3
53 ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã áÅо×้¹·Õ่»ÃÔÁ³±Åã¹»‚ 2554 เหตุอุทกภัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในป 2554 นี้เปนปรากฎการณที่มิไดเกิดขึ้น อยางบอยครั้งนักและมีผลกระทบเปนอยางมากตอการดำรงชีวิตและสภาพความเปนอยูของ ประชาชนในพื้นที่ในบริเวณที่อาจจัดไดวาเปนเขตสำคัญที่สุดของประเทศไทย สิ่งหนึ่งที่จะละเลย เสียมิไดภายหลังจากที่น้ำไดลดระดับลงก็คือเรื่องของการจัดการสิ่งแวดลอมซึ่งหากมีการจัดการที่ ไมเหมาะสมก็จะเปนสาเหตุของโรคระบาดและเปนอุปสรรคที่สำคัญตอการฟนฟูพื้นที่และสภาพจิต ใจของผูประสบภัยในลำดับตอไป การจัดการขยะมูลฝอยเปนองคประกอบที่สำคัญมากสวนหนึ่งของการจัดการสิ่งแวดลอมและ นฟูสภาพพื้นที่ภายหลังน้ำทวม องคความรูที่หนวยงานปฎิบัติและประชาชน ผูมีสวนเกี่ยวของจะ ตองคำนึงถึงในบริบทของการจัดการจะมีองคประกอบยอยๆหลายสวน โดยองคประกอบของการ จัดการนั้นอยางนอยที่สุดจะตองคำนึงถึง 1. ขอมูลดานองคประกอบ ในสวนขององคประกอบนั้น ขยะภายหลังเหตุการณน้ำทวมมักจะประกอบไปดวย ขยะกลุมสารอินทรีย เชน เศษอาหาร ชิ้นสวนที่เกิดจากการประกอบอาหาร ขยะที่เกิด จากการทำความสะอาด ซากสัตวและอุจจาระหรือปสสาวะของคน ขยะกลุมนี้ตองมีการ หอหุมเพื่อไมใหสัตวหรือพาหะนำโรคเขาถึงได ขยะที่เนาเสียไดกลุมนี้ควรประสานให เจาหนาที่มารับไปจัดการโดยเร็ว หากไมสามารถทำไดก็ควรแยกสวนในการเก็บใหไกลจาก การอยูอาศัยของคนและใหอยูในที่แหง ขยะกลุมบรรจุภัณฑ เชน ขวดแกว พลาสติก กระปองตาง ๆ กลองนม ฯลฯ ขยะเหลานีควรทำความสะอาดและบรรจุใสถุงใหญ ๆ เก็บไว เพื่อรอการจัดเก็บไปจัดการตอไป ขยะกลุมที่เปนวัสดุกอสรางหรือสวนประกอบของบานตาง ๆ เชน ทราย คอนกรีตบล็อก เครื่องเรือนหรืออุปกรณตาง ๆ ที่ทำมาจากไมสำเร็จรูปหรือวัสดุกอสรางสำเร็จรูปตาง ๆ นอกจากนี้อาจจะมีเศษซากอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในบาน เชน ตูเย็น เครื่องซักผา โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิชญ รัชฏาวงศ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1) 2) 3)

¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãاà ... · 2017. 6. 5. · 53 ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

  • Upload
    others

  • View
    12

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãاà ... · 2017. 6. 5. · 53 ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

53

¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁَͨҡà˵ءÒó�¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

áÅо×้¹·Õ่»ÃÔÁ³±Åã¹»‚ 2554

เหตุอุทกภัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในป 2554 นี้เปนปรากฎการณที่มิไดเกิดขึ้น อยางบอยครั้งนักและมีผลกระทบเปนอยางมากตอการดำรงชีวิตและสภาพความเปนอยูของ ประชาชนในพื้นที่ในบริเวณที่อาจจัดไดวาเปนเขตสำคัญที่สุดของประเทศไทย สิ่งหนึ่งที่จะละเลย เสียมิไดภายหลังจากที่น้ำไดลดระดับลงก็คือเรื่องของการจัดการสิ่งแวดลอมซึ่งหากมีการจัดการที่ ไมเหมาะสมก็จะเปนสาเหตุของโรคระบาดและเปนอุปสรรคที่สำคัญตอการฟนฟูพื้นที่และสภาพจิตใจของผูประสบภัยในลำดับตอไป

การจัดการขยะมูลฝอยเปนองคประกอบที่สำคัญมากสวนหนึ่งของการจัดการสิ่งแวดลอมและฟนฟูสภาพพื้นที่ภายหลังน้ำทวม องคความรูที่หนวยงานปฎิบัติและประชาชน ผูมีสวนเกี่ยวของจะ ตองคำนึงถึงในบริบทของการจัดการจะมีองคประกอบยอยๆหลายสวน โดยองคประกอบของการ จัดการนั้นอยางนอยที่สุดจะตองคำนึงถึง

1. ขอมูลดานองคประกอบ ในสวนขององคประกอบนั้น ขยะภายหลังเหตุการณน้ำทวมมักจะประกอบไปดวย

ขยะกลุมสารอินทรีย เชน เศษอาหาร ชิ้นสวนที่เกิดจากการประกอบอาหาร ขยะที่เกิด จากการทำความสะอาด ซากสัตวและอุจจาระหรือปสสาวะของคน ขยะกลุมนี้ตองมีการ หอหุมเพื่อไมใหสัตวหรือพาหะนำโรคเขาถึงได ขยะที่เนาเสียไดกลุมนี้ควรประสานให เจาหนาที่มารับไปจัดการโดยเร็ว หากไมสามารถทำไดก็ควรแยกสวนในการเก็บใหไกลจาก การอยูอาศัยของคนและใหอยูในที่แหง ขยะกลุมบรรจุภัณฑ เชน ขวดแกว พลาสติก กระปองตาง ๆ กลองนม ฯลฯ ขยะเหลานี้ ควรทำความสะอาดและบรรจุใสถุงใหญ ๆ เก็บไว เพื่อรอการจัดเก็บไปจัดการตอไป ขยะกลุมที่เปนวัสดุกอสรางหรือสวนประกอบของบานตาง ๆ เชน ทราย คอนกรีตบล็อก เครื่องเรือนหรืออุปกรณตาง ๆ ที่ทำมาจากไมสำเร็จรูปหรือวัสดุกอสรางสำเร็จรูปตาง ๆ นอกจากนี้อาจจะมีเศษซากอุปกรณเครื่องใชไฟฟาภายในบาน เชน ตูเย็น เครื่องซักผา

โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.พิชญ รัชฏาวงศภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1)

2)

3)

Page 2: ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãاà ... · 2017. 6. 5. · 53 ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

54

โทรทัศน ฯลฯ และชิ้นสวนหรืออุปกรณที่เกี่ยวกับกับการซอมบำรุงรถยนตหรือเครื่องยนต เปนตน

2. องคกรผูรับผิดชอบและมีขีดความสามารถองคกรผูรับผิดชอบในการเก็บขยะมูลฝอยในภาวะการณปกติจะไดแกองคกรปกครองสวนทอง

ถิ่นตาง ๆ เชน กรุงเทพมหานคร เทศบาล หรือองคกรบริหารสวนตำบลตาง ๆ ในภาวะหลังน้ำทวม องคกรผูรับผิดชอบตางๆ เหลานี้จะตองเผชิญกับปญหาสำคัญในการบริหารจัดการนั่นก็คือ ปริมาณ ขยะจำนวนมากมายมหาศาลเกินขีดความสามารถในการจัดเก็บและการกำจัดโดยปกติของหนวย งานในตางประเทศเชนในประเทศอเมริกา พบวาหลังมีเหตุภัยพิบัติ ขยะมูลฝอยสามารถมีจำนวน ไดมากถึง 5-15 เทาของปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในเวลาปกติ ทางกรุงเทพมหานครไดคาดการณขยะ ชุมชนอยางนอยไวถึงประมาณ 3 ลานตันที่รอการจัดเก็บ โดยจำนวนนี้นาจะยังไมรวมถึงปริมาณ ของขยะที่เกี่ยวกับกิจกรรมการกั้นน้ำอันไดแกทราย อิฐบล็อกตาง ๆ อีกดวย ขยะจำนวนมากเหลา นี้จำเปนจะตองถูกจัดเก็บอยางเรงดวนเพื่อประชาชนจะไดสามารถเขาอยูอาศัยในที่พักไดดังเดิม จากนั้นขยะเหลานี้ก็จะตองถูกนำไปกำจัดตอไปอีกไมวาจะโดยการเผาหรือการนำไปฝงกลบ ซึ่งแนนอนวาจะตองมีการใชพื้นที่หรือน้ำมันเชื้อเพลิงอีกเปนจำนวนมากอีกเชนกัน ดังนั้น หนวย งานภาครัฐที่เกี่ยวของในทุกระดับจำเปนตองมีการวางแผนเพื่อการจัดหาและจัดสรรงบประมาณ พื้นที่ และทรัพยากรอื่น ๆ เพื่อการจัดการขยะจำนวนนี้อยางรัดกุมและมีประสิทธิภาพ โดยหนวย งานในสวนกลางเชนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงพลังงาน และ กระทรวงอุตสาหกรรม ก็ควรเขาไปสนับสนุนหนวยงานปฎิบัติในพื้นที่อยางใกลชิด

3. การนำกลับไปใชใหมในตางประเทศไดมีความพยายามอยางยิ่งในการที่จะนำขยะเหลานี้กลับไปใชใหมเพื่อเปนการ

อนุรักษและรักษาแหลงทรัพยากรทีมีจำนวนลดลงเรื่อย ๆ อยางไรก็ดีการนำกลับไปใชใหมจำเปน ที่จะตองมีผลการคาดการณองคประกอบและปริมาณของขยะที่นาเชื่อถือไดอยูในระดับหนึ่ง เพื่อทำการวางแผนตระเตรียมทรัพยากร ประเมินความคุมทุน ประสานกับองคกรที่เกี่ยวของ และ จัดหาเครื่องมือที่จำเปนในการนำขยะกลับไปใชใหม ในเรื่องการนำกลับไปใชใหมอยางมีประสิทธิ- ภาพจำเปนตองมีการคัดแยกประเภทของขยะตามความตองการของกระบวนการตอเนื่อง เชน การแยกทรายกอสรางออกจากทรายทะเลเพื่อการใชในงานคอนกรีต การแยกองคประกอบที่เปน ไมออกจากคอนกรีตเพื่อนำไปใชเปนเชื้อเพลิง หากไมมีการแยกประเภทขยะในชวงแรกเชน ณ จุด เกิดขยะ หรือจุดพักขยะแลว เราสามารถคาดหวังการสูญเสียคาแรงและเวลาจำนวนมากในชวง ของการนำขยะกลับไปใชใหม อุปสรรคอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการนำขยะโดยเฉพาะขยะสิ่งกอสรางมาใช

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Page 3: ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãاà ... · 2017. 6. 5. · 53 ¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍ ¨Ò¡à˵ءÒó ¹้Ó·‹ÇÁ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã

55

ไปใชใหมหรือการใชขยะบางประเภทเปนเชื้อเพลิง เปนตน

6. ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่นาจะเกิดในชวงของการจัดการขยะมูลฝอยจากเหตุน้ำ

ทวม อาจจะสามารถพิจารณาไดตามลำดับขององคประกอบการจัดการที่สำคัญ (Functional Elements) คือ ณ ตำแหนงของการคัดแยก (Sorting) การนำกลับมาใชใหม (Recovery and Recycling) และ การกำจัดขั้นสุดทาย (Final Disposal) ในตำแหนงของการคัดแยกและการ นำกลับมาใชใหมนั้น มลพิษทางอากาศจากเชื้อโรค สารอินทรีย กลิ่น และสารเคมีตาง ๆ จะตอง มีการระวังเปนอยางยิ่ง บุคลากรที่ทำงานตองมีการใสเครื่องปองกันใหเหมาะสม ในสวนของการ กำจัดขั้นสุดทายโดยหลุมฝงกลบ จะตองมีการปองกันการปนเปอนทั้งดานอากาศ ดินและน้ำใตดิน ตามมาตรฐานของการออกแบบและทำงานกับหลุมฝงกลบ

โดยสรุป การจัดการขยะมูลฝอยจากเหตุการณน้ำทวมกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลใน ป 2554 นาจะเปนภาระที่หนักหนวงทีเดียว สำหรับหนวยงานที่เกี่ยวของ แตก็คงไมเกินความ สามารถเจาหนาที่ของไทยที่จะรับมือได ทั้งนี้การวางแผนที่รัดกุม การบริหารเวลาที่เหมาะสม และ ความรวมมือจากทุกภาคสวนในสังคมไทย ไมวาจะเปนภาครัฐ เอกชน นักวิชาการ และประชา สังคม จะชวยพาใหพวกเรารอดพนวิกฤตนี้ไปดวยกัน ขอบคุณครับ

เอกสารอางอิง1) Brown, C., Milke, M., and Seville, E., 2011. Disaster Waste Management: A Review Article. Waste Management, V. 31, 1085-1098.2) Tchobanoglous, G., Theisen, H., and Vigil, S., Integrated Solid Waste Manage- ment: Engineering Principles and Management Issues, McGraw-Hill, 1993.

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย