่ 4.5.3-6 (ตอ) ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553

กลุมโรค จํานวน (ราย)

ป 2552 ป 2553 41.โรคหืดและโรคหืดชนดิเฉียบพลันรุนแรง 92 163 43.โรคอื่นๆ ของระบบหายใจ 109 81 43.โรคแผลในกระเพาะอาหารและลําไสสวนตน 152 133 44.โรคของไสติ่ง 50 65 45.ไสเล่ือน 19 32 46.โรคอื่นๆ ของลําไสและเยื่อบุชองทอง 4 3 47.ลําไสอัมพาต และสําไสมีการอุดตันโดยไมมีไสเล่ือน 5 7 48.โรคตับจากแอลกฮอล - 1 49.โรคนิ่วในถุงน้ําดีและถุงน้ําดีอักเสบ - 4 50.โรคอื่นของระบบยอยอาหาร 112 144 51.โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง 87 103 52.โรคของระบบกลามเนื้อรวมโครงราง 143 272 53.ความผิดปกติของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน - - 54.ไตวายเฉียบพลัน 16 8 55.ไตวายเรื้อรัง 18 23 56.นิ่วในไต - - 57.โรคของอวัยวะสืบพันธุชาย - 2 58.ความพิการของเตานม - - 59.โรคเกี่ยวกบัอวัยวะเชิงกรานหญิงอักเสบ และความผดิปกต ิ 1 4 60.โรคอื่นของระบบสืบพันธุรวมปสสาวะ 204 193 61.การตั้งครรภแลวแทง 117 31 62.การคลอดเดี่ยว (คลอดปกติ) 1,753 1,756 63.โรคแทรกซอนในการตั้งครรภ การเจ็บครรภ การคลอด ระยะ หลังคลอดและภาวะอืน่ๆ ทางสูติกรรมที่มิไดระบุไวที่อ่ืน

- 130

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ บทที่ 4 โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํเย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ สภาพแวดลอมปจจุบัน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4 - 68

ตารางที่ 4.5.3-6 (ตอ) ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553

กลุมโรค จํานวน (ราย)

ป 2552 ป 2553 64.การบาดเจบ็จากการคลอด - - 65.ความผิดปกติอ่ืนๆ ที่เกิดขึ้นในระยะปรกิําเนิด 15 45 66.รูปรางผิดปกติ การพิการจนผิดรูปแตกาํเนิด และโครโมโซมผิดปกติ - 1 67.อาการ อาการแสดง และสิ่งผิดปกติที่พบไดจากการตรวจทาง คลินิกและหองปฏิบัติการที่มิไดระบุไวที่อ่ืนใด

491 779

68.คนเดินเทาและขี่จักรยานบาดเจ็บจากอบุัติเหตุจากการขนสง - 1 69.ผูขับขี่จักรยานยนตไดรับบาดเจ็บจากอบุัติเหตุจากการขนสง 19 38 70.อุบัติเหตุจากการขนสงอื่นๆ และผลที่ตามมาของอุบัติเหตุจากการ ขนสงทั้งหมด

23 23

71.การเปนพิษ และผลพิษจากอุบัติเหตุ การทํารายตัวเอง ถูกผูอ่ืน ทํารายและการบาดเจ็บทีไ่มระบุแนชัดวาเปนอุบัติเหตุหรือการจงใจ

50 50

72.เหตุการณภายนอกอืน่ๆ ของการบาดเจบ็โดยอุบัติเหต ุและผลตาม มายกเวนการเปนพิษ

127 125

73.การฆาตัวตาย หรือการทํารายตัวเอง ยกเวนการวางยาพิษตนเอง 43 63 74.การถูกฆาตาย และถูกผูอ่ืนทําราย ยกเวนโดยใชยา สารเคมี หรือวัตถุมพีิษ

23 14

75.สาเหตุภายนอกอื่นๆ ของการเจ็บปวย การตาย และผลที่ตามมาที่มิได ระบุไวที่อ่ืนใด

- -

รวม 6,100 7,212 ท่ีมา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ