14
G/TBT/N/THA/214 , 11a8~jji1aa1«~' U illU11111J 0111 1111«~«11~Y)1 1 11 iI ...1 QJ lit Vt1~~lU fll1t1'Ua8~fItJ , 1. \ltJ1JeuUJ 4:00"" tI .10 "" d" " "" lIl~'j;1 TU~~~f)tU CVlt)~ffl'Hfl'j'j 1I'U fll'H 'Uf1f1tU~fl1:JtU~'V1 ~ t)~fll'j 1\l Vfl~f11'Uf111111.J~t)f1fHJU~~fll'j ... q q "" A Id i " ~ 4:Oo.cS .A i ' d 0 ' " tI ff1Jlu~V'U f1 'j111tH11ifll'j't'lf1fft)1J U~~l~t)'U " 'Ufll'j't'lf1fft)1J't'l't'll 'H'H~t)f1rJ~t)t)l'jfflC)f'UC)f U~~ cu I I JJ. .cS 4:00 A I 1 A I 4 ~ i A I 1.cS .cS i 4 'H~t)f1't'l1f1~Hnflfll'jU~t)Vu'j~'U 1J1Jt)'U '1 l1J'U u~ 111111~ 'j! l'U 'H~t)f11'H~ l'U \)~lIfl~ fllVft)f111Jflll , " 0 I.A I ' "" 1 .cS A I tI.A ' " , , " fll'j\)~'H~t)f1U~~ 'Hfll'j't'l1~1'U~t)1'Ut)~'j111t)V 'U~1 ~VlI\)~u'j~ff~f11Vft) '}ff)lV 'Ut)1f11'j U~~ 'H q cu q Uff~ff11~..t1 i1.J~f1-ft'lVf1~~n'U ~~l~Vfl'H~t)~l'H,hd' 11 'H~t)~~,j~~lff~' 'U\P11l~Vij"t)1Jl,,~i~d' - fh-n~irJ~l~til'H'U~i1iln'U 60 i~~ "" i -~ dOl ' 1 ..k ~ 1 1 tI Ii!1 tI - U'j~f1'UrJ-nl't'lfll'H'Uf1f11~f11'H'U~~~U~ 100 1~~ fI~ 250 11~~ ~ ~ "" .cS. "'I.cS - "1'H~t)~U1J1Jlfl~V1 (Edlson ~rew, E) 'H'jt) U1J1Jl"V1(bayonet, B) ~ ffl'H i' 1Jfll'j't'l~ fft)1J~~~ti tU"\1~'H 1I~ 11~t)fll'j't'l~fft)1Jl;j 'U~'Ut)th~ 'H11~fll'j.w\)1'jtU 1 q cu oQ 2 1J'rI'UrJUJ , ~ ~ f11111'H1I1V"t)~tiTYi'~' 'UlIl~'j!l'U ~~~titU "~~ffl'H fl'j'jllil iji~~t) i 1.Jil cl u ~ U Ii!1 d 1 " "" tI 1 , 2.1 ,n1tJA",1JiUnaPH'UPll (self-ballasted lamp) 'H1I1VfI~'H~t)~'t'l f1'j1111J~~lff~t)~f)lV 'U AI 0 d AI 1 "0 1 1 AI tI "" i " l i 'O ' ''0 1 u'j~fl{)1Jffl1'j\)'ju1l1\)lfl 'j~~1'U~'t'l1 lIUVfl{)ufl'jtU{){)fl\)lflfl'U f1 ~v 1I't'l1 'H')fl'j~t)Vl~ cu cu q q SI . I , fll1'j ij,j1'H ~{)~'j1111~ln1JU 'Hrl~til1ij~Uff~ U~~ff1'Ul.w1l1~1I6'U '~'1 Vi~11;j'U ffl'Hi'1Jfll'j'f1 o 1.cS.cS 104:00 'H~{)~U~~fll'j't'll~l'U{)Vl~lIlffflV'j f)lVf"{)~U 'H~~fll1'U ~u ff ~ 2.2 U1J1J(type) 'H1I1Vf)~'H~{)~~ij-nfl1:JtU~l'H1j{)'Un'U ''U.wnf1't'll~Uff~U~~'t'll~ irJ~11f1vi1i J "" ~ ,,'Ufl1JU1J1J"{)~"1 2.3 u1~i'U''Vh~h~fh'''UA (rated voltage) 'H1I1Vf)~u'j~i'U irJ~l 'H~{)'lh~,,{)~u'j~i'U irJ~l~ Uff~~1J'U11~{)~

G/TBT/N/THA/214 - Inmetro - Instituto Nacional de Metrologia, … · 2006-09-21 · มอก.2234-2548 2 2.4 กํัาลงไฟฟ ี่กําท (rated wattage) าหนด

Embed Size (px)

Citation preview

G/TBT/N/THA/214

,

11a8~jji1aa1«~' U illU11111J 0111 1111«~«11~Y)1 1 11

iI ...1 QJ

lit Vt1~~lU fll1t1'Ua8~fItJ

,1. \ltJ1JeuUJ

4:00"" tI .10 "" d" " ""lIl~'j;1 TU~~~f)tU CVlt)~ffl'Hfl'j'j 1I'Ufll'H 'Uf1f1tU~fl1:JtU~'V1~ t)~fll'j 1\l Vfl~f11'Uf111111.J~t)f1fHJU~~fll'j... q q

"" A Id i " ~ 4:Oo.cS .A i ' d 0 '" tIff1Jlu~V'U f1 'j111tH11ifll'j't'lf1fft)1J U~~l~t)'U " 'Ufll'j't'lf1fft)1J't'l't'll 'H'H~t)f1rJ~t)t)l'jfflC)f'UC)f U~~cu

I I JJ..cS 4:00 A I 1 A I 4 ~ iA I 1.cS .cS i 4

'H~t)f1't'l1f1~Hnflfll'jU~t)Vu'j~'U 1J1Jt)'U'1 l1J'U u~ 111111~'j! l'U 'H~t)f11'H~ l'U \)~lIfl~ fllVft)f111Jflll

, " 0 I.A I' "" 1 .cS A I tI.A '" , , "fll'j\)~'H~t)f1U~~ 'Hfll'j't'l1~1'U~t)1'Ut)~'j111t)V 'U~1 ~VlI\)~u'j~ff~f11Vft) '}ff)lV 'Ut)1f11'j U~~ 'H

q cu q

Uff~ff11~..t1 i1.J~f1-ft'lVf1~~n'U ~~l~Vfl'H~t)~l'H,hd' 11 'H~t)~~,j~~lff~' 'U\P11l~Vij"t)1Jl,,~i~d'

- fh-n~irJ~l~til'H'U~i1iln'U 60 i~~

"" i -~ dOl ' 1 ..k ~ 1 1 tI Ii!1 tI- U'j~f1'U rJ-nl't'lfll'H'Uf1f11~f11'H'U~~~U~ 100 1~~ fI~ 250 11~~~ ~"" .cS. "'I.cS

- "1'H~t)~U1J1Jlfl~V1 (Edlson ~rew, E) 'H'jt) U1J1Jl"V1(bayonet, B)

~

ffl'H i' 1Jfll'j't'l~ fft)1J~~~ti tU"\1~'H 1I~ 11~t)fll'j't'l~fft)1Jl;j 'U~'Ut)th~ 'H11~fll'j.w\)1'jtU 1q cu

oQ

2 1J'rI'UrJUJ

, ~ ~

f11111'H1I1V"t)~tiTYi'~''UlIl~'j!l'U ~~~titU "~~ffl'H fl'j'jllil iji~~t) i1.Jil

cl u ~ U Ii!1 d 1" "" tI 1 ,2.1 ,n1tJA",1JiUnaPH'UPll (self-ballasted lamp) 'H1I1VfI~'H~t)~'t'l f1'j1111J~~lff~t)~f)lV 'UAI 0 d AI 1 "0 11 AI tI "" i "l i 'O ' ''0 1u'j~fl{)1Jffl1'j\)'ju1l1\)lfl 'j~~1'U~'t'l1 lIUVfl{)ufl'jtU{){)fl\)lflfl'U f1 ~v 1I't'l1 'H')fl'j~t)Vl~cu cu q q

SI . I ,

fll1'j ij,j1'H ~{)~'j1111~ln1JU'Hrl~til1ij~Uff~ U~~ff1'Ul.w1l1~1I6'U'~'1 Vi~11;j'Uffl'Hi'1Jfll'j'f1o 1.cS.cS 104:00

'H~{)~U~~fll'j't'll~l'U{)Vl~lIlffflV'j f)lVf"{)~U 'H~~fll1'U ~u ff~

2.2 U1J1J(type) 'H1I1Vf)~'H~{)~~ij-nfl1:JtU~l'H1j{)'Un'U''U.wnf1't'll~Uff~U~~'t'll~irJ~11f1vi1iJ "" ~,,'Ufl1JU1J1J"{)~"1

2.3 u1~i'U''Vh~h~fh'''UA (rated voltage) 'H1I1Vf)~u'j~i'U irJ~l 'H~{)'lh~,,{)~u'j~i'U irJ~l~

Uff~~1J'U11~{)~

มอก.2234-2548

2

2.4 กําลังไฟฟาท่ีกําหนด (rated wattage) หมายถึง กําลังไฟฟาที่แสดงบนหลอด

2.5 ความถี่ท่ีกําหนด (rated frequency) หมายถึง ความถี่ที่แสดงบนหลอด หรือแจงโดยผูทํา หรือผูแทนจําหนายที่รับผิดชอบ

2.6 อุณหภูมิเพิ่มขึ้นของขั้วหลอด (cap temperature rise, Δts) หมายถึง การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิพื้นผิว (เหนืออุณหภูมิโดยรอบ) ของขั้วรับหลอดทดสอบมาตรฐานที่ติดเขากับหลอด เมื่อตรวจวัดตาม มอก.4 เลม 2-2529

2.7 สวนที่มีไฟฟา (live part) หมายถึง สวนที่นําไฟฟาได ซ่ึงอาจกอใหเกิดช็อกไฟฟาขึ้นไดในการใชงานตามปกติ

2.8 การทดสอบเฉพาะแบบ (type test) หมายถึง การทดสอบหรืออนุกรมการทดสอบที่ใชทดสอบกับตัวอยางทดสอบแบบใดแบบหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบวา การออกแบบของผลิตภัณฑเปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานที่สัมพันธกันนี้

2.9 ตัวอยางทดสอบเฉพาะแบบ (type test sample) หมายถึง ตัวอยางทดสอบใดทดสอบหนึ่งที่ประกอบดวยหนึ่งหนวย หรือมากกวาของผลิตภัณฑที่ผูทํา หรือผูแทนจําหนายที่รับผิดชอบจัดสงใหเพื่อจุดประสงคในการทดสอบเฉพาะแบบ

3. ขอกําหนดทั่วไปและขอกําหนดการทดสอบทั่วไป

3.1 ตองออกแบบหลอดมีบัลลาสตในตัวและสรางใหการใชงานตามปกติทํางานไดอยางนาเชื่อถือและไมเปนสาเหตุใหเกิดอันตรายตอผูใชหรือบริเวณโดยรอบ

โดยทั่วไป การทดสอบใหทําโดยทดสอบทุกรายการที่ระบุไวในมาตรฐานนี้

3.2 หากมิไดกําหนดไวเปนอยางอื่น การวัดทั้งหมดใหทําที่แรงดันไฟฟาที่กําหนด และความถี่ที่

กําหนด ในที่มีอากาศนิ่งที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ± 1 องศาเซลเซียส

ในกรณีที่กําหนดเปนชวงแรงดันไฟฟา การทดสอบตองใชคาเฉลี่ย

3.3 หลอดมีบัลลาสตในตัวประกอบเปนชุดสําเร็จรูป ปดผนึกจากโรงงานโดยไมสามารถซอมได หลอดตองไมเปดออกเพื่อการทดสอบใดๆ ในกรณีมีขอสงสัยเกี่ยวกับการตรวจพินิจหลอดและตรวจสอบผังวงจร ใหผูทําหรือผูแทนจําหนายที่รับผิดชอบเตรียมหลอดขึ้นเปนกรณีพิเศษที่สามารถจําลองภาวะผิดพรองและสงมอบเพื่อการทดสอบ(ดูขอ 12)

มอก.2234-2548

4. เคร่ืองหมายและฉลาก

4.1 ตองเปนไปตาม มอก.2233 ขอ 4.1 และ ขอ 4.2 4.2 ที่หลอดหรือภาชนะบรรจุหรือคูมือแนะนําการติดตั้งอยางนอยตองมีเลข อักษร หรือ

เครื่องหมายแสดงรายละเอียดดังตอไปนี้ (1) กระแสไฟฟา (2) ตําแหนงใชงาน (burning position) ถามีขอจํากัด (3) ควรมีขอความเพื่อเตือนจากกรณีเปลี่ยนหลอดใหมที่มีน้ําหนักมากกวาหลอดเดิม ซ่ึงอาจ

ทําใหเสถียรภาพเชิงกลของดวงโคมลดลง (4) การนําหลอดไปใชงานในสภาวะจําเพาะหรือจํากัด ตองสังเกตุสัญลักษณที่กําหนดขึ้น

ตัวอยางเชนการใชงานในวงจรหรี่แสง กรณีหลอดไมเหมาะสมที่จะใชงานกับวงจรหรี่แสงใหใชสัญลักษณดังนี้

4.3 การทดสอบใหปฏิบัติตาม มอก.2233 5. การสับเปล่ียนได

5.1 การสับเปลี่ยนหลอดจะทําได เมื่อใชขั้วหลอดที่เปนไปตามมาตรฐาน IEC 60061-1

5.2 การทดสอบขั้วหลอดที่ประกอบกับตัวหลอด ใหใชเครื่องวัดสําหรับตรวจสอบมิติเพื่อควบคุมการสับเปลี่ยนไดใหเปนไปตามตารางที่ 1

เครื่องวัดตางๆ ไดแสดงไวในแผนขอมูลมาตรฐานที่รวมไวใน IEC 60061-3

5.3 หลอดมบีัลลาสตในตัวขั้วหลอดแบบ B22d หรือ E27 ตองมีมวลไมเกิน 1 กิโลกรัม และตองไมทําใหเกิดโมเมนตบิดมากกวา 2 นิวตันเมตรที่ขั้วรับหลอด

การทดสอบใหทําโดยการวัด

3

มอก.2234-2548

ตารางที่ 1 เคร่ืองวัดการสับเปล่ียนกันได และมิติของขั้วหลอด (ขอ 5.2)

ขั้วหลอด มิติของขั้วหลอดที่ตรวจสอบโดยเครื่องวัด หมายเลขแผนขอมูลของเคร่ืองวัด จาก IEC 60061-3

B22d

หรือ

B15d

A สูงสุด และ A ต่ําสุด

D1 สูงสุด

N ต่ําสุด

ตําแหนงขาขั้วหลอดบนเสนผานศูนยกลางของขั้วหลอด:

− การสอดเขาไปในขั้วรับหลอด

− การคงอยูในขั้วรับหลอด

7006-10

และ

7006-11

7006-4A

7006-4B

E27 มิติสูงสุดของสันเกลียว

เสนผานศูนยกลางหลักต่ําสุดของสันเกลียว

การทําหนาสัมผัส(contact making)

7006-27B

7006-28A

7006-50

E14 มิติสูงสุดของสันเกลียว

เสนผานศูนยกลางหลักต่ําสุดของสันเกลียว

การทําหนาสัมผัส

7006-27E

7006-28B

7006-54

6. การปองกันช็อกไฟฟา

หลอดมีบัลลาสตในตัวตองมีโครงสรางที่ไมมีเปลือกนอกเพิ่มเติมใดๆ ที่มีรูปรางคลายดวงโคม ตองไมสามารถแตะตองถึงสวนโลหะที่มีไฟฟาของขั้วหลอด เมื่อหลอดไดติดตั้งกับขั้วรับหลอดตาม มอก.4 เลม 2

การทดสอบใหทําโดยใชนิ้วทดสอบที่กําหนดตามรูปที่ 1 ถาจําเปนใหกดดวยแรง 10 นิวตัน

ตองออกแบบหลอดที่มีขั้วหลอดแบบเกลียวใหเปนไปตามขอกําหนดในการเขาถึงไมไดของหลอดสําหรับการใหแสงสวางทั่วไป

4

มอก.2234-2548

5

การทดสอบใหทําโดยใชเครื่องตรวจมิติที่เปนไปตามมาตรฐาน IEC 60061-3 หมายเลขแผนขอมูล 7006-51A สําหรับขั้วหลอด E27 และหมายเลขแผนขอมูล 7006-55 สําหรับขั้วหลอด E14

หลอดที่มีขั้วหลอดแบบ B22 หรือ B15 ใหใชขอกําหนดเชนเดียวกับหลอดไฟฟา (incandescent lamp)

สวนที่เปนโลหะภายนอกทั้งหลายที่นอกเหนือจากสวนโลหะที่กระแสไฟฟาไหลผานของขั้วหลอดตองไมเปนหรือกลายเปนสวนที่ไฟฟา สําหรับการทดสอบวัสดุใหวางตัวนําเคลื่อนที่ใดๆ ในตําแหนงที่ใหผลเลวท่ีสุดโดยไมใชเครื่องมือ

การทดสอบใหทําโดยใชวิธีทดสอบความตานทานฉนวนและความทนแรงดันไฟฟา (ดูขอ 7)

7. ความตานทานฉนวนและความทนแรงดันไฟฟาภายหลังใหความชื้น

ความตานทานฉนวนและความทนแรงดันไฟฟาระหวางสวนโลหะที่กระแสไฟฟาไหลผานกับสวนที่แตะตองถึงไดของหลอดตองมีอยางเพียงพอ

7.1 ความตานทานฉนวน

ตองปรับสภาพหลอดที่ความชื้นสัมพันธรอยละ 91 ถึงรอยละ 95 ในตูอบเปนเวลา 48 ช่ัวโมง และมีอุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่งระหวาง 20 องศาเซลเซียส ถึง 30 องศาเซลเซียส โดยให

อุณหภูมิคงที่อยูในชวง ± 1 องศาเซลเซียส

ตองวัดคาความตานทานฉนวนในตูอบความชื้นหลังจากจายแรงดันเปนเวลา 1 นาที โดยใชแรงดันไฟฟากระแสตรงประมาณ 500 โวลต คาความตานทานฉนวนระหวางสวนโลหะที่กระแสไฟฟาไหลผานของขั้วหลอดกับสวนที่แตะตองถึงของหลอด (สวนที่แตะตองถึงที่เปนวัสดุฉนวนใหหุมดวยแผนโลหะบางๆ กอน) ตองไมนอยกวา 4 เมกะโอหม

7.2 ความทนแรงดันไฟฟา

หลังจากทดสอบความตานทานฉนวนแลว ใหทดสอบทันทีกับสวนเดียวกันกับที่กําหนดไวขางตน ซ่ึงสวนดังกลาวตองทนกับการทดสอบแรงดันไฟฟาใดแรงดันไฟฟาหนึ่งที่เปนแรงดันไฟฟากระแสสลับ ดังตอไปนี้เปนเวลา 1 นาที

7.2.1 ขั้วหลอดแบบเกลียว ใหทดสอบทันทีกับสวนที่แตะตองถึงกับสวนที่เปนขั้วเกลียว (สวนที่แตะตองถึงที่เปนวัสดุฉนวนใหหอหุมดวยแผนโลหะบางๆ ) ดวยแรงดันไฟฟาดังนี้ (1) แบบ HV ( 220 โวลต ถึง 250 โวลต) : 4 000 โวลต (คารากกําลังสองเฉลี่ย)

มอก.2234-2548

6

(2) แบบ BV ( 100 โวลต ถึง 120 โวลต) : 2U + 1000 โวลต โดยที่ U = แรงดันไฟฟาที่กําหนด

ระหวางการทดสอบใหลัดวงจรตาไก (eyelet) กับเปลือกนอกของขั้วหลอด

ในระยะเริ่มตนใหปอนแรงดันไฟฟาครึ่งหนึ่งของคาที่กําหนด หลังจากนั้นคอยๆ เพิ่มจนถึงคาแรงดันไฟฟาที่กําหนดไว

ในระหวางการทดสอบตองไมเกิดการวาบไฟตามผิว (flash-over) หรือเสียสภาพฉับพลัน (breakdown) การวัดตองทําในตูอบความชื้น

8. ความแข็งแรงทางกล

ความตานทานการบิด

ขั้วหลอดตองติดกับตัวกระเปาะหรือบริเวณของหลอดที่ใชเพื่อหมุนหลอดเขาหรือออก เมื่อใชระดับโมเมนตบิดตามที่ระบุดังขางลางนี้

B22d ........................ 3 นิวตันเมตร B15d ........................ 1.15 นิวตันเมตร E27 .......................... 3 นิวตันเมตร B14 .......................... 1.15 นิวตันเมตร

การทดสอบใหใชเครื่องมือที่เปนขั้วรับหลอดทดสอบ ดังแสดงในรูปที่ 2 และรูปที่ 3

การปอนโมเมนตบิดตองไมเพิ่มขึ้นทันทีทันใด แตจะตองคอยๆ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จากคาศูนยถึงคาพิกัด

ในกรณีขั้วหลอดไมไดใชวัสดุประสานยึดติด การเคลื่อนที่ระหวางขั้วหลอดกับกระเปาะยอมใหไดไมเกิน 10 องศา

ภายหลังที่ไดทดสอบความแข็งแรงทางกลแลว ตัวอยางตองเปนไปตามขอกําหนดของการเขาถึงได (ดูขอ 6)

มอก.2234-2548

9. อุณหภูมิเพิ่มขึ้นของขั้วหลอด

อุณหภูมิเพิ่มขึ้นของขั้วหลอด Δ ของหลอดที่สมบูรณในชวงการเพิ่ม (run-up) กอนเสถียร ชวงเสถียรกับภายหลังชวงเสถียร อุณหภูมิตองไมเกินคาที่กําหนดไวขางลางนี้ โดยวัดภายใตสภาวะที่ระบุใน มอก.4 เลม 2

st

B22d ......................... 125 เคลวิน B15d .......................... 120 เคลวิน E27 ............................ 120 เคลวิน E14 ............................ 120 เคลวิน

การวัดตองทําภายใตแรงดันไฟฟาที่กําหนด ถาหลอดระบุแรงดันไฟฟาเปนชวงใดชวงหนึ่งใหใชคาเฉลี่ย โดยมีขอบเขตของชวงแรงดันไฟฟาแตกตางจากคาเฉลี่ยไดไมเกินรอยละ 2.5 แตถามีชวงที่กวางมากใหใชคาสูงสุดของชวงนั้นๆ

10. ความทนความรอน

หลอดมีบัลลาสตในตัวตองทนความรอนไดเพียงพอ โดยที่สวนตางๆ เหลานั้นไดแก สวนภายนอกที่เปนวัสดุฉนวนเพื่อปองกันช็อกไฟฟา และสวนที่เปนวัสดุฉนวนที่ใชยึดสวนที่มีไฟฟาใหอยูในตําแหนง

การทดสอบใหทําโดยใชเครื่องมือทดสอบแบบกดดวยลูกกลมซึ่งแสดงตามรูปที่ 4

การทดสอบใหทําในตูอบความรอน ซ่ึงมีอุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่งที่ 25 องศาเซลเซียส ± 5 องศาเซลเซียส ใหทดสอบที่อุณหภูมิสูงกวาที่กําหนดกับสวนที่สัมพันธกันตามขอ 9 โดยใหอุณหภูมิต่ําสุดที่ 125 องศาเซลเซียสกับวัสดุฉนวนที่ใชยึดสวนที่มีไฟฟาใหอยูในตําแหนง และที่ 80 องศาเซลเซียสกับสวนอื่นๆ พื้นผิวของสวนที่ทดสอบใหวางในแนวนอนและใชลูกกลมเหล็กที่มีเสนผานศูนยกลาง 5 มิลลิเมตร กดลงที่ผิวนี้ดวยแรง 20 นิวตัน

ใหวางอุปกรณที่ใชทดสอบและอุปกรณชวยทดสอบในตูอบความรอนในเวลาที่เพียงพอ จนมั่นใจวา อุปกรณทั้งหลายเหลานี้เขาถึงอุณหภูมิทดสอบที่เสถียรภาพกอนการทดสอบจะเริ่มตน

7

มอก.2234-2548

ใหวางสวนที่ทดสอบในตูอบความรอนเปนเวลา 10 นาที กอนเริ่มปอนโหลด

ในกรณีที่ผิวของสวนที่จะทดสอบแอนตัวเมื่อถูกกด สวนที่จะถูกกดนั้นตองมีฐานรองรับ ถาการทดสอบนี้ไมสามารถทําไดกับตัวอยางที่สมบูรณ อาจจะตัดบางสวนที่เหมาะสมมาเปนตัวอยางเพื่อทดสอบได

ตัวอยางทดสอบที่ตัดมาตองหนาอยางนอย 2.5 มิลลิเมตร แตถาความหนาไมถึง 2.5 มิลลิเมตร ใหใชช้ินทดสอบสองชิ้นหรือมากกวา ซอนกัน

ภายหลัง 1 ช่ัวโมง ใหนําลุกบอลออกจากตัวอยางทดสอบแลวจุมลงในน้ําเย็นเปนเวลา 10 วินาที เพื่อใหเย็นลงจนถึงอุณหภูมิหอง ใหวัดเสนผานศูนยกลางของรอยและตองไมเกิน 2 มิลลิเมตร

ถาพื้นผิวเปนรูปโคงซ่ึงเกิดจากรอยเปนรูปไข ใหวัดเสนที่ส้ันที่สุด

ในกรณีที่สงสัย ใหวัดความลึกของรอยกดและคํานวณเสนผานศูนยกลาง โดยใชสูตร

Φ = 2 ( )ρ−ρ 5 ซ่ึง ρ = ความลึกของรอยกด

การทดสอบตองไมทํากับสวนที่เปนวัสดุเซรามิก

11. ความทนเปลวไฟและการติดไฟ

ใหทดสอบสวนที่เปนวัสดุฉนวนสําหรับยึดสวนที่มีไฟฟาและสวนภายนอกที่เปนวัสดุฉนวนสําหรับปองกันช็อกไฟฟา โดยใชวิธีทดสอบแบบเสนลวดรุงแสง ซ่ึงมีรายละเอียดดังตอไปนี้

11.1 ใหใชหลอดที่สมบูรณเปนตัวอยางทดสอบ ถาหากจําเปนอาจใชบางสวนของหลอดเพื่อทดสอบได แตควรมั่นใจวาสภาวะการทดสอบไมแตกตางจากสภาวะที่เกิดขึ้นจากการใชงานปกติ

11.2 ใหติดตั้งตัวอยางทดสอบบนแครและกดปลายของเสนลวดรุงแสง ดวยแรง 1 นิวตัน หางจากขอบบน 15 มิลลิเมตร หรือมากกวา กดลวดรุงแสงผานชิ้นทดสอบดวยวิธีทางกลไวที่ 7 มิลลิเมตร

ถาตัวอยางทดสอบเล็กเกินไปจนไมสามารถทดสอบไดตามรายการขางตน ใหทําตัวอยางขึ้นมาใหมโดยใชวัสดุเหมือนเดิมมีขนาดพื้นที่ 30 ตารางมิลลิเมตร ใหมีความหนาเทากับสวนที่หนานอยที่สุดของตัวอยาง

11.3 อุณหภูมิที่ปลายของเสนลวดรุงแสงคือ 650 องศาเซลเซียส ภายหลัง 30 วินาที ใหดึงตัวอยางออกจากปลายของเสนลวดรุงแสง

8

มอก.2234-2548

9

ใหอุณหภูมิของเสนลวดรุงแสงและกระแสไฟฟาที่ใหความรอนคงที่เปนเวลา 1 นาที กอนเร่ิมทดสอบ ใหระวังจนแนใจวา การแผรังสีความรอนจะไมสงผลตอตัวอยางระหวางการทดสอบนี้ การวัดอุณหภูมิที่ปลายเสนลวดรุงแสงใหวัดดวยเทอรมอคัปเปลชนิดเสนลวดเล็กมากมีปลอกหุม (sheathed fine-wire thermocouple) ที่สรางและสอบเทียบตาม IEC 60695-2-10

11.4 เปลวไฟหรือรุงแสง (glowing) ที่เกิดขึ้นบนตัวอยางตองดับไปภายในเวลา 30 วินาที หลังจากดึงตัวอยางออกจากเสนลวดรุงแสง และสวนที่ติดไฟ หรือละลายเปนหยดตองไมทําใหเกิด

การติดไฟที่กระดาษทิชชู ซ่ึงไดวางในแนวนอนใตตัวอยางเปนระยะหาง 200 มิลลิเมตร ± 5 มิลลิเมตร

ไมตองทดสอบกับสวนที่เปนเซรามิก

12. ภาวะผิดพรอง

หลอดตองมีความปลอดภัยขณะใชงานภายใตภาวะผิดพรอง ซ่ึงอาจเกิดขึ้นไดในระหวางที่มีการใชงาน

ใหใชภาวะผิดพรองแตละดังตอไปนี้ตามลําดับทีละภาวะ รวมทั้งภาวะผิดพรองรวมอื่นที่อาจเกิดในภายหลังอยางสมเหตุสมผล (logical consequence) จากภาวะผิดพรองนี้

ก) ในวงจรที่ใชสวิตช (สตารตเตอรถือเปนสวิตชแบบหนึ่ง) เปนตัวเร่ิมจุดหลอด ใหลัดวงจรที่สตารตเตอร

ข) ใหลัดวงจรครอมตัวเก็บประจุ

ค) หลอดไมเร่ิมจุดหลอดเพราะแคโทดขางหนึ่งขาด

ง) หลอดไมเร่ิมจุดหลอด แมวาวงจรแคโทดคงอยูสมบูรณ (หลอดเสื่อมคุณภาพ)

จ) ใหหลอดทํางาน แตแคโทดขางหนึ่งเสื่อมสภาพหรือขาด (เกิดปรากฎการณกระแสตรง)

ฉ) การเปดหรือการเชื่อมโยง (bridging) จุดอื่นๆ ในวงจรที่มีแผนผังแสดงไววาเปนภาวะผิดพรองใดภาวะผิดพรองหนึ่งอาจทําใหเกิดความไมปลอดภัยขึ้นได

การตรวจพิจารณาหลอดและแผนภาพของหลอดโดยทั่วไปจะแสดงใหเห็นภาวะผิดพรอง ใหใชภาวะผิดพรองเหลานี้เรียงไปตามลําดับที่สะดวกและเหมาะสม

ผูทําหรือผูแทนจําหนายที่รับผิดชอบตองสงมอบหลอดหนึ่งที่เตรียมไวเปนกรณีพิเศษพรอมกับภาวะผิดพรองที่เกี่ยวเนื่อง ซ่ึงเปนไปไดวาการใชสวิตชที่อยูภายนอกหลอดจะเกิดภาวะผิดพรองนั้นพรอมกับภาวะผิดพรองที่เกี่ยวเนื่องดวย

มอก.2234-2548

10

สวนประกอบหรืออุปกรณที่เกิดการลัดวงจรตองไมเชื่อมโยงกัน ในทํานองเดียวกันสวนประกอบหรืออุปกรณที่เกิดวงจรเปดไมไดตองไมถูกลัดวงจร

ผูทําหรือผูแทนจําหนายที่รับผิดชอบตองมีหลักฐานที่แสดงวาสวนประกอบเหลานั้น ทํางานที่มีผลใหสมบัติในดานความปลอดภัยที่เกี่ยวเนื่องกันไมลดลง เชน แสดงความเปนไปตามขอกําหนด

ในภาวะผิดพรองตามขอ ก) ขอ ข) หรือ ขอ ฉ) การทดสอบใหทําโดยนําตัวอยางไปทดสอบที่อุณหภูมิหอง และเผาไหมไดอยางอิสระ ใชแรงดันไฟฟาคาใดคาหนึ่งระหวางรอยละ 90 ถึงรอยละ 110 ของแรงดันไฟฟาที่กําหนด หรือกรณีแรงดันไฟฟาที่กําหนดเปนชวง ใหใชแรงดันไฟฟาคาใดคาหนึ่งระหวางรอยละ 90 ถึงรอยละ 110 ของแรงดันไฟฟาเฉลี่ยของชวงนั้น ใหเร่ิมทดสอบภาวะผิดพรองก็ตอเมื่อมีภาวะเสถียรแลว

ในกรณีภาวะผิดพรอง ขอ ค) ขอ ง) หรือ ขอ จ) ใหใชสภาวะเดียวกันกับกรณีขางตน เวนแตใหทําการทดสอบตั้งแตเร่ิมตน

เวลาที่ใชทดสอบ 8 ช่ัวโมง ระหวางการทดสอบตองไมติดไฟ หรือเกิดกาซไวไฟ และสวนที่มีไฟฟาตองเขาถึงไมได

การตรวจสอบวากาซที่ออกจากสวนประกอบเหลานั้นไวไฟหรือไม ใหทดสอบโดยใชแหลงจายประกายไฟความถี่สูง (high frequency spark generator)

การตรวจสอบวา สวนที่แตะตองถึงกลายเปนสวนที่มีไฟฟา ใหทดสอบตามขอ 6 การทดสอบความตานทานการฉนวน (ดูขอ 7.1) ใหใชแรงดันไฟฟากระแสตรงประมาณ 1 000 โวลต

มอก.2234-2548

11

หนาตัด สวนทรงกระบอก วัสดุฉนวน

ที่จับ หนาตัด C-C แผนกัน

สวนทรงกลม

รายละเอียดของ X (ตัวอยาง)

ลบความคมขอบทั้งหมด

สวน 3 สวน 2 สวน 1

ดูจากดานหลัง

มิติเชิงเสนมีหนวยเปนมิลลิเมตร เกณฑความคลาดเคลื่อนของมิติตางๆ ที่ไมไดกําหนดไว

สวนมุม : −

01

0′

สวนมิติเชิงเสน : 0 mm ถึง 25 mm 05.0

0−

เกิน 25 mm ± 0.2 mm วัสดุที่ใชทํานิ้วทดสอบ : ตัวอยางเชน เหล็กกลาที่ผานกรรมวิธีความรอน ขอตอทั้งสองของนิ้วทดสอบอาจทําใหโคงไดเปนมุม 90 องศา โดยมีเกณฑความคลาดเคลื่อน + 10 องศา ถึง 0 องศา แตใหอยูในทิศทางเดียวกัน การใชหมุดและรองเปนแนวทางอยางหนึ่งที่เปนไปไดเพื่อจํากัดมุมโคงงอ 90 องศา ดวยเหตุผลนี้เอง ทําใหมิติและเกณฑความคลาดเคลื่อนของรายละเอียดเหลานี้ไมไดแสดงไวในรูป การออกแบบที่ถูกตอง ตองมั่นใจวา มุมโคงงอเปน 90 องศา โดยมีเกณฑความคลาดเคลื่อน 0 องศา ถึง +10 องศา

รูปท่ี 1 นิ้วทดสอบมาตรฐาน

(ขอ 6.)

มอก.2234-2548

รูปนี้แสดงมิติที่จําเปนของขั้วรับเทานั้น

ภาคตัด X-X

มิติ E14

mm E26 mm

E27 mm

เกณฑความคลาดเคลื่อน mm

C 20.0 32.0 32.0 ตํ่าสุด K 11.5 11.0 11.0 ± 0.3 O 12.0 23.0 23.0 ± 0.1 S 7.0 12.0 12.0 ตํ่าสุด

แนวเกลียวใหเปนไปตามแนวเกลียวขั้วรับหลอดตาม IEC 60061

รูปท่ี 2 ขั้วรับหลอดสําหรับทดสอบโมเมนตบิดของขั้วหลอดแบบเกลียว

(ขอ 8.)

12

มอก.2234-2548

มิติ B15

mm B22 mm

เกณฑความคลาดเคลื่อน mm

A 15.27 22.27 +0.03 B 19.0 19.0 ตํ่าสุด C 21.0 28.0 ตํ่าสุด D 9.5 9.5 ตํ่าสุด E 3.0 3.0 +0.17 G 18.3 24.6 ± 0.3 H 9.0 12.15 ตํ่าสุด K 12.7 12.7 ± 0.3 R 1.5 1.5 คาโดยประมาณ

หมายเหตุ รูปนี้แสดงมิติที่จําเปนของขั้วรับซึ่งใชตรวจสอบในกรณีมีขอสงสัยจากการทดสอบ a รองเหลานี้ตองสมมาตรกันตามเสนศูนยกลาง

รูปท่ี 3 ขั้วรับหลอดสําหรับทดสอบโมเมนตบิดของขั้วหลอดแบบเขี้ยว (ขอ 8.)

13

มอก.2234-2548

2.5 มม. ช้ินตัวอยาง

ทรงกลม

รูปท่ี 4 เคร่ืองมือทดสอบแบบกดดวยลูกกลม (ขอ 10.)

14